The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานนิเทศภายใน ไตรมาส 3-4 ปี2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mang.1416, 2021-11-23 02:35:19

รายงานนิเทศภายใน ไตรมาส 3-4 ปี2564

รายงานนิเทศภายใน ไตรมาส 3-4 ปี2564

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.
ไตรมาสที่ 3 - 4

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสคุ ิรนิ

สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวัดนราธิวาส
สานักงานปลัดกระทรวง | ศึกษาธกิ าร



คำนำ

ตามที่ สำนักงาน กศน. ได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ด้านการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย ตามนโยบายเร่งด่วน นโยบายต่อเนื่อง และนโยบายอน่ื ๆ ที่เกย่ี วข้อง โดยมงุ่ เน้น
การสรา้ งกลไก การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงานให้เช่อื มโยงกับหนว่ ยงาน
และภาคีเครือข่ายท้ังระบบ ให้สามารถตอบสนองการดำเนินงานตามนโยบายแต่ละเรื่องได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร และส่ืออืน่ ๆ ท่ีเหมาะสม เพอ่ื กำกบั นิเทศ
ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอย่างมีประสิทธิภาพ และพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั

เอกสารรายงานผลการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุคิริน คร่ึงปีแรก ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ฉบับนี้ เป็นการสรุปผลการนิเทศตามกรอบนโยบายและจุดเน้นของสำนักงาน กศน. โดยได้รับ
ความร่วมมือจากผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ทำหน้าท่ีนิเทศ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ร่วมกันสรุปผลการนิเทศเพื่อ
พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยอำเภอสุคิริน คร่ึงปีหลัง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานผลการนิเทศ
ฉบับนจี้ ะเป็นข้อมูลสารสนเทศทีเ่ ปน็ ประโยชน์ต่อผู้บริหาร ครู ศึกษานิเทศก์ และผู้ทส่ี นใจท่วั ไป นำไปปรบั ใช้
ในการดำเนนิ งานของตนเองได้ตามความเหมาะสมตอ่ ไป

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสุคิรนิ



สารบญั

คำนำ หน้า
สารบัญ ก

รายงานผลการนเิ ทศ
สว่ นท่ี 1 นโยบายเรง่ ด่วน 1

การเร่งยกระดบั กศน.ตำบล 5 ดี พรีเมยี่ ม 1
การพัฒนาการจัดการศกึ ษาออนไลน์ กศน. 5
การพัฒนานวตั กรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ตอ่ การจัดการศกึ ษาและกล่มุ เป้าหมาย 8
สว่ นที่ 2 นโยบายต่อเนอ่ื ง
หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 10
การสง่ เสริมการรูห้ นงั สือไทย 15
ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน reskill / upskill หนึ่งตำบล หนง่ึ อาชพี 18
โครงการศูนยด์ ิจิทลั ชุมชน 21
โครงการภาษาต่างประเทศเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพ 24
การศึกษาเพ่อื พัฒนาทักษะชีวติ 27
การจัดการศกึ ษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ 30
การศึกษาเพอื่ พฒั นาสังคมและชุมชน 33
หอ้ งสมดุ ประชาชน 36
บา้ นหนังสอื ชมุ ชน 39
หอ้ งสมดุ เคลื่อนทีช่ าวตลาด 42
ส่วนที่ 3 นโยบายอ่นื ๆ
การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 45
การส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา 48
พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลท่ี 10 51

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1

แบบรายงานการนิเทศ

เรือ่ ง การเรง่ ยกระดับ กศน.ตำบล 5 ดี พรเี มี่ยม

1. เกรนิ่ นำ เร่อื งของนโยบาย จดุ เน้นการดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ.2564

ตามที่ สำนักงาน กศน. ได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน เพ่ือเป็นแนวทางในการ
ดำเนินงานของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดทุกแห่ง ตามภารกิจหลักประกอบด้วย งานการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีนโยบายในการสร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทางสังคม มุ่งเน้นที่จะพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อม
ในการให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ โดยการยกระดับ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
อธั ยาศัยตำบล/แขวง ให้เป็น กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรีเม่ียม ทีป่ ระกอบด้วย ครูดี สถานท่ีดี (ตามบริบทของ
พนื้ ที)่ กจิ กรรมดี เครอื ขา่ ยดี และมนี วัตกรรมการเรยี นรู้ทีด่ ีมปี ระโยชน์

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาอัธยาศัยตำบล (กศน.ตำบล) ต้นแบบ 5 ดี พรีเม่ียม จะต้อง
นำรูปแบบการบริหารจัดการมาประยุกต์ใช้ให้เกิดผลเชิงประจักษ์ ประชาชนในชุมชนเกิดการเรียนรู้และ
การศึกษาตลอดชีวิต ตามองค์ประกอบทั้ง 5 ด้านที่กำหนดไว้ได้แก่ 1. การพัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่
เกี่ยวขอ้ งกับการจัดกจิ กรรมการศึกษาและเรยี นรู้ (Good Teacher) 2. การพฒั นา กศน.ตำบลใหม้ ีบรรยากาศ
และสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ (Good Place Best Check-In) 3. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ทที่ ันสมัยและมีประสิทธิภาพ ภายใน กศน.ตำบล/แขวง (Good Activities) 4. เสริมสร้างและให้ความร่วมมือ
กับภาคีเครือข่าย (Good Partnership) 5. การนำเทคโนโลยีดิจิทัล นวัตกรรมเข้า มาบูรณาการปรับปรุง
พัฒนา และประยุกต์ใช้ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย (Good Innovation) ให้ บรรลุผลสำเร็จตาม
เป้าหมายท่กี ำหนดไว้

2. สภาพทพี่ บ
จากการนิเทศ พบว่า ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาอัธยาศัยอำเภอสุคิรินได้ดำเนินงาน

ประเมินคัดเลือก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาอัธยาศัยตำบล (กศน.ตำบล) ต้นแบบ 5 ดี พรีเมี่ยม
ซ่ึงผลการคัดเลือกที่เป็นไปตามองค์ประกอบการประเมินผลปรากฏว่า ได้ จำนวน 2 แห่ง คือ 1) ศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาอัธยาศัยตำบลมาโมง 2) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาอัธยาศัย
ตำบลเกียร์ ซ่ึง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาอัธยาศัยตำบล ได้ดำเนินงานจัดทำเอกสารในการ
ประเมินคัดเลือกเพ่ือรับการประเมินจาก สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จังหวดั นราธวิ าส โดยดำเนนิ การตามองคป์ ระกอบทงั้ 5 ดา้ นทก่ี ำหนดไว้ดงั น้ี

1. การพัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและเรียนรู้ (Good
Teacher)

ครู กศน.ตำบลพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนื่องเพอื่ ให้มีสมรรถนะและเทคนิควิธีการท่ีเปน็ เลิศท่ีเกย่ี วข้อง

กับการจัดกจิ กรรมการศึกษาและเรยี นรู้ (Good Teacher)

2. การพัฒนา กศน.ตำบลให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ (Good Place Best
Check-In)

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสคุ ิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2

กศน.ตำบลเกียร์ และ กศน.ตำบลมาโมง มีสภาพอาคารแข็งแรง มีอาคารเอกเทศ มีความเป็นสัดส่วน
อยู่ติดถนน มีสภาพแวดล้อมท่ีดี มีเสาธง มีจุด Check in รวมทั้งมีส่ิงอำนวยความสะดวกต่างๆ ท่ีหลากหลาย
เช่น คอมพิวเตอร์ อินเตอรฺ์เน็ต ไว้บริการ และมีการจัดสภาพแวดล้อม โดยยึดหลัก ๕ ส. คือสะสาง สะดวก
สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัยและสะดุดตา มีแหล่งเรียนรู้ ทำให้ผู้รับบริการเกิดความรู้สึกเป็นมิตร มีชีวิตชีวา
และมีความสุข

กศน. ตำบล มีศูนย์การเรียนรู้ ได้แก่ ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตำบล (ศส.ปชต.) ศูนย์
เทคโนโลยีและขอ้ มูลข่าวสาร ( ดจิ ิทัลชุมชน ) ศูนยเ์ รยี นรูป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่
ประจำตำบล ทัง้ 4 ศนู ยเ์ รยี นรู้สามารถให้บริการประชาชนในพ้นื ที่

3. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ่ีทันสมัยและมีประสทิ ธิภาพ ภายใน กศน.ตำบล/แขวง (Good
Activities)

กศน.ตำบล มีการจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ืองและการศึกษาตามอัธยาศัย ใน
การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้นำหลักเศรษฐ์กิจพอเพียง มาใช้ในการจัดกิจกรรม
ต่างๆ โดยมีการออกแบบการเรียนรู้ของแต่ละกิจกรรมให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาของชุมชนและความ
ต้องการของกลมุ่ เป้าหมายอยา่ งครอบคลุมและเปน็ ระบบ

4. เสรมิ สรา้ งและใหค้ วามรว่ มมือกบั ภาคเี ครอื ข่าย (Good Partnership)
กศน.ตำบล มีทำเนียบภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น แหลง่ เรยี นรูแ้ ละภาคเครือขา่ ยในระดบั พน้ื ท่ีท่ีเปน็ ปัจจุบัน มี
ภาคีเครือข่ายในระดับพ้ืนที่ ร่วมวางแผนการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีภาคีเครือข่ายในระดับพื้นที่ร่วม
จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีภาคีเครือข่ายในระดับพ้ืนท่ี ร่วมนิเทศประเมินผลการเรียนรู่ตลอดชีวิต มีภาคี
เครือขา่ ยในระดบั พนื้ ที่ ร่วมรบั ประโยชนก์ ารจัดการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต
กศน.ตำบล มีภาคีเครือข่ายในระดับพื้นที่ ร่วมวางแผนการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการ
ประสานงานกับภาคีเครือข่ายเข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการบรหิ ารจัดการและพัฒนาการจัดการศกึ ษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการของ
ประชาชน ชุมชน มีเป้าหมายในการทำงานร่วมกัน คือ การส่งเสริมการเรียนรู้การศึกษานอกระบบ ท้ังท่ีเป็น
การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน และการศกึ ษาต่อเนื่อง ซ่งึ ประกอบดว้ ย การศึกษาเพื่ออาชีพ
การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และส่งเสริมการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัยในการจัดการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนใหป้ ระสบความสำเร็จ
5. การนำเทคโนโลยีดิจิทัล นวัตกรรมเข้า มาบูรณาการปรับปรุง พัฒนา และประยุกต์ใช้ต่อการจัด
การศกึ ษาและกลุ่มเปา้ หมาย (Good Innovation)
กศน.ตำบล มกี ารใช้เทคโนโลยี Google Site , Google Class Room และ Google From ในการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคริ นิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 3

3. ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อความสำเร็จ (ถ้ามี)

1. การกำหนดกลยทุ ธใ์ นการดำเนินงานโดยใช้หลักการและแนวคิดในการวเิ คราะหข์ ้อมูล ได้แก่
SWOT Analysis

2. การมสี ว่ นรว่ มของบคุ ลากร กศน.ตำบล ทำใหไ้ ดข้ ้อมลู ที่ถูกต้องตามสภาพจรงิ และสามารถ
นำไปใชใ้ นการกำหนดกรอบแนวทาง เทคนคิ วิธีการดำเนินงาน

4. ปัญหาอุปสรรค

1. สถานท่ี กศน.ตำบลไม่เปน็ เอกเทศ และแคบเกนิ ไป
2. ดา้ นครู ขาดความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสตู รทสี่ อดคล้องกับความต้องการของชุมชน
3. มีข้อจำกัดและอุปสรรคบางประการท่ีทำให้การจัดการเรียนสอนไม่สามารถดำเนินการได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ โดยเฉาะอยา่ งยิ่งการจดั การเรยี นการสอนในรูปแบบ On line และ On air
4. ข้อจำกัดในเรื่องความรู้และทักษะของครูบางส่วนในการใช้เทคโนโลยีออนไลน์ ทั้ง Application
และ Platform ต่าง ๆ ส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบดังกล่าวไม่เกิดประสิทธิผลและ
ประสทิ ธิภาพตามเปา้ หมายทส่ี ถานศกึ ษาไดว้ างไว้

5. ข้อนิเทศต่อผู้รับการนิเทศ

๑. แนะนำให้ครูออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา
ของชุมชนและความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายอย่างครอบคลมุ และเปน็ ระบบ
2. แนะนำให้ครูใช้สื่อในการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย ทันสมัยและเหมาะสมกับ
กลมุ่ เป้าหมาย
3. แนะนำให้ครูบูรณาการความรู้ นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนเพอ่ื เปน็ ภมู ิคมุ้ กนั ในการดำรงชีวติ อยา่ งปลอดภยั ห่างไกลโรคระบาด โควิด-19
4. พัฒนาเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมที่ใช้ ในการจัดการเรียนรู้กับผู้เรียนและสามารถนำไปใช้
ประโยชนไ์ ดจ้ ริง

6. ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพัฒนา

6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศึกษา (ถา้ มี)
1. ควรมีการพัฒนาครใู นดา้ นหลักสตู รให้เหมาะสมกับบริบทและความตอ้ งการในพน้ื ที่
๒. ควรมีการนิเทศตดิ ตามผลอย่างสมำ่ เสมอเพ่อื ให้เกดิ การพัฒนาส่งผลใหผ้ เู้ รียนเกิดความรู้
อยา่ งต่อเนอ่ื ง

6.2 ข้อเสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จงั หวดั (ถ้ามี)

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสุคริ นิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 4

1. ควรมกี ารนิเทศติดตามอย่างต่อเนือ่ ง
๒. ควรมีให้การประเมนิ ผลการดำเนินงาน กศน.ตำบล อย่างน้อย เดือนละครั้ง
6.3 ข้อเสนอแนะสำนักงาน กศน.(ถา้ มี)
-

7. Best Practice (ถ้าม)ี

-

8. ภาพกิจกรรม อย่างนอ้ ย 4 – 6 ภาพ

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสคุ ิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 5

แบบรายงานการนเิ ทศ

เรอ่ื ง การพัฒนาการจดั การศึกษาออนไลน์ กศน.

1. เกรน่ิ นำ เรอ่ื งของนโยบาย จดุ เน้นการดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ.2564
กศน. ในฐานะหน่วยงานทำหน้าที่ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยซึ่งเป็นภาพรวมของการศึกษาตลอดชีวิต ได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาตามนโยบาย
รัฐบาลในการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์และองค์ความรู้ต่างๆ สำหรับการพัฒนาสังคม
และคุณภาพชีวิต ของประชาชนด้านนวัตกรรม การใช้บริการต่าง ๆ ของภาครัฐ เพ่ือการบริหารจัดการ
ฐานข้อมูล ที่จำเป็นสำหรับ กศน. และชุมชน รวมท้ังเพื่อจัดการเรียนรู้และการรับรู้ข้อมูล ข่าวสารข อง
ประชาชนให้เท่าทันและสอดคล้องกับ การเปล่ียนแปลงของสังคม เทคโนโลยี และโลกยุคดิจิทัล สำนักงาน
กศน. มีนโยบายให้ กศน.อำเภอทุกแห่ง ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาผู้เรียนด้านการใช้เทคโนโลยีและส่ือ
ออนไลน์ เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน โดยให้ กศน.อำเภอ จัดอบรมการจัดการศึกษา
ระบบออนไลน์ให้กับบุคลากรและนักศึกษา สอดคล้องกับนโยบาย กศน. Wow ในข้อท่ี 3 ที่ว่า Good
Activity Digital พัฒนาการศึกษาแบบออนไลน์ท่ีเข้าถึงทุกที่ทุกเวลา และสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้น
ของ กศน. ในจุดเน้นที่ 3 พัฒนาหลักสูตร ส่ือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหลงเรียนรู และ
รูปแบบ การจัดการศึกษาและการเรียนรู ในทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อประโยชนตอการจัดการศึกษาท่ี
เหมาะสม กับทุกกลุมเป้าหมาย มีความทันสมัย สอดคลองและพรอมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปจจุบัน
ความตองการ ของผูเรยี น และสภาวะการเรยี นรูในสถานการณตาง ๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต

2. สภาพท่ีพบ
จากการนิเทศ พบวา่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอสคุ ิรนิ ไดด้ ำเนินการ

โครงการพัฒนาศักยภาพครูและนักศึกษาด้านการใช้ Application และ Platform ออนไลน์ในการจัดการ
เรียนการสอนและการเรียนรู้โดยมีกลุ่มเป้าหมายบุคลากรในสังกัด จำนวน 20 คน มีความรู้ ความเข้าใจ ใน
เร่อื งการใช้ Application และ Platform ออนไลน์ ในการจดั การเรยี นการสอนและการเรียนรู้ รวมทัง้ สามารถ
นำความร้ทู ่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั ิงานสำนักงานและการจัดการเรียนการสอนในการจัดการเรยี นการ
สอน และการเรียนรใู้ ห้เกิดประสิทธผิ ลและมีประสทิ ธิภาพ

เนื่องจากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ตง้ั แตเ่ ดือนธันวาคม
2562 สงผลกระทบตอระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซ่ึงรัฐบาลและกระทรวง
ศึกษาธิการ ไดออกประกาศและมีมาตรการเฝาระวังเพ่ือปองกันการแพรกระจายของเช้ือไวรัสดังกลาว อาทิ
กำหนดใหมี การเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) หามการใชอาคารสถานท่ีของโรงเรียนและ
สถาบนั การศึกษา ทุกประเภท เพือ่ จัดการเรยี นการสอน การสอบ ฝกอบรม หรือการทำกจิ กรรมใด ๆ ทม่ี ีผูเขา
รวมเปนจำนวนมาก การปดสถานศึกษาดวยเหตุพิเศษ การกำหนดใหใชวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ
ใหม อาทิ การจัดการเรียนรู แบบออนไลน การจดั การเรียนรูผานระบบการออกอากาศทางโทรทัศน วทิ ยุ และ
โซเซยี ลมีเดยี ตาง ๆ รวมถึง การสอ่ื สารแบบทางไกลหรือดวยวธิ ีอิเล็กทรอนิกส์

จากการดำเนินงานการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ภายใต้สถานการการแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โค
โรนา 2019 (COVID -19) ภายใต้มาตรการของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการในรูปแบบต่าง ๆ เช่น On

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคริ ิน

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 6

site, Online, On air, On hand และ On demand พบวา่ ยงั มขี อ้ จำกัดและอุปสรรคบางประการทท่ี ำใหก้ าร
จัดการเรียนสอนไม่สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉาะอย่างยิ่งการจัดการเรียนการสอนใน
รูปแบบ On line และ On air ที่มีข้อจำกัดในเรื่องความรู้และทักษะของนักศึกษาส่วนใหญ่และครบู างส่วนใน
การใช้เทคโนโลยีออนไลน์ ท้ัง Application และ Platform ต่าง ๆ ส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนใน
รูปแบบดังกล่าวไม่เกิดประสทิ ธิผลและประสทิ ธภิ าพตามเปา้ หมายทส่ี ถานศึกษาได้วางไว้

3. ปจั จัยทส่ี ่งผลต่อความสำเร็จ (ถ้ามี)
1. บคุ ลากร มคี วามรู้ ความเข้าใจ ในเร่อื งเทคโนโลยีและส่ือออนไลน์ที่จำเป็นตอ่ การจดั การเรียนการ

สอน
2. บุคลากรมีความสามารถในการเข้าใช้ระบบการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์
3. บุคลากร นำความรูท้ ีไ่ ดร้ บั ไปประยุกต์ใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านและการจดั การเรียนการสอนไดอ้ ย่างมี

ประสิทธิภาพ

4. ปญั หาอุปสรรค
1. กล่มุ เปา้ หมายขาดความรู้พื้นฐานดา้ นเทคโนโลยี ทำให้เรียนรไู้ ด้ไม่ตอ่ เน่ือง
2. กลุ่มเปา้ หมายไม่ได้พกพกเครือ่ งมือเทคโนโลยีท่จี ะใช้ในการเรยี นรู้
3. สถานท่ใี นการฝกึ จดั โครงการไม่เอื้อต่อการอบรมเกี่ยวกับระบบออนไลน์

5. ข้อนเิ ทศตอ่ ผูร้ บั การนเิ ทศ
๑. แนะนำให้ครูจดั กลุ่มเปา้ หมายในการจดั โครงการ เป็นรุ่นๆ รุ่นละไม่เกิน 15 คน เพอ่ื ประสิทธิภาพ
ในการเรยี นรู้
2. แนะนำให้ครูใช้ส่ือในการจัดการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย ทันสมัยและเหมาะสมกับ

กลุ่มเปา้ หมาย
3. แนะนำใหค้ รเู พ่ิมจำนวนวันเวลาในการจัดโครงการให้มากข้ึน
4. ควรใหก้ ลมุ่ เปา้ หมาย มสี ว่ นร่วมในการจัดกระบวนการเรยี นการสอน

6. ข้อเสนอแนะเพอื่ การพัฒนา
6.1 ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศึกษา (ถ้ามี)

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสุคริ ิน

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 7

1. ควรมีการพัฒนาหลกั สตู รใหเ้ หมาะสมกบั บริบทในพน้ื ท่ี
๒. ควรมกี ารนเิ ทศติดตามผลอยา่ งสมำ่ เสมอ
6.2 ข้อเสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน.จงั หวัด (ถ้ามี)
1. ควรมีการจัดวางโครงสร้างในระดับจังหวัด และจดั ทำเซิรฟ์ เวอรเ์ ป็นของตัวเอง
๒. ควรมกี ารจัดอบรมให้กบั บุคลากรเพ่ือการพฒั นากระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่
ทันสมยั
6.3 ขอ้ เสนอแนะสำนักงาน กศน.(ถ้ามี)
-

7. Best Practice (ถ้าม)ี

-

8. ภาพกิจกรรม อยา่ งนอ้ ย 4 – 6 ภาพ

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคริ ิน

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 8

แบบรายงานการนิเทศ
เรอื่ ง การพัฒนานวตั กรรมทางการศึกษาเพอื่ ประโยชน์ต่อการจดั การศกึ ษาและกลมุ่ เปา้ หมาย
๑. นโยบายและจุดเน้นการดำเนินสำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

นโยบายและจุดเน้นเพ่ือพัฒนาหลักสูตร ส่ือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหลงเรียนรู
และรูปแบบ การจัดการศึกษาและการเรียนรู ในทุกระดับ ทุกประเภท เพ่ือประโยชนตอการจัดการศึกษาท่ี
เหมาะสม กับทุกกลุมเป้าหมาย มีความทันสมัย สอดคลองและพรอมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปจจุบัน
ความตองการ ของผู้เรยี น และสภาวะการเรยี นรูในสถานการณตาง ๆ ที่จะเกิดข้ึนในอนาคต

๒. สภาพท่ีพบ
สถานศึกษามีการนำเทคโนโลยีออนไลน์มาใช้ในการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนรู้ เช่น การสร้าง

ห้องเรียนออนไลน์ google classroom และ การสร้างแอบเพื่อสร้างส่ือการสอน การใช้ Google form ใน
การจัดทำแบบสำรวจและแบบประเมินต่าง ๆ รวมถึงการสอบเก็บคะแนนระหว่างภาคสำหรับนักศึกษาที่ไม่
สะดวกเดินทางมาสอบท่ี กศน.ตำบล และยังพบว่า สถานศึกษามีแผนท่ีจะใช้เทคโนโลยีออนไลน์มาใช้ในการ
ให้บริการประชาชนและนักศึกษาในเร่ืองการขอเอกสารการศึกษาต่าง ๆ เพ่ือความสะดวกและรวดเร็วในการ
ใหบ้ ริการ

กศน.อำเภอสุคิรินส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการทำโครงงานเป็นการ
ส่งเสริมให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะในการคิดและวิเคราะห์เพ่ือแก้ปัญหาในสิ่งท่ีนักศึกษาสนใจหรือทำการศึกษา
ผ่านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ซ่ึงจะส่งให้นักศึกษามีทักษะและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามที่
หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดไว้

กศน.อำเภอสุคิรินส่งประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์สำหรับนักศึกษา กศน. ด้านการใช้และอนุรักษ์
พลังงานไฟฟ้าเพื่อชีวิตและสังคม ระดับประเทศ ซ่ึงได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 “เคร่ืองเก็บเกี่ยวทุเรียน
ด้วยระบบเทคโนโลยีเซ็นเซอร์” เพ่ือประยุกต์ใช้ในชุมชนและสามารถนำประโยชนใ์ หก้ ับชุมชนในพนื้ ท่อี ำเภอสุ
คิริน

๓. ปัจจัยทสี่ ่งผลต่อความสำเร็จ
-

๔. ปัญหาอุปสรรค
4.1 นักศกึ ษาและผู้รบั บริการสว่ นใหญข่ าดความรแู้ ละทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีออนไลน์ ทำให้เปน็
อุปสรรคตอ่ การใช้บรกิ ารที่สถานศกึ ษาได้จัดทำข้นึ

5. ขอ้ นเิ ทศ
5.1 แนะนำใหค้ รูสอนและทำความเขา้ ใจกับนกั ศกึ ษาเร่ืองการใชเ้ ทคโนโลยอี อนไลนใ์ หม้ ากขึ้น

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสคุ ริ นิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 9
6. ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การพัฒนา

6.1 ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา
- จดั อบรมการใชเ้ ทคโนโลยีออนไลน์ให้กบั นักศึกษาผา่ นกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

๖.๒ ข้อเสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จงั หวดั
- ไม่มี

๖.๓ ข้อเสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.
- ไมม่ ี

7. Best Practice
-

8. ภาพกจิ กรรม

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคริ นิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 10

แบบรายงานการนเิ ทศ
เรื่อง หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
๑. นโยบายและจุดเนน้ การดำเนนิ สำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีนโยบายให้คนไทยได้รับโอกาส
การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชวี ิตอย่างมคี ุณภาพ สามารถดำรงชีวิตที่เหมาะสมกบั ช่วงวยั สอดคล้องกบั หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จำเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 สนับสนุนการจัดการศึกษานอก
ระบบตั้งแตปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโดยดำเนินการ ใหผูเรียนไดรับการสนับสนุนคาจัดซื้อหนังสือ
เรยี น คาจัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเรียน และคาจดั การเรยี น การสอนอยางท่ัวถงึ และเพียงพอเพื่อเพิม่ โอกาส
ในการเขาถงึ บรกิ ารทางการศึกษาที่มคี ุณภาพโดยไมเสยี คาใชจาย
ปัจจุบัน สถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ต้ังแต่เดือนธันวาคม
2562 สงผลกระทบตอระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับช้ัน ซ่ึงรัฐบาลและกระทรวง
ศึกษาธิการ ไดออกประกาศและมีมาตรการเฝาระวังเพ่ือปองกันการแพรกระจายของเชื้อไวรัสดังกลาว อาทิ
กำหนดใหมี การเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) หามการใชอาคารสถานท่ีของโรงเรียนและ
สถาบันการศึกษา ทุกประเภท เพ่อื จดั การเรยี นการสอน การสอบ ฝกอบรม หรือการทำกิจกรรมใด ๆ ทม่ี ผี ูเขา
รวมเปนจำนวนมาก การปดสถานศึกษาดวยเหตุพิเศษ การกำหนดใหใชวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ
ใหม อาทิ การจัดการเรียนรู แบบออนไลน การจดั การเรียนรูผานระบบการออกอากาศทางโทรทัศน วิทยุ และ
โซเซยี ลมเี ดยี ตาง ๆ รวมถึง การสอ่ื สารแบบทางไกลหรือดวยวิธอี เิ ลก็ ทรอนิกส์

๒. สภาพที่พบ
สถานศึกษาไม่ได้มกี ารพัฒนาหลักสตู รวิชาเลือกขน้ึ เอง แต่มีการเลือกใช้วิชาเลอื กทีส่ ำนักงาน กศน.

พัฒนาขึ้น ซง่ึ สถานศึกษาไดเ้ ลือกใชว้ ชิ าเลือกทม่ี ีความสอดคล้องกับสภาพบรบิ ท ความต้องการและปัญหาของ
ชมุ ชน จากการนิเทศพบวา่ ครู กศน.อำเภอสคุ ิรนิ มกี ารจดั ทำแผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ และดำเนนิ การ
จดั การเรยี นรู้ตามแผนท่ไี ดจ้ ดั ทำไว้ มกี ารจดั ทำแผนการเรยี นรูร้ ายบุคคลเพื่อวางแผนการเรียนให้กบั นกั ศึกษา
ที่มีพ้นื ฐานความรแู้ ตกต่างกัน มกี ารนำเทคโนโลยีดิจทิ ัลและเทคโนโลยอี อนไลนห์ ลากหลายช่องทาง มาใช้
ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน เชน่ Google Classroom, การจดั การเรยี นการผ่าน Google Meet,
การสอนผา่ น Zoom, การสอนผา่ น Facebook Live และมีบางสว่ นทจ่ี ัดการสอนแบบ On demand โดย
การทำคลปิ วีดโิ อสน้ั ๆ สง่ ในไลนก์ ล่มุ นักศึกษาหรือ ในกลุ่ม Facebook ท่ี ซง่ึ จากการสอบถามครูและผ้เู รียน
พบวา่ การสอนโดยใชช้ ่องทางที่หลากหลายในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 สามารถ
แกป้ ัญหาเร่ืองการไม่สามารถมาพบกล่มุ ของนักศึกษาได้ นกั ศึกษาสามารถเรียนร้ไู ด้ทุกที่ทุกเวลาทน่ี กั ศกึ ษา
สะดวก นอกจากการจัดทำแผนและการเลือกใช้ส่ือทีเ่ หมาะสมแลว้ สถานศกึ ษามีการวัดและประเมนิ ผล
ทางการศกึ ษาทั้งระหวา่ งภาคและปลายภาค โดยใชเ้ คร่อื งมือการวดั และประเมินผลทเ่ี หมาะสมตามธรรมชาติ
วชิ าและตรงตามวตั ถุประสงค์การเรยี นรู้

ในการจัดการเรยี นการสอนของครูน้นั ผู้บรหิ ารได้มอบหมายให้ครจู ดั กิจกรรมการเรียนรใู้ หผ้ เู้ รยี น
สัปดาหล์ ะ ๓ วัน โดยใหจ้ ัดการเรยี นการสอนหลากหลายรูปแบบทง้ั ออนไลน์ ออนไซต์และออนแอร์ ตาม
มาตรการการปอ้ งเชอ้ื ไวรัส โค-วดิ 19 ซ่งึ สง่ ผลดตี อ่ ครูและนักศึกษาทีส่ ามารถเลอื กเรยี นไดต้ ามความสะดวก

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสคุ ิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 11

ของตัวผูเ้ รยี นเอง จากการสอบถามผูเ้ รียน พบวา่ ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนสอนหลากหลาย
รปู แบบ เพราะตนเองสามารถเลอื กรูปแบบทีเ่ หมาะสมกับวิถชี ีวิตของตนเองได้

นอกจากการวัดและประเมินผลสัมฤทธ์ิทางด้านวิชาการแล้ว สถานศึกษามีการประเมินคุณธรรม
จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนโดยใช้แบบประเมินคุณธรรมตามพฤติกรรมตัวบ่งชี้ของ
สำนักงาน กศน.เปน็ เครือ่ งมอื ในการประเมนิ ตลอดจนได้จดั ทำหลกั ฐานการศึกษาอ่ืน ๆ ตามที่หลักสูตรกำหนด
อยา่ งครบถว้ น

ในดา้ นการจดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น กศน.อำเภอสุคริ นิ ได้เนน้ การพฒั นาผ้เู รยี นด้านวชิ าการ
และทักษะการดำเนินชวี ิตในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั Covid-19 เนน้ การส่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนได้
เรยี นรูผ้ า่ นการทำโครงงาน เพื่อใหน้ ักศึกษาเกิดการคดิ วิเคราะห์และคดิ สร้างสรรค์ผลงานและนวตั กรรม ซง่ึ ผล
จากการสง่ เสริมดังกลา่ วทำให้ กศน.อำเภอสุคริ นิ ประสบความสำเร็จในการเขา้ รว่ มประกวดโครงงานนักศึกษา
ทงั้ ระดบั เขตพืน้ ท่ีและระดับประเทศ

๓. ปจั จยั ทส่ี ่งผลต่อความสำเรจ็
สถานศกึ ษาให้ความสำคัญกับการพฒั นาผูเ้ รยี นในด้านวิชาการ จงึ มีการจัดกจิ กรรมเพื่อสง่ เสรมิ ให้

ผู้เรียนเกิดทักษะในดา้ นวิชาการทั้งทางด้านวิทยาศาสตรแ์ ละการใช้เทคโนโลยี โดยสง่ เสรมิ ให้มจี ัดกจิ กรรม
พฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น และมอบหมายให้ครวู างแผนการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นเรือ่ งการทำโครงงานและ
การใช้สอ่ื เทคโนโลยีในการจดั การเรียนรใู้ ห้ผูเ้ รียน ซง่ึ ดำเนินการตามมาตรการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื
ไวรัส Covid-19 อย่างเครง่ ครดั

การบรหิ ารงาน การวางแผนกิจกรรม ตลอดจนการใหค้ วามรว่ มมอื ของครูและบุคลากร รวมไปถึง
นกั ศกึ ษาและผปู้ กครองเปน็ ปัจจยั สำคญั ที่ทำให้การดำเนนิ งานของสถานศึกษาประสบความสำเร็จ แมว้ า่ จะมี
อุปสรรคและขอ้ จำกดั หลายประการในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 แต่
สถานศึกษากส็ ามารถดำเนนิ งานดา้ นการจดั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานไปได้ดว้ ยดี

๔. ปญั หาอุปสรรค
4.1 สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั Covid-๑๙ ท่ีส่งผลตอ่ การพบกลุ่มและการจัดกิจกรรม
ต่าง ๆ ของสถานศึกษา
๔.2 ครูบางทา่ นไม่มีพืน้ ฐานและทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยที เี่ พยี งพอต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ผู า่ นส่ือ
เทคโนโลยแี ละส่ือออนไลน์
4.๓ การสอนแบบออนไลน์ในบางรายวิชา เช่น คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย ไม่บรรลุ
วัตถปุ ระสงค์ของการเรยี นรูเ้ ท่าทค่ี วร เพราะเน้ือหาคอ่ นขา้ งยาก นกั ศึกษาจำเปน็ ต้องพบครู
๔.๔ จำนวนรายวิชามีมากเกินไป โดยเฉพาะรายวิชาเลือกส่งผลต่อการจัดทำแผนการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส Covid-19 ควรมีการ
ปรบั ลดรายวชิ า

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 12

5. ขอ้ นิเทศ
5.1 แนะนำให้ครูพฒั นาตนเองดา้ นการใช้สื่อเทคโนโลยีสำหรบั การศกึ ษา โดยแนะนำให้ศึกษาจากสอ่ื
ออนไลน์ต่าง ๆ เชน่ Youtube และอนื่ ๆ
5.1 แนะนำครูให้สร้างห้องเรียนบนเว็บ Google site ให้ผู้เรียนท่ีมีความสามารถเรียนรู้ด้วยตวั เองได้
ศกึ ษาและทำใบงานได้ในทีเ่ ดยี ว สามารถลดภาระและเวลาในการพบกลมุ่ ของครู
๕.๒ แนะนำใหค้ รูจดั ทำแผนการสอนแบบบูรณาการเนื้อหาวิชาท่ีสอดคล้องกัน เพอื่ ลดเวลาเรยี น

6. ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
6.1 ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา
- จดั อบรมพัฒนาบุคลากรด้านการใชเ้ ทคโนโลยีสำหรับการจดั การศกึ ษาแบบออนไลนท์ ่ี

หลากหลาย
๖.๒ ข้อเสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จงั หวัด
- พัฒนาครู ด้านการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยแี ละสือ่ ออนไลน์ รวมถึงวิธีการวดั ผล
ประเมินผลทเี่ หมาะสมและสอดคล้องกบั สถานการณ์
๖.๓ ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.
- ปรบั ปรงุ หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ.2551 โดยด่วน

7. Best Practice
การสง่ เสรมิ และเนน้ ให้ครูใชก้ ารจดั กระบวนการเรียนรูผ้ ่านโครงงาน ตลอดจนการจดั กิจกรรมพฒั นา

ผเู้ รียนในดา้ นวิชาการท่ีเน้นเร่ืองโครงงานวทิ ยาศาสตร์ โดยสถานศกึ ษามีกระบวนการในการดำเนินงานท่ี
กอ่ ใหเ้ กดิ Best Practice ดงั นี้

๑. การวางแผน (Plan) สถานศกึ ษาไดบ้ รรจุการจดั กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นในดา้ นการพัฒนาวชิ าการ
ท่ีเนน้ เร่อื งโครงงานวิทยาศาสตร์ไว้ในแผนการจัดกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนในภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศึกษา
๒๕๖๔ ทงั้ สองรอบ คือ ไตรมาส ๑-๒ และ ไตรมาส ๓-๔ นอกจากน้ี ผบู้ รหิ ารได้กำชับฝ่ายงานการศึกษาข้นั
พน้ื ฐานใหท้ ำความเข้าใจกับครทู กุ คนในเร่ืองการจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้ โดยใหเ้ น้นย้ำกระบวนการจัดการ
เรยี นรผู้ ่านโครงงาน โดยเฉพาะในกลมุ่ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์

๒. การดำเนนิ การตามแผน (Do) สถานศึกษาดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รียนตามแผน
คือ ในไตรมาส ๑-๒ และไตรมาส ๓-๔ ได้จดั กจิ กรรมเสริมสร้างทักษะการเรยี นรู้การจัดทำโครงงาน
วทิ ยาศาสตร์ใหก้ ับนักศึกษา รวมทงั้ สองรอบ ๑๔๐ คน และในส่วนของกจิ กรรมการจัดการเรียนการสอน ครูได้
จดั ทำแผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ีเน้นกระบวนการของโครงงาน สง่ เสรมิ ใหน้ กั ศึกษาไดค้ ิด วเิ คราะห์ และฝึกความ
กลา้ แสดงออก เนน้ การทำงานกล่มุ และใหน้ ำเสนอหน้าชัน้ เรียน โดยในทกุ ๆ กิจกรรม สถานศกึ ษาไดแ้ ต่งต้ัง
คณะนิเทศเพอื่ ตดิ ตามการดำเนินงาน

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสคุ ิริน

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 13
๓. การตรวจสอบ วดั ผล ประเมนิ ผล (Check) สถานศึกษามกี ารตรวจสอบผลการดำเนนิ กจิ กรรม
พัฒนาคุณภาพผ้เู รียนและกิจกรรมการจดั การเรียนการสอนของครู ผ่านรายงานการนเิ ทศกิจกรรมที่
คณะทำงานการนเิ ทศกจิ กรรม ซงึ่ ผู้นิเทศได้ให้รายละเอียดของผลการจดั กจิ กรรม ปญั หาอปุ สรรค และ
ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพื่อวเิ คราะห์และประมวลผล แลว้ นำไปเป็นขอ้ มูลในแก้ไขปัญหาในการจดั กิจกรรมคร้งั ต่อ
ๆ ไป
๔. การปรับปรุงแก้ไข (Act) สถานศึกษานำข้อมูลจากการตรวจสอบ วดั ผล ประเมินผลขา้ งต้น เพ่ือ
กำหนดแนวทางปรบั ปรุงแก้ไข และการพฒั นา เพ่ือนำไปสู่การวางแผนการจัดกิจกรรมในครั้งตอ่ ไป
ผลจากการดำเนินการขา้ งตน้ สง่ ผลให้สถานศกึ ษาประสบความสำเร็จในการจัดกระบวนการเรยี นรู้
ผา่ นโครงงาน นกั ศึกษา กศน.อำเภอสุคริ นิ ท่เี ข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น และผา่ นกระบวนการ
จดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ การทำงานกลมุ่ สง่ เสริมการคิด วเิ คราะห์ มีคุณลักษณะเดน่ ทักษะในการคดิ และ
การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยในภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ตัวแทนนกั ศึกษา กศน.อำเภอสคุ ริ นิ
สามารถคว้ารางวัลรองชนะเลิศ อันดบั ๑ จากการเขา้ รว่ มการแข่งขันโครงงานในระดับพ้ืนท่ี ณ ศูนย์
วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษานราธวิ าส ไดเ้ ปน็ ตัวแทนของศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษานราธิวาส เขา้ รว่ มการ
แข่งขนั โครงงานในระดับประเทศ ซึ่งสามารถคว้ารางวลั อันดับ ๓ ระดบั ประเทศมาได้
8. ภาพกจิ กรรม

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคริ นิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 14

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสุคิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 15

แบบรายงานการนิเทศ
เร่อื ง งานส่งเสริมการรหู้ นังสือ

๑. เกริ่นนำ เร่ืองของนโยบาย จุดเนน้ การดำเนินงานของสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ.2564
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีนโยบายดานการจัดการ

ศึกษและการเรียนรู การสงเสริมการรูหนังสือพัฒนาระบบฐานขอมูลผู้ไม่รูหนังสือ ใหมีความครบถวน ถูกตอง
ทันสมัยและเป็นระบบเดียวกัน ทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค พัฒนาครู กศน.และภาคีเครือขายท่ีรวมจัด
การศึกษา ใหมีความรู ความสามารถ และทักษะการ จัดกระบวนการเรียนรูใหกับผูไมรูหนังสืออยางมี
ประสิทธิภาพ และอาจจัดใหมีอาสาสมัครสงเสริมการรูหนังสือใน พื้นท่ีท่ีมีความตองการจำเปนพิเศษ สงเสริม
สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมสงเสริมการรูหนังสือ การคงสภาพการรูหนังสือ การพัฒนาทักษะการรู
หนงั สอื ใหกับประชาชนเพอื่ เป็นเคร่ืองมอื ในการศึกษาและเรยี นรูอยางตอเนื่องตลอดชีวติ ของประชาชน

2. สภาพท่ีพบ
1. มีการระบาดโรคโควิด -19 มีมาตรการป้องกัน จัดตั้งจุดคัดกรอง จุดล้างมือ แอลกอฮอล์เจล การ

ตรวจวัดอุณหภูมิทางร่างกาย และสวมหน้ากากอนามัยทุกคร้ัง เว้นระยะห่างอย่างน้อย 1-2 เมตร ขณะ
ปฏิบัติงานหรือทำกิจกรรม ให้ความรู้เรื่องโรคและการปฏบิ ัตติ วั

2. มีการใชแ้ บบประเมินในการทดสอบระดบั การรูห้ นังสือไทย
3. มีการลงพื้นท่สี ำรวจข้อมูลผู้ไมร่ ู้หนังสือโดยใชเ้ ครื่องมือสำรวจระดับการรู้หนังสือและความต้องการ
การ เรยี นรู้แบบรายบคุ คล
4. มกี ารนำข้อมูลทีไ่ ด้จากสำรวจ เข้าสูร่ ะบบฐานข้อมูลผ้ไู ม่ร้หู นังสือครบถว้ นเปน็ ปจั จบุ นั
5. มีจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้โดยเปน็ ไปตามหลักสูตรการร้หู นงั สอื พทุ ธศกั ราช 2557ทีก่ ำหนดไว้
6. มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ได้กำหนดสอดคล้องในการ
ดำเนนิ ชวี ิตประจำวนั ของผเู้ รียนและตามสภาพพน้ื ท่ี
7. มีแบบทดสอบ ในการวัดและประเมินผล เป็นไปตามแนวทางหลักสูตรการรู้หนังสือไทย
พุทธศักราช 2557 โดยเน้ือหาที่ใช้ในการวัดผลสอดคล้องในการดำเนินชีวิตประจำวันของผู้เรียนและตาม
สภาพพ้ืนท่ี
8. มีการกำหนดเกณฑ์การจบหลักสูตรท่ีได้ทำตามโครงการที่จัดทำขึ้นมาตามความเหมาะสมกับ
บรบิ ทตามสภาพพ้ืนท่ี โดยการทำแบบประเมนิ วัดผล
9. มีการจัดทำหลักฐานท่ีเกย่ี วข้องกับการจบหลักสูตร คือ ระเบียนแสดงผลการเรียนของผู้เรียนท่ีจบ
หลักสตู ร แต่ไมม่ ีวุฒบิ ตั รใหก้ บั ผจู้ บหลักสูตร
10. มกี ารสรปุ รายงานผลการดำเนนิ งานประจำปงี บประมาณ

3. ปจั จยั ทีส่ ง่ ผลตอ่ ความสำเร็จ (ถา้ ม)ี
1. เนือ้ หาและหลักสตู รสอดคล้องกบั การดำเนนิ ชีวิตประจำวัน
2. ส่อื และเทคโนโลยีทท่ี ันสมัยในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสคุ ริ ิน

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 16

3. ผูเ้ รียนมกี ารฝกึ ฝนและนำไปใช้ในการส่อื สารอย่างตอ่ เน่ือง
4. ปัญหาอปุ สรรค

1. วัสดอุ ปุ กรณใ์ นการกิจกรรม มไี ม่เพยี งพอ
2. กลุ่มเป้าหมายมเี วลาวา่ งไม่ตรงกนั

5. ข้อนเิ ทศต่อผู้รับการนิเทศ
๑. แนะนำให้ครูนำข้อมูลท่ีสำรวจมารวบรวมเป็นสารสนเทศโดยแยกเป็นหมู่บ้านให้ครบถ้วนเป็น

ปจั จุบัน
2. แนะนำให้ครูใช้ส่ือในการจัดการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย ทันสมัยและเหมาะสมกับ

กลุ่มเป้าหมาย เช่น บัตรคำเก่ียวกับการฝึกสะกดคำเขียนด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ มองเห็นได้ชัดเจน และใช้ภาพหรือ
คลิปวดี โี อประกอบในการจัดกระบวนการเรยี นการสอน

3. แนะนำให้ครูจัดทำแผนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการรู้หนังสือและออกแบบกิจกรรมการ
เรียนรู้ท่นี ่าสนใจ เช่น ใช้กจิ กรรมการรอ้ งเพลงบูรณาการกับการเรยี นการสอน เร่อื งเล่าในชมุ ชน ข่าว ฯลฯ

4. ควรให้กลุ่มเป้าหมาย มีส่วนร่วมในการจัดกระบวนการเรียนการสอน เช่น แลกเปลี่ยนเรียนรู้
เกี่ยวกับอาชพี และประสบการณ์

5. แนะนำให้มีการจัดทำหลักฐานท่ีเกี่ยวข้องกับการจบหลักสูตร เช่น ทะเบียนผู้เรยี น แบบบันทึกผล
การเรยี นรู้ แบบรายงานผลผู้จบหลักสูตรใหเ้ ป็นปัจจบุ ัน

6. ข้อเสนอแนะเพ่อื การพฒั นา
6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศึกษา (ถ้าม)ี
1. ควรมกี ารพฒั นาหลกั สตู รให้เหมาะสมกับบรบิ ทในพนื้ ที่
๒. เนน้ ยำ้ ให้ครูสำรวจขอ้ มลู จัดทำเปน็ สารสนเทศ บนั ทึกลงในฐานข้อมลู ผู้ไมร่ ู้หนังสือ
๓. ควรมีการนเิ ทศติดตามผลอย่างสมำ่ เสมอ
6.2 ข้อเสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน.จงั หวดั (ถ้ามี)
1. ควรจัดกจิ กรรมให้ครูมีการแลกเปลี่ยนร้จู ากสถานการณ์จริงของแต่ละบริบทพ้นื
๒. ควรมกี ารจัดอบรมให้กับบุคลากรเพื่อการพฒั นากระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ี
ทันสมัย
6.3 ขอ้ เสนอแนะสำนักงาน กศน.(ถ้ามี)
1. ปรับปรงุ ฐานขอ้ มูลผไู้ ม่รู้หนงั สอื ให้เป็นระบบและข้อมูลเปน็ ปจั จุบันสะดวกต่อการใชง้ าน

7. Best Practice (ถา้ ม)ี
-

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสุคริ นิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 17
8. ภาพกิจกรรม อย่างนอ้ ย 4 – 6 ภาพ
8.ภาพกจิ กรรม อยา่ งน้อย 4 – 6 ภาพ

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสคุ ริ นิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 18

แบบรายงานการนเิ ทศ

เร่อื ง ศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน reskill / upskill หนึ่งตำบล หนง่ึ อาชีพ

1. เกรน่ิ นำ เรอื่ งของนโยบาย จดุ เนน้ การดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ.2564

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดือนธันวาคม
2562 ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับช้ัน ซึ่งรัฐบาลและ
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศและมีมาตรการเฝ้าระวังเพ่ือป้องกันการแพร่กระจายของเช้ือไวรัส
ดังกล่าว อาทิ กําหนดให้มี การเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานท่ีของ
โรงเรียนและสถาบันการศึกษา ทุกประเภท เพ่ือจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทํากิจกรรม
ใด ๆ ที่มีผู้เข้าร่วมเป็นจำนวนมาก การปิดสถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกําหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการ
สอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้ แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทาง
โทรทัศน์ วทิ ยุ และโซเซียลมีเดีย ตา่ ง ๆ รวมถงึ การสอ่ื สารแบบทางไกลหรือด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์

ในส่วนของสํานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนินงานใน
ภารกิจ ตอ่ เน่ืองต่าง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชีวิตประจาํ วนั และการจัดการเรียนรู้เพอ่ื รองรับการชีวติ แบบปกติ
วิถีใหม่ (New Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสำคัญกับการดําเนินงานตามมาตรการการ
ป้องกัน การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุก
ประเภท หากมีความจําเป็นต้องมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการป้องกันท่ี
เข้มงวด มีเจล แอลกอฮอลล้างมือ ผู้รับบริการต้องใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่าง
ระหว่างบคุ คล เนน้ การใช้สอ่ื ดจิ ิทลั และเทคโนโลยอี อนไลนใ์ นการจัดการเรยี นการสอน

ตามท่ี สำนักงาน กศน. ได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน เพ่ือเป็นแนวทางในการ
ดำเนินงานของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดทุกแห่ง ตามภารกิจหลักประกอบด้วย งานการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีนโยบายในการส่งสริมการจัดการศึกษาและการ
เรียนรู้ตลอดชีวิตสําหรับประชาชนที่เหมาะสมกับทุกช่วงวัย ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทํา
ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย
ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของประชาชน ผู้รับบริการ และสามารถออก ใบรับรองความรู้
ความสามารถเพ่ือนําไปใช้ในการพัฒนาอาชีพได้ ส่งเสริมและยกระดับทักษะภาษาอังกฤษให้กับประชาชน
(English for ALL) ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสําหรับผู้ท่ีเข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ การฝึกอบรมอาชีพ
ท่ีเหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมสมรรถนะผู้สูงวัย และหลักสูตร
การดแู ลผูส้ งู วยั โดยเน้นการมสี ่วนรว่ มกบั ภาคีเครอื ขา่ ยทกุ ภาคส่วนในการเตรยี มความพร้อมเข้าส่สู ังคมสูงวยั

2. สภาพทพี่ บ

จากการนิเทศ พบว่า ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุคิรินได้มีการลง
พ้ืนที่เพื่อทำการนิเทศการจัดกิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ซึ่งในไตรมาส 1-2 ปีงบประมาณ 2564 ได้มีการ
เปดิ หลกั สูตรการฝึกอาชีพระยะส้ันในรปู แบบ กลมุ่ สนใจ ไมเ่ กิน 30 ช่วั โมงและอาชพี พืน้ ฐาน 30 ชั่วโมงขึ้นไป
และ1 อำเภอ 1 อาชีพ โดยจากการลงไปนเิ ทศ กศน.ตำบลภเู ขาทองในหลักสูตรการตดั เย็บกระเป๋าผ้าเยตแิ ละ
การตัดเย็บกระเป๋า ปรากฏวา่ ผู้เรียนมีความสนใจอย่างมาก และสามารถฝึกจนสามารถตัดเย็บกระเป๋าได้ ทาง
ครูผู้สอนได้มีการบรรยายให้ความรู้และให้ผ้เู รียนไดล้ งมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ โดยวิทยากรเป็นผู้ทมี่ ีความชำนาญในเรือ่ ง

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสุคริ ิน

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 19

การตัดเย็บกระเป๋าผ้าจึงมีการถ่ายทอดที่ดีมากและเข้าใจง่าย มีการประเมินชิ้นงานทุกใบ และหากไม่สวยงาม
ให้ทำการแกไ้ ขใหถ้ ูกต้องและสวยงาม

จากการลงพื้นท่ีนิเทศพบว่าวัสดุอุปกร์ท่ีได้รับจัดสรรมามีเพียงพอแต่ด้วยงบประมาณที่ได้รับใ นพ้ืนท่ี
ตำบลภูเขาทองมีเคร่ืองปักจักรเพียงเครื่องเดียวส่งผลให้ในภาคการปฏิบัติต้องใช้เวลานาน แต่ผู้เรียนมีความ
ตั้งใจยอมสละเวลาเพื่อทำกจิ กรรมดงั กลา่ วเนื่องจากวิทยากรมีเครือ่ งปักจักรหลายตัวแต่เน่ืองจากระยะทางไกล
และนำ้ หนกั ทม่ี มี ากจึงไมส่ ามารถทำการขนยา้ ยมาได้

3. ปจั จัยทสี่ ่งผลต่อความสำเรจ็ (ถ้าม)ี

1. การกำหนดกลยทุ ธใ์ นการดำเนินงานโดยใช้หลักการและแนวคดิ ในการวิเคราะหข์ ้อมูล ไดแ้ ก่
SWOT Analysis

2. การมีส่วนร่วมของบุคลากร กศน.ตำบล ทำให้ไดข้ ้อมลู ที่ถูกต้องตามสภาพจรงิ และสามารถ
นำไปใชใ้ นการกำหนดกรอบแนวทาง เทคนิควธิ กี ารดำเนินงาน

4. ปญั หาอุปสรรค

1. กลุ่มเป้าหมายขาดความรู้พ้ืนฐานด้านเทคโนโลยี ทำให้เรียนร้ไู ด้ไม่ต่อเน่ือง
2. กลุ่มเป้าหมายไม่ได้พกพกเคร่ืองมือเทคโนโลยีที่จะใชใ้ นการเรยี นรู้
3. สถานทใ่ี นการฝกึ จัดโครงการไม่เอ้อื ต่อการอบรมเกีย่ วกับระบบออนไลน์

5. ขอ้ นิเทศต่อผู้รับการนิเทศ

๑. แนะนำให้ครูจัดกลุ่มเป้าหมายในการจัดกิจกรรมกลุ่มละไม่เกิน 15คน เพ่ือประสิทธิภาพในการ
เรยี นรู้
2. แนะนำให้ครูใช้สื่อในการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย ทันสมัยและเหมาะสมกับ
กลุ่มเป้าหมาย
3. แนะนำให้ครเู พ่ิมจำนวนวนั เวลาในการจัดโครงการให้มากขึ้น
4. ควรใหก้ ลมุ่ เปา้ หมาย มีสว่ นร่วมในการจดั กระบวนการเรยี นการสอน

6. ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา

6.1 ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศึกษา (ถ้ามี)
1. ควรมกี ารพัฒนาหลกั สูตรให้เหมาะสมกับบริบทในพน้ื ท่ี
๒. ควรมีการนเิ ทศติดตามผลอยา่ งสม่ำเสมอ

6.2 ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จังหวดั (ถา้ มี)
1. ควรมีการจดั วางโครงสรา้ งในระดบั จังหวัด และจัดทำเซริ ฟ์ เวอร์เป็นของตัวเอง
๒. ควรมกี ารจัดอบรมให้กบั บุคลากรเพื่อการพฒั นากระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ี

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสคุ ริ ิน

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 20
ทันสมัย

6.3 ข้อเสนอแนะสำนักงาน กศน.(ถา้ มี)
-

7. Best Practice (ถ้าม)ี
-

8. ภาพกิจกรรม อย่างนอ้ ย 4 – 6 ภาพ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสุคริ นิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 21

แบบรายงานการนิเทศ

เร่อื ง โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน

1. เกริน่ นำ เรื่องของนโยบาย จุดเน้นการดำเนนิ งานของสำนกั งาน กศน.ประจำปี พ.ศ.2564

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดือนธันวาคม
2562 ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับช้ัน ซ่ึงรัฐบาลและ
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศและมีมาตรการเฝ้าระวังเพ่ือป้องกันการแพร่กระจายของเช้ือไวรัส
ดังกล่าว อาทิ กําหนดให้มี การเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานท่ีของ
โรงเรียนและสถาบันการศกึ ษา ทุกประเภท เพื่อจัดการเรยี นการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทํากิจกรรม
ใด ๆ ท่ีมีผู้เข้าร่วมเป็นจํานวนมาก การปิดสถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกําหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการ
สอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้ แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทาง
โทรทศั น์ วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ต่าง ๆ รวมถึง การส่ือสารแบบทางไกลหรือดว้ ยวิธีอิเล็กทรอนกิ ส์

ในส่วนของสํานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนินงานใน
ภารกิจ ต่อเน่อื งตา่ ง ๆ ในสถานการณก์ ารใช้ชีวิตประจาํ วนั และการจัดการเรยี นรู้เพื่อรองรับการชีวติ แบบปกติ
วิถีใหม่ (New Normal) ซ่ึงกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสําคัญกับการดําเนินงานตามมาตรการการ
ป้องกัน การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุก
ประเภท หากมีความจําเป็นต้องมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการป้องกันท่ี
เข้มงวด มีเจล แอลกอฮอลล้างมือ ผู้รับบริการต้องใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่าง
ระหว่างบุคคล เนน้ การใชส้ ่อื ดิจทิ ลั และเทคโนโลยีออนไลนใ์ นการจดั การเรยี นการสอน

ตามท่ี สำนักงาน กศน. ได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน เพ่ือเป็นแนวทางในการ
ดำเนินงานของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดทุกแห่ง ตามภารกิจหลักประกอบด้วย งานการศึกษาขั้น
พื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ืองและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีนโยบายในการพัฒนาหลักสูตร ส่ือ เทคโนโลยี
และนวัตกรรมทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้ และรูปแบบ การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ในทุกระดับ ทุก
ประเภท เพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสม กับทุกกลุ่มเป้าหมาย มีความทันสมัย สอดคล้องและ
พร้อมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปัจจุบัน ความต้องการ ของผู้เรียน และสภาวะการเรียนรู้ในสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต พัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Leaming Platform ท่รี องรับ DEEP ของ
กระทรวงศึกษาธิการ และช่องทางเรียนรู้รูปแบบอ่ืน ๆ ท้ัง Online On-site และ On-air พัฒนาแหล่งเรียนรู้
ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนย์การเรียนรู้
ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อให้สามารถ “เรียนรู้ได้อย่างท่ัวถึง
ทุกท่ี ทุกเวลา” พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝึกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอนความรู้
ระบบสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการให้บริการระบบทดสอบ
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-exam)

2. สภาพทพ่ี บ
จากการนิเทศ พบว่า ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุคิรินได้มีการเปิด
จัดอบรมโครงการดิจิทัลชุมชนโดยได้มีการจัดในรูปแบบออนไลน์ท้ัง 5 ตำบล เป้าหมายตำบลละ 25 คน ซึ่ง
เป็นการขยายผลให้กับประชาชนทั่วไปของครู ค.โดยครูกศน.ตำบล เพ่ือเป็นการส่งเสริมการค้าขายออนไลน์

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคิริน

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 22

ให้กับประชาชนในพื้นท่ีอำเภอสุคิริน ในไตรมาส1-2 ครูกศน.ตำบลได้เข้ารับการพัฒนาอบรมหลักสูตรดิจิทัล
การจัดทำบรรจุภัณฑ์ การออกแบบโลโก้ การออกแบบผลิตภณั ฑ์ในรปู แบบใหม่ๆ เพ่ือเป็นการส่งเสริมให้ กศน.
ตำบลมีการโฆษณาสนิ ค้า OOCC ของแต่ละ กศน.ตำบลและเชิญชวนผทู้ ่ีมีความสนใจร่วมกันเรียนรู้การไลฟส์ ด
ขายสินคา้ ออนไลนผ์ า่ น Facebook Live และแอพลิเคชนั่ อน่ื ๆ

เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรน่า -19 ทำให้การดำเนินกิจกรรมมีคววาม
เปลี่ยนแปลงเนื่องจากต้องจำกัดผู้เข้าร่วมอบรมแบบOn-site ไม่เกิน 5 คนจึงต้องมีการปรับใช้ในรูปแบบ
ออนไลน์เพ่ิมด้วยส่งผลให้มีความยุ่งยากในการประเมินผลผู้เข้ารับการอบรมว่ามีความสามารถและเข้าใจได้
มากน้อยเพยี งใด

3. ปัจจัยท่สี ่งผลต่อความสำเรจ็ (ถา้ ม)ี
1. การกำหนดกลยทุ ธ์ในการดำเนนิ งานโดยใช้หลักการและแนวคดิ ในการวิเคราะหข์ ้อมูล ไดแ้ ก่

SWOT Analysis
2. การมสี ่วนรว่ มของบุคลากร กศน.ตำบล ทำให้ได้ข้อมลู ที่ถูกต้องตามสภาพจริง และสามารถ

นำไปใช้ในการกำหนดกรอบแนวทาง เทคนิควธิ ีการดำเนินงาน

4. ปญั หาอุปสรรค

1. กลุ่มเปา้ หมายขาดความรู้พน้ื ฐานด้านเทคโนโลยี ทำให้เรยี นรู้ได้ไม่ต่อเน่ือง
2. กลุม่ เป้าหมายไม่ได้พกพกเครอ่ื งมือเทคโนโลยีทีจ่ ะใชใ้ นการเรียนรู้
3. สถานทใี่ นการฝกึ จัดโครงการไม่เอื้อต่อการอบรมเก่ียวกับระบบออนไลน์

5. ข้อนเิ ทศตอ่ ผรู้ บั การนเิ ทศ

๑. แนะนำให้ครูจัดกลุ่มเป้าหมายในการจัดกิจกรรมกลุ่มละไม่เกิน 15คน เพื่อประสิทธิภาพในการ
เรยี นรู้
2. แนะนำให้ครูใช้สื่อในการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย ทันสมัยและเหมาะสมกับ
กล่มุ เปา้ หมาย
3. แนะนำใหค้ รเู พ่มิ จำนวนวันเวลาในการจดั โครงการให้มากขน้ึ
4. ควรใหก้ ล่มุ เปา้ หมาย มีสว่ นร่วมในการจดั กระบวนการเรียนการสอน

6. ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา

6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศกึ ษา (ถา้ มี)
1. ควรมกี ารพัฒนาหลักสูตรใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทในพื้นที่
๒. ควรมีการนิเทศติดตามผลอย่างสมำ่ เสมอ

6.2 ข้อเสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จังหวดั (ถ้ามี)

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสคุ ริ ิน

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 23
1. ควรมกี ารจัดวางโครงสร้างในระดบั จังหวดั และจัดทำเซิรฟ์ เวอรเ์ ป็นของตวั เอง
๒. ควรมกี ารจดั อบรมให้กบั บุคลากรเพื่อการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่
ทนั สมัย
6.3 ขอ้ เสนอแนะสำนักงาน กศน.(ถ้ามี)
-
7. Best Practice (ถ้ามี)
-
8. ภาพกิจกรรม อย่างน้อย 4 – 6 ภาพ

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสคุ ริ นิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 24

แบบรายงานการนิเทศ

เรอ่ื ง โครงการภาษาตา่ งประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ

1. เกรนิ่ นำ เรอื่ งของนโยบาย จดุ เนน้ การดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ.2564

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เม่ือเดือนธันวาคม
2562 ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับช้ัน ซ่ึงรัฐบาลและ
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศและมีมาตรการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัส
ดังกล่าว อาทิ กําหนดให้มี การเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานท่ีของ
โรงเรียนและสถาบันการศกึ ษา ทุกประเภท เพ่ือจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทํากิจกรรม
ใด ๆ ท่ีมีผู้เข้าร่วมเป็นจํานวนมาก การปิดสถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกําหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการ
สอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้ แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทาง
โทรทัศน์ วทิ ยุ และโซเซียลมีเดยี ตา่ ง ๆ รวมถึง การส่ือสารแบบทางไกลหรือดว้ ยวธิ อี ิเลก็ ทรอนกิ ส์

ในส่วนของสํานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนินงานใน
ภารกิจ ตอ่ เนือ่ งตา่ ง ๆ ในสถานการณ์การใชช้ ีวิตประจําวนั และการจัดการเรยี นรู้เพื่อรองรับการชีวติ แบบปกติ
วิถีใหม่ (New Normal) ซ่ึงกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสําคัญกับการดําเนินงานตามมาตรการการ
ป้องกัน การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุก
ประเภท หากมีความจําเป็นต้องมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการป้องกันท่ี
เข้มงวด มีเจล แอลกอฮอลล้างมือ ผู้รับบริการต้องใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่าง
ระหวา่ งบุคคล เน้นการใชส้ อื่ ดิจิทัลและเทคโนโลยีออนไลนใ์ นการจดั การเรยี นการสอน

ตามที่ สำนักงาน กศน. ได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน เพ่ือเป็นแนวทางในการ
ดำเนินงานของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดทุกแห่ง ตามภารกิจหลักประกอบด้วย งานการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ืองและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีนโยบายในการพัฒนาหลักสูตร ส่ือ เทคโนโลยี
และนวัตกรรมทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้ และรูปแบบ การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ในทุกระดับ ทุก
ประเภท เพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสม กับทุกกลุ่มเป้าหมาย มีความทันสมัย สอดคล้องและ
พร้อมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปัจจุบัน ความต้องการ ของผู้เรียน และสภาวะการเรียนรู้ในสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต พัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Leaming Platform ทร่ี องรับ DEEP ของ
กระทรวงศึกษาธิการ และช่องทางเรียนรู้รูปแบบอ่ืน ๆ ทั้ง Online On-site และ On-air พัฒนาแหล่งเรียนรู้
ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนย์การเรียนรู้
ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อให้สามารถ “เรียนรู้ได้อย่างทั่วถึง
ทุกท่ี ทุกเวลา” พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝึกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอนความรู้
ระบบสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการให้บริการระบบทดสอบ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-exam)

2. สภาพท่ีพบ
จากการนิเทศ พบว่า ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุคิรินได้มีการเปิด

จัดอบรมโครงการภาษาต่างประเทศเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพ ในปีงบประมาณ 2564 ได้รับการจัดสรรมา

จำนวน 2 รอบคือในไตรมาส1-2 และในไตรมาส3 โดยได้จัดให้กับประชาชนท่ัวไป ผู้ที่สนใจในพ้ืนที่อำเภอศรี

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสคุ ิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 25

สาคร จำนวนรุ่นละ 5 วัน 30 ชั่วโมง ซ่ึงในรุ่นแรกจัดในพ้ืนที่ตำบลเกียร์และในรุ่นท่ี2มีการเปล่ียนแปลง
สถานที่เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า-19 จากเดิมบ้านยาเด๊ะ ตำบลมาโมง เป็น
ตำบลสุคิริน และด้วยมาตรการของศบค.จังหวดั นราธิวาสว่าด้วยมาตรการต่างๆเช่น การเว้นระยะห่าง การลง
พื้นท่ีแหล่งท่องเท่ียวจริง ก็มีความจำเป็นต้องงดเว้นด้วยบางหมู่บ้านได้ปิดหมู่บ้านเพ่ือป้องกันการแพร่ระบาด
ของเชื้อโรคดังกล่าว อย่างไรก็ดีวิทยากรได้ให้ความร่วมมืออย่างท่ีในการให้ความรู้ตามเน้ือหาและหลักสูตรท่ี
ทางสำนกั งาน กศน.ไดก้ ำหนดไว้ และบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ กุ ประการ

เน่ืองด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรน่า 2019 ส่งผลกระทบในหลายๆอย่าง เช่น
การจัดอบรมที่มีการจำกัดจำนวนผู้เข้ารับการอบรม ไม่เกินคร้ังละ 5 คน บางพื้นท่ีไม่สามารถเข้า-ออกได้
เน่ืองจากเกิดการระบาดหรือเกรงการเกิดคลัสเตอร์ใหม่ๆจึงต้องมีการปรับเป็นรูปแบ บออนไลน์และOn-site
ร่วมกนั เพ่ือใหก้ ารดำเนินงานการจดั กิจกรรมมคี วามเรียบรอ้ ยและบรรลุผลตามเปา้ มากน้อยเพยี งใด

3. ปจั จัยทส่ี ่งผลตอ่ ความสำเรจ็ (ถ้ามี)

1. การกำหนดกลยทุ ธใ์ นการดำเนนิ งานโดยใชห้ ลักการและแนวคิดในการวเิ คราะหข์ ้อมูล ไดแ้ ก่
SWOT Analysis

2. การมสี ว่ นร่วมของบคุ ลากร กศน.ตำบล ทำให้ไดข้ ้อมูลท่ีถูกต้องตามสภาพจริง และสามารถ
นำไปใชใ้ นการกำหนดกรอบแนวทาง เทคนิควธิ กี ารดำเนินงาน

4. ปัญหาอุปสรรค

1. กลุ่มเปา้ หมายขาดความรู้พ้ืนฐานดา้ นเทคโนโลยี ทำใหเ้ รยี นร้ไู ดไ้ ม่ตอ่ เนื่อง
2. กลุ่มเป้าหมายไม่ได้พกพกเครอื่ งมือเทคโนโลยีทีจ่ ะใชใ้ นการเรียนรู้
3. สถานทใ่ี นการฝกึ จัดโครงการไมเ่ อื้อต่อการอบรมเก่ยี วกับระบบออนไลน์

5. ขอ้ นเิ ทศตอ่ ผรู้ บั การนิเทศ

๑. แนะนำให้ครูจัดกลุ่มเป้าหมายในการจัดกิจกรรมกลุ่มละไม่เกิน 15คน เพ่ือประสิทธิภาพในการ
เรยี นรู้
2. แนะนำให้ครูใช้ส่ือในการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย ทันสมัยและเหมาะสมกับ
กลุม่ เป้าหมาย
3. แนะนำใหค้ รเู พมิ่ จำนวนวันเวลาในการจัดโครงการใหม้ ากขึน้
4. ควรให้กลุม่ เปา้ หมาย มีสว่ นรว่ มในการจัดกระบวนการเรียนการสอน

6. ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การพัฒนา

6.1 ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศกึ ษา (ถ้ามี)

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคริ ิน

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 26
1. ควรมกี ารพฒั นาหลักสตู รให้เหมาะสมกบั บริบทในพืน้ ท่ี
๒. ควรมีการนิเทศตดิ ตามผลอย่างสม่ำเสมอ
6.2 ข้อเสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จังหวดั (ถ้ามี)
1. ควรมีการจัดวางโครงสรา้ งในระดับจงั หวัด และจดั ทำเซริ ฟ์ เวอร์เปน็ ของตวั เอง
๒. ควรมกี ารจดั อบรมให้กับบุคลากรเพื่อการพฒั นากระบวนการจดั การเรียนการสอนที่
ทันสมยั
6.3 ขอ้ เสนอแนะสำนักงาน กศน.(ถา้ มี)
-
7. Best Practice (ถ้าม)ี
-
8. ภาพกิจกรรม อย่างนอ้ ย 4 – 6 ภาพ

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสคุ ิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 27

แบบรายงานการนิเทศ

เรอื่ ง การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวิต

1. เกริน่ นำ เรือ่ งของนโยบาย จดุ เน้นการดำเนนิ งานของสำนกั งาน กศน.ประจำปี พ.ศ.2564

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดือนธันวาคม
2562 ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับช้ัน ซ่ึงรัฐบาลและ
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศและมีมาตรการเฝ้าระวังเพ่ือป้องกันการแพร่กระจายของเช้ือไวรัส
ดังกล่าว อาทิ กําหนดให้มี การเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานที่ของ
โรงเรียนและสถาบันการศึกษา ทุกประเภท เพ่ือจัดการเรยี นการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทํากิจกรรม
ใด ๆ ท่ีมีผู้เข้าร่วมเป็นจํานวนมาก การปิดสถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกําหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการ
สอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้ แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทาง
โทรทศั น์ วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ตา่ ง ๆ รวมถงึ การสือ่ สารแบบทางไกลหรอื ดว้ ยวิธอี ิเล็กทรอนิกส์

ในส่วนของสํานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนินงานใน
ภารกิจ ต่อเน่อื งต่าง ๆ ในสถานการณ์การใชช้ ีวิตประจาํ วนั และการจัดการเรยี นรู้เพอื่ รองรับการชีวิตแบบปกติ
วิถีใหม่ (New Normal) ซ่ึงกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสําคัญกับการดําเนินงานตามมาตรการการ
ป้องกัน การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุก
ประเภท หากมีความจําเป็นต้องมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการป้องกันท่ี
เข้มงวด มีเจล แอลกอฮอลล้างมือ ผู้รับบริการต้องใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่าง
ระหวา่ งบคุ คล เนน้ การใช้สอื่ ดจิ ทิ ลั และเทคโนโลยีออนไลน์ในการจัดการเรยี นการสอน

ตามที่ สำนักงาน กศน. ได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน เพื่อเป็นแนวทางในการ
ดำเนินงานของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดทุกแห่ง ตามภารกิจหลักประกอบด้วย งานการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีนโยบายจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับ
ทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ท่ีสอดคล้องกับความต้องการจําเป็นของแต่ละบุคคล และ
มุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดํารงชีวิตตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้มีความรู้
ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณ์
ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจําวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสําหรับการปรับตัวให้ทันต่อการ
เปล่ียนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาสําคัญต่าง ๆ เช่น
การอบรมจติ อาสา การให้ความรู้เพ่ือการปอ้ งการการแพรร่ ะบาด ของเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)
การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การป้องกันภัยยาเสพติด
เพศศึกษา การปลูกฝังและการสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัย ในชวี ิตและทรัพยส์ ิน ผ่านการอบรม
เรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม การอบรมส่งเสริมความสามารถ
พเิ ศษต่าง ๆ เปน็ ตน้
2. สภาพทพ่ี บ

จากการนิเทศ พบว่า ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุคิรินได้มีการจัด

อบรมให้ความรู้แกป่ ระชาชนทั่วไปไม่วา่ จะเป็นเรื่องการให้ความรูเ้ กี่ยวกับเชื้อไวรัสโคโรนา่ 2019 และการจัด

โครงการการฉีดวัคซนี ต้านเชื้อไวรสั โคโรน่า 2019 ท้ัง 2 โครงการมคี วามสำคัญและเหมาะสมกบั ยุคสมัยและ

เป็นการให้ความรู้ที่จำเป็นและอีกท้ังยังเป็นการร่วมยับยั้ง ช่วยชาติในอีกทางหนึ่งด้วย ซึ่งโครงการดังกล่าว

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสคุ ริ นิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 28

ได้รับเกียรติจากเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ของในแต่ละตำบลมาให้ความรู้กับประชาชนในพ้ืนที่ทั้งในรูปแบบออนไลน์
และOn-site และเน้นดำเนินการตามมาตรการ D-M-H-T-T-A อย่างเคร่งครัดโดยมีองค์กรนักศึกษาของแต่ละ
ตำบลทำหน้าท่ีคัดกรองร่วมกับอสม.วัดอุณหภูมิและฉีดเจลแอลกอฮอลล้างมือ และสวมใส่หน้ากากอนามัย
ตลอดการอบรม มีการลงลายมือชอื่ ผู้มาตดิ ต่อและผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม เพอ่ื งา่ ยตอ่ การติดตามประสานงาน มกี าร
ประชมุ วางแผนอยา่ งรัดกมุ อย่างต่อเน่อื ง

เน่ืองด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส โคโรน่า 2019 ส่งผลกระทบในหลายๆอย่าง เช่น
การจัดอบรมท่ีมีการจำกัดจำนวนผู้เข้ารับการอบรม ไม่เกินคร้ังละ 5 คน บางพื้นที่ไม่สามารถเข้า-ออกได้
เน่ืองจากเกิดการระบาดหรือเกรงการเกิดคลัสเตอร์ใหม่ๆจึงต้องมีการปรับเป็นรูปแบบออนไลน์และ On-site
รว่ มกนั เพ่ือให้การดำเนินงานการจัดกิจกรรมมคี วามเรียบร้อยและบรรลผุ ลตามเปา้ มากน้อยเพียงใด

3. ปัจจยั ท่สี ง่ ผลต่อความสำเรจ็ (ถ้ามี)

1. การกำหนดกลยุทธใ์ นการดำเนินงานโดยใชห้ ลกั การและแนวคดิ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ไดแ้ ก่
SWOT Analysis

2. การมีสว่ นร่วมของบุคลากร กศน.ตำบล ทำใหไ้ ด้ข้อมูลที่ถูกต้องตามสภาพจรงิ และสามารถ
นำไปใชใ้ นการกำหนดกรอบแนวทาง เทคนคิ วธิ ีการดำเนินงาน

4. ปญั หาอุปสรรค

1. กลุม่ เป้าหมายขาดความรู้พน้ื ฐานดา้ นเทคโนโลยี ทำใหเ้ รียนรู้ไดไ้ ม่ตอ่ เนื่อง
2. กลมุ่ เปา้ หมายไม่ได้พกพกเครื่องมือเทคโนโลยีที่จะใชใ้ นการเรยี นรู้
3. สถานทีใ่ นการฝึกจดั โครงการไม่เอ้ือต่อการอบรมเก่ียวกับระบบออนไลน์

5. ขอ้ นเิ ทศตอ่ ผูร้ บั การนเิ ทศ

๑. แนะนำให้ครูจัดกลุ่มเป้าหมายในการจัดกิจกรรมกลุ่มละไม่เกิน 15คน เพื่อประสิทธิภาพในการ
เรียนรู้
2. แนะนำให้ครูใช้สื่อในการจัดการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย ทันสมัยและเหมาะสมกับ
กลุ่มเปา้ หมาย
3. แนะนำให้ครเู พมิ่ จำนวนวันเวลาในการจัดโครงการใหม้ ากข้ึน
4. ควรให้กลุ่มเปา้ หมาย มสี ่วนรว่ มในการจดั กระบวนการเรยี นการสอน

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสคุ ริ ิน

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 29
6. ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา

6.1 ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศกึ ษา (ถา้ มี)
1. ควรมีการพฒั นาหลักสูตรให้เหมาะสมกบั บรบิ ทในพนื้ ท่ี
๒. ควรมีการนเิ ทศตดิ ตามผลอยา่ งสม่ำเสมอ

6.2 ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จังหวัด (ถ้ามี)
1. ควรมีการจัดวางโครงสร้างในระดบั จังหวัด และจัดทำเซริ ์ฟเวอรเ์ ป็นของตวั เอง
๒. ควรมีการจัดอบรมให้กบั บุคลากรเพื่อการพฒั นากระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ี

ทันสมัย
6.3 ข้อเสนอแนะสำนักงาน กศน.(ถ้ามี)
-

7. Best Practice (ถา้ มี)
-

8. ภาพกิจกรรม อย่างน้อย 4 – 6 ภาพ

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสคุ ิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 30

แบบรายงานการนิเทศ

เรื่อง การจัดการศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่
(เพ่ือความอยู่ดีกินดมี ีงานทำ โคก หนอง นา โมเดล)

1. เกรนิ่ นำ เร่ืองของนโยบาย จุดเนน้ การดำเนินงานของสำนกั งาน กศน.ประจำปี พ.ศ.2564
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดือนธันวาคม

2562 ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซ่ึงรัฐบาลและ
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศและมีมาตรการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเช้ือไวรัส
ดังกล่าว อาทิ กําหนดให้มี การเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานท่ีของ
โรงเรียนและสถาบันการศึกษา ทุกประเภท เพ่ือจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทํากิจกรรม
ใด ๆ ท่ีมีผู้เข้าร่วมเป็นจํานวนมาก การปิดสถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกําหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการ
สอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้ แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทาง
โทรทัศน์ วิทยุ และโซเซยี ลมีเดยี ตา่ ง ๆ รวมถึง การสือ่ สารแบบทางไกลหรือด้วยวธิ ีอเิ ล็กทรอนกิ ส์

ในส่วนของสํานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนินงานใน
ภารกิจ ต่อเน่ืองต่าง ๆ ในสถานการณก์ ารใช้ชีวติ ประจาํ วนั และการจดั การเรียนรู้เพอ่ื รองรับการชวี ิตแบบปกติ
วิถีใหม่ (New Normal) ซ่ึงกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสําคัญกับการดําเนินงานตามมาตรการการ
ป้องกัน การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุก
ประเภท หากมีความจําเป็นต้องมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการป้องกันท่ี
เข้มงวด มีเจล แอลกอฮอลล้างมือ ผู้รับบริการต้องใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่าง
ระหว่างบคุ คล เน้นการใช้สอื่ ดจิ ทิ ัลและเทคโนโลยอี อนไลนใ์ นการจัดการเรยี นการสอน

ตามท่ี สำนักงาน กศน. ได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน เพ่ือเป็นแนวทางในการ
ดำเนินงานของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดทุกแห่ง ตามภารกิจหลักประกอบด้วย งานการศึกษาขั้น
พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีนโยบายการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพ่ือเสริมสร้าง
ภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการบริหารจัดการ ความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ตามทิศ
ทางการพฒั นาประเทศสคู่ วามสมดุลและยงั่ ยนื

2. สภาพทพ่ี บ
จากการนิเทศ พบว่า ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุคิรินได้มีการจัด
กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวการส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
โดยจัดในรูปแบบของการศึกษาดูงาน ในพ้ืนท่ี มีการสาธิตและการให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนพ้ืนท่ีทำ
การเกษตรให้มีความเหมาะสมและปรับให้เป็นโคก หนอง นา โมเดล ซ่ึงผู้เข้ารับการอบรมทุกคนมีความสนใจ
และมีการปฏิสัมพันธ์กับวิทยากรเป็นอย่างดี มีการแจกพันธ์ผักเพ่ือเป็นการส่งเสริมการปลูกและผลิตครัว
ธนาคารอาหารในพืน้ ท่ี เช่น ถว่ั ฝกั ยาว พรกิ ฟ้าทะลายโจร เป็นต้น
เน่ืองด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส โคโรน่า 2019 ส่งผลกระทบในหลายๆอย่าง เช่น
การจัดอบรมที่มีการจำกัดจำนวนผู้เข้ารับการอบรม ไม่เกินครั้งละ 5 คน บางพื้นท่ีไม่สามารถเข้า-ออกได้
เน่ืองจากเกิดการระบาดหรือเกรงการเกิดคลัสเตอร์ใหม่ๆจึงต้องมีการปรับเป็นรูปแบบออนไลน์และ On-site
รว่ มกนั เพ่อื ให้การดำเนินงานการจดั กิจกรรมมีความเรียบร้อยและบรรลผุ ลตามเปา้ มากน้อยเพยี งใด

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสุคิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 31

3. ปัจจัยทสี่ ่งผลต่อความสำเร็จ (ถา้ ม)ี

1. การกำหนดกลยทุ ธ์ในการดำเนนิ งานโดยใช้หลกั การและแนวคดิ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ไดแ้ ก่
SWOT Analysis

2. การมสี ว่ นรว่ มของบุคลากร กศน.ตำบล ทำใหไ้ ด้ข้อมูลท่ีถกู ต้องตามสภาพจรงิ และสามารถ
นำไปใช้ในการกำหนดกรอบแนวทาง เทคนิควธิ กี ารดำเนนิ งาน
4. ปญั หาอุปสรรค

1. กลุม่ เปา้ หมายขาดความรู้พ้นื ฐานดา้ นเทคโนโลยี ทำให้เรียนรู้ได้ไม่ตอ่ เน่ือง
2. กลุ่มเป้าหมายไม่ได้พกพกเครื่องมือเทคโนโลยีที่จะใชใ้ นการเรยี นรู้
3. สถานทใี่ นการฝกึ จดั โครงการไม่เอื้อต่อการอบรมเกยี่ วกับระบบออนไลน์

5. ขอ้ นเิ ทศต่อผู้รบั การนเิ ทศ

๑. แนะนำให้ครูจัดกลุ่มเป้าหมายในการจัดกิจกรรมกลุ่มละไม่เกิน 15คน เพ่ือประสิทธิภาพในการ
เรยี นรู้
2. แนะนำให้ครูใช้สื่อในการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย ทันสมัยและเหมาะสมกับ
กลุม่ เปา้ หมาย
3. แนะนำให้ครเู พม่ิ จำนวนวนั เวลาในการจดั โครงการให้มากขนึ้
4. ควรให้กลมุ่ เปา้ หมาย มสี ่วนร่วมในการจัดกระบวนการเรียนการสอน

6. ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา

6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศึกษา (ถา้ มี)
1. ควรมีการพฒั นาหลักสตู รใหเ้ หมาะสมกับบรบิ ทในพืน้ ท่ี
๒. ควรมกี ารนเิ ทศตดิ ตามผลอย่างสมำ่ เสมอ

6.2 ข้อเสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน.จงั หวัด (ถ้ามี)
1. ควรมกี ารจัดวางโครงสรา้ งในระดบั จงั หวัด และจัดทำเซิร์ฟเวอรเ์ ปน็ ของตวั เอง
๒. ควรมีการจัดอบรมให้กบั บุคลากรเพื่อการพัฒนากระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่

ทนั สมัย
6.3 ขอ้ เสนอแนะสำนักงาน กศน.(ถา้ มี)
-

7. Best Practice (ถ้ามี)

-

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสุคริ นิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 32
8. ภาพกิจกรรม อยา่ งนอ้ ย 4 – 6 ภาพ

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 33

แบบรายงานการนเิ ทศ

เร่ือง การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน
1. เกรน่ิ นำ เรื่องของนโยบาย จุดเนน้ การดำเนนิ งานของสำนกั งาน กศน.ประจำปี พ.ศ.2564

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดือนธันวาคม
2562 ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับช้ัน ซึ่งรัฐบาลและ
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศและมีมาตรการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัส
ดังกล่าว อาทิ กําหนดให้มี การเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานที่ของ
โรงเรียนและสถาบันการศกึ ษา ทุกประเภท เพ่ือจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทํากิจกรรม
ใด ๆ ท่ีมีผู้เข้าร่วมเป็นจํานวนมาก การปิดสถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกําหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการ
สอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้ แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทาง
โทรทัศน์ วทิ ยุ และโซเซียลมีเดีย ตา่ ง ๆ รวมถงึ การสือ่ สารแบบทางไกลหรอื ด้วยวิธอี เิ ล็กทรอนกิ ส์

ในส่วนของสํานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนินงานใน
ภารกิจ ต่อเน่ืองตา่ ง ๆ ในสถานการณ์การใชช้ ีวติ ประจําวัน และการจดั การเรียนรู้เพอ่ื รองรับการชีวติ แบบปกติ
วิถีใหม่ (New Normal) ซ่ึงกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสําคัญกับการดําเนินงานตามมาตรการการ
ป้องกัน การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุก
ประเภท หากมีความจําเป็นต้องมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการป้องกันที่
เข้มงวด มีเจล แอลกอฮอลล้างมือ ผู้รับบริการต้องใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่าง
ระหวา่ งบคุ คล เนน้ การใชส้ ่ือดิจทิ ลั และเทคโนโลยีออนไลน์ในการจดั การเรียนการสอน

ตามที่ สำนักงาน กศน. ได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน เพื่อเป็นแนวทางในการ
ดำเนินงานของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดทุกแห่ง ตามภารกิจหลักประกอบด้วย งานการศึกษาขั้น
พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีนโยบายการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและ
ชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรมการประชุม
สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้การจัดกิจกรรม จิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ท่ี
เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพื้นท่ี เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่าง
และหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคม พหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคล
รวมกลุ่มเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันสร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสํานึกความเป็น
ประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบต่อหน้าท่ีความเป็นพลเมือง ท่ีดีภายใต้การ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การเป็นจิต
อาสา การบําเพ็ญประโยชน์ในชุมชนการ บริหารจัดการน้ํา การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงาน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม การชว่ ยเหลือซึง่ กนั และกนั ในการพฒั นาสงั คมและชุมชนอยา่ งยง่ั ยนื

2. สภาพท่พี บ
จากการนิเทศ พบว่า ศูนย์การศึกษนอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุคิรินได้จัดโครงการ

เสริมสร้างพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย จัดเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2564 โดยแยกดำเนินการออกเป็น 2
พ้ืนท่ี เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อโคโรน่า ไวรส 2019 โดยมีเป้าหมายเป็นประชาชน
ในตำบลมาโมง ภูเขาทองและสุคิริน จำนวน 14 คนและตำบลเกียร์และร่มไทรจำนวน 13 คน รวมเป็น 27
คน งบประมาณท้ังสิ้น 10,800 บาท โดยได้รับความอนุเคราะห์วิทยากรจากที่ว่าการอำเภอสุคิรินมาให้
ความรู้เก่ียวกับกฎหมายและสิทธิหน้าที่ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย ในการจัดกิจกรรม

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 34

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกฎหมายเบื้องต้นหน้าท่ีของการเป็นพลเมือง การ
เลอื กตัง้ ขอบเขตอำนาจตามสิทธิของตนเอง

จากการลงพื้นท่ีนิเทศการจัดกิจกรรมโครงการเสริมสร้างพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย จัดเม่ือวันท่ี
17 มิถนุ ายน 2564 ณ กศน.ตำบลสุคริ นิ และกศน.ตำบลเกียรน์ ัน้ พบว่า ดว้ ยสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ
โรคติดต่อโคโรน่าไวรัส 2019 กศน.ตำบลสุคิรินไม่ได้มีการควบคุมอย่างรัดกุมเท่าที่ควร ยังไม่ได้มีการจัดสมุด
ลงทะเบียนผ้มู าติดตอ่ ราชการเพื่อเป็นการเฝา้ ระวงั โดยท่านผอ.กศน.อำเภอสคุ ิรนิ ได้ช้ีแนะแนวทางใหค้ รู กศน.
ตำบลดำเนินการในลำดบั ต่อไป

3. ปจั จัยท่สี ่งผลตอ่ ความสำเรจ็ (ถา้ ม)ี
1. การกำหนดกลยุทธ์ในการดำเนนิ งานโดยใชห้ ลกั การและแนวคดิ ในการวเิ คราะห์ข้อมูล ไดแ้ ก่

SWOT Analysis
2. การมสี ่วนร่วมของบคุ ลากร กศน.ตำบล ทำใหไ้ ดข้ ้อมูลท่ีถูกต้องตามสภาพจริง และสามารถ

นำไปใชใ้ นการกำหนดกรอบแนวทาง เทคนคิ วธิ ีการดำเนนิ งาน

4. ปัญหาอุปสรรค

1. กลมุ่ เปา้ หมายขาดความรู้พ้นื ฐานด้านเทคโนโลยี ทำใหเ้ รยี นรไู้ ดไ้ ม่ตอ่ เนื่อง
2. กลมุ่ เป้าหมายไม่ได้พกพกเครอ่ื งมือเทคโนโลยีทจี่ ะใชใ้ นการเรยี นรู้
3. สถานท่ีในการฝึกจดั โครงการไมเ่ อ้ือต่อการอบรมเก่ยี วกับระบบออนไลน์

5. ขอ้ นิเทศตอ่ ผูร้ ับการนเิ ทศ

๑. แนะนำให้ครูจัดกลุ่มเป้าหมายในการจัดกิจกรรมกลุ่มละไม่เกิน 15คน เพื่อประสิทธิภาพในการ
เรียนรู้
2. แนะนำให้ครูใช้สื่อในการจัดการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย ทันสมัยและเหมาะสมกับ
กลมุ่ เปา้ หมาย
3. แนะนำใหค้ รเู พ่ิมจำนวนวนั เวลาในการจดั โครงการใหม้ ากขึ้น
4. ควรให้กลมุ่ เป้าหมาย มีสว่ นร่วมในการจัดกระบวนการเรยี นการสอน

6. ข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนา

6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศกึ ษา (ถ้ามี)
1. ควรมีการพัฒนาหลักสตู รใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทในพื้นท่ี
๒. ควรมกี ารนเิ ทศติดตามผลอย่างสม่ำเสมอ

6.2 ข้อเสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน.จังหวดั (ถ้ามี)

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสคุ ิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 35
1. ควรมกี ารจัดวางโครงสร้างในระดบั จังหวดั และจัดทำเซิรฟ์ เวอรเ์ ป็นของตวั เอง
๒. ควรมกี ารจดั อบรมให้กบั บุคลากรเพื่อการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่
ทนั สมัย
6.3 ขอ้ เสนอแนะสำนักงาน กศน.(ถ้ามี)
-
7. Best Practice (ถ้ามี)
-
8. ภาพกิจกรรม อย่างน้อย 4 – 6 ภาพ

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสคุ ริ นิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 36

แบบรายงานการนเิ ทศ
เรอ่ื ง ห้องสมดุ ประชาชน

1. เกรน่ิ นำ เรือ่ งของนโยบาย จดุ เน้นการดำเนินงานของสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ.2564
ตามนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ส่งเสริม

กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัยแก่ผู้รับบริการให้มีการศึกษาตลอดชีวิต ตลอดจนการพัฒนาแหล่งการเรียนรูที่
มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอการอานและพัฒนาศักยภาพ การเรียนรูใหเกิดข้ึนในสังคมไทย ให
เกิดข้ึนอย่างกวางขวางและทั่วถึง เชน การพัฒนา กศน. ตำบล หองสมุด ประชาชนทุกแหงใหมีการบริการที่
ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรางเครือขาย สงเสริมการอาน จัดหนวย
บริการหองสมุดเคลื่อนที่ หองสมุดชาวตลาด พรอมหนังสือและอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรม สงเสริมการอานและ
การเรียนรูที่หลากหลายใหบริการกบั ประชาชนในพ้ืนทีต่ างๆ อยางท่ัวถึง สม่ำเสมอ รวมท้ัง เสรมิ สรางความพร
อมในดาน บุคลากร ส่ืออุปกรณเพ่ือสนับสนุนการอาน และการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมการอาน อยาง
หลากหลายรปู แบบ

2. สภาพท่ีพบ
1. มกี ารจัดทำขอ้ มูลสารสนเทศ
2. มกี ารจดั ทำข้อมลู ความตอ้ งการสอื่ ของกลมุ่ เปา้ หมายในหอ้ งสมุดประชาชน
3. มคี วามพรอ้ มในการใหบ้ ริการ
4. มีการจดั ทำแผนงานโครงการ ประจำปงี บประมาณ
5. มีการออกแบบกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านอยา่ งต่อเนื่องและหลากหลาย
6. มีการประสานกับอาสาสมัครส่งเสรมิ การอา่ น
7. มีการประสานงานกบั ทกุ ภาคสว่ นในการสนับสนนุ สอ่ื สง่ เสรมิ การอา่ นและการจัดกิจกรรม
8. มีการประชาสมั พนั ธ์ขา่ วสาร กิจกรรมผา่ นช่องทางส่อื ออนไลน์
9. มีการดำเนินงานตามแผน/โครงการท่ีกำหนด การดำเนินงานสอดคล้องกับความต้องการของ
กลุ่มเป้าหมาย/และมีการดำเนินงานโครงการเป็นไปตามนโยบายจากส่วนกลางที่กำหนดภาคี
เครือข่ายให้ความร่วมมือกับกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน.ครูกศน.ตำบล มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
ส่งเสริมการอ่านมีการใช้เทคโนโลยีสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมการอ่านบรรณารักษ์มีส่วนร่วม
ในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน หน่วยงาน อ่ืนๆ บรรณารักษ์มีการดำเนินงานเป็นไปใน
ลักษณะการบริการเชิงรุก ความพึงพอใจของผู้รับบริการด้านกิจกรรม อยู่ในระดับดีด้านบริการ อยู่
ในระดับดีสภาพแวดล้อม ภายในและภายนอก อยู่ในระดับดีกิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของโครงการหรือจำนวนสมาชิกเพิ่มข้ึนกิจกรรมท่ีหลากหลายกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
มีความหลากหลายท้งั เชิงรุกและเชงิ รบั มีการสรปุ ผลการดำเนินกิจกรรมอย่างเปน็ ปจั จบุ ัน

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสคุ ิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 37

3. ปัจจัยท่สี ง่ ผลต่อความสำเร็จ
3.1 การประสานงานกบั ภาคีเครือขา่ ยในการพัฒนากิจกรรมส่งเสริมการอา่ นอย่างตอ่ เน่ือง
3.2 อาสาสมคั รสง่ เสริมการอา่ นตอ้ งร่วมกนั สนบั สนุนกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน
3.3 เจ้าหน้าที่ห้องสมุดมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน หน่วยงาน อ่ืนๆ อย่าง

ต่อเนื่อง

4. ปัญหาอุปสรรค
4.1 อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์มไี ม่เพียงพอในการใหบ้ ริการ
4.2 ผใู้ ชบ้ รกิ ารสอื่ ดา้ นส่งิ พิมพ์มีน้อย เน่อื งจากหนั ไปบริโภคขา่ วสารด้านส่ืออิเล็กทรอนิกส์มากข้ึน

5. ข้อนเิ ทศตอ่ ผ้รู บั การนเิ ทศ
5.1 แนะนำให้เพิ่มการเกบ็ ขอ้ มูลสารสนเทศใหค้ รบถ้วนสมบูรณ์
5.2 แนะนำให้เพ่ิมเติมสอื่ ในหอ้ งสมดุ ฯท่ีทนั สมยั กว่าน้ี
5.3 แนะนำให้อาสาสมัครส่งเสรมิ การอา่ นต้องรว่ มกันสนับสนนุ กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น
5.4 แนะนำให้ กศน.ตำบล ตอ้ งมสี ว่ นร่วมในการดำเนนิ งานสง่ เสริมการอา่ นอย่างตอ่ เน่ือง
5.5 แนะนำให้สร้างส่ือนวตั กรรมทห่ี ลากหลายเพ่ือดงึ ดดู ความสนใจตอ่ ผ้มู าใช้บริการ
5.6 ควรมีการประสานงานกับภาคเี ครอื ข่ายในการพฒั นากิจกรรมส่งเสริมการอ่านอย่างต่อเนื่อง
5.7 กศน.ตำบล ตอ้ งมีสว่ นร่วมในการดำเนินงานส่งเสรมิ การอา่ นอย่างต่อเน่ือง
5.8 ควรมีการนำผลจากการพฒั นาตนเองมาใชใ้ นการดำเนินงานส่งเสรมิ การอ่าน

6. ข้อเสนอแนะเพอื่ การพัฒนา
6.1 ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศึกษา
- สถานศกึ ษา มีการประชุมชี้แจงและพฒั นางานห้องสมดุ อย่างสม่ำเสมอ
6.2 ข้อเสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.จงั หวดั
- ควรเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาอาคารสถานที่ สื่อเทคโนโลยี เพื่อมาใชใ้ นการสง่ เสริม

การอ่านอยา่ งเพยี งพอ
6.3 ข้อเสนอแนะสำนกั งาน กศน.
-

7. Best Practice
- ไมม่ ี

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสุคิริน

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 38
8. ภาพกิจกรรม อยา่ งนอ้ ย 4 – 5 ภาพ

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 39

แบบรายงานการนิเทศ
เรื่อง บ้านหนังสือชุมชน

1. เกริ่นนำ เรือ่ งของนโยบาย จุดเนน้ การดำเนินงานของสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ.2564
ตามนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ส่งเสริม

กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยแก่ผู้รับบริการให้มีการศึกษาตลอดชีวิต ตลอดจนการพัฒนาแหล่งการเรียนรูท่ี
มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการอานและพัฒนาศักยภาพ การเรียนรูใหเกิดข้ึนในสังคมไทย ให
เกิดข้ึนอย่างกวางขวางและทั่วถึง เชน การพัฒนา กศน. ตำบล หองสมุด ประชาชนทุกแหงใหมีการบริการที่
ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรางเครือขาย สงเสริมการอาน จัดหนวย
บริการหองสมุดเคล่ือนที่ หองสมุดชาวตลาด พรอมหนังสือและอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรม สงเสริมการอานและ
การเรียนรูทห่ี ลากหลายใหบริการกบั ประชาชนในพืน้ ที่ตางๆ อยางทว่ั ถึง สม่ำเสมอ รวมทั้ง เสรมิ สรางความพร
อมในดาน บุคลากร ส่ืออุปกรณเพ่ือสนับสนุนการอาน และการจัดกิจกรรมเพ่ือสงเสริมการอาน อยาง
หลากหลายรูปแบบ

2.สภาพที่พบ
มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของบ้านหนังสือชุมชนของแต่ละตำบลโดยการให้ประชาชนเซ็นช่ือทุก

คร้ังในการใช้บริการในบ้านหนังสือชุมชน แต่ยังขาดความสมบูรณ์และความเป็นระเบียบ มีการสำรวจข้อมูล
ความต้องการผู้ใช้บริการ ประเภทสื่อ หนังสือต่างๆ สภาพความพร้อมของสถานที่และสื่อมีความพร้อมในการ
ให้บริการ โตะ๊ เกา้ อม้ี ีเพยี งพอในการบรกิ าร สถานท่ีสะดวกในการให้บริการในชุมชน ผู้ดูแลบ้านหนงั สือชมุ ชนมี
ความรับผิดชอบในการดูแลบ้านหนังสือชุมชน มีจิตสาธารณะในการให้บริการ และเหมาะในและเหมาะสมใน
การที่จะเป็นบา้ นหนังสอื ชุมชน มีการประชาสัมพันธ์บา้ นหนังสือชุมชนโดยการที่ชาวบ้านบอกปากต่อปาก ทำ
แผ่นพับ ป้ายไวนิล เพ่อื ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานบ้านหนังสือชมุ ชน มีการนำเจ้าของบ้านหนงั สือชุมชนใน
อำเภอมาอบรมให้ความรูค้ วามเขา้ ใจเร่ืองการบรกิ ารบา้ นหนังสือ

มีการเปิดให้บริการอยู่ตลอดเวลา มีแสงสว่างเพียง มีท่ีน่ังเป็นสัดส่วน ช้ันวางหนังสือจัดเป็นระเบียบ
และง่ายต่อการหยิบมาอ่าน พัดลมเพียงพอ มีอินเทอร์เน็ตประชารัฐในการให้บริการประชาชน มีการจัด
หมุนเวียนหนังสือไปตามบ้านหนังสือชุมชนที่ได้ดีและน่าสนใจ มีการบริการ Wifi ให้แก่ผู้ใชบ้ ริการ มีร้านค้าใน
จัดซื้อของในบ้านหนังสือชุมชน มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน โดยการพบปะพูดคุยกับประชาชนท่ีใช้
บริการ และมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านอาชีพ กิจกรรมให้กับเด็กๆ ท่ีเข้ามาใช้บริการและการหมุนเวียน
หนังสือทุกครั้ง ไม่มีบริการหมุนเวียนหนังสือสู่ครัวเรือน บรรณารักษ์/ครู กศน.ตำบลมีการประสานงานกับ
อาสาสมัครรักการอ่านทุกคร้ัง ไม่มีการเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบ้านหนังสือ/ศึกษาดูงาน มี
การจัดกจิ กรรมรว่ มกบั กศน.ในการออกหน่วยอำเภอเคล่ือนท่ใี นชมุ ชนของตนเอง

3.ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อความสำเร็จ (ถ้ามี)
-

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคริ นิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 40

4.ปัญหาอปุ สรรค
- บ้านหนังสือชุมชนบางแห่ง สถานท่ีไม่เหมาะ ผู้ใช้บริการน้อย ครูผู้รับผิดชอบควรจัดหาสถานที่ท่ี

เหมาะสม เช่น บ้านของนักศึกษาของ กศน. บ้าน/ร้านค้าที่รับหนังสือพิมพ์ เป็นประจำอยู่แล้ว หรือร้านท่ี
ให้บริการประชาชน

5.ขอ้ นิเทศต่อผ้รู บั การนิเทศ
5.1 ควรจะมีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบง่ายต่อการตรวจสอบข้อมูล ควรจัดทำแบบ

สำรวจข้อมลู ความต้องการที่สอดคล้องกับ ควรจะมีการจัดสถานท่ีและสอ่ื ที่ใหบ้ ริการเพ่ิมจากเดมิ ในการบริการ
และควรจะจัดหนังสือตามหมวดหมู่ให้เรียบร้อย ควรจะมีประชาสัมพันธ์บ้านหนังสือในหลายๆรูปแบบ อาทิ
เช่น ทำแผ่นพับแนะนำบ้านหนังสือชุมชน จัดทำ Facebook บ้านหนังสือ จัดทำเว็บไซต์บ้านหนังสือชุมชน
เป็นต้น ควรจะพาเจ้าของหนังสือชุมชนไปทัศนศึกษาดูงานจังหวัดอื่นเพ่ือเป็นแบบอย่างในการพัฒนาชุมชน
ของตนเอง

5.2 ควรจะมีการบริการ Wifi แก่ผู้ใช้บริการให้กับบ้านหนังสือชุมชนทุกหมู่บ้านท่ีเป็นบ้านหนังสือ
ชุมชน และบริการกาแฟ น้ำด่ืมให้กับผู้บริการ ควรจะมีการบริการหมุนเวียนหนังสือสู่ครัวเรือนโดยการจัดทำ
เป็นกระเป๋าเดินได้ให้ผู้ใช้บริการนำกลับไปอ่านท่ีบ้าน ควรจะมีการจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนระหว่างบ้าน
หนังสือ/ศึกษาดูงานให้กับเจ้าของบ้านหนังสือ5.3 ควรมีการประสานงานกับอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน/ใน
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนอื่ ง

5.4 ควรจะมีการประเมินความพึงอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมากข้ึน ควรมีการจัดทำสถิติการใช้บริการ ยืม-คืน
การหมุนเวียนหนงั สอื ผลการจัดทำสถติ อิ ยใู่ นระดบั ดีมากขึน้

5.5 ควรมกี ารหมนุ เวียนหนงั สืออยา่ งต่อเนื่อง
6.ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การพัฒนา

6.1 ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศึกษา (ถา้ มี)
- สถานศึกษาควรประสานงานกับ สำนักงาน กศน. จังหวัด และผนู้ ำชุมชนจดั หางบประมาณ

เพอ่ื จดั หาอปุ กรณส์ ารสนเทศใหก้ บั บา้ นหนังสอื ชมุ ชน เพอ่ื เพิ่มชอ่ งทางการรบั รขู้ ่าวสาร ของผ้รู บั บริการ
เพิ่มจำนวนสอื่ ใหพ้ รอ้ มต่อการใชง้ านและเพยี งพอต่อความต้องการ

- ประสานงานกบั ครู กศน.ตำบลรว่ มจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นร่วมกับหอ้ งสมุดประชาชน
พร้อมอาสาสมัครรักการอ่านทุกคร้ัง ให้มีการเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบ้านหนังสือจัดศึกษาดู
งาน รว่ มกจิ กรรมกับ กศน. ในการออกหน่วยหอ้ งสมดุ เคลอ่ื นทีส่ ู่ชุมชนของตนเอง

6.2 ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จังหวดั (ถ้ามี)
-

6.3 ข้อเสนอแนะสำนกั งาน กศน.(ถ้าม)ี
-

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคิริน

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 41
7. Best Practice

-
8. ภาพกิจกรรม อยา่ งน้อย 4 – 5 ภาพ

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสคุ ิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 42

แบบรายงานการนเิ ทศ
เร่อื ง ห้องสมดุ เคล่อื นท่สี ำหรบั ชาวตลาด

1. เกริ่นนำ เร่ืองของนโยบาย จดุ เน้นการดำเนินงานของสำนกั งาน กศน.ประจำปี พ.ศ.2564
ตามนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ส่งเสริม

กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัยแก่ผู้รับบริการให้มีการศึกษาตลอดชีวิต ตลอดจนการพัฒนาแหล่งการเรียนรูที่
มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการอานและพัฒนาศักยภาพ การเรียนรูใหเกิดขึ้นในสังคมไทย ให
เกิดขึ้นอย่างกวางขวางและทั่วถึง เชน การพัฒนา กศน. ตำบล หองสมุด ประชาชนทุกแหงใหมีการบริการที่
ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรางเครือขาย สงเสริมการอาน จัดหนวย
บริการหองสมุดเคล่ือนที่ หองสมุดชาวตลาด พรอมหนังสือและอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรม สงเสริมการอานและ
การเรยี นรูท่หี ลากหลายใหบรกิ ารกับประชาชนในพ้ืนทตี่ างๆ อยางทวั่ ถึง สม่ำเสมอ รวมทั้ง เสรมิ สรางความพร
อมในดาน บุคลากร ส่ืออุปกรณเพ่ือสนับสนุนการอาน และการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมการอาน อยาง
หลากหลายรูปแบบ

2. สภาพทพ่ี บ
สภาพความพร้อมท้ังภายในและภายนอกของสถานท่ีมีความสะอาดท้ังภายในและภายนอกซึ่งเข้า

มาแล้วน่าใช้บริการมีบริเวณที่กว้างขวางมีโต๊ะ เก้าอี้ ชั้นวางหนังสือพร้อมสำหรับให้บริการและมีป้าย
ประชาสัมพันธ์ที่เด่นชัด สภาพความพร้อมด้านสื่อ/หนังสือส่วนมากอยู่ในสภาพดีและพร้อมให้บริการ ความ
หลากหลายของหนังสือถือว่าอยู่ในระดับดี และมีการหมุนเวียนสื่อสม่ำเสมอ สภาพความพร้อมของ
ผูร้ บั ผิดชอบมีจิตอาสา ดแู ลรับผิดชอบห้องสมุดสำหรับชาวตลาด มกี ารประสานงานกับเครอื ข่ายทุกคร้ัง สภาพ
ความพร้อมในการเปิดบริการมีการเปิดบริการทุกวันตั้งแต่ 08.-00-17.00 สถานที่มีการดูแลและให้บริการ
กับพ่อค้าแม่ค้าและประชาชนท่ีมาซื้อขายในตลาดมีการประสานของความร่วมมือสนับสนุนอุปกรณ์กับ
เครือข่ายโดยจิตอาสาจะเป็นผู้ดูแล จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่หลากหลาย อาทิเช่น กิจกรรมส่งเสริมการ
อ่าน ให้กับเยาวชน และประชาชนผู้รับบริการ กิจกรรมประดิษฐ์กล่องใส่ดินสอ กิจกรรมสอนน้องอ่านหนังสือ
เปน็ ตน้ มกี ารประชาสัมพันธเ์ ชญิ ชวนผใู้ ช้บริการโดยการบอกต่อๆกนั

หอ้ งสมุดฯมคี วามพรอ้ มในการนำสื่อไปให้บริการ ณ ตลาดเขตเทศบาลอย่างเป็นประจำและต่อเนื่อง
มีการประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรมอย่างสมำ่ เสมอ หลายช่องทาง สื่อออนไลนอ์ าทิ เชน่ ไลน์ เฟสบคุ๊ เปน็ ต้น

สภาพความพร้อมทางผลผลิตมีความพึงพอใจของผู้ใช้บริการอยู่ในระดับดี สภาพของสถานที่ภายใน
และภายนอกมีความพร้อมให้บริการตลอดเวลา จำนวนผู้บริการมีจำนวนเพ่ิมข้ึนทุกเดือน หน่วยงานภาคี
เครือขา่ ยมีสว่ นรว่ มเพ่มิ ข้นึ จากเดมิ

กิจกรรมส่งเสริมการอ่านมีความหลากหลายตามสภาพของห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด มี
เอกสารแผ่นพับ โบรชัวร์ ป้ายประชาสัมพันธ์ หนังสือพิมพ์ฝาผนัง มีจิตอาสาท่ีชอบอ่านหนังสือและส่งเสริม
การอ่านได้ดี มีกิจกรรมคอยกระตุ้นให้พ่อค้าแม่ค้า ประชาชนที่ซ้ือของและเด็กๆในละแวกตลาดมาใช้บริการ
และทำกิจกรรมกับห้องสมุดเคล่ือนท่ีสำหรับชาวตลาดทุกคร้ัง ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในห้องสมุด
เคล่ือนท่ีสำหรับชาวตลาดผลท่ีคาดหวงั คือประชาชนทซ่ี ื้อของในตลาด พ่อคา้ แมค่ ้าและประชาชนเด็กในละแวก
ตลาดมนี สิ ัยรกั การอ่านและใช้เวลาให้เปน็ ประโยชน์

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสุคิริน

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 43

3. ปัจจยั ท่สี ่งผลต่อความสำเร็จ
- ประชาชนและภาคเี ครือขา่ ยเป็นปัจจัยสำคัญที่สง่ ผลให้ประสบความสำเรจ็ ในการจัดกิจกรรมแต่ละ

ครัง้

4. ปญั หาอุปสรรค
- ตลาดนัดเขตเทศบาลตำบลสุคิริน ลักษณะเป็นตลาดเล็ก ๆ ในเขตเทศบาล เป็นตลาดแบบเปิดโล่ง

ไม่มีอาคารท่ีถาวร จึงไม่สามารถเปิดเป็นอาคารให้บริการได้ บรรณารักษ์แก้ไขปัญหาโดยการ นำส่ือไป
ให้บรกิ ารโดยตรงแก่ พอ่ ค้า แม่คา้ และประชาชนท่ีมาจ่ายตลาด เพื่อบริการในเชิงรกุ

5.ข้อนิเทศต่อผ้รู บั การนเิ ทศ
- เสาร์-อาทิตยก์ ็ควรจะเปิดให้บริการ และควรจะมีการจดั กิจกรรมท่ีหลากหลายกวา่ นี้และควรจะเน้น

กิจกรรมกับพ่อค้าแม่ค้าในตลาดเพื่อให้เค้าสนุกกับการอ่านร่วมกิจกรรมกับห้องสมุดสำหรับชาวตลาดมากข้ึน
การประชาสัมพันธ์ควรจะมีการประชาสัมพันธ์ท่ีหลากหลาย อาทิเช่น ประชาสัมพันธ์ทางเฟสบุ๊คประชา
สัมพันธ์ทางเว็บไซต์ ประชาสัมพันธ์ทางไลน์ และทำโบรชัวร์ หรือแผ่นพับกับให้ผู้ใช้บริการสภาพความพร้อม
ทางผลผลิตความพึงพอใจของผบู้ ริการควรจะเพ่ิมระดบั ท่ีดีมากขึ้น และสภาพความพร้อมภายในและภายนอก
ควรจะมคี วามนา่ สนใจมากกว่านี้ จำนวนผู้ใชบ้ รกิ ารควรจะเพมิ่ ข้นึ จากเดมิ

- กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่มคี วามหลากหลายตามสภาพของห้องสมุดเคลื่อนท่ีสำหรับชาว ควรจะมี
เอกสารท่ีหลากหลาย ควรจะส่ือท่ีเกี่ยวกับข่าวรายวันหรือเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ติดฝาผนังหรือหนังสือ
เอกสารทเี่ กยี่ วข้องและควรจะกระต้นุ ให้มีนสิ ัยรกั การอ่านเพิม่ ข้ึนทุกช่วงวัย

6.ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพัฒนา
6.1 ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศึกษา
- สถานศกึ ษาให้การสนับสนนุ จดั กิจกรรมรว่ มกนั กับครู กศน.ตำบล มกี ารประชมุ ช้ีแจงและ

พัฒนางานห้องสมุดอยา่ งสม่ำเสมอ
6.2 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.จงั หวดั (ถา้ มี)
-
6.3 ขอ้ เสนอแนะสำนักงาน กศน.(ถ้ามี)
-

7.Best Practice
- ไม่มี

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 44
8. ภาพกิจกรรม อยา่ งนอ้ ย 4 – 5 ภาพ

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 45

แบบรายงานการนิเทศ
เรื่อง การพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา

1. เกริ่นนำ เรื่องของนโยบาย จุดเน้นการดำเนินงานของสำนกั งาน กศน.ประจำปี พ.ศ.2564

สำนักงาน กศน. ได้ให้ความสำคัญกับการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามนโยบายการ
ปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา ท่ีเป็นการดำเนินการปฏิรูปในส่วนที่เก่ียวข้องกับ
การประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีแนวคิดการดำเนนิ งานว่า การประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษา ต้องดำเนินการบนพ้ืนฐานท่ีสถานศึกษาปฏิบัติได้ ประเมินได้จริง ไม่เป็นภาระ และสามารถ
สะท้อนคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาได้จริง มีความสอดคล้องกับภารกิจบทบาทและหน้าที่ของ
สถานศึกษา เพื่อให้ได้ข้อมูล สารสนเทศท่ีจะเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาต่อไปใน
อนาคตอย่างมีคุณภาพ

2. สภาพทพี่ บ
จากการดำเนินการนิเทศ พบว่า
1. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษา มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงาน

การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
2. การดำเนินงานยงั ไม่เป็นไปตามระบบประกันคณุ ภาพการศึกษา ดงั น้ี
1) การดำเนินงานท่ีเปน็ ไปตามระบบประกันคณุ ภาพการศึกษา มดี ังนี้
(1) การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พบว่า กศน.อำเภอสุคิริน มีการ

ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาแล้ว โดยมีการกำหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ และแนวทางปฏิบัติที่
ชดั เจนเพ่อื นำไปใช้ในการบรหิ ารจัดการศึกษา

(2) การพัฒนามาตรฐานการศึกษา พบวา่ กศน.อำเภอสุคิรนิ มีการพิจารณากำหนด
เกณฑ์คณุ ภาพ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ มาตรฐานผลการเรียนรขู้ อง ผู้เรยี น และการปฏบิ ัติงาน

(3) การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา พบว่า กศน.อำเภอสุคิริน มีการ
ตรวจสอบ และทบทวนคณุ ภาพภายใน โดยนำสารสนเทศมาใช้ในการพิจารณาคณุ ภาพ และผลการดำเนินงาน
ตามเกณฑค์ ุณภาพท่ีกำหนดไว้ในแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

(4) การประเมินคุณภาพการศึกษาการรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี พบว่า
กศน.อำเภอสุคิริน มีการประเมินคุณภาพ วิธีการท่ีเหมาะสม และมีการจัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาเป็น
ประจำทุกปี

2) การดำเนนิ งานทย่ี งั ไมเ่ ปน็ ไปตามระบบประกนั คุณภาพการศึกษา มดี งั น้ี
การดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพ พบว่า กศน.อำเภอสุคิริน ยังขาดการ

เช่ือมโยงแนวทางที่กาหนดไว้ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่การกำหนดแผนงาน/โครงการในแผนปฏิบัติ
งานประจาปี เน่ืองจาก สถานศึกษาต้องกำหนดวางแผนงาน/โครงการตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล
สำนักงาน กศน. รวมทงั้ นโยบายเในระดบั พ้นื ท่ี

3. มกี ารรายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) มคี วามถูกตอ้ ง มหี ลักฐานน่าเชอ่ื ถอื
4. สถานศกึ ษามีการตดิ ตามผลการประกันคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสคุ ิรนิ

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 46

3. ปจั จยั ท่สี ่งผลตอ่ ความสำเร็จ (ถา้ ม)ี
1. มีการวางระบบงานการประกันคุณภาพสถานศึกษา มีคำสั่ง แต่งตั้งคณะทำงาน มีการจัดทำ

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ทกุ ปีงบประมาณ
2. มีการดำเนนิ การประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ทุกปงี บประมาณ
3. มีการชี้แจงแนวทางการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โดย กศน.อำเภอสุคิริน

4. ปัญหาอุปสรรค
1. บุคลากรที่รับผิดชอบงานประกนั คุณภาพยังขาดความรู้ความเข้าใจในงานประกันคุณภาพ
2. ไมม่ ีการประกาศใหส้ ังคมในพ้นื ทไี่ ดร้ บั รผู้ ลการประกนั คุณภาพ

5. ข้อนิเทศต่อผรู้ บั การนิเทศ
๑. แนะนำให้สถานศึกษา ประกาศให้สังคมได้รับรู้ถึงคุณภาพในการบริหารและการจัดการศึกษาของ

สถานศึกษา โดยสถานศึกษาต้องดำเนินการบริหารให้เป็นระบบต่อเนื่อง เร่ิมจากการกำหนดเป้าหมาย
กลยุทธ์ เกณฑ์คุณภาพให้มีความชัดเจนในแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา จากน้ันนำวิธีการ รายการ
และเกณ ฑ์ คุ ณ ภ าพ จาก แผน พั ฒ น าการศึ กษ าของส ถาน ศึ กษ าใน แต่ ละปี มาจัดท ำแผน งาน /โครงการ ใน
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี

2. แนะนำให้ผู้บริหารสถานศึกษา จัดอบรมเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้กับ
บคุ ลากรทเ่ี ก่ียวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจในงานประกันคณุ ภาพการศึกษา

6. ข้อเสนอแนะเพอื่ การพัฒนา
6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศึกษา (ถา้ มี)
1. ควรมีการเก็บรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ มกี ารจดั ทำแผนปฏบิ ตั ิการ มีการตรวจสอบและ

ทบทวนคณุ ภาพการศกึ ษา
6.2 ขอ้ เสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน.จังหวัด (ถา้ มี)
1. จดั อบรมเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ใหก้ บั บุคลากรทเี่ กยี่ วขอ้ งใหม้ ี

ความรู้ ความเขา้ ใจในงานประกนั คุณภาพการศึกษา
6.3 ขอ้ เสนอแนะสำนักงาน กศน.(ถ้ามี)
-

7. Best Practice (ถา้ มี)
-

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคิริน

รายงานผลการนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 47
8.ภาพกิจกรรม อยา่ งน้อย 4 – 6 ภาพ

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุคิรนิ


Click to View FlipBook Version