The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การตั้งชื่อชื่อวิทยาศาสตร์ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Maprang Pray Fah, 2020-06-22 22:16:41

ความหลากหลายทางชีวภาพ

การตั้งชื่อชื่อวิทยาศาสตร์ 1

Keywords: การตั้งชื่อชื่อวิทยาศาสตร์

โรงเรยี นมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ์ (องคก์ ารมหาชน) 1 สาขาวชิ าชีววิทยา

เอกสารประกอบการเรียนวิชา ว40242 ความหลากหลายทางชวี ภาพ ความหลากหลายทางชวี ภาพ

-------------------------------------------------------------------------------------

ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวิต (Biodiversity)

บทท่ี 1 บทนา

สง่ิ มชี วี ติ บนโลกใบนม้ี ีอยู่มากมายหลายลา้ นชนิด แตล่ ะชนิดอาจมเี พียงไม่ก่สี บิ ไมก่ ่ีรอ้ ยตัวเชน่ หมขี าว
เสอื ไซบเี รียน นกเจา้ ฟ้าหญิงสิรนิ ธร แตส่ ิง่ มีชีวิตบางอย่างอาจมเี ป็นล้านตวั เช่น แมลง แพลงก์ตอน แบคทเี รีย
สง่ิ มชี ีวิตทอ่ี ยู่รอบ ๆ ตวั เรา บางชนิดมรี ูปรา่ งคลา้ ยคลึงกับเราเชน่ เพ่ือนชาวต่างชาติ กอรลิ ลา ชิมแพนซี ชะนี แต่
บางชนดิ กม็ ีความแตกตา่ งจากเราจนไม่น่าเชือ่ ว่า “นั่นกเ็ ป็นสง่ิ มชี วี ติ ” เหมือนกันเชน่ ปลากบ (ปลาซงึ่ อาศัยตามแนว
ปะการงั และผา่ นกระบวนการคดั เลอื กตามธรรมชาตมิ าจนปจั จบุ นั มีรปู ร่างกลมกลืนกบั แนวปะการงั จนแยกออกได้
ยากวา่ ปลากบพรางตวั อยบู่ รเิ วณใด) มา้ น้าที่มลี ักษณะคลา้ ยใบไม้ในทะเล (Leafy sea dragon) หวีว้นุ (สตั วค์ ลา้ ย
แมงกะพรุน ซง่ึ บางคร้งั มองผา่ น ๆ จะคลา้ ยขยะพวกถงุ พลาสตกิ ลอยอย่ใู นทะเล) ราเมือก (โปรตสิ ตช์ นดิ หนง่ึ ซ่งึ พบ
ได้ตามทช่ี ื้นแฉะ บางชนดิ มีสี เหลอื งอมเขียว มองผ่าน ๆ อาจนึกวา่ เสลด)

ภาพที่ 1 การพรางตวั (Camouflage) โดยการปรบั เปล่ียนรปู ร่างของสงิ่ มีชีวิตบางชนิด
( ท่ีมาภาพ : http://www.dkimages.com/discover/previews/753/335379.JPG
http://www.liverpoolmuseums.org.uk/nof/fish/images/leafy_sea_dragon_large.jpg)

จะเห็นไดว้ า่ ส่งิ มชี วี ติ บนโลกใบนมี้ คี วามเหมือนกนั เพยี งแค่ ความต้องการพลังงานมาใช้ในการผลกั ดนั ให้
เกิดกิจกรรมแหง่ ชวี ิต (Activities of life) บางชนดิ อาจ “เปลยี่ นรูป” พลงั งานจากธรรมชาตมิ าอยใู่ นรปู พลังงานเคมี
ทส่ี ามารถเกบ็ ไวใ้ ช้ไดด้ ้วยตนเองเช่น พืช สาหรา่ ยเซลลเ์ ดยี ว แบคทีเรยี บางชนดิ สง่ิ มีชีวติ เหลา่ น้เี รยี กรวม ๆ ว่าเป็น
พวกผู้ผลติ (Autotroph) แต่ส่งิ มชี วี ติ บางอยา่ งจะนา้ พลงั งานมาจากสิง่ มีชวี ิตอน่ื ผ่านกระบวนการ “กินกันเป็นทอด
ๆ” สิ่งมีชีวติ เหล่านีเ้ รยี กว่าผ้บู ริโภค (Consumer ซงึ่ เปน็ พวก Heterotroph) กระบวนการดังกลา่ วทา้ ใหส้ ง่ิ มีชีวติ
สว่ นใหญ่บนโลกนม้ี ีความสมั พันธต์ ่อกัน

Inquiry Activity :
1. กจิ กรรมแห่งชวี ิตคืออะไร?
2. กระบวนการใดในระบบนิเวศทเี่ กยี่ วข้องกับการกนิ กันเปน็ ทอด ๆ ?

ในความเหมือนหนงึ่ ประการของสง่ิ มชี ีวติ บนโลกใบน้ี นา้ ไปสูค่ วามหลากหลายมากมาย ซ่งึ นกั วิชาการได้
แบ่งความหลากหลายบนโลกใบนไี้ ว้ใน 3 ระดบั คอื
1. ความหลากหลายในระดับนเิ วศ (Ecological diversity) สง่ิ มชี วี ติ ชนิดเดียวกัน มพี ันธุกรรมแบบเดยี วกนั แต่

เมอื่ อาศัยอยูใ่ นสภาพแวดล้อมทแี่ ตกตา่ งกัน กท็ า้ ให้มันแตกต่างกนั ได้เชน่ แบคทเี รยี E. coli ทมี่ ียนี LacZ เม่อื
เล้ียงในอาหารทีม่ ีกลูโคสสูงผสมสารโครงสรา้ งคลา้ ย (analog) กาแลคโตส (x-gal) และสารกระตุ้นสฟี ้า (IPCT)
กบั กลุม่ ทีเ่ ลย้ี งในอาหารที่มีกาแลคโตสผสมสารโครงสร้างคล้ายกาแลคโตสตวั กระตนุ้ ใหเ้ กดิ สีฟา้ จะมีสขี อง
โคโลนีแตกตา่ งกัน E. coli ทม่ี ยี ีน LacZ สามารถสรา้ งเอนไซม์ -galactosidase ซ่ึงสามารถเร่งปฏกิ ริ ิยาการ

โรงเรยี นมหิดลวิทยานสุ รณ์ (องค์การมหาชน) 2 สาขาวิชาชวี วิทยา

เอกสารประกอบการเรียนวชิ า ว40242 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ

-------------------------------------------------------------------------------------

ยอ่ ยน้าตาลกาแลคโตสได้ แต่ในสภาวะทมี่ นี า้ ตาลกลูโคสสูง เอนไซมต์ วั นจ้ี ะไม่ถูกสร้างออกมา เมือ่ ไม่มีเอนไซม์

ไปเรง่ การสลายพันธะของสารทมี่ โี ครงสรา้ งคล้ายกาแลคโตส โคโลนีของแบคทเี รียกลมุ่ น้ีจึงเป็นสขี าว แต่

แบคทีเรยี ทถ่ี ูกเล้ยี งในอาหารทไี่ มม่ ีกลูโคส หากแต่มีน้าตาลกาแลคโตสแบคทเี รียจะสรา้ งเอนไซม์มาเรง่ ปฏิกริ ิยา

ยอ่ ยน้าตาลกาแลคโตสเปน็ น้าตาลกลโู คสและแลคโตส และเอนไซมต์ วั นีย้ งั สามารถยอ่ ย x-gal ท้าใหโ้ คโลนีของ

แบคทีเรยี ที่เลยี้ งในอาหารทีม่ กี าแลคโตสเกดิ สีฟา้

ส่งิ มีชวี ิตทกุ ชนิดต่างมคี วามพยายามในการปรบั ตวั เองเพือ่ ใหส้ ามารถอย่รู อดได้ในสภาวะตา่ ง ๆ เมอ่ื

สงิ่ มีชีวิตทีแ่ ตกต่างมาอยรู่ วมกัน ยอ่ มท้าให้เกิดความแตกตา่ งในระดบั ทีม่ ากข้นึ และในทีส่ ดุ เกดิ เป็น

ลกั ษณะเฉพาะของแตล่ ะ “ระบบนิเวศ” ขน้ึ

2. ความหลากหลายในระดบั ชนิดพนั ธุ์ (Speciation diversity) เปน็ ความหลากหลาย แตกตา่ งของส่งิ มชี ีวิตตา่ ง

เผา่ พันธุ์ ซ่ึงบางชนดิ อาจมีความคล้ายคลงึ กนั มากกบั อีกบางชนิดเช่น ชา้ งเอเชยี กับช้างแอฟรกิ า บางชนดิ อาจมี

ความแตกต่างกนั มากเช่นตน้ สกั กบั ต้นกระเพรา ความแตกตา่ งในระดบั ชนดิ พนั ธ์ุนีเ้ กดิ จากการสะสมความ

แตกต่างท่ีเกิดขึ้นตามลา้ ดับววิ ัฒนาการ จนส่ิงมีชีวติ แตล่ ะกลมุ่ แยกจากกนั อย่างสิน้ เชงิ ทงั้ นีส้ ิง่ มีชวี ติ หลาย ๆ

ชนิดได้พัฒนากลไก RIMs เพ่ือป้องกนั การผสมข้ามพันธุ์ข้นึ

3. ความหลากหลายในระดับพนั ธกุ รรม เป็นความหลากหลายทเี่ กดิ ข้นึ ภายในชนิดพันธเุ์ ดียวกัน ท้าใหส้ ิง่ มีชีวติ

ชนดิ หน่ึง ๆ มคี วามแตกต่างเกดิ เปน็ Polymorphisms เช่น สผี ิวที่แตกต่างของมนษุ ย์ Homo sapiens

sapiens เป็นผลเนือ่ งจากการมพี นั ธกุ รรมควบคมุ สผี ิวท่แี ตกต่างกนั หรือ รูปรา่ งของหงอนไกพ่ ันธุ์เรดฮอร์นกม็ ี

ความแตกต่างกันเน่ืองจากความแตกตา่ งทางพันธกุ รรม ซง่ึ ความแตกตา่ งในระดับพนั ธกุ รรมนม้ี ีทง้ั แบบที่

แสดงออกให้เห็นเป็นลักษณะภายนอก (phenotype) และแบบท่ไี ม่แสดงออกให้เห็นเปน็ ลกั ษณะภายนอกเช่น

การเกดิ Tandem repeat ทแี่ ตกตา่ งกันในแตล่ ะบุคคลทบี่ รเิ วณ Minisatellite หรือ Microsatellite ซึ่ง

สามารถน้าไปใช้ในงานพิสูจน์บุคคลโดยการท้า DNA fingerprint

นอกจากส่ิงมีชีวิตท่ีถูกค้นพบแล้วราวสองล้านชนิด ทุกวันนี้ยังมีการค้นพบส่ิงมีชีวิตชนิดใหม่ๆ อยู่เสมอ ฉะน้ัน
ในการศึกษาส่ิงมีชีวิตจึงต้องมีการจ้าแนกส่ิงมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่เพ่ือความสะดวกในการศึกษา ซึ่งการศึกษา
ลักษณะนี้เรียกว่า วชิ าอนกุ รมวิธาน (Taxonomy)

อนุกรมวิธาน (Taxonomy)
Taxonomy มีรากศพั ทม์ าจากภาษากรกี สองคาคอื taxis ที่แปลว่า การจดั และคา้ ว่า nomos ท่ีแปลว่า

กฎ ดังนั้น Taxonomy จงึ หมายถึงกฎเกณฑ์เกย่ี วกับการจัดหมวดหมขู่ องส่งิ มชี วี ิต ซึ่งจะแบง่ ออกเป็น 3 ส่วนคอื
1. Classification หมายถึง กฎเกณฑ์การจัดสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ โดยอาศัยพื้นฐานความรู้ท่ีเป็น

หลกั ฐานความเกยี่ วทางวิวัฒนาการ
2. Identification หมายถึง การค้นหาตรวจสอบเพือ่ ใหไ้ ด้ช่ือวิทยาศาสตรป์ ระจ้ากล่มุ โดยอาศัยหลักฐานที่

มีท้ามากอ่ น อาจเป็นการท้าโดยอาศยั ความรคู้ วามช้านาญท่ีมีมากอ่ น
3. Nomenclature หมายถึง กฎเกณฑ์การต้ังชอื่ สิ่งมีชีวติ ชนดิ ต่าง ๆ ตามทไี่ ดจ้ ้าแนกเอาไว้แล้ว ซ่ึงต้องมี

หลกั และวธิ ีการซงึ่ เป็นสากล

เกณฑ์ท่ใี ชใ้ นการจดั จ้าแนกสิ่งมีชีวิตมีต้ังแต่ การศึกษาโครงสร้างภายนอกที่มองเห็น การศึกษาโครงสร้าง
ภายใน การศึกษาต้นก้าเนิดของอวัยวะ การพิจารณาแบบแผนการเจริญเติบโต อาศัยหลักฐานทางวิวัฒนาการ
อาศยั ข้อมลู ทางชวี โมเลกุลเชน่ ความคล้ายคลงึ หรอื แตกตา่ งของสายโพลเี ปปไทด์ และสารพนั ธุกรรม และความรู้อื่น
ๆ อีกมากมาย และเน่ืองจากการจัดจา้ แนกสามารถพิจารณาได้จากหลายปจั จยั ดงั นัน้ จงึ มีรปู แบบของการจัดจา้ แนก
ทแี่ ตกตา่ งกนั มากมาย รูปแบบการจัดจ้าแนกท่ีจะน้าเสนอต่อไปนี้เป็นรูปแบบท่ีน้าเสนอโดย Whittaker ในปี 1969
ซึ่งแบง่ ส่ิงมีชีวติ ซึ่งมเี ซลลเ์ ปน็ องคป์ ระกอบออกเป็น 5 อาณาจกั รไดแ้ ก่

1. อาณาจักรโมเนอรา (Kingdom Monera)
2. อาณาจักรโปรตสิ ตา (Kingdom Protista)

โรงเรยี นมหิดลวิทยานสุ รณ์ (องคก์ ารมหาชน) 3 สาขาวิชาชีววิทยา

เอกสารประกอบการเรียนวิชา ว40242 ความหลากหลายทางชวี ภาพ ความหลากหลายทางชวี ภาพ

-------------------------------------------------------------------------------------

3. อาณาจักรเหด็ รา (Kingdom Fungi)

4. อาณาจกั รพืช (Kingdom Plantae)

5. อาณาจักรสตั ว์ (Kingdom Animalia)

นอกจากนนั้ ในปัจจุบันยังมีสิง่ มชี วี ิตท่ีขาดคณุ สมบัติของเซลลท์ ี่น่าสนใจอีกกลุ่มหนึ่งคือ ส่ิงมีชีวิตในอาณาจักร ไวรา

(Kingdom Vira) และสิง่ มีชีวิตที่เป็นอนุภาคของเซลล์ (particle living) อ่ืน ๆ อย่าง ไวรอยด์ (viroid) และพริออน

(prion)

การจัดหมวดหมู่ส่งิ มีชีวิต (Classification)

การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตมีมานแล้ว แต่ในสมัยแรก ๆ นั้นมักจะยึดเกณฑ์ง่าย ๆ และประโยชน์เป็น
หลักส้าคัญ เช่น จัดสิ่งมีชีวิตออกเป็นพวกให้ประโยชน์และให้โทษ การจัดโดยวิธีน้ีอาศัยเกณฑ์ง่าย ๆไม่ยุ่งยาก
ซับซ้อนอะไร และการจัดสิ่งมีชีวิตด้วยวิธีนี้ก็ใช้ได้เป็นอย่างดี เพราะท้าให้มนุษย์สมัยก่อนอยู่อย่างสุขสมบูรณ์และ
ปลอดภัย บคุ คลส้าคัญทม่ี ีผลงานเก่ยี วกบั การแบง่ หมวดหมขู่ องสง่ิ มชี วี ิตคือ

อาริสโตเตลิ (Aristotle) เมือ่ 2,000 กว่าปีมาแล้ว ไดแ้ บง่ สตั วอ์ อกเป็น 2 พวก
1. สัตว์มีกระดูกสันหลังและมีเลือดสีแดง (Enaima-Vertebrates) และแบ่งออกเป็น 2 พวก
คอื

1.1 พวกท่ีออกลูกเป็นไข่ (oviparous) ได้แก่ นก สัตว์สะเทินบกสะเทินน้า
สัตว์เล้ือยคลาน งู ปลา

1.2 พวกที่ออกลูกเป็นตัว (viviparous) ได้แก่ คน ปลาวาฬ และสัตว์เล้ียงลูกด้วย
น้านมท่ัว ๆ ไป

2. สัตวไ์ มม่ กี ระดูกสนั หลังและไมม่ ีเลือดสีแดง (Anaima-Invertebrate) แบง่ ออกเป็น 5 กล่มุ
2.1 พวกปลาหมึก (cepalopods)
2.2 พวกกุ้ง ก้งั ปู (crustaceans)
2.3 พวกแมลง (insects) และแมงมมุ (spiders)
2.4 พวกหอย (mollusks) และดาวทะเล (echinoderms)
2.5 พวกฟองน้า (sponge) แมงกะพรุน ปะการงั ดอกไม้ทะเล (coelenterate)

นอกจากนี้ ยังได้แบ่งพืชออกเป็น 3 กลุ่มตามลักษณะและขนาดคือ 1) พวกไม้เนื้ออ่อน
และไม้ล้มลุก (herbs) 2) ไม้พุ่ม (shrubs) มีเนื้อแข็งไม่เป็นล้าต้นตรงขึ้นไป และมีการแตกกิ่งก้านสาขา
มาก 3) ไมใ้ หญ่ (trees) มีเน้ือแข็ง ขนาดใหญ่ และมีลักษณะล้าต้นตรงข้ึนไป แล้วจึงแตกก่ิงก้านสาขาที่
ตอนบน

จอห์น เรย์ (John Ray) ปี ค.ศ. 1627- 1705 นักพฤกศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้แบ่งพืช
ออกเปน็ ใบเลี้ยงคู่และใบเลี้ยงเดยี่ ว (monocotyledon) และพืชใบเลี้ยงคู่ (dicotyledon) นอกจากน้ี
ยงั เปน็ คนทน่ี า้ สปีชีส์ (species) มาใช้ทางชีววิทยา

คาโรลัส ลินเนียส (Corolus Linnaeus) ปี ค.ศ. 1707-1778 นักชีววิทยาชาวสวีเดน ผู้
วางรากฐานการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตและได้รับยกย่องว่าเป็น บิดาแห่งการจาแนกยุคใหม่ หรือ
บิดาแห่งวิชาอนุกรมวิธาน (Father of Modern Classification) ลินเนียสเป็นคนแรกท่ีใช้ช่ือ
ภาษาลาติน 2 ชอ่ื มาใช้เรยี กสงิ่ มชี ีวิต ซึ่งเรียกว่า binomial nomenclature โดยชื่อแรกเป็นช่ือสกุล
หรอื จนี สั (generic name) และชื่อหลงั เป็นชอ่ื ตัวหรือช่อื สปีชสี ์ (specific name) และวธิ ีนี้ยังใช้

โรงเรยี นมหิดลวิทยานสุ รณ์ (องคก์ ารมหาชน) 4 สาขาวชิ าชีววทิ ยา

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ า ว40242 ความหลากหลายทางชวี ภาพ ความหลากหลายทางชวี ภาพ

-------------------------------------------------------------------------------------

กันอยถู่ งึ ปัจจบุ นั นอกจากนีล้ ินเนยี สยังได้ศกึ ษาพืชและเกสรตัวผู้ และใชเ้ กสรตัวผู้ในการแบ่งชนิดของ

พชื ดอก ปัจจุบันหลกั เกณฑต์ ่าง ๆของลนิ เนียสยังคงใชก้ ันอยู่

การจัดหมวดหมู่ของสิง่ มีชีวิตแบง่ ออกเปน็ 2 แบบ คอื
1. Artificial classification การจัดหมวดหมู่โดยดูจากลักษณะภายนอก โดยถ้ามีลักษณะ

เหมือนกันจัดไว้เป็นพวกเดียวกัน ถ้าต่างกันก็แยกไว้อีกพวกหน่ึง เป็นการจัดหมวดหมู่ท่ีรวดเร็วแต่ไม่
ถกู ตอ้ ง

2. Nature classification ศึกษาการเกี่ยวพันกันทางวิวัฒนาการ ซึ่งต้องใช้เวลาในการจัด
จา้ แนกแต่มคี วามถกู ต้องสงู

ถึงแม้ว่าวธิ ีในการจัดหมวดหมู่จะมกี ารพฒั นามาเป็นล้าดับจากสมัยของ Linnaeus แต่ก็ยังไม่
มีวิธีใดที่ถือว่าดีที่สุด ปัจจุบันการจัดหมวดหมู่ของส่ิงมีชีวิตแบ่งออกเป็นหลายแนวทางท่ีส้าคัญ คือ

1. Phenetics เป็นลักษณะการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิตโดยอาศัยความคล้ายคลึงและความ
แตกต่างเปรียบเทียบได้ในเชิงปริมาณของลักษณะต่าง ๆ (characters) เป็นหลัก โดยไม่ให้
ความส้าคัญต่อความสัมพันธ์ทางสายวิวัฒนาการ (phylogeny) แต่เน่ืองจากปัญหาเก่ียวกับจ้านวน
ของลักษณะทีจ่ ะใช้ในการจ้าแนก และความส้าคัญของแต่ละลักษณะที่อาจไม่เท่ากัน ปัจจุบันยังมีผู้ใช้
วิธีการให้คะแนน (numerical weight) แต่ละลักษณะ โดยใช้ลักษณะต่างๆ ให้มากท่ีสุดและใช้สถิติ
วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ว่าใกล้ชิดกันเพียงใด วิธีดังกล่าวรู้จักกันในชื่อว่า numerical phenetics
หรือ numerical taxonomy ปญั หาทส่ี า้ คัญของการจา้ แนกหมวดหมสู่ งิ่ มชี ีวิตด้วยวิธีอีกประการหน่ึง
คือ ลักษณะท่ีเหมือนหรือคล้ายคลึงกันน้ันอาจท้าให้เกิดข้อผิดพลาดได้ ถ้าลักษณะนั้นเป็น
analogous stucture

2. Cladistics (phylogenetic systemmatics) เป็นการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตโดย
พิจารณาจากแบบแผนของการแยกกันทางสายวิวัฒนาการ (branching pattern of phylogeny)
เป็นหลัก cladists จะสร้างแผนภาพวิวัฒนาการแยกจากกันของส่ิงมีชีวิตเรียกว่า cladograms
จากนั้นจะพิจารณาว่าส่ิงมีชีวิตกลุ่มใดกลุ่มหน่ึงเป็น monophyletic group or polyphyletic
group วิธีนี้ถือว่า สิ่งมีชีวิตจะจัดอยู่ในอันดับช้ัน(categorical rank) เดียวกันจะต้องเป็น
monophyletic group น้ันคือ สิ่งมีชีวิตเหล่าน้ันจะต้องมีวิวัฒนาการแยกออกมาจากบรรพบุรุษ
เดียวกัน มลี กั ษณะหลายอย่างท่ีเหมือนหรือคล้ายคลึงกันแบบที่จัดเป็น homologous structure ซ่ึง
มลี กั ษณะท่ไี ด้มาจากบรรพบรุ ษุ (shared primitive characters) หรือลักษณะท่ีเกิดข้ึนใหม่ (shared
derived characters)

3. Evolutionary classification เป็นวิธีที่ใช้กันมานานก่อนวิธีแรก บางคร้ังเรียกว่า
traditional classification หรือ classical classification วิธีนี้ใช้พิจารณาจากความคล้ายคลึงและ
ความแตกต่างท้ังหลายระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตประกอบกับความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการ และยังใช้
ความรู้ด้านอืน่ ๆ เกยี่ วกับส่ิงมีชีวติ นั้นช่วยในการจดั หมวดหมูส่ ง่ิ มชี วี ติ ดว้ ย

โรงเรียนมหิดลวทิ ยานสุ รณ์ (องค์การมหาชน) 5 สาขาวิชาชีววทิ ยา

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ า ว40242 ความหลากหลายทางชวี ภาพ ความหลากหลายทางชวี ภาพ

-------------------------------------------------------------------------------------

ลกั ษณะทใ่ี ช้ในการจาแนกสิง่ มชี ีวิต

1. ลกั ษณะภายนอก และโครงสร้างภายในของร่างกาย เป็นลักษณะที่ใช้ในการแบ่งกลุ่มใหญ่
ๆ ถ้าเป็น homologous structure จะมีความใกล้ชิดกันมาก แต่ถ้าเป็น analogous structure จะ
อยูห่ า่ งกนั

2. แบบแผนการเจริญเติบโต และโครงสร้างที่เกิดข้ึนในระยะท่ีเป็นตัวอ่อน โดยใช้
หลักฐานที่ว่า สิ่งมีชีวิตใดที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันหรือมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมาก ย่อมมี
ความสมั พันธ์ทางเชื้อสายและมวี วิ ัฒนาการมากด้วย

ลักษณะอย่างหนึ่งของสัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตา คือ การมีช่องเหงือก (gill slit) ซ่ึงเราจะ
พบเฉพาะในระยะที่เป็นตัวอ่อนทุกชนิดแต่เมื่อเจริญเติบโตขึ้นเป็นตัวเต็มวัยจะเหลือเฉพาะพวกปลา
เท่าน้ันท่ียังมีช่องเหงือกอยู่ นอกนั้นช่องเหงือกก็จะปิดไปหมด ซึ่งถ้าเราไม่ศึกษาถึงระยะตัวอ่อน เรา
จะไมท่ ราบเลยว่า การมชี อ่ งเหงือกคือลกั ษณะหนงึ่ ของไฟลัมคอรด์ าตา

3. ซากดกึ ด้าบรรพ์ ซงึ่ อาศัยหลักที่ว่าสิ่งมีชีวิตมีวิวัฒนาการ ดังน้ันส่ิงมีชีวิตใดมีความสัมพันธ์
ใกล้ชดิ กนั ย่อมมีซากดกึ ดา้ บรรพท์ ่พี บในช้ันหินต่าง ๆ คล้ายคลึงกัน และอาจท้าให้ทราบถึงบรรพบุรุษ
ของสิ่งมีชีวิตน้ัน ๆ ด้วย เช่นการค้นพบซากดึกด้าบรรพ์ของนกโบราณชนิดหน่ึงท่ีเรียกว่า อาร์คีออพ
เทริกซ์ (archeopteryx) ท้าให้เราทราบว่านกมีวิวัฒนาการมาจากสัตว์เล้ือยคลาน เนื่องจากซาก
ของนกอาร์คีออพเทริกซ์ มีขากรรไกรยาว มีฟันและมีปีกท่ีมีเล็บ ซึ่งลักษณะเหล่านี้คล้ายกับลักษระ
ของสตั ว์เล้อื ยคลาน ซ่งึ ไม่พบในนก

4. โครงสร้างของเซลล์และออร์แกเนล เป็นการศึกษาในระดับเซลล์และส่วนประกอบของ
เซลล์ เช่นการแบ่งส่ิงมีชีวิตทไี่ ม่เปน็ เซลล์ เช่น ไวรสั และพวกท่เี ปน็ เซลล์ เชน่ เซลล์ของส่ิงมีชีวิตท่ัวไป
นอกจากน้ีพวกท่ีเป็นเซลล์ยังแบ่งออกเป็นพวกไม่มีเย่ือหุ้มนิวเคลียส เช่น แบคทีเรีย สาหร่าย สีเขียว
แกมนา้ เงินกบั พวกท่มี ีเยอ่ื หมุ้ นิวเคลียส เช่น สาหร่าย เห็ด รา พืชและสัตวท์ ว่ั ไป

5. สรรี วิทยาและการสงั เคราะห์สารเคมี ระบบทางสรีรวิทยาของสิ่งมีชีวิตที่มีความใกล้ชิดกัน
จะมีความคล้ายคลึงกันมากกว่าพวกท่ีมีความสัมพันธ์กันน้อย เช่น ฮอร์โมนท่ีสร้างที่สร้างจากคนและ
ลิงมีความคล้ายคลึงกันมากกว่าฮอร์โมนที่สร้างจากคนและแกะ ท้ังนี้เพราะคนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิด
กับลงิ มากกวา่ แกะ

6. ลักษณะทางพันธุกรรม สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะทางพันธุกรรมท่ีใกล้ชิดกันย่อมมีลักษณะ
พื้นฐานต่าง ๆ ใกล้เคียงกันด้วย เช่นลักษณะและจ้านวนของโครโมโซม ลักษณะของการสืบพันธุ์และ
การถ่ายทอดทางพันธกุ รรมจากบรรพบรุ ษุ สู่ลูกหลาน เป็นตน้

ลาดับขัน้ ในการจัดหมวดหมู่

ล้าดับขั้นของหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต (taxonomic category) มีล้าดับการจัดตั้งแต่ล้าดับใหญ่
ท่สี ุดจนถงึ ล้าดบั เล็กทส่ี ดุ ดงั น้ี

อาณาจกั ร (Kingdom)
ไฟลัม (Phylum) ในพืชมักใช้ดวิ ชิ นั (Division)
คลาส (Class)
ออรเ์ ดอร์ (Order)
แฟมลี ี่ (Family)

โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ์ (องคก์ ารมหาชน) 6 สาขาวิชาชวี วทิ ยา

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ า ว40242 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชวี ภาพ

-------------------------------------------------------------------------------------

จนี ัส (Genus)

สปชี ีส์ (Species)

อาณาจกั รเป็นระดับหรือหมู่ท่ีใหญ่ท่ีสุดของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรหนึ่ง จะแบ่งออกเป็นหลาย

ๆ ไฟลัม และไฟลัมหน่ึงก็แบ่งออกเป็นหลายคลาส แต่ละคลาสก็แบ่งออกเป็นหลายออร์เดอร์ และใน

ออร์เดอร์กแ็ บง่ ออกเปน็ หลายแฟมลิ ี ในแตล่ ะแฟมิลีก็มีหลายจีนสั และจีนัสหน่ึงก็แบ่งออกเป็นหลายส

ปีชีส์ด้วยกัน ดังน้ันจะเห็นได้ว่าอาณาจักรเป็นหน่วยท่ีใหญ่ที่สุด และสปีชีส์เป็นหน่วยของการแบ่งท่ี

เล็กท่ีสุดจากลักษณะการแบ่งหมวดหมู่ในระดับข้ันนี้พอจะสรุปได้ว่า ส่ิงมีชีวิตท่ีอยู่ในระดับการแบ่งที่

เลก็ ทส่ี ดุ คือสปชี สี ท์ ม่ี ีลกั ษณะคล้ายคลึงกันในด้านต่าง ๆ มากที่สุดและความคลา้ ยคลึงนี้จะลดลงเรื่อย

ๆ เมือ่ ระดับการแบ่งใหญข่ ้นึ

ในแต่ละระดบั ขั้นของการแบ่งนี้อาจจะมีระดับการแบ่งท่ีแทรกอยุ่ในแต่ละระดับช้ันโดยใช้ค้า

วา่ ซับ (sub) แทรกอยทู่ างดา้ นล่างเช่น ซับคลาส (Subclass) ซึ่งเล็กกว่าคลาสแต่ใหญ่กว่าออร์เดอร์

หรือค้าว่า ซูเพอร์ (super) แทรกอยู่ด้านบนเช่น ซูเพอร์ออร์เดอร์ (superorder) จะใหญ่กว่าออร์

เดอรแ์ ตเ่ ลก็ กว่าคลาสและซับคลาส

ช่ือของสง่ิ มีชวี ิต

สงิ่ มชี วี ติ ทกุ ชนดิ ทรี่ ้จู ักกันจะมีผู้ตัง้ ช่ือเพ่ือใชใ้ นการอา้ งถึง ชอื่ ขงิ ส่งิ มชี ีวิตมี 2 ชนิด คือ
ช่ือสามัญ (common name) คือช่ือท่ีใช้เรียกส่ิงมีชีวิตตามภาษาท้องถิ่นหรือภาษาประจ้า

ชาติ ท้าให้ส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกันมีหลายช่ือ อาจเรียกช่ือตามลักษณะรูปร่าง เช่น ต้นแปรงล้างขวด
ปากกาทะเล ว่านหางจระเข้ หรืออาจเรียกตามถิ่นก้าเนิดเช่น ผักตบชวา ยางอินเดีย กกอียีปต์ มัน
ฝร่ัง นอกจากนอ้ี าจเรียกตามที่สถานที่อยู่ เช่น ดาวทะเล ดอกไม้ทะเล ทากบก หรือประโยชน์ที่ได้รับ

เช่น หอยมุก วัวเนื้อ วัวนม เป็นต้นนอกจากนี้ในแต่ละถิ่นอาจเรียกชื่อส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกันแตกต่าง
กันไปก็ได้ ซ่ึงเรียกว่าช่ือท้องถิ่น (local name) เช่น จ้ิงโจ้น้า ทางแม่ฮ่องสอนเรียกว่า “หมาน้า”
แมลงปอทางภาคใต้เรียกวา่ “แมงพ”ี้ ปราจนี บรุ ี เรยี กว่า “แมงฟ้า” และทางภาคเหนือเรียกว่า “แมง

กะบี้” ดังน้ันเมื่อกล่าวถึงแมงฟ้า อาจท้าให้เกิดการเข้าใจผิดได้ คนในภาคอ่ืนๆ ท่ีไม่ใช่จังหวัด
ปราจีนบรุ จี ะไม่ทราบว่า “แมงฟา้ ” คือแมลงปอ

ชื่อวิทยาศาสตร์ (scientific name) เป็นชื่อเรียกสิ่งมีชีวิตซึ่งเป็นที่ยอมรับของ

นักวิทยาศาสตร์ และเป็นชื่อท่ีก้าหนดขึ้นมาหลักสากล เป็นภาษาลาติน ผู้วางหลักเกณฑ์การต้ังชื่อ
วิทยาศาสตรค์ ือ คาโรลัส ลนิ เนยี ส (Carolus Linnaeus) ชาวสวเี ดน เมื่อปี ค.ศ. 1758 โดยก้าหนดให้
ส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดประกอบด้วยค้า 2 ค้า (binomial nomenclature) ค้าแรกเป็นชื่อ จีนัส

(generic name) ขึ้นต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ และค้าหลัง คือค้าคุณศัพท์แสดงลักษณะท่ีเรียกว่า สเป
ซิฟิค เอพิเธต (specific epithet) ขึ้นต้นด้วยอักษรตัวเล็ก ทั้ง 2 คารวมเรียกว่า ชื่อสปีชีส์ ต้อง
เขียนตัวเอนหรือขีดเส้นใต้ โดยเส้นใต้ระหว่าง 2 คาไม่ต่อกัน เช่น Homo sapiens or Homo

sapines หมายถงึ คน
ในแต่ละจีนัสใช้สเปซิฟิค เอพิเธต ได้เพียงคร้ังเดียว แต่สเปซิฟิค เอพิเธต อาจ

น้าไปใชก้ ับจีนัสอ่นื ไดเ้ ช่น

Felis เปน็ จีนัสของแมวมีหลายสปชี สี ์

Felis domestica แมวบา้ น

Felis chaus แมวปา่

โรงเรยี นมหิดลวิทยานสุ รณ์ (องค์การมหาชน) 7 สาขาวชิ าชีววิทยา

เอกสารประกอบการเรยี นวิชา ว40242 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ

-------------------------------------------------------------------------------------

Felis viverrina เสือปลา

สว่ น Musca domestica เป็นแมลงวันบ้าน มีสเปซิฟิค เอพเิ ธต ซ้ากับแมวบา้ น

หลกั เกณฑใ์ นการตั้งชอ่ื วิทยาศาสตร์ มดี งั นี้

1. ช่ือวิทยาศาสตร์ต้องเป็นภาษาลาตินหรือรากศัพท์มาจากภาษาลาตินเสมอ เพราะภาษา

ลาตนิ เป็นภาษาทต่ี ายแล้ว (เลกิ ใช้แล้ว) ความหมายจึงไม่มกี ารเปลย่ี นแปลงอีก

2. ชื่อต้องประกอบด้วยค้า 2 ค้า (binomial nomenclature) ค้าแรกเป็นชื่อ จีนัส

(generic name) ข้ึนต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ และค้าหลัง คือค้าคุณศัพท์แสดงลักษณะที่เรียกว่า

สเปซิฟิค เอพิเธต (specific epithet) ขึ้นต้นด้วยอักษรตัวเล็ก ทั้ง 2 คารวมเรียกว่า ช่ือสปีชีส์

ตอ้ งเขียนตวั เอนหรือขีดเส้นใต้ โดยเส้นใต้ระหวา่ ง 2 คาไมต่ ่อกัน

3. ถ้าทราบชื่อผ้ตู ัง้ ชอื่ จะลงช่ือย่อของผู้ตั้งช่ือตามหลังช่ือวิทยาศาสตร์ เช่นต้นหางนกยูงไทย

มชี อ่ื วทิ ยาศาสตรว์ ่า Caesalpinia pulcherrima (Linn.) ค้าว่า Linn. เปน็ ช่อื ยอ่ ของ Linnaeus

4. แต่ละหมวดหมตู่ อ้ งมีชื่อวิทยาศาสตร์ทีถ่ กู ตอ้ งเพยี งชื่อเดยี ว โดยใช้ชอื่ ทต่ี ง้ั ก่อน

5. การก้าหนดช่ือหมวดหมู่ต้ังแต่ family ลงมาต้องมีตัวอย่างส่ิงมีชีวิตเป็นแบบในการ

พจิ ารณา

ตัวอย่างชื่อวทิ ยาศาตร์

บอกสถานที่พบหรือที่อยู่อาศยั ได้แก่

ชอื่ สามญั ชือ่ วิทยาศาสตร์ ความหมาย

ไส้เดอื นดนิ Lumbricus terrestris คา้ วา่ terrestris หมายถงึ อาศัยอยบู่ นบก

พยาธใิ บไมใ้ นตับ Fasciola hepatica คา้ ว่า hepatica หมายถึง ตับ

ไมร้ วก Thyrosostachys siamensis ค้าว่า siamensis มาจากคา้ วา่ siam ซง่ึ

หมายถึงประเทศไทย

มะม่วง Mangifera indica ค้าวา่ indica หมายถงึ ประเทศอินเดีย

บอกลักษณะ เช่น สี รูปรา่ ง ขนาด ไดแ้ ก่

ชอื่ สามญั ชือ่ วิทยาศาสตร์ ความหมาย

จา้ ปี Michelia alba ค้าว่า alba หมายถงึ สีขาว
มะยม Phyllantus acidus ค้าว่า acidus หมายถึง มรี สเปรยี้ ว
ปลาบึก
เชอ้ื โรคแอนแทรกซ์ Pangasianodon gigas คา้ ว่า gigas หมายถึง ใหญ่ทส่ี ดุ

Bacillus anthrasis คา้ วา่ bacillus หมายถึงรูปท่อน

และค้าวา่ anthrasis หมายถึงโรค

แอนแทรกซ์

บอกชื่อผู้ต้ังหรอื เปน็ เกียรติแกผ่ ้ใู ดผูห้ นงึ่ ได้แก่

ช่อื สามัญ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ความหมาย

ปลาปมู่ หดิ ล Mahidolia mystasina ค้าว่า Mahidolia เปน็ ชือ่ ของสมเด็จ

โรงเรียนมหิดลวทิ ยานสุ รณ์ (องคก์ ารมหาชน) 8 สาขาวิชาชีววทิ ยา

เอกสารประกอบการเรยี นวิชา ว40242 ความหลากหลายทางชวี ภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ

-------------------------------------------------------------------------------------

ช่อื สามญั ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ความหมาย

พระมหติ ลาธเิ บศ อดุลเดชวิกรม พระ

บรมราชชนก

กงั้ เจา้ ฟา้ Acanthosquilla sirindhorn ค้าวา่ sirindhorn เปน็ พระนามของ

(Naiyanetr, 1995) สมเด็จ พระเทพ ฯ

ค้าว่า Naiyanetr คอื ช่อื ยอ่ ของ

ศ. ไพบลู ย์ นยั เนตร ผ้ตู ั้งชือ่ ปี 1995

ภาพที่ 2 ล้าดบั ขั้นในการจัดหมวดหม่ขู องส่งิ มชี วี ิต

การค้นหาตรวจสอบเพอ่ื ใหไ้ ดช้ ื่อวิทยาศาสตร์ (Identification)
การคน้ หาตรวจสอบเพ่ือให้ได้ชอื่ ของสิง่ มชี ีวติ เป็นการนา้ เอาสิง่ มีชีวติ ทไี่ ม่รู้จักมาศึกษาดู โดย

วิเคราะห์กับ key หรือรูปภาพ และเปรียบกับส่ิงมีชีวิตท่ีรู้จักแล้ว (specimens) ส้าหรับพืชเก็บไว้ใน
รูปของกิ่งท่ีอัดแห้ง และน้าไปติดไว้บนแผ่นกระดาษแข็ง เรียกว่า Herbarium ส้าหรับสัตว์ขนาดเล็ก
จะดองในนา้ ยา ขนาดใหญ่จะสตัฟ๊ (stuff)

Dichtomous key โดยแยกขอ้ แตกตา่ งทีละ 2 ข้อ
ตวั อยา่ งเช่น ไดโคโตมัสคีย์ส้าหรบั จดั หมวดหมไู่ ฟลมั ของสัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลัง

โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ์ (องคก์ ารมหาชน) 9 สาขาวชิ าชีววิทยา

เอกสารประกอบการเรียนวิชา ว40242 ความหลากหลายทางชวี ภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ

-------------------------------------------------------------------------------------

1. a. รา่ งกายไมม่ ีสมมาตรหรือมีสสมมาตรแบบรัศมี…………………………ดขู อ้ 2

b. ร่างกายมีสมมาตรแบบครึ่งซกี …………………………………………..ดูข้อ 3

2. a. มเี ทนทาเคิล(tentacle)……………………………………………………Cnidaria

b. ไม่มเี ทนทาเคลิ …………………………………………………………...ดูขอ้ 4

3. a. ผนังลา้ ตัวมรี จู ้านวนมาก…………………………………………………Porifera

b. ผนังลา้ ตวั ไมม่ รี ู………………………………………………………….Echinodermata

4. a. มีโครงร่างภายนอกตวั (exoskeleton)…………………………………….ดขู ้อ 5

b. ไมม่ ีโครงสร้างภายนอกตัว………………………………………………ดูข้อ 6

5. a. รยางคเ์ ป็นข้อ…………………………………………………………….Arthropoda

b. รยางค์ไม่เป็นข้อ…………………………………………………………Mollusca

6. a. ล้าตวั เปน็ รปู ทรงกระบอก………………………………………………..ดขู ้อ 7

b. ล้าตวั แบน………………………………………………………………Platyhelmenthes

7. a. ล้าตัวแบง่ ออกเปน็ ปล้อง ๆ …………………………………………….Annelida

b. ลา้ ตวั ไม่เปน็ ปล้อง………………………………………………………ดขู อ้ 8

8. a. มเี ทนทาเคลิ หรอื แขนย่นื ออก……………………………………………Mollusca

b. ไม่มเี ทนทาเคลิ …………………………………………………………..Nematoda

ภาพท่ี 3 สตั ว์ไมม่ กี ระดูกสนั หลัง

โรงเรียนมหิดลวทิ ยานสุ รณ์ (องคก์ ารมหาชน) 10 สาขาวิชาชีววิทยา

เอกสารประกอบการเรียนวชิ า ว40242 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ

-------------------------------------------------------------------------------------

ภาพท่ี 4 อาณาจกั รของสิ่งมีชีวติ

Retraced Activity :
1. ให้นักเรียนแต่ละคนเตรียมแหล่งข้อมูลส่ิงมีชีวิต โดยการลอกลายใบไม้ และเขียนอธิบายเก่ียวกับสีและ
ลวดลายของใบไม้ รวมถึงต้ังชื่อให้ใบไม้ของตนเอง (โดยห้ามใช้ชื่อต้นไม้ชนิดใด ๆ ในการต้ังชื่อใบไม้ของ
ตนเอง)
2. แบ่งนกั เรยี นเป็น 6-7 คนต่อกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนใช้หลัก dichotomous key ในการจ้าแนกใบไม้ในกลุ่ม
ตนเอง โดยให้เขียนในรูปของแผนผงั กอ่ นที่จะเขียนบรรยายเปน็ ข้อ ๆ

เอกสารอา้ งอิง
คณะครูหมวดวิชาชีววิทยา. (2546). เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ชว 102 ชีววิทยา 2. โรงเรียน

มหิดลวิทยานุสรณ.์ นครปฐม. 10 หน้า


Click to View FlipBook Version