บทเรียนออนไลน์
เซลล์พืช
เซลล์สัตว์
รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
งานวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง "เซลล์พืช เซลล์สัตว์"
เซลล์ คืออะไร?
FIRST LAW
เซลล์ คือ หน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ซึ่ง
ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจึงต้องใช้
กล้องจุลทรรศน์ช่วยขยายภาพเซลล์ให้เรามองเห็น
ได้
SECOND LAW
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แต่ละชนิด จะแตกต่าง
กันออกไป อย่างเซลล์เม็ดเลือดแดงมีลักษณะกลมแบน
ทำหน้าที่ลำเลียงออกซิเจน แต่เซลล์เม็ดเลือดขาว จะมี
ลักษณะค่อนข้างกลม ทำหน้าที่กำจัดเชื้อโรคและสร้าง
ภูมิคุ้มกัน
THIRD LAW
สิ่งมีชีวิตบางชนิดสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้โดยมีเซลล์
เพียงเซลล์เดียว เช่น อะมีบา ยูกลีนา พารามีเซียมแต่
สิ่งมีชีวิตบางชนิดจำเป็นต้องมีหลายเซลล์ เช่น เห็ด รา
พืช สัตว์ เป็นต้น รวมทั้งมนุษย์เราก็เป็นสิ่งมีชีวิตหลาย
เซลล์เช่นเดียวกัน
โครงสร้างของเซลล์สัตว์
เยื่อหุ้มเซลล์ นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และทุกสิ่งที่อยู่ระหว่างเซลล์
นิวเคลียส กลุ่มเซลล์มีลักษณะเป็นถุงแบน
มีหน้าที่ช่ วยจัดเรียงโปรตีน
นี่เป็นบ้านของดีเอ็นเอ ที่สังเคราะห์ในร่างแห
ของเซลล์ซึ่ งจะเป็นตัวนำพา เอนโดพลาซึ มแบบผิวขรุ ขระ
การสังเคราะห์ของไรโบโซม
กอลจิแอพพาราตัส
และโปรตีน
ไซโทพลาซึม
ร่างแหเอนโดพลาซึม
สารคล้ายเจล
เป็นเซลล์เยื่อหุ้มที่พับอยู่ในเซลล์ ที่เติมเต็มช่ องว่างภายในเซลล์
ซึ่ งสามารถเคลื่อนวัสดุ เพื่อช่ วยให้สามารถคงรู ปไว้ได้
ไปรอบ ๆ ได้
ไมโทคอนเดรียน
ร่างแหเอนโดพลาซึม
แบบเรียบ ไมโทคอนเดรียนสร้าง
สารประกอบจากพันธะเคมี
จะไม่มีไรโบโซมเกาะอยู่ ที่แตกหักของโมเลกุลอาหาร (เช่น
และช่ วยปรับเปลี่ยนโปรตีน น้ำตาล) เรียกว่าอะดีโนซีน
ไตรฟอสเฟต (เอทีพี) และจะถูก
ที่สร้างโดยส่วนชนิดผิว เก็บไว้ที่นี่จนกว่าจะถูกดึงมาใช้
ขรุขระ
เป็นที่รู้จักกันในนามของ
"โรงผลิตไฟฟ้าของเซลล์"
ร่างแหเอนโดพลาซึม ไลโซโซม
แบบขรุขระ
นี่เป็นถุงที่มีเอนไซม์ย่อยอาหาร
จะมีไรโบโซมเกาะอยู่ สามารถย่อยสลายอนุภาค
และทำหน้าที่สร้าง ที่เซลล์ไม่ต้องการ
โปรตีน นอกจากนี้ยังทำลายเชื้ อโรค
ที่แปลกปลอมเข้าสู่เซลล์
เยื่อหุ้มเซลล์
แวคิวโอล
เป็นเยื่อหุ้มชั้นนอกบาง ๆ
ที่แยกการห่อหุ้มของเซลล์ สิ่งเหล่านี้คือถุงเยื่อ
ออกจากเซลล์อื่น ๆ นอกจากนี้ ที่ถูกนำมาใช้ สำหรับการ
ยังควบคุมการเข้าและออก กักเก็บสิ่งอื่น ๆ ไว้ในเซลล์
ของวัสดุจากเซลล์ แถมยังรู้จัก
ในชื่ อของเยื่อหุ้มเซลล์
โครงสร้างของเซลล์พืช
เยื่อหุ้มเซลล์ นิวเคลียส ไซโทพลาสซึมและทุกสิ่งที่อยู่ระหว่างเซลล์
ไรโบโซม มีหน้าที่ควบคุม เป็น "สมอง" ของนิวเคลียส ผนังเซลล์
การถ่ายทอดต่าง ๆ ช่วยในการสังเคราะห์
เป็นสถานที่ และการผลิตไรโบโซม เป็นผนังที่คลุม
ที่มีการสังเคราะห์ ภายในเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ไว้
นิวคลีโอลัส ช่วยปกป้องและ
โปรตีน นิวเคลียส คงรูปร่างให้กับเซลล์
ร่างแหเอนโดพลาซึม เยื่อหุ้มเซลล์
(ER)
พบภายในผนังเซลล์
ทำหน้าที่สร้าง ควบคุมว่าวัสดุใดมีการ
และขนส่งสารไปยัง เข้าและออกจากเซลล์
ส่วนต่าง ๆ ภายในเซลล์
เซนทรัลแวคิลโอล
ร่างแหเอนโดพลาซึม
แบบขรุขระ ทำหน้าที่เก็บของเสีย
น้ำและสารอาหาร
ร่างแหเอนโดพลาซึมนี้
ช่วยในการผลิตและควบคุม พืชส่วนใหญ่มีแวคิวโอล
คุณภาพของโปรตีน นอกจากนี้ เพียงแค่ตัวเดียว
ยังมีไรโบโซมหลายล้านเซลล์
ไซโทพลาสซึม
ร่างแหเอนโดพลาซึม
แบบเรียบ เป็นของเหลวข้น
ที่เติมเต็มช่องว่าง
ร่างแหเอนโดพลาซึม (ER) นี้ ภายในเซลล์เพื่อช่วยให้
ช่วยในการผลิตและ เซลล์ดำรงชีวิตอยู่ได้
การสังเคราะห์สารลิพิด ซึ่ง อะไมโลพลาสต์
ต่างจากร่างแหเอนโดพลาซึม
ทำหน้าที่เก็บสะสมแป้ง
แบบขรุขระที่ไม่มีไรโบโซม สำหรับพืช
ไมโทคอนเดรียน คลอโรพลาสต์ กอลไจแอปพาราตัส ดรูส คริสตัล
ทำหน้าที่สลายน้ำตาล เมื่อผ่านการสังเคราะห์แสง แบบถุงแบน ๆ ที่ ทำหน้าที่เก็บแคลเซียม
(จากคลอโรพลาสต์) ออร์แกเนลล์นี้ได้สร้าง มีลักษณคล้ายชาม ส่วนเกินที่เรียกว่า
ให้เป็นพลังงานที่เซลล์สามารถ น้ำตาลให้กับเซลล์ ซึ่งช่วยจัดเรียงโปรตีน
นำไปใช้ได้ ซึ่งเป็นที่รู้จักกัน ที่ถูกสังเคราะห์ในร่างแห แคลเซียมออกซาเลต
ในนาม "โรงไฟฟ้า" ของเซลล์ เอนโดพลาซึมแบบขรุขระ ในพืชแคลเซียมปริมาณที่สูง
จะทำให้พืชเป็นพิษต่อมนุษย์
เ ซ ล ล์ ส า ม า ร ถ แ บ่ ง ไ ด้ เ ป็ น 2 ส่ ว น ใ ห ญ่ ๆ
1 . ส่ ว น ที่ ห่ อ หุ้ ม เ ซ ล ล์ ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) เป็นส่วนที่อยู่ใน
เยื่อหุ้มเซลล์ และเป็นแหล่งกำเนิดปฏิกิริยาเคมี
เยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) เป็นส่วนที่ ต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วยด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ส่วน
ค อ ย ห่ อ หุ้ ม สิ่ ง ที่ อ ยู่ ภ า ย ใ น เ ซ ล ล์ ทั้ ง ห ม ด ที่เป็นของเหลว เรียกว่า ไซโทซอล(Cytosol)
ส า ม า ร ถ พ บ ไ ด้ ใ น เ ซ ล ล์ ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิต ทุ ก ช นิ ด และออร์แกเนลล์ (Organalle) ซึ่งออร์แกเนลล์
โ ด ย จ ะ ทำ ห น้ า ที่ เ ป็ น เ ยื่ อ เ ลื อ ก ผ่ า น เหล่านี้ ทำหน้าที่คล้ายกับหน่วยงานต่าง ๆ
(semipermeable membrane) คล้ายกับ ภายในเมือง และสำหรับบทเรียนนี้ เราจะพา
ทหารที่คอยเฝ้าประตูเมือง โดยจะมีลักษณะ เพื่อน ๆ ไปทำความรู้จักกับ 6 ออร์แกเนลล์กัน
เป็นเยื่อบาง ๆ ประกอบไปด้วยลิพิด โปรตีน ก่อน ซึ่งจะมีอะไรบ้างนั้น ไปดูกันได้เลย
และคาร์โบไฮเดรตเล็กน้อย คอยจำกัดชนิด
แ ล ะ โ ม เ ล กุ ล ข อ ง ส า ร ที่ จ ะ ผ่ า น เ ข้ า ไ ป ใ น เ ซ ล ล์ ไรโบโซม (Ribosome) มีหน้าที่สังเคราะห์
โ ป ร ตี น ใ ช้ ทั้ ง ภ า ย ใ น เ ซ ล ล์ แ ล ะ ภ า ย น อ ก เ ซ ล ล์
2 . โ ป ร โ ท พ ล า ส ซี ม ไซโทสเกลเลตอน (Cytoskeleton) เป็น
(PROTOPLASM) โ ป ร ตี น ที่ ทำ ห น้ า ที่ เ ป็ น โ ค ร ง ส ร้ า ง ค้ำ จุ น เ ซ ล ล์
มี 3 ประเภท ได้แก่ Microtubule,
เป็นเหมือนหน่วยงานต่าง ๆ ที่อยู่ภายในเซลล์ ซึ่ง Intermediate Filament และ
ทำหน้าที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้ Microfilament
เซนทริโอล (Centriole) เป็นออร์แกเนลล์
นิวเคลียส (Nucleus) เปรียบเสมือนพระ ที่ไม่พบในเซลล์พืช ประกอบไปด้วยหลอด
ราชาของเมือง เพราะมีหน้าที่คอยควบคุมการ เล็ก ๆ ที่เรียกว่า ไมโครทูบูล
ทำงานของเซลล์ รวมทั้งเป็นแหล่งสังเคราะห์ (Microtubule) ทำหน้าที่สร้างเส้นใย
สารพันธุกรรมหรือ DNA โดยนิวเคลียสมี สปินเดิล (Spindle Fiber) ที่ช่วยในการ
ลักษณะค่อนข้างกลม และเห็นได้ชัดอยู่ตรง เ ค ลื่ อ น ที่ ข อ ง โ ค ร โ ม โ ซ ม ข ณ ะ แ บ่ ง เ ซ ล ล์
กลางเซลล์ แวคิวโอล (Vacuole) ทำหน้าที่รักษาสมดุล
น้ำและบรรจุอาหาร ซึ่งแวคิวโอลในเซลล์พืช
จ ะ มี ข น า ด ใ ห ญ่ ก ว่ า เ ซ ล ล์ สั ต ว์
ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) เปรียบ
เ ส มื อ น โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า ผ ลิ ต พ ลั ง ง า น ใ ห้ กั บ เ ซ ล ล์
โ ด ย ก ร ะ บ ว น ก า ร ส ร้ า ง พ ลั ง ง า น นี้ เ รีย ก ว่ า
การหายใจระดับเซลล์ ซึ่งไมโทคอนเดรียพบ
มากที่บริเวณกล้ามเนื้อหัวใจของมนุษย์ โดย
ประกอบด้วยเยื่อหุ้มสองชั้น ชั้นนอกจะมีผิว
เรียบ ส่วนชั้นในจะพับทบเข้าไปด้านในเรียก
ว่า คริสตี (Cristae)
คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) พบเฉพาะ
ในเซลล์พืช สาหร่าย หรือแบคทีเรียบาง
ชนิด ประกอบด้วยเยื่อหุ้มสองชั้น ซึ่งคลอโร
พ ล า ส ต์ เ ป็ น เ ห มื อ น โ ร ง อ า ห า ร ข อ ง เ ซ ล ล์
เ พ ร า ะ ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง อ า ห า ร ไ ด้ ด้ ว ย ก า ร
สังเคราะห์แสง (Photosynthesis)
ความแตกต่างระหว่าง
เซลล์พืช & เซลล์สัตว์
เซลล์พืช เซลล์สัตว์
1. เซลล์พืชมีรูปร่างเป็น 1. เซลล์สัตว์มีรูปร่างกลม
เหลี่ยม หรือรี
2. มีผนังเซลล์อยู่ด้าน 2. ไม่มีผนังเซลล์แต่มีสาร
นอก เคลือบเซลล์อยู่ด้าน
นอก
3. มีคลอโรพลาสต์
3. ไม่มีคลอโรพลาสต์
ภายในเซลล์
4. มีเซนทริโอลใช้ในการ
4. ไม่มีเซนทริโอล
แบ่งเซลล์
5. แวคคิวโอลมีขนาด
5. แวคคิวโอลมีขนาดเล็ก
ใหญ่ มองเห็นได้
ชัดเจน มองเห็นได้ไม่ชัดเจน
6. ไม่มีไลโซโซม 6. มีไลโซโซม