The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลดำเนินงานโครงการพัฒนาผู้เรียนเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mang.1416, 2021-09-10 03:57:41

รายงานผลดำเนินงานโครงการพัฒนาผู้เรียนเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21

รายงานผลดำเนินงานโครงการพัฒนาผู้เรียนเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21



รายงานผลการดาเนนิ งาน

โครงการพฒั นาผเู้ รียนเสริมสรา้ งทกั ษะการเรยี นรศู้ ตวรรษที่ 21
ไตรมาส 3 – 4 ปีงบประมาณ 2564

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสคุ ริ นิ
สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั นราธวิ าส

สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คานา

เอกสารสรปุ ผลการดาเนนิ งานฉบับน้ี ได้จดั ทาขึน้ เพื่อรายงานผลการประเมินการดาเนินงาน โครงการ
พัฒนาผู้เรียนเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21 ประจาปีงบประมาณ 2564 และใช้เป็นข้อมูล
ประกอบการพิจารณาจดั ทาแผนดาเนนิ งานกจิ กรรมต่างๆ ในปีต่อไปการดาเนนิ งาน และการจัดทาเอกสารฉบับ
นี้ สาเร็จและเป็นรูปเล่มได้ด้วยความร่วมมือจากบุคลากรศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อาเภอสุคิริน ขอขอบคุณบุคลากร ทุกท่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสุคิริน ทีไ่ ดใ้ หค้ าแนะนา จนการจดั กิจกรรมดังกล่าวสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวัง
วา่ เอกสารฉบบั น้ี จะใชเ้ ป็นขอ้ มูลอา้ งอิงต่อไป

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสคุ ริ ิน

กรกฎาคม 2564

สารบัญ ข

บทท่ี ๑ บทนา หนา้
- ความเปน็ มาและความสาคัญของโครงการ
- วัตถปุ ระสงค์ 1
- เปา้ หมาย 1
- งบประมาณ 2
- ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ 2
- เครอื ข่ายที่เกย่ี วข้อง 2
- โครงการที่เกีย่ วข้อง 2
- ผลลัพธ์ 2
3
บทท่ี ๒ ทฤษฎแี ละเอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ ง 3
บทท่ี ๓ วธิ ดี าเนินการ 7
บทที่ ๔ ผลการศกึ ษา 9
บทที่ ๕ สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ 13
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

ภาพกิจกรรม
โครงการ
ใบลงเวลาเข้ารว่ มโครงการ
คาสงั่
แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของโครงการ
แผนภูมแิ สดงความพงึ พอใจเปน็ รายประเดน็
คณะผู้จดั ทา



บทท่ี 1
บทนา

1. ความเป็นมาและความสาคญั
สงั คมปจั จบุ นั เป็นยุคที่มีการเปลีย่ นแปลงอยา่ งมาก มีความจาเป็นต้องมีปัจจัยต่างๆ ที่จะเข้ามาช่วยให้

มีการเปล่ยี นแปลงไปในทิศทางทพี่ งึ ปรารถนาเปน็ ที่ยอมรับกันวา่ การศกึ ษามี บทบาทสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลง
มาทุกยุคทุกสมัยในด้านการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเรียน การสอน การจัดการหลักสูตร ปัจจัยท่ีเข้ามา
เก่ยี วขอ้ งก็คือ ผเู้ รียน ผเู้ รยี นจะบรรลุถงึ ความรูค้ วามสามารถ และการพฒั นาการทั้งทางด้านจิตใจและร่างกาย
ได้กต็ อ้ งอาศยั ครผู สู้ อน

การศึกษาในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นการขวนขวายหาความรู้ จึงทาให้เราเป็นกลไกยิ่ง ๆ ข้ึน จิตของเรา
ปฏิบัติการอยูใ่ นร่องรางแคบ ๆ ไมว่ า่ จะเป็นความร้ดู ้านวทิ ยาศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ธุรกิจ หรือเทคนิควิทยาที่
เรากาลังส่ังสมขึ้น วิถีชีวิตของเราท้ังในบ้าน นอกบ้าน และทั้ง ความเช่ียวชาญงานอาชีพเฉพาะด้านของเรา
ลว้ นกระทาใหจ้ ติ คับแคบและไม่สมบูรณ์ ทัง้ หมดนี้ นามาซึ่งวิถีชีวิตอันเป็นเสมือนเคร่ืองจักรกล เป็นสภาพจิตที่
ถูกวางให้เข้ามาตรฐานเดียวกัน การเข้าใจความหมายท่ีอยู่เหนือถ้อยคาและพูดถึงเหตุผลท่ีเกิดความงอกกงาม
แหง่ จติ ความ เจรญิ งอกงามนี้เป็นพัฒนาการและความเบ่งบานของจิตใจเรา รวมท้ังสวัสดิภาพทางกายด้วยนั่น
คือความดารงอยู่ในความกลมกลืนทั่วพร้อม ซ่ึงในความกลมกลืนเช่นน้ันปราศจากความ ขัดแย้งหรือความไม่
สงบ

ความท้าทายดา้ นการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักศึกษาให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษท่ี 21
เป็นเร่ืองสาคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมท่ีเกิดข้ึนในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพ ของ
สังคมอย่างท่ัวถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้
นกั ศึกษามีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษท่ี 20 และ 19
โดยทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ท่ีสาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลง
การจัดการเรียนรู้เพ่ือให้เด็กในศตวรรษท่ี 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น ตลอดจนการ
เตรียมความพร้อมด้านต่าง ๆ ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้
3R x 8C

ดังนั้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสุคิริน ได้เห็นถึงความสาคัญและ
คานึงถึงแผนนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.ที่กาหนด จึงได้จัดทาโครงการพัฒนาผู้เรียน
เสริมสรา้ งทกั ษะการเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21 ขนึ้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนาความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไป
ใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ยูร่ ว่ มกับผ้อู ่นื ในสังคมได้อย่างมคี วามสุข
2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพอ่ื ให้นกั ศึกษามีความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั ทักษะการเรียนรูศ้ ตวรรษท่ี 21
2.๒ เพ่อื เสรมิ สร้างทักษะการเรยี นรศู้ ตวรรษท่ี 21 ให้แก่นักศกึ ษา
2.3 เพื่อใหน้ ักศึกษานาความรูท้ ไี่ ด้รับไปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั ได้



3. เปา้ หมาย

3.1 เชิงปรมิ าณ

- นักศกึ ษาในพ้นื ทอี่ าเภอสุคริ ินเขา้ รว่ มโครงการพัฒนาผูเ้ รียนเสริมสร้างทกั ษะการเรียนรู้

ศตวรรษที่ 21 จานวน ๑๐๐ คน

3.2 เชงิ คุณภาพ

- นกั ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั ทักษะและเสริมสรา้ งการเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21

สามารถนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในการดาเนินชวี ิตประจาวันได้

4. งบประมาณ

แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการการจัด

การศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ัน

พ้ืนฐาน งบเงินอุดหนุน ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รหัสงบประมาณ ๒๐๐๐๒43016500225

โครงการพัฒนาผู้เรียนเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21 เป้าหมาย 100 คน เป็นเงิน 16,716 บาท

(หน่งึ หมื่นหกพนั เจ็ดรอ้ ยสิบหกบาทถ้วน) ประกอบด้วย ดังน้ี

4.1 ค่าอาหารกลางวนั ๗๐ บาท x ๑๐๐ คน ๗,๐๐๐ บาท

4.2 คา่ อาหารวา่ ง ๒5 บาท x ๒ ม้อื x ๑๐๐ คน 5,๐๐๐ บาท

4.3 คา่ ตอบแทนวิทยากร 200 บาท x 6 ช่วั โมง x 1 คน 1,200 บาท

4.4 คา่ ป้ายไวนิล 1,000 บาท

4.5 คา่ วสั ดุ 2,516 บาท

รวมจานวนเงิน 16,716 บาท

ตวั อกั ษร หนง่ึ หม่ืนหกพันเจ็ดร้อยสิบหกบาทถว้ น

5. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ

- นายสไุ ลมาน มามะ ตาแหนง่ ครูอาสาฯ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘-56714832

6. เครอื ขา่ ย

6.1 เทศบาลตาบลสุคิริน

6.2 กานนั ผู้ใหญบ่ ้าน ในอาเภอสุคิรนิ

6.3 องค์การบริหารสว่ นตาบลทกุ ตาบล

7. โครงการทเี่ กย่ี วขอ้ ง

7.1 โครงการพัฒนาผูเ้ รียนด้านการใช้เทคโนโลยีและสือ่ ออนไลน์เพ่ือเพ่ิมประสิทธภิ าพในการเรียนรู้

7.2 โครงการพัฒนาผู้เรยี นสง่ เสรมิ ศักยภาพและความสามารถดา้ นวิทยาศาสตร์ นกั ศกึ ษา

8. ผลลัพธ์

- นกั ศึกษามคี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ทักษะและเสรมิ สร้างการเรยี นรูศ้ ตวรรษท่ี 21 สามารถนา

ความรไู้ ปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวติ ประจาวันได้



บทที่ ๒
ทฤษฎแี ละเอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

เอกสารแนวคดิ ทฤษฎที ่เี ก่ียวกับการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการพัฒนาผู้เรียนเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 ผู้ประเมินได้ทบทวน

เอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง ท่ใี ช้ในการประเมนิ ดงั น้ี
๑. การจดั กจิ กรรมเพอื่ พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น
๒. แนวคิดเกี่ยวกบั การนเิ ทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กศน.
๓. งานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง

1. กรอบแนวทางการจดั การศึกษา งบอุดหนนุ กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น ปงี บประมาณ 2563
เพ่อื ให้สถานศึกษาไดจ้ ัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น เป็นไปในแนวทางเดียวกนั อย่างมีประสิทธภิ าพ

ประสทิ ธิผล คุม้ ค่า เกิดประโยชนส์ งู สุดต่อผ้เู รยี น ดงั นี้
1. โครงการเกี่ยวกับกิจกรรมพัฒนาวชิ าการ / ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สงู ขึน้

เป็นการพัฒนาผูเ้ รียนให้มคี วามรู้ ความสามารถทางด้านวชิ าการเพ่ิมมากข้นึ ในรายวชิ าตามหลกั สตู ร การศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

2. โครงการเก่ียวกับกจิ กรรมพัฒนาทักษะชวี ติ
เป็นกิจกรรมเพื่อใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ มเี จตคติ ค่านิยมทถี่ ูกต้องและมที กั ษะหรือ ความสามารถ
พน้ื ฐานท่ีจาเปน็ ในการเผชิญปัญหาทเี่ กิดขึ้นในชีวติ เช่น ปญั หายาเสพติด การตั้งครรภ์ไม่พึง ประสงค์ การ
ป้องกันในการมีเพศสมั พันธ์ ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ภยั พบิ ตั ิ

3. โครงการเก่ียวกับกจิ กรรมที่แสดงออกถงึ ความจงรกั ภกั ดตี ่อสถาบันชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตรยิ ์
เป็นกิจกรรมที่พัฒนา สง่ เสรมิ สนับสนุนใหผ้ ูเ้ รียน มีความรู้ ความเขา้ ใจ มีทศั นคติทดี่ ีมคี วามรกั และ ภาคภมู ใิ จ
ในชาติไทย และแสดงออกถึงความจงรกั ภกั ดีต่อสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์

4. โครงการเก่ียวกบั กิจกรรมการเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เป็นกจิ กรรมทพ่ี ฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดย สามารถนา
ความรทู้ ่ีได้ไปประยกุ ต์ให้เกดิ ผลในการดารงชวี ิตประจาวัน

5. โครงการเกย่ี วกับลกู เสอื และกจิ กรรมอาสายุวกาชาด
เปน็ กจิ กรรมเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเปน็ ผูท้ ีม่ ีระเบียบ วินยั มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตอาสา มคี วาม เสียสละใน
การช่วยเหลือผูอ้ ื่น บาเพ็ญประโยชนต์ อ่ สงั คมและชุมชน เช่น ลกู เสอื กศน. / ลกู เสอื มคั คุเทศก์ / ยุวกาชาด

6. โครงการเกี่ยวกับกีฬาและสง่ เสริมสขุ ภาพ
7. โครงการเก่ียวกับพฒั นาความรู้ ความสามารถดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT)
8. โครงการเกย่ี วกบั พัฒนาความรูส้ ูป่ ระชาคมโลก



เป็นกิจกรรมเพ่อื พฒั นาความรใู้ ห้กบั ผเู้ รยี นด้านการศึกษา เศรษฐกจิ สงั คมและวฒั นธรรม ความมง่ั คง
และการเมอื ง เพ่ือรับการเปลี่ยนแปลงโครงการสร้างประชากรไปสสู่ งั คมสูงวยั ทกั ษะของประชากรในศตวรรษ
ท่ี ๒๑ และม่งุ พัฒนาประเทศไปสกู่ ารพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมยคุ 4.0

9. โครงการเกย่ี วกบั จติ อาสา กศน. “เราทาความดดี ้วยหวั ใจ”
เปน็ กจิ กรรมท่จี ัดถงึ การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์ในพ้นื ท่ีต่างๆ เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อน และ แกไ้ ขปัญหา
ประชาชน เป็นกิจกรรมทส่ี อดคล้องกับพระบรมราโชบายของสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว รชั กาลที่ 10 เป็นการ
พฒั นาสภาพแวดลอ้ มและความเปน็ อยใู่ นชมุ ชนให้มสี ภาพทด่ี ีขน้ึ

10. โครงการเกี่ยวกบั สง่ เสรมิ การอา่ นและพฒั นาทักษะการเรยี นรู้
11. โครงการเก่ียวกับการส่งเสริมการเรยี นรู้เพื่อพัฒนาทกั ษะอาชพี
12. โครงการเกีย่ วกับการสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม เปน็ กิจกรรมท่สี ง่ เสริมให้ผู้เรยี นได้เรยี นรู้ ดว้ ย
การปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี และเอกลักษณ์ของชาติ
13. โครงการเก่ยี วกับการเรียนรู้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็
ประมุข การปกครองระบอบประชาธิปไตยและกฎหมายทเี่ กี่ยวข้องในชีวติ ประจาวัน

- อบรมประวัติศาสตรช์ าติไทยและตอบแทนบญุ คุณของพระมหากษตั รยิ ์ไทย
- อบรมให้ความรปู้ ระชาธปิ ไตย
- รณรงคป์ ระชาสัมพนั ธใ์ หป้ ระชาชนออกมาใช้สทิ ธ์เิ ลอื กต้งั
14. โครงการเกย่ี วกบั การเสริมสรา้ งความสามารถพิเศษ
เป็นกิจกรรมเพอ่ื พัฒนาผ้เู รยี นมีความสามารถพเิ ศษ ฝกึ การกล้าแสดงออก ความคิดสร้างสรรพ จินตนาการใน
แนวทางทถ่ี ูกต้องและเหมาะสม
๒. แนวคดิ เกีย่ วกบั การนเิ ทศการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กศน.
๑. การนิเทศจะต้องอยู่บนพ้ืนฐาน ปรัชญา และหลักการของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงานของของสานกั งาน กศน. และสถานศกึ ษา
๒. การนิเทศ กศน. ควรเป็นกระบวนการทางานท่ีเป็นระบบ เช่น แผนงานโครงการกิจกรรมและ
เทคนิคต่างๆ ในการนิเทศ ควรต้ังอยู่บนเจตคติและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ผลของการนิเทศจะต้องถูกต้อง
สมบูรณ์เชอ่ื ถือได้ สามารถสะทอ้ นคณุ ภาพการจัด กศน. ของสถานศกึ ษาได้ตรงตามสภาพจริง
๓. การนิเทศ กศน. เป็นกระบวนการทางานรว่ มกบั ผูบ้ รหิ าร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปฏิบัติงานท่ี
เก่ียวข้องและเครือข่าย ที่มุ่งส่งเสริมคุณภาพชีวิต เพื่อให้เขาได้พัฒนาศักยภาพของตนได้อย่างเต็มที่เคารพ
ศกั ดิ์สทิ ธิ์ของความเป็นมนษุ ย์ อดทนตอ่ ความแตกตาง คามหลากหลายให้ความเท่าเทยี มกันเสมอภาคกัน ความ
เปน็ อสิ ระ สร้างบรรยากาศทีเ่ ป็นประชาธิปไตย การมีส่วนรว่ มและการทางานเป็นทีม
๔. การนิเทศ กศน. จะต้องมีการประเมินผลการนิเทศอย่างเป็นระบบ ทั้งด้านปัจจัยการนิเทศ
กระบวนการนิเทศ และผลที่เกิดจากการนิเทศ และนาผลการประเมินมาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงการ
ดาเนนิ งานนิเทศ เพ่อื พัฒนาการนิเทศการศกึ ษาให้มคี ุณภาพ
ความสาคัญของการนเิ ทศการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย



การนเิ ทศเป็นงานสาคญั และจาเป็นอย่างยงิ่ ทจี่ ะต้องดาเนนิ ควบคูไ่ ปกบั การบริหารเพราะการนิเทศเป็น
ส่วนหน่ึงของการบริหาร องค์ประกอบของการบริหารย่อมข้ึนอยู่กับคน เงิน วัสดุ และการจัดการ การที่จะ
บรหิ ารคนใหม้ ีประสทิ ธภิ าพในการทางาน ผู้บริหารจะต้องมีเทคนิคท่ีเหมาะสม เทคนิคในการบริหารอย่างหนึ่ง
คือ การนิเทศเพ่ือส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ สามารถใช้เงิน วัสดุได้อย่างคุ้มค่า มีหลักการ
จัดการทดี่ ี ดังน้ัน การที่จะควบคุมการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงานท่ีกาหนดไว้ ผู้บริหารต้อง
ใช้เทคนคิ การบริหารงานและการนิเทศควบคู่กัน การนิเทศการศึกษาเป็นความพยายามในการแนะนา กระตุ้น
ใหก้ าลงั ใจช่วยเหลือของผู้เช่ียวชาญด้านการศึกษา เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาสามารถจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนให้มีคุณภาพ หรือปรับปรุงกระบวนการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีการสูญเปล่าทาง
การศึกษาน้อยที่สุด โดยเฉพาะอย่างย่ิงการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีการจัด
กิจกรรมการศึกษาท่ีหลากหลายให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายประเภทต่างๆ และไม่ได้สังกัด สานักงาน กศน. ทา
ให้เห็นความจาเป็นของการนิเทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้บุคลากรทางการ
ศึกษา สถานศึกษาทุกประเภทเข้าใจนโยบายปรัชญาการจัด กศน. ท่ีสามารถสนองความต้องการของ
กลุม่ เปา้ หมายผเู้ รยี นในทศิ ทางที่ถกู ต้องและเหมาะสมกับสภาพพน้ื ที่การจัดกิจกรรม กศน.
จุดมุง่ หมายของการนิเทศการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

๑. เพ่ือส่งเสรมิ ให้สถานศึกษาบริหารหลกั สูตรจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการศึกษา
พฒั นาสือ่ นวัตกรรมและเทคโนโลยีและการนเิ ทศภายในอย่างมีคุณภาพ

๒. สง่ เสรมิ ให้สถานศกึ ษามีระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาตามมาตรฐาน กศน.
๓. เพ่ือให้คาปรึกษา เสนอแนะ เป็นที่พึ่งในการพัฒนาวิชาการของสถานศึกษา และสานักงาน กศน.
จงั หวดั
๔. เพื่อประสาน สนับสนุนและเผยแพร่งานทางด้านวิชาการแก่สถานศึกษาและสานักงาน กศน.
จังหวัด
(อ้างถงึ อัญชลี ธรรมะวธิ ีกลุ : ๒๕๕๓)
๓. งานวจิ ัยท่เี กย่ี วขอ้ ง
กิจจา เวสประชุม ได้กล่าวถึงขอบข่ายของการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรวิชาชีพประกอบไปด้วย
งานดังน้ี
๑. หลักสตู ร ไดแ้ ก่ การจดั การศึกษาวิชาชีพระยะสั้นให้ประสบผลสาเร็จและเกิดผลประโยชน์สูงสุดได้
นนั้ หลักสูตรควรควรมคี วามเหมาะสมหลายๆ ด้าน
๒. กจิ กรรมการเรยี นการสอน คือพฤติกรรมที่เกิดร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียนจึงจะก่อให้เกิดการ
เรียนรแู้ ละทักษะเพือ่ ให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ท่ตี ัง้ ไว้
๓. วิทยากร เป็นบุคคลสาคัญท่ีจะถ่ายทอดวิชาความรู้ มีความชัดเจนในเนื้อหาวิชามีประสบการณ์
ทางการสอนมคี วามสามารถในการปรับเนื้อหาวชิ าตามสภาพของผเู้ รยี น
๔. ส่อื การเรียนการสอน ในการเรยี นการสอนวิชาชีพน้ันส่ือการสอนมีความสาคัญเป็นอย่างมากเพราะ
นอกจากจะเป็นการสร้างความสนใจให้กับผู้เรียนเกิดความอยากเรียนรู้แล้วยังช่วยให้ผู้เรียนเรียนได้ดีและ
รวดเรว็ ขึ้น



๕. การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลมีข้ึนก็เพ่ือจะได้ทราบข้อบกพร่องในการเรียนการ
สอนว่าบรรลุเป้าหมายหรือไม่สิ่งใดสมควรแก้ไขและสิ่งใดควรแก้ไขและปรับปรุงเพ่ือให้การเรียนการสอน
วชิ าชีพได้ผลจริง

สอดคลอ้ งกับอัญชลี ธรรมะวธิ ีกุล ทกี่ ล่าวถึงการนเิ ทศการจดั การเรียนการสอนหลักสูตรวิชาชีพจะต้อง
อยู่บนพื้นฐาน ปรัชญา และหลักการของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สอดคล้องกับ
นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงาน กศน. และสถานศึกษาโดยมีกระบวนการทางานท่ีเป็นระบบ
มีกระบวนการทางานร่วมกับผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปฏิบัติงานท่ีเก่ียวข้องและเครือข่าย ซ่ึง
จะตอ้ งมกี ารประเมินผลการนเิ ทศอยา่ งเปน็ ระบบ ท้งั ด้านปัจจัยการนิเทศ กระบวนการนิเทศ และผลที่เกิดจาก
การนิเทศ และนาผลการประเมินมาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงการดาเนินงานนิเทศ เพื่อพัฒนาการนิเทศ
การศกึ ษาให้มคี ุณภาพ



บทที่ ๓
วธิ ดี าเนนิ การ

การจดั ทาโครงการพัฒนาผู้เรียนเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21 จัดขึ้นเพ่ือเป็นการมุ่งเน้น
ให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับทักษะและเสริมสร้างการเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21 สามารถนาความรู้ไป
ประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวันได้ มขี ้นั ตอนกระบวนการต่างๆ ดังนี้

ขนั้ ที่ 1 ขน้ั การเตรียมการ (PLAN)
1.1 สารวจสภาพ ปัญหาและความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย
1.2 ประชมุ วางแผนการดาเนินการฝึกอบรม
1.3 เขยี นแบบจัดต้งั เพ่ือเสนอขออนุมตั ิงบประมาณในการดาเนินการ
1.4 ประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้อง/วทิ ยากร

ขั้นที่ 2 ขน้ั ดาเนินการ (DO)
2.1 ดาเนินการจดั การเรียนการสอนทง้ั ภาคทฤษฎแี ละการฝึกปฏิบตั ิ

ขน้ั ที่ 3 นิเทศติดตามผล และรายงานผล / ประเมินผล (CHECK)
3.1 การนเิ ทศติดตามผลการดาเนินงาน
3.2 การประเมินผลและสรปุ ผลการดาเนินงาน
3.3 การรายงานและเผยแพรผ่ ลการดาเนนิ งาน

ดัชนชี ี้วัดผลสาเร็จของโครงการ (Key Performance Indicator : KPI)

ตวั ช้วี ัดความสาเรจ็ สอดคล้องกับ วธิ กี ารประเมิน เคร่ืองมอื ท่ใี ช้
มาตรฐาน กศน.ที่
แบบลงลายมอื ชื่อ
ผลผลิต (outputs) ร้อยละ 100 ของ ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม

กลมุ่ เปา้ หมายท่เี ข้ารว่ มฝกึ เข้าร่วม 1,2,3 การสงั เกต
โครงการ

ผลลัพธ์ (outcomes) รอ้ ยละ 80 ประเมนิ ความพงึ -แบบประเมินความพึง

ของกลมุ่ เป้าหมายทเี่ ข้ารว่ มฝึกมคี วามรู้ 1,2,3 พอใจของ พอใจ
และสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ น ผเู้ ข้ารว่ ม -แบบประเมนิ ผล

ชีวติ ประจาวันได้ กิจกรรม



สาหรับเกณฑ์การให้คะแนนสาหรับแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดการเรียน ฝึกอบรม โดยแบ่ง

คา่ ในการประเมนิ ออกเป็น 5 ระดบั ตามแบบของ ลเิ คริ ต์ (Likert’s five point rating scale) ดังนี้

น้าหนักคะแนน 5 หมายถึง มีความเห็นอย่ใู นระดับมากท่ีสดุ

นา้ หนกั คะแนน 4 หมายถึง มคี วามเห็นอยู่ในระดบั มาก

น้าหนักคะแนน 3 หมายถึง มีความเหน็ อยูใ่ นระดับปานกลาง

นา้ หนักคะแนน 2 หมายถึง มคี วามเห็นอยู่ในระดับน้อย

น้าหนกั คะแนน 1 หมายถงึ มคี วามเห็นอยู่ในระดับน้อยทส่ี ุด

ในส่วนของการวิเคราะห์ผลความพึงพอใจ และระดับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการถือว่าเป็น

ค่าเฉล่ยี ของคะแนนที่ได้จากการตอบแบบประเมินความพึงพอใจท้ังน้ีผู้จัดกิจกรรมได้กาหนดการวิเคราะห์ตาม

แนวคดิ ของ เบสท์ (อ้างถงึ ใน พวงรัตน์ ทวีรตั น์, 2543 : 303) ดังนี้

คา่ เฉลยี่ ความหมาย

1.00 – 1.49 นอ้ ยทสี่ ุด

1.50 – 2.49 น้อย

2.50 – 3.49 ปานกลาง

3.50 – 4.49 มาก

4.50 – 5.00 มากทีส่ ุด



บทท่ี ๔
ผลการศึกษา

ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาผู้เรียนเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ศตวรรษท่ี
21 อาเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการจานวน 35 คน ผู้ศึกษาแบ่งผลการศึกษาออกเป็น
2 ส่วน ดงั นี้
สว่ นที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปเกีย่ วกบั สถานภาพของผ้ตู อบแบบสอบถาม
สว่ นที่ 2 ข้อมูลเกีย่ วกับผลการศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาผู้เรียนเสริมสร้างทักษะ
การเรียนรูศ้ ตวรรษท่ี 21 ผลการศกึ ษาในแตล่ ะสว่ นจะนาเสนอข้อมูลในรูปแบบตารางแจกแจงเป็นค่าเฉล่ียและ

คา่ ร้อยละจากข้อมลู ทไี่ ดเ้ ป็นสาคัญ ซึ่งมรี ายละเอียดของผลการศึกษา ดังนี้

สว่ นที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเก่ยี วกับสถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม
ผตู้ อบแบบสอบถามในการศึกษาในครงั้ นี้ เป็นนกั ศกึ ษา กศน.ในอาเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ท่ีเข้า

ร่วมโครงการพฒั นาผเู้ รยี นเสริมสร้างทักษะการเรียนรศู้ ตวรรษท่ี 21 โดยใชค้ ่าร้อยละดังปรากฏในตารางดงั น้ี

ตารางที่ ๑ แสดงขอ้ มูลของกล่มุ ตัวอย่างผู้เขา้ รว่ มโครงการจาแนกตามเพศ

ข้อมูลพ้นื ฐาน จานวน (คน) รอ้ ยละ

1. เพศ

1.1 ชาย 52 50.00
1.2 หญงิ 52 50.00

รวม 104 100

จากตารางที่ ๑ แสดงว่ากลุ่มตัวอย่างผ้เู ขา้ ร่วมโครงการจาแนกตามเพศ มากท่สี ุดเพศชายจานวน 52 คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 50.00 และเพศหญงิ จานวน 52 คน คิดเปน็ ร้อยละ 50.00 ตามลาดับ

ตารางที่ ๒ แสดงข้อมลู ของกลุ่มตวั อย่างผเู้ ขา้ ร่วมโครงการจาแนกตามชว่ งอายุ

ข้อมูลพนื้ ฐาน จานวน (คน) รอ้ ยละ

2. อายุ 9 8.70
2.1 ต่ากว่า 20 ปี 43 41.30
44 42.30
2.2 20 – 35 ปี 8 7.70

2.3 36 – 45 ปี

2.4 46 ปขี ้นึ ไป

รวม 104 100

จากตารางที่ 2 แสดงว่ากลุ่มตวั อยา่ งผเู้ ข้ารว่ มโครงการจาแนกตามช่วงอายุ มากท่ีสุดอายุ 36 – 45 ปี
จานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 42.30 อายุ 20 – 35 ปี จานวน 43 คน คดิ เป็นร้อยละ 41.30 อายุตา่ กว่า
20 ปี จานวน 9 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 8.70 อายุ 46 ปีข้นึ ไป จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 7.70 ตามลาดบั

๑๐

ตารางที่ 3 แสดงข้อมลู ของกลมุ่ ตัวอย่างผู้เข้ารว่ มโครงการจาแนกตามระดบั การศึกษา

ขอ้ มูลพ้ืนฐาน จานวน (คน) ร้อยละ

3. ระดับการศึกษา 15 14.50
3.1 ประถมศึกษา 51 49.00
38 36.50
3.2 มัธยมศกึ ษาตอนต้น

3.3 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

รวม 35 100

จากตารางท่ี 3 แสดงว่ากลมุ่ ตัวอยา่ งผ้เู ข้าร่วมโครงการจาแนกตามระดับการศึกษา มากที่สดุ ระดับ
การศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ จานวน 51 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 49.00 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
จานวน 38 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 36.50 ระดับประถมศึกษา จานวน 15 คน คิดเปน็ ร้อยละ 14.50 ตามลาดับ

๑๑

ส่วนท่ี 2 ข้อมูลเก่ียวกับผลการศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม
ตารางท่ี 4 จานวนร้อยละ และค่าเฉล่ียจาแนกตามปัจจัยท่ีมีผลต่อความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม

โครงการพฒั นาผเู้ รยี นเสริมสรา้ งทักษะการเรียนร้ศู ตวรรษท่ี 21 มดี งั นี้

ระดับความพึงพอใจ

ท่ี รายการ 54 3 21

มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย
ที่สดุ กลาง ทีส่ ุด

ด้านวทิ ยากร

1 วทิ ยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสูตรกาหนด 26 68 9 0 0
(0)
(25.00) (65.40) (8.70) (0)

2 ความสามารถในการถ่ายทอดความรขู้ องวิทยากร 19 35 49 1 0
(18.30) (33.70) (47.10) (1.00) (0)

3 เน้ือหาวชิ าทจ่ี ดั การเรยี นรตู้ รงตามความต้องการของ 24 43 35 2 0
ท่านเพียงใด (23.10) (41.30) (33.70) (1.90) (0)

ดา้ นสถานท่/ี สอ่ื อปุ กรณ/์ ระยะเวลา

4 สถานท่เี รียนเหมาะสมเพียงใด 24 50 30 0 0
(23.10) (48.10) (28.80) (0) (0)

5 จานวนส่อื /อุปกรณก์ ารฝกึ ประกอบการเรียน 15 53 36 0 0
เพียงพอเพียงใด (14.40) (52.00) (34.60) (0) (0)

6 ระยะเวลาในการเรียน/ กิจกรรมเหมาะสมเพยี งใด 11 47 46 0 0
(10.60) (45.20) (44.20) (0) (0)

ดา้ นความร้ทู ไ่ี ด้รับ/การนาความรูไ้ ปใช้

7 ท่านไดร้ ับความรู้/ทักษะ จากการเขา้ ร่วมโครงการ/ 24 55 24 1 0
กิจกรรมมากเพยี งใด (23.10) (52.90) (23.10) (1.00) (0)

8 ทา่ นสามารถนาความร้/ู ทักษะท่ีได้ ไปใชไ้ ดม้ าก 22 44 38 0 0
เพียงใด (21.20) (42.20) (36.50) (0) (0)

9 ความรทู้ ีไ่ ดร้ บั คุ้มคา่ กบั เวลา และความตั้งใจเพียงใด 18 52 34 0 0
(17.30) (50.00) (32.70) (0) (0)

10 ท่านพงึ พอใจตอ่ หลักสูตรน้เี พียงใด 29 50 25 0 0
(27.90) (48.10) (24.00) (0) (0)

จากตาราง ๔ ผลการศึกษาความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาผู้เรียนเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้
ศตวรรษที่ 21 ผลการศกึ ษาได้ดังนี้

ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีต่อภาพรวม ในการโครงการพัฒนาผู้เรียนเสริมสร้างทักษะ
การเรียนรูศ้ ตวรรษท่ี 21 มาก แสดงว่าผ้เู ข้าร่วมโครงการมีความเห็นด้วยกับการจัดโครงการดังกล่าวและเป็น
ประโยชน์ต่อผู้เข้าร่วมโครงการภาพรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนประเด็นอ่ืน ๆ ได้จาแนกการอธิบายตามข้อ

คาถาม ดังน้ี

๑๒

 ประเด็นคาถามที่ ๑ วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสูตรกาหนด พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ
มีความพึงพอใจในการให้ความรู้ครบตามหลักสูตรกาหนด โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 4
แสดงว่าผู้เขา้ รว่ มโครงการมีความพงึ พอใจอยรู่ ะดับมาก

 ประเด็นคาถามท่ี 2 ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ
มีความพึงพอใจในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 3 แสดงว่า
ผเู้ ข้าร่วมโครงการมคี วามพึงพอใจอยรู่ ะดบั ปานกลาง

 ประเด็นคาถามที่ 3 เน้ือหาวิชาท่ีจัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่านเพียงใด พบว่า
ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในเนื้อหาวิชาท่ีจัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการโดยระดับความพึงพอใจ
สว่ นใหญ่อยใู่ นระดับ 4 แสดงว่าผเู้ ข้ารว่ มโครงการมคี วามพงึ พอใจอยู่ระดับมาก

 ประเด็นคาถามท่ี 4 สถานท่ีเรียนเหมาะสมเพียงใด พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจใน
สถานท่ีเรียนเหมาะสม โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 4 แสดงว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึง
พอใจอยู่ระดบั มาก

 ประเด็นคาถามที่ 5 จานวนสื่อ/อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด พบว่า
ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในจานวนส่ือ/อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียน โดยระดับความพึงพอใจ
ส่วนใหญ่อยูใ่ นระดบั 4 แสดงวา่ ผู้เข้ารว่ มโครงการมคี วามพึงพอใจอยู่ระดับมาก

 ประเด็นคาถามที่ 6 ระยะเวลาในการเรียน/ กิจกรรมเหมาะสมเพียงใดพบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ
มีความพึงพอใจในระยะเวลาในการเรียน/ กิจกรรม โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 4 แสดงว่า
ผู้เขา้ ร่วมโครงการมีความพงึ พอใจอยูร่ ะดับมาก

 ประเด็นคาถามท่ี 7 ท่านได้รับความรู้/ทักษะ จากการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมมากเพียงใด
พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในการได้รับความรู้/ทักษะ โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ใน
ระดบั 4 แสดงวา่ ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการมีความพงึ พอใจอยรู่ ะดบั มาก

 ประเด็นคาถามท่ี 8 ท่านสามารถนาความรู้/ทักษะท่ีได้ ไปใช้ได้มากเพียงใด พบว่า ผู้เข้าร่วม
โครงการ มคี วามพึงพอใจในการนาความรู้/ทักษะที่ได้ ไปใช้ได้ โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 4
แสดงว่าผเู้ ข้าร่วมโครงการมคี วามพึงพอใจอยู่ระดับมาก

 ประเด็นคาถามที่ 9 ความรทู้ ีไ่ ดร้ บั ค้มุ คา่ กับเวลาและความต้งั ใจเพียงใด พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ
มคี วามพึงพอใจในการความรู้ทไี่ ด้รับคุ้มคา่ กับเวลาและความตั้งใจ โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดับ
4 แสดงว่าผ้เู ขา้ รว่ มโครงการมคี วามพงึ พอใจอยู่ระดบั มาก

 ประเด็นคาถามที่ 10 ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรน้ีเพียงใด พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึง
พอใจในต่อหลักสูตรนี้ โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 4 แสดงว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึง
พอใจอยู่ระดบั มาก

จากตารางสามารถสรุปความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมในการดาเนิน โครงการพัฒนาผู้เรียนเสริมสร้าง
ทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากและเมื่อพิจารณาด้านต่างๆ พบว่า ส่วนใหญ่อยู่
ในระดบั 4 มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

๑๓

บทที่ ๕
สรุปผลการศกึ ษาและขอ้ เสนอแนะ

ในการประเมินคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ของการประเมิน คือ 1. เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ
เก่ียวกับทักษะการเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21 ๒. เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 ให้แก่นักศึกษา
3. เพื่อให้นักศึกษานาความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันได้ รูปแบบที่ใช้ในการประเมิน
ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจ โดยประเมินในด้าน ๑) ด้านด้านวิทยากร ๒) ด้านสถานท่ี/ส่ืออุปกรณ์/
ระยะเวลา ๓) ด้านความรู้ท่ีได้รับ/การนาความรู้ไปใช้ ในการประเมินในคร้ังน้ีเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้าร่วม
โครงการพัฒนาผู้เรียนเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21 จานวน 104 คน โดยเคร่ืองมือท่ีใช้ประเมิน
ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจเกี่ยวกับการความรู้ ความเข้าใจ การเห็นความสาคัญของการทาฝึกทา
แบบทดสอบได้แม่นยาท่ีถกู ตอ้ ง และทาการเก็บข้อมลู โดยใหผ้ ูเ้ ข้ารว่ มโครงการกรอกข้อมูลหลังจากเสร็จส้ินการ
เรียนรคู้ รบตามกจิ กรรมทีก่ าหนด
สรปุ ผลการประเมินโครงการ

ในการประเมินโครงการพัฒนาผู้เรียนเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 จากผลการวิเคราะห์
ขอ้ มลู สรปุ เปน็ ประเด็นสาคัญได้ดงั น้ี

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไปเก่ียวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม จากผลการประเมินพบว่า โครงการ
พัฒนาผู้เรียนเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 แสดงว่ากลุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการจาแนก
ตามเพศ มากท่ีสุดเพศชายจานวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 และเพศหญิง จานวน 52 คิดเป็นร้อยละ
50.00 แสดงว่ากลุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการจาแนกตามช่วงอายุ มากที่สุด อายุ 36 – 45 ปี จานวน 44
คน คิดเป็นร้อยละ 42.30 อายุ 20 – 35 ปี จานวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 41.30 อายุต่ากว่า 20 ปี
จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 8.70 อายุ อายุ 46 ปีขึ้นไป จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 7.70 แสดงว่ากลุ่ม
ตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการจาแนกตามระดับการศึกษา มากท่ีสุดระดับการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
จานวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 49.00 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 36.50
ระดับประถมศกึ ษา จานวน 15 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.40

ส่วนท่ี 2 ข้อมูลเก่ียวกับผลการศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาผู้เรียน
เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 จากผลการประเมินความพึงพอใจพบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 4
แสดงวา่ ผูเ้ ข้าร่วมโครงการมคี วามพึงพอใจอยู่ระดับมาก
ขอ้ เสนอแนะทไ่ี ดจ้ ากการประเมินโครงการ

1. อยากให้มีกิจกรรมบ่อยๆ
2. ได้รับความรู้และได้ทากิจกรรม

๑๔

บรรณานกุ รม

อญั ชลี ธรรมะวิธกี ลุ .(ออนไลน์). การนเิ ทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

เข้าถงึ ไดจ้ าก : https : //panchalee.wordpress.com/2009/07/29/nfe-supervision

(วันที่สืบคน้ ข้อมลู : 9 สิงหาคม ๒๕64)

กรอบแนวทางการจดั การศึกษา งบอดุ หนนุ กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน ปีงบประมาณ 2563
เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://patomporn2523.blogspot.com/2019/11/2563.html
(วันที่สืบคน้ ข้อมลู : 9 สิงหาคม ๒๕64)

๑๕

ภาคผนวก

๑๖

ประมวลภาพกิจกรรม

โครงการพัฒนาผู้เรยี นเสริมสร้างทกั ษะการเรียนรศู้ ตวรรษท่ี 21
วันท่ี 6 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564

ณ กศน.ตาบลทุกตาบล อาเภอสุคิริน จงั หวัดนราธวิ าส

คดั กรองก่อนเขา้ ร่วมโครงการฯ ลงทะเบียนผเู้ ขา้ ร่วมโครงการฯ

พธิ ีเปิ ดโครงการฯ วทิ ยากร อธิบายความสาคญั และทกั ษะ
โดย (นายอบั ดนเลา๊ ะ สีบู) การเรียนรู้ศตวรรษที่ 21

ครู คศ.1

กิจกรรม ประดิษฐส์ ะเตม็ ศึกษาดว้ ยกระดาษ นายสุไลมาน มามะ ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการฯ
สรุปการจดั กิจกรรม

๑๗

๑๘

๑๙

๒๐

๒๑

๒๒

๒๓

๒๔



















แบบประเมินความพึงพอใจของผูเ้ รยี นตอ่ การเรียนรู้

โครงการพัฒนาผู้เรียนเสริมสรา้ งทกั ษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21

*********************************************

คาอธิบาย แบบประเมนิ ฉบับนีม้ ที งั้ หมด 2 ตอน ขอใหผ้ ้ตู อบแบบประเมินตอบให้ครบทง้ั 2 ตอน เพอื่ ให้การดาเนินโครงการ/กจิ กรรมเปน็ ไป

ตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเพ่อื เป็นประโยชน์ในการนาไปใช้ตอ่ ไป

ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ท่วั ไปเกยี่ วกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม

คาช้แี จง โปรดทาเครือ่ งหมาย ลงในช่อง  หนา้ ขอ้ ความ

1. เพศ

 หญิง  ชาย

2. อายุ

 ต่ากวา่ 20 ปี  20-35 ปี  36-45 ปี  46 ปขี ้ึนไป

3. การศึกษา

 ประถมศึกษา  มธั ยมศกึ ษาตอนต้น  มัธยมศึกษาตอนปลาย  อน่ื ๆ.........................

ตอนที่ 2 ขอ้ มูลเก่ียวกับระดับความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วม
คาช้ีแจง โปรดทาเครอ่ื งหมาย  ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ความพึงพอใจของท่านเพียงระดบั เดยี ว

ที่ รายการ 5 ระดับความพึงพอใจ 1
มากทส่ี ดุ น้อยที่สดุ
ดา้ นวทิ ยากร 432
1 วทิ ยากรมาใหค้ วามรคู้ รบตามหลกั สูตรกาหนด มาก ปานกลาง น้อย
2 ความสามารถในการถา่ ยทอดความร้ขู องวิทยากร
3 เน้ือหาวชิ าทจ่ี ัดการเรียนรตู้ รงตามความตอ้ งการของท่านเพยี งใด
ด้านสถานท่ี/สอ่ื อุปกรณ์/ระยะเวลา
4 สถานทีเ่ รยี นเหมาะสมเพยี งใด
5 จานวนสื่อ/อุปกรณ์การฝกึ ประกอบการเรยี นเพียงพอเพยี งใด
6 ระยะเวลาในการเรยี น/ กจิ กรรมเหมาะสมเพียงใด
ด้านความรทู้ ไ่ี ด้รับ/การนาความรูไ้ ปใช้
7 ทา่ นไดร้ ับความร/ู้ ทักษะ จากการเข้าร่วมโครงการ/กจิ กรรมมากเพยี งใด
8 ท่านสามารถนาความรู้/ทักษะที่ได้ ไปใช้ไดม้ ากเพยี งใด
9 ท่านไดร้ ับโอกาสในการเรยี นรเู้ ทา่ เทียมกนั เพียงใด
10 ท่านพึงพอใจตอ่ หลักสูตรนเี้ พียงใด

ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

















ผู้จดั ทา

ทป่ี รกึ ษา ทองดี ประธานกรรมการสถานศึกษา
บอื ซา ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอสคุ ริ ิน
๑. นายสุทัศน์ สบี ู ครู คศ.1
๒. นางสาวนเู รฮา
3. นายอบั ดนเลา๊ ะ ลาบูอาปี ครู คศ.1
ครู ครกู ศน.ตาบล
สนับสนนุ ขอ้ มลู แวสะมาแอ ครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน
มามะ
1. นายมฮู ามัดสกรี
2. นางสาวปาซียะห์
๓. นายสไุ ลมาน

เรียบเรยี ง/ทาน/ต้นฉบบั /จัดพมิ พ์

นายสไุ ลมาน มามะ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสคุ ริ นิ

สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั นราธวิ าส
สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร


Click to View FlipBook Version