The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ธันวา พยัคฆโยธี, 2022-05-05 02:41:28

รายงาน Module 1 (N1) 300465

รายงาน Module 1 (N1) 300465

รายงานผล

การวเิ คราะหการบรหิ ารการเงินการคลงั

โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษา

จดั โดย...
SUCCESSOR : NARA 1

MODULE 1
การบริหารการเงินการคลงั

รายงานผลการวิเคราะหการบริหารการเงนิ การคลงั
โรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

คำนำ

เอกสารฉบับนี้ เปนการรายงานผลการวิเคราะหการบริหารการเงินการคลัง โรงพยาบาลยี่งอ
เฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา โดยมีวัตถุประสงค 3 ประการ คือ 1.) เพื่อศึกษาสถานการณการบริหาร
การเงินการคลังของโรงพยาบาลย่ีงอเฉลมิ พระเกียรติ ๘๐ พรรษา 2.) เพื่อศึกษาประสิทธภิ าพการบริหารการเงนิ
การคลังของโรงพยาบาลยี่งอเฉลมิ พระเกียรติ ๘๐ พรรษา โดยมีแนวทางการดำเนินงาน ตั้งแตการทบทวนขอ มลู
ทั่วไป/ขอมลู พ้ืนฐานท่ีเกี่ยวของของโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษา ทบทวนขอมูลสถานการณด าน
การเงนิ การคลังของโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ท้ังขอมลู ทเ่ี ปนปจจยั หลัก ไดแก บริหาร ระบบ
ขอมูล บุคลากร ระบบสารสนเทศ และขอมูลที่เปนปจจัยสนับสนุน ไดแก การตรวจสอบ นโยบายทางการเงิน
โปรแกรมการบันทึกขอมูล การเทียบเคียงกับโรงพยาบาลอื่น รายไดประชากร และภูมิประเทศ วิเคราะหสรุป
ประเด็นปญหาดานการเงินการคลังของโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา โดยอาศัยเครื่องมือ
มาตรฐานดานการเงินการคลัง (Financial Index) วิเคราะหสาเหตุแหงปญหา เพื่อหาสาเหตุของปญหาดาน
การเงินการคลังทีส่ รุปมาได จัดลำดับความสำคัญของปญหา เพื่อเลือกปญหาที่สำคัญที่สดุ มาวางแผนในการแกไข
ตอไป วิเคราะหสถานการณท ี่เกีย่ วของกับปญหาท่ีสำคัญทีส่ ุด ทั้งสถานการณภายใน และสถานการณภายนอก ที่
เอื้ออำนวยตอการแกไขพัฒนา ตลอดทั้งที่เปนอุปสรรคขัดขวางการแกไขพัฒนา (SWOT Analysis) กำหนด
มาตรการในการแกไขพัฒนาปญหาดานการเงินการคลังที่เลือกมา พรอมทั้งจัดทำแนวทางในการแกไขปญหาเพื่อ
ยกระดับคุณภาพการบริหารการเงินการคลัง ตามมาตรการที่ไดกำหนดไวในรูปแบบของโครงการ (Action Plan)
และจัดทำแนวทางในการประเมิน ในสวนทายของเอกสารฉบับนี้ไดเสนอแนะโครงการในการแกไขพัฒนาดาน
การเงินการคลัง อีกดว ย

ทั้งนี้หวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารฉบับนี้จะเปนประโยชนตอการพัฒนาการดำเนินงานการบริหารดาน
การเงินการคลังของโรงพยาบาลจะแนะ อันจะนำไปสูการพฒั นาบรกิ ารดา นสขุ ภาพของประชาชน

SUCCESSOR : NARA 1
24 เมษายน 2565

SUCCESSOR : NARA 1 หนา ก

รายงานผลการวเิ คราะหก ารบรหิ ารการเงินการคลัง
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

บทสรุปผูบ รหิ าร

การบริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ จะมีผลโดยตรงตอสถานการณดานการเงิน
การคลังของโรงพยาบาล โดยตองสามารถบริหารจัดการงบประมาณที่ไดรับจัดสรรจากสำนักงานหลักประกัน
สขุ ภาพแหงชาตอิ ยา งจำกดั เพอ่ื ใหบ ริการดา นสขุ ภาพกบั ประชาชนในทกุ ดา นไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ

จากการวิเคราะหสถานะการเงินการคลังของโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา โดยใช
เคร่อื งมือการวเิ คราะหภ าวะวิกฤติทางการเงิน (CR, QR, Cash Ratio, NWC และ NI) รวมท้ังการวัดประสิทธิภาพ
การเงนิ การคลังโดยใชเ คร่ืองมือดงั ตอ ไปน้ี

๑. แผนทางการเงนิ (Planfin)
๒. ตนทนุ หนวยบรกิ าร (Unit Cost) 4)
๓. การประเมนิ ประสิทธิภาพ (7 Plus Efficiency Score)
๔. ประสิทธิภาพ (Total Performance Score : TPS)
๕. ประเมนิ ประสิทธภิ าพผลการคดั กรอง (FEED)

สรปุ สถานะการเงนิ การคลงั ของโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษา
๑. สถานะทางการเงนิ การคลังอยูใ นเกณฑท่ดี ี มีสภาพคลอ งและสถาะทางการเงินทมี่ นั่ คง ไมมีภาวะวิกฤต
๒. มีตนทุนหนวยบริการ Quick Method ทั้ง OPD และ IPD ไมเกินตนทุนโรงพยาบาลตามเกณฑเฉลี่ย
กลุมระดับบริการเดยี วกนั
๓. ผา นเกณฑก ารประเมนิ Financial Early Evaluation Detection (FEED)

สรุปประเด็นที่ตองพัฒนาและแนวทางแกไข
๑. ประสิทธิภาพแผนทางการเงินยังไมผานเกณฑ เนื่องจากรายไดและคาใชจายสงู กวาแผนประมาณการ
(ไมเกิน ±๕%) ซึ่งรายไดและคาใชจายที่สูงกวาแผนเปนผลมาจากสถานการณโควิด ทำใหมีรายไดเขามาจากการ
ใหบริการและการจัดตั้งโรงพยาบาลสนาม จึงควรมีการทบทวนการจัดทำแผนรายไดและรายจายเพื่อใหแผนมี
ประสทิ ธิภาพ และควรมีการประเมนิ แผนทกุ ไตรมาส
๒. ระยะเวลาถัวเฉล่ียในการชำระหน้ีการคา กลุมบริการ (คา ยา เวชภัณฑมใิ ชย าฯ) ยงั เกินเกณฑท่ีกำหนด
(ไมเกนิ 90 วนั ) จงึ ควรมมี าตรการหรอื การกำกับติดตามการชำระหน้กี ารคา เพอื่ ไมใ หเ กดิ ความลา ชา

๓. ระยะเวลาถัวเฉลย่ี ในการเรียกเก็บสิทธิประกันสังคม ซ่งึ เปนประเดน็ ท่โี รงพยาบาลในจงั หวัดนราธวิ าส

ยังไมผา นเกณฑ จึงตองมที บทวนแนวทางและการหาแนวทางแกไขในภาพรวมระดับจังหวัดตอไป

ดว ยนโยบายของผูบริหารโรงพยาบาลย่งี อเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษา ในการเปน Smart Hospital โดย
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใหในระบบบริหารและบริการของโรงพยาบาลนั้น เพื่อใหเกิดประสทิ ธิภาพ คณะผู
ศึกษาขอเสนอแนะกลยุทธ ดงั น้ี

SUCCESSOR : NARA 1 หนา ข

รายงานผลการวเิ คราะหก ารบริหารการเงนิ การคลัง
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

๑. พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใชในการติดตามและตรวจสอบขอมูลการบริหาร
การเงินการคลัง

๒. สงเสรมิ ใหม รี ะบบการเชื่อมโยงขอมูลดา นการบริหารการเงนิ การคลังภายในองคกร
๓. สนบั สนนุ ใหม ีการแลกเปลีย่ นเรยี นรูเร่อื งการบรหิ ารการเงินการคลังภายในองคก ร (KM)
..

SUCCESSOR : NARA 1 หนา ค

รายงานผลการวเิ คราะหการบรหิ ารการเงินการคลงั
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

กติ ติกรรมประกาศ

ในความสำเร็จของการจัดทำเอกสารฉบับนี้ คณะผูจัดทำขอขอบพระคุณนายแพทยอดุลย เร็งมา
ผูอำนวยการโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ที่ใหโอกาสและเอื้ออำนวยความสะดวกเปนอยางย่ิงใน
การศึกษาครั้งน้ี

พรอ มนี้ขอขอบพระคุณ

1. นางพจนา เมงอำพนั พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพเิ ศษ

2. นางสาวศภุ รตั ภารตกฤตยาพันธ พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ

3. นางสาวดารียะห ตะเยาะ นกั จดั การงานทัว่ ไปชำนาญการ

4. นางธัญชนก ชัยสิงห นักวชิ าการเงินและบัญชีชำนาญการ

5. นางสาวมสุ ตลุ า ดอเลา ะ นกั วิชาการเงินและบัญชี

6. บุคลากรในโรงพยาบาลยีง่ อเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษา จำนวน 21 คน

ที่ใหขอมูลดานการบริหารสินทรัพยหมุนเวียนและหนี้สินหมุนเวียนดานการบริหารจัดการ เปนอยางสูง

มา ณ โอกาสนี้

SUCCESSOR : NARA 1
24 เมษายน 2565

SUCCESSOR : NARA 1 หนา ง

รายงานผลการวิเคราะหก ารบรหิ ารการเงนิ การคลงั
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

รายชอื่ วทิ ยากรบรรยาย

1. นายคมสนั ทองไกร นักวชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการพเิ ศษ
รองนายแพทยสาธารณสขุ จังหวดั
2. นางพชั ราภรณ ปมแปง นกั วชิ าการเงนิ และบญั ชชี ำนาญการพิเศษ
3. นางสรุ ียานี มะหะยอ นกั วิชาการเงนิ และบัญชีชำนาญการ
4. น.ส.รชั ตา คำมณี นักวชิ าการเงนิ และบัญชีชำนาญการ

รายช่ือวิทยากรกลมุ ในการนำเสนอและวิพากษผ ลงานผูเ ขารับการอบรม

1. นพ.เจษฎา ฉายคุณรฐั อดตี ผตู รวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพท่ี 12
2. นพ.สมชัย อศั วสดุ สาคร อดตี สาธารณสขุ นเิ ทศก เขตสุขภาพท่ี 12
3. นพ.ชยั วัฒน พฒั นาพิศาลศักด์ิ นายแพทยส าธารณสุขจังหวัดนราธวิ าส
4. นพ.ดุษฎี คงตระกูลทรพั ย นายแพทยส าธารณสุขจังหวัดพัทลงุ

SUCCESSOR : NARA 1 หนา จ

รายงานผลการวิเคราะหก ารบริหารการเงนิ การคลงั
โรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

สารบญั หนา

คำนำ ข
บทสรปุ ผูบรหิ าร ง
กติ ติกรรมประกาศ จ
รายชอื่ วิทยากรบรรยาย จ
รายชอ่ื วทิ ยากรกลมุ ในการนำเสนอและวิพากผลงานผเู ขารับการอบรม ฉ
สารบัญ ซ
แบบฝกหัด (ASSIGNMENT) 1
บทนำ : หลักการและเหตุผล 2
วัตถปุ ระสงค 2
วธิ ีการศึกษา 3
วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอมลู 3
แนวทางในการดำเนินงาน 4
กรอบแนวคิดในการดำเนนิ งานยกระดบั คุณภาพการบริหารดานการเงนิ การคลัง 5
เครอื่ งมอื ที่ใชในการวเิ คราะหป ญหาการเงินการคลัง 5
ผลการศึกษา 5
1. ขอมลู ท่วั ไป 5
2 ผลการวิเคราะหส ภาพปญ หาดา นการบรหิ ารการเงนิ การคลัง 5
5
1) คาความเสย่ี ง (Risk Scoring) 6
2).ตน ทนุ หนวยบรกิ าร (Quick Method) 6
3) แผนทางการเงิน (Planfin) 7
4) ประสทิ ธภิ าพ (Total Performance Score : TPS) 7
5) ประเมินประสทิ ธภิ าพการคดั กรอง (FEED) 8
6) การประเมินประสิทธภิ าพ (7 Plus Efficiency Score) 9
3. สถานการณด านการเงินการคลงั ของโรงพยาบาลยง่ี อเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษา 9
4. การวิเคราะหข อมลู เปรยี บเทียบหนว ยบรกิ ารในระดบั เดยี วกัน ไตรมาส 1 ป 2565 9
ตารางท่ี 1 เปรยี บเทยี บสถานะทางการเงินการคลงั 10
ตารางที่ 2 เปรียบเทียบ FEED (Financial Early Evaluation Detection) 11
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบตน ทุนหนวยบรกิ าร Quick Method 11
ตารางที่ 4 เปรยี บเทียบประสิทธิภาพการเงินการคลัง (Total Performance Score: TPS)
ตารางท่ี 5 เปรยี บเทยี บผลการประเมิน 7 Plus Efficiency หนา ฉ

SUCCESSOR : NARA 1

รายงานผลการวิเคราะหก ารบรหิ ารการเงนิ การคลงั
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

สารบญั (ตอ )

SWOT Analysis หนา
กลยทุ ธในการดำเนินงาน 11
15
ขอเสนอแนะตอ การพฒั นา 16
เอกสารอ้างองิ 17
รายช่อื สมาชิกกลุม
18

SUCCESSOR : NARA 1 หนา ช

รายงานผลการวเิ คราะหก ารบริหารการเงนิ การคลงั
โรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

แบบฝก หดั
(ASSIGNMENT)

สมมตใิ หท านดำรงตำแหนงผูอ ำนวยการ โรงพยาบาลยง่ี อเฉลิมพระเกยี รติ
๘๐ พรรษา จงเสนอแนวทางและแผนแกปญ หา เพือ่ ยกระดบั คณุ ภาพการ

บรหิ ารการเงินการคลงั ของโรงพยาบาลใหโดดเดน และเปนตัวอยา ง
แกหนวยงานระดบั เดียวกันโดยอาศยั Financial Index
และเครอ่ื งมือ FEED ภายใตบรบิ ทปจ จบุ ัน

SUCCESSOR : NARA 1 หนา ซ

รายงานผลการวิเคราะหก ารบรหิ ารการเงนิ การคลงั
โรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

บทนำ : หลกั การและเหตผุ ล

การบริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลอยางมีประสิทธิภาพ มีผลโดยตรงตอสถานการณดานการเงิน

การคลงั ของโรงพยาบาล ซึ่งโรงพยาบาลทม่ี ีระบบบริหารจัดการดา นการเงินการคลังที่ดีตองสามารถบริหารจัดการ

งบประมาณที่ไดรับจัดสรรแบบเหมาจายรายหัวจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติอยางจำกัด เพื่อ

ใหบริการดานสุขภาพกับประชาชนในดานการสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การรักษาโรคและการฟนฟู ได

อยางมีประสิทธิภาพ โดยระบบงบประมาณและการจัดการดานสุขภาพแนวใหม ใหอำนาจการตัดสินใจแก

หนวยงานสุขภาพระดับพื้นที่ (จังหวัด) เครือขายของโรงพยาบาลและโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล มีอำนาจ

การบริหารจัดการ การจัดสรรทรัพยากรดานสุขภาพ รวมทั้งสามารถกำหนดเกณฑ/กตกิ าการจัดสรรฯ ที่แตกตาง

กันระหวางจังหวัดไดตามสมควรและตามความจำเปน ภายใตระบบบริหารจัดการดานสุขภาพแนวใหม ซึ่งรวมถึง

การสนับสนุนใหโรงพยาบาลและโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล ทำงานเพื่อแขงขันหรือการทำงานแบบ

ประกวด (Contestable atmosphere) สนับสนุน ใหเกิดความคิดริเริ่มและนวัตกรรมการบริหารงานภายใน

สถานพยาบาล ในขณะเดยี วกนั กเ็ ปนการกระจายภาระดานความเสยี่ ง (Risk exposure and risk management)

ดานการบริหารงบประมาณใหแกหนวยงานระดับพื้นที่ ประสิทธิภาพของสถานพยาบาลก็เปน อีกหัวขอหน่ึงซึ่งมี

ความจำเปนและมีเหตุผลสนับสนุนในแงการจดั สรรงบประมาณใหแกสถานพยาบาลควรจะเหมาะสมและพอเพียง

ไมมากและไมนอยจนเกินไป ทำใหสถานพยาบาลทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หนวยงาน

ระดับมหภาคที่เกี่ยวของสามารถมั่นใจวา “คุมคาการใชเงิน” ในขณะที่หนวยงานระดับจุลภาค (โรงพยาบาล)

ทำงานไดอยางเต็มความสามารถ อยางไรก็ตามตองยอมรับวา การวัดประสิทธิภาพของสถานพยาบาลนั้นมีความ

ซับซอนและหลากหลาย กลา วคือ ประเภทของโรงพยาบาล ขนาดทแ่ี ตกตา งกนั ทำเลทตี่ ง้ั และสภาพแวดลอมของ

ภูมิภาค (เมือง/ชนบท) การที่รัฐบาลจะจัดสรรงบประมาณสนับสนุน อยางเหมาะสมจึงจำเปนตองพัฒนาวิชาการ

ควบคูกัน รวมถึงการวิจัยและพัฒนาขอมูลสารสนเทศ “ประสิทธิภาพ” เปนแนวคิดและหลักการสำคัญที่นัก

บริหารทั้งภาครฐั และเอกชนยึดถือและเปนหวั ขอการวิจัยที่นกั เศรษฐศาสตรใ หสนใจตลอดมา ทั้งนี้ตองยอมรับวา

ความดอยประสิทธิภาพของหนวยงานเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไดตามปกติหรือเปนสามัญ ทั้งหนวยงานเอกชนหรือของรฐั

เนื่องจากสาเหตุและปจจัยหลายประการ อาจจะเกิดการใสปจจัยนำเขาเกินกวาความจำเปน (Excessive inputs)

ความไมสามารถในการปรับตัวของหนวยงาน เชน เทคนิคการผลิตที่ใชเหมาะสมในอดีต แตในปจจุบันอาจไม

เหมาะสม หรือมีเทคนิคใหมท ีด่ ีกวา แตหนวยงานนั้น ๆไมสามารถยกเลิกเทคนิคการผลิตทีใ่ ชในขณะนี้ ความดอย

ประสิทธิภาพของหนวยผลิตมีผลตอตนทุนการผลิตและตนทุนตอหนวย (Unit cost) การประเมินประสิทธิภาพ

ของสถานพยาบาลในระบบประกันสุขภาพถวนหนา จึงเปนความจำเปนเพื่อใหเกิดความมั่นใจตอรัฐบาลและ

หนวยงานมหภาค (เชน สำนกั งบประมาณ และ กระทรวงการคลัง) ซงึ่ มหี นา ท่ีกำกบั ดูแล และม่ันใจวาการจัดสรร

นัน้ คุม คา ของเงิน (Value for money) ไมร ั่วไหลหรือสญู เปลา ขณะเดียวกันก็มคี วามสำคัญตอหนว ยงานบรหิ ารใน

ระดบั รองลงมา กระทรวง กรม ระบบประกันสขุ ภาพถวนหนา และตอ หนวยงานปฏิบัติ (ในบริบทนคี้ อื โรงพยาบาล

ทั้งหมด) ในแง ความเปนธรรม ในการประเมินประสิทธิภาพของโรงพยาบาลเปนเครื่องมือการบริหารที่ทำให

โรงพยาบาลเกดิ การเปรียบเทียบ “รเู ขารูเ รา” และสงสัญญาณใหโรงพยาบาลปรบั ตวั

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 1

รายงานผลการวเิ คราะหการบริหารการเงินการคลัง
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

การประเมนิ สถานการณดานการเงินการคลังโรงพยาบาลของภาครฐั (วิกฤติการเงนิ ) สามารถประเมนิ โดย
ใชอ ตั ราสว นทางการเงนิ แยกเปนกลุม ไดแ ก 1) กลุม แสดงความคลอ งตามสภาพสนิ ทรัพย ประกอบดว ย อตั ราสวน
ทุนหมุนเวียน (Current Ratio) ตองมีคา มากกวาหรอื เทา กับ 1.50 เทา อัตราสว นทุนหมุนเวยี นเรว็ (Quick Ratio)
ตองมีคามากกวาหรือเทากับ 1.0 เทา อัตราสวนเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสดตอหนี้สินหมุนเวียน (Cash
and cash equivalence ratio) ตองมีคามากกวาหรือเทากับ 0.80 2) กลุมแสดงความมั่นคงทางการเงิน
ประกอบดวยทนุ สำรองสุทธิ (Net working capital: NWC) ตองมีคา มากกวา 0 บาท กำไรสุทธริ วมคาเส่ือมราคา
และคาตัดจำหนาย (Net income: NI) ตองมีคามากกวา 0 บาท และ 3) กลุมแสดงระยะเวลาเขาสูปญหาทาง
การเงินรุนแรง ประกอบดวย ระยะเวลาทุนหมุนเวียนหมด (NWC/ANI) นอ ยกวา 3 เดอื น จะใหค าวกิ ฤติเทากับ 2
NWC/ANI ระยะเวลาทุนหมุนเวียนหมดมากกวา 3-6 เดือน ใหคาวิกฤติ เทากับ 1 (กองเศรษฐกิจสุขภาพและ
หลกั ประกนั สขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข, 2562) (1)

จากการทบทวนงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวขอ ง พบวา ปจจยั หลกั ที่มผี ลตอการบรหิ ารจดั การดา นการเงินการคลงั ใน
โรงพยาบาล ประกอบดวยหลายปจ จัย ไดแก ความรคู วามสามารถ หรือ ทักษะในการปฏบิ ตั ิงานของคณะกรรมการ
บรหิ ารของโรงพยาบาล เจตคตเิ ชงิ บวกของผบู รหิ าร/คณะกรรมการบรหิ ารการเงินการคลังโรงพยาบาล ตลอดจน
ความสามารถ ทักษะในการตัดสินใจของผูบรหิ ารขององคก รที่จะตดั สนิ ใจอยางถูกตองทีจ่ ะทำใหการบริหารงาน
เปน ไปอยางมีประสิทธภิ าพ คุมคา กับการวางแผนยทุ ธศาสตรองคกร (วาสนา จังพานชิ ,2561) (3) จากสภาพ
ปญหาดงั กลาวขางตน ผศู ึกษาจงึ มคี วามสนใจทจ่ี ะศึกษาสถานการณการบรหิ ารการเงินการคลงั ปง บประมาณ
2565 ไตรมาส 1 และประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารการเงนิ การคลังของโรงพยาบาลย่งี อเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา
เพ่ือนำผลการศกึ ษาไปคาดการณแนวโนมของสถานการณด านการเงนิ การคลงั นำไปวางแผนเพอื่ พฒั นา ปรบั ปรุง
ใหระบบบริหารการเงนิ การคลังมปี ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ข้นึ ในระยะตอไป

วัตถปุ ระสงค

1. เพ่อื ศกึ ษาสถานการณก ารบรหิ ารการเงินการคลังของโรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา
2. เพ่อื ศึกษาประสทิ ธภิ าพการบริหารการเงินการคลงั ของโรงพยาบาลยง่ี อเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา

วิธกี ารศกึ ษา

การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเชิงพรรณนา (Descriptive research) กลุมประชากรศึกษาไดแก
คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา และผูมีสวนเกี่ยวของ
เครื่องมือทีใ่ ชในการศึกษาชนิดที่ 1 เปนแบบสอบถามชนิดถามตอบดวยตนเอง ซึ่งเปนแบบสอบถาม ที่ไดจากการ
ทบทวนวรรณกรรมของ สุทิน สลางสิงห', นิพนธ มานะสถิตพงศ ประกอบดวย สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบ
แบบสอบถาม จำนวน 8 ขอ สวนท่ี 2 ปจ จยั องคกรท่ีมีผลตอการบรหิ ารการเงนิ การคลัง จำนวน 70 ขอ และสวน
ที่ 3 ขอคดิ เห็นและขอเสนอแนะการบริหารการเงนิ การคลังของโรงพยาบาล เปนแบบคำถามปลายเปด จำนวน
1 ขอ เพ่ือแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะ กลุมตัวอยางไดมาจากการสุมตัวอยางแบบเฉพาะเจาะจง โดยมี
ผตู อบแบบสอบถามจำนวนท้ังส้ิน 21 ราย เครื่องมือทใี่ ชในการศึกษาชนดิ ท่ี 2 การสนทนากลุม ( Focus group )

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 2

รายงานผลการวิเคราะหก ารบริหารการเงินการคลัง
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

แบบมีโครงสรางแนวคำถาม จากการทบทวนวรรณกรรมของ สุทิน สลางสิงห', นิพนธ มานะสถิตพงศ โดยมีกลุม
ตัวอยางในการสนทนากลุมจำนวน 5 ราย โดยเก็บขอมูล ณ โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา
ระยะเวลาต้ังแต 20-21 เมษายน 2565

วธิ กี ารเก็บรวบรวมขอมลู
ข้นั ตอนการเก็บรวบรวมขอมูล
1. รวบรวมขอมูลสถานการณดานการเงินการคลังจากโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา และ

ขอ มลู กองเศรษฐกิจสขุ ภาพและหลกั ประกนั สุขภาพ จากเว็บไซต https://hfo65.cfo.in.th
2. การเตรียมกอนการดำเนินการเก็บขอมูล ผูศึกษาติดตอประสานงานโดยตรงกับกลุมตัวอยาง โดยนัด

หมายวัน เวลาและสถานท่กี ับกลุมตวั อยา ง
3. อธิบายวัตถุประสงคการศึกษาและรักษาสิทธิ์ พรอมแจกแบบสอบถามใหแกกลุมตัวอยาง จำนวน

21 ราย
4. คัดเลือกกลุมตัวอยา งแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 5 คน เพื่อดำเนินการสนทนากลุม ( Focus group )

เตรียมสถานท่ี จัดส่งิ แวดลอ มในหองสมั ภาษณใหเหมาะสม
5. การสนทนากลุมแบบ Focus group ผูศึกษาสนทนากลุมแบบ Focus group กับกลุมตัวอยางทั้ง 5

ราย โดยใชเวลาในการสนทนา 2 ชั่วโมง จนไมพบขอสงสัยหรือไมมีขอมูลใหม กระทั่งขอมูลอิ่มตัว (data
saturation) จึงหยุดสนทนา พรอ มทั้งบันทกึ ขอมูล

แนวทางในการดำเนนิ งาน

1. ทบทวนขอมูลทัว่ ไป/ขอมูลพืน้ ฐานทเ่ี กย่ี วขอ งของโรงพยาบาลย่งี อเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษา
2. ทบทวนขอมูลสถานการณดานการเงินการคลังของโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ท้ัง
ขอมูลที่เปนปจจัยหลัก ไดแก ผูบริหาร ระบบขอมูล บุคลากร ระบบสารสนเทศ และขอมูลที่เปนปจจัยสนับสนนุ
ไดแก การตรวจสอบ นโยบายทางการเงิน โปรแกรมการบันทึกขอมูล การเทียบเคียงกับโรงพยาบาลอื่น รายได
ประชากร และภูมิประเทศ
3. วิเคราะหสรุปประเด็นปญหาดานการเงินการคลังของโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา
โดยอาศยั เครือ่ งมือมาตรฐานดา นการเงินการคลงั (Financial Index)

3.1 แผนทางการเงิน (Planfin) วัดการดำเนินการดานรายได กับ คาใชจายตามแผนที่ตั้งไว ไมเกิน
รอยละ ±5 ผานดานใดดานหนึ่งถือวาผาน

3.2 ตน ทนุ หนวยบรกิ าร (Unit Cost) เทียบตน ทนุ กับคากลางกลุมบริการระดับเดียวกัน โดยแยกเปน
ตนทนุ OPD กบั ตน ทนุ IPD ตองผานทงั้ 2 ตัว จงึ จะถอื วา ผานเกณฑ

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 3

รายงานผลการวิเคราะหการบริหารการเงนิ การคลงั
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

3.3 การประเมินประสิทธิภาพ 7 Plus Efficiency Score วัดประสิทธิภาพการบริหารรายได
คาใชจายเจาหนี้ ลูกหนี้ วัสดุคงคลัง มีการเทียบเคียงคากลาง คะแนนเต็ม 7 คะแนน ตองผาน 5 คะแนนขึ้นไป
ถือวาผา น

3.4 ประสิทธิภาพ Total Performance Score (TPS) เปนการประเมินประสิทธิภาพแบบองครวม
มีการจัดคะแนนเต็ม 15 คะแนน และเทียบเกรด ตองผา นระดบั C ขึ้นไป

3.5 ประเมินประสิทธิภาพการคัดกรอง (FEED) เปนการดึงขอมูลการประเมิน NI , Cash และ
Planfin หากไมผานเพยี ง 1 ตวั จะเขาสูกระบวนการติดตามกำกับหาจุดบกพรองหรือสาเหตุทไ่ี มผา นตามเกณฑใด
เกณฑหนึง่ ที่เลอื ก

4. วเิ คราะหส าเหตแุ หงปญ หา เพ่ือหาสาเหตขุ องปญ หาดา นการเงนิ การคลงั ทีส่ รุปมาได
5. จดั ลำดับความสำคญั ของปญหา เพื่อเลอื กปญหาที่สำคัญทีส่ ดุ มาวางแผนในการแกไขตอไป
6. วิเคราะหสถานการณที่เกี่ยวของกับปญหาที่สำคัญที่สุด ทั้งสถานการณภายใน และสถานการณ
ภายนอก ทีเ่ อ้ืออำนวยตอการแกไ ขพฒั นา ตลอดทัง้ ที่เปนอุปสรรคขดั ขวางการแกไ ขพฒั นา (SWOT Analysis)
7. กำหนดมาตรการในการแกไขพฒั นาปญ หาดานการเงินการคลังที่เลือกมา
8. จัดทำแนวทางในการแกไขปญหาเพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารการเงินการคลัง ตามมาตรการ
ท่ไี ดกำหนดไวใ นรูปแบบของโครงการ (Action Plan) และจดั ทำแนวทางในการประเมินอีกดวย

กรอบแนวคดิ การศกึ ษา

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 4

รายงานผลการวเิ คราะหการบริหารการเงนิ การคลงั
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ นการวิเคราะหป ญ หาการเงินการคลัง

1. คาความเสีย่ ง (Risk Scoring)
2. แผนทางการเงนิ (Planfin)
3. ตนทนุ หนว ยบรกิ าร (Unit Cost)
4. การประเมนิ ประสิทธิภาพ (7 Plus Efficiency Score)
5. ประสทิ ธภิ าพ (Total Performance Score : TPS)
6. ประเมนิ ประสิทธิภาพผลการคัดกรอง (FEED)

ผลการศึกษา

ขอมลู ท่วั ไป

กลุมตัวอยาง 21 ตัวอยาง สวนใหญเปนเพศหญิงรอยละ 71.43 อายุ 36-45 ป รอยละ 57.14
อายุราชการมากกวา 11 ป รอยละ 28.57 ระยะเวลาการทำงานในโรงพยาบาล มากที่สุดคือ มากกวา 10 ป
รอยละ 42.86 หนาที่ความรับผิดชอบ เปนหัวหนาฝายหรือหัวหนางานมากที่สุดรอยละ 42.86 ตำแหนงลูกจาง
การเงินและบัญชีมากที่สุด รอยละ 28.57 ระดับการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา รอยละ 85.7 โดยมี
สถานภาพสมรสมากทส่ี ดุ รอยละ 76.2

ตารางที่ 1 สถานะทางการเงิน

รพ. กลุมแสดงความคลองตามสภาพสนิ ทรพั ย กลุมแสดงความมั่นคงทางการเงิน Risk score
CR QR Cash NWC NI

ยงี่ อเฉลิมพระ 3.07 2.92 1.64 73,780,000.69 59,172,430.23 0

เกียรติ ๘๐ พรรษา

ที่มา : ขอ มูลกองเศรษฐกิจสขุ ภาพและหลักประกันสุขภาพ https://hfo65.cfo.in.th ไตรมาส 1/2565

จากตารางท่ี 1 สถานะการเงินการคลัง พบวา ยังไมม ภี าวะวิกฤติทางการเงนิ การคลงั ระดับ 4-7 มีดัชนีวัด

สภาพคลองทางสนิ ทรัพยผ า นเกณฑท้ัง 3 ตัว (CR=3.07, QR=2.92,Cash=1.64) และมีความมน่ั คงทางการเงินที่ดี

(NWC=73,780,000.69, NI=59,172,430.23) และตนทุนบริการของโรงพยาบาลไมเกินตนทุนโรงพยาบาลตาม

เกณฑเ ฉลย่ี กลุม ระดบั บริการเดียวกันท้งั ในสวน OPD และ IPD (ตารางที่ 2)

ตารางท่ี 2 ตน ทุนหนว ยบริการ Quick Method

OPD IPD ผลการประเมนิ

รพ. ตน ทนุ ตน ทนุ บริการ OP IP OP&IP
บริการตอ Mean+1SD SumAdjRW ผปู วยในตอ Mean+1SD

คร้งั AdjRW

ยง่ี อเฉลิมพระ 339.50 568.79 739.31 48,140.51 54,970.49 ผาน ผา น ผาน

เกยี รติ ๘๐ พรรษา

ที่มา : ขอ มลู กองเศรษฐกจิ สุขภาพและหลักประกนั สขุ ภาพ https://hfo65.cfo.in.th ไตรมาส 1/2565

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 5

รายงานผลการวเิ คราะหก ารบรหิ ารการเงินการคลัง
โรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

ตารางที่ 3 แผนทางการเงนิ (Planfin)

เปรยี บเทยี บแผนรายได เปรียบเทียบแผนคา ใชจา ย

รพ. แผนประมาณ ผลการ ผลตาง รอยละ แผนประมาณ ผลการ ผลตาง รอ ย
การY65Q1 ดำเนินงาน การY65Q1 ดำเนนิ งาน ละ
Y65Q1 Y65Q1

ย่ีงอเฉลมิ พระ 32,382,828.15 72,288,321.60 39,905,493.45 123.23 42,038,977.69 44,897,383.34 2,858,405.65 6.80

เกียรติ ๘๐ พรรษา

ทม่ี า : ขอ มูลกองเศรษฐกิจสขุ ภาพและหลักประกนั สขุ ภาพ https://hfo65.cfo.in.th ไตรมาส 1/2565

ผลการดำเนินงานแผนการเงิน (Planfin) ยังไมผานเกณฑทั้งในสวนของรายไดและคาใชจาย จากขอมูล

ไตรมาส 1/2565 พบวา รายไดจ รงิ สูงกวาแผนประมาณการ รอยละ 123 (เกณฑต องไมเกนิ ±5) สว นคา ใชจายจริง

สูงกวาแผนประมาณการ รอยละ 6.80 (เกณฑตองไมเกิน ±5) โดยรายไดจริงที่สูงกวาประมาณการเกิดจากการ

ดำเนินงานโรงพยาบาลสนามกรณีโรค COVID-19 ที่ทำใหมีรายไดจำนวนมากเขามา กรณีคาใชจายจริงที่สูงกวา

ประมาณการก็เปนผลมาจากการดำเนินงานโรงพยาบาลสนามและการใหบริการผูปวยที่เกี่ยวกับโรค COVID-19

เน่ืองจากตอ งมีคาใชจ า ยทีเ่ พ่มิ มากขึน้ เชน คาวสั ดุทางการแพทย คา เวชภัณฑตา งๆ วสั ดุวิทยาศาสตร คาตอบแทน

คาจางเหมา เปน ตน

ตารางท่ี 4 วเิ คราะหประสิทธิภาพการเงินการคลงั (Total Performance Score: TPS)

การบริหาร การบรหิ ารจัดการ

การบริหาร สินทรพั ย (การบริหารตน ทนุ ความสามารถ การวดั คะแนน
แผนทาง หมนุ เวยี น และคาใชจ า ย,งบ ในการทำ สภาพคลอง รวม
รพ. การเงนิ และหนส้ี นิ ทดลองเบ้ืองตน, กำไร ทางการเงนิ (15 เกรด

(2 คะแนน) หมนุ เวยี น ผลผลิต) (3 คะแนน) (2 คะแนน) คะแนน)

(3 คะแนน) (5 คะแนน)

ยง่ี อเฉลิมพระ 0 1 5 3 2 11 B

เกยี รติ ๘๐ พรรษา

ที่มา : ขอมลู กองเศรษฐกิจสขุ ภาพและหลกั ประกันสขุ ภาพ https://hfo65.cfo.in.th ไตรมาส 1/2565

จากตารางที่ 4 ผลการวิเคราะหประสิทธิภาพการเงินการคลังของโรงพยาบาล (Total Performance

Score: TPS) พบวา คะแนนมผี ลการประเมนิ 11 คะแนน อยูใ นระดับดี (เกรด B, ≥10.5-12 คะแนน) โดยหมวดท่ี

ยังไมผานเกณฑ คือ หมวดการบริหารแผนทางการเงิน และหมวดการบริหารสินทรัพยหมุนเวียนและหนี้สิน

หมุนเวียน หมวดการบริหารแผนทางการเงิน ยังไมผานเกณฑท้ังในสว นของรายไดและคาใชจ ายเมื่อเทียบกบั แผน

ประมาณการ หมวดการบริหารสินทรัพยหมุนเวียนและหนี้สินหมุนเวียน ยังไมผานเกณฑเรื่องระยะเวลาชำระ

เจาหนีก้ ารคายาและเวชภณั ฑมใิ ชย า ≤ 90 วัน (176 วัน) และการบริหารสินทรัพยค งคลัง ≤ 60 (62 วัน)

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 6

รายงานผลการวเิ คราะหการบรหิ ารการเงินการคลงั
โรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

กราฟแสดงผลการประเมินประสทิ ธิภาพ Total Performance Score ไตรมาส 1/2565

ตารางท่ี 5 ผลการคดั กรอง FEED (Financial Early Evaluation Detection)

ประเดน็ 1 ประเด็น 2 ประเด็น 3

รพ. Cash ผล NI ไมตดิ ลบ ผล รายได ผล คา ใชจาย ผล ผลรายได

ratio>0.8= เทยี บแผน เทยี บแผน หรอื

ผา น คาใชจา ย

ยง่ี อเฉลิมพระ 1.64 ผา น 59,172,430.23 ผาน 123.23 ผา น 6.80 ไมผ า น ผา น

เกยี รติ ๘๐

พรรษา

ที่มา : ขอ มูลกองเศรษฐกจิ สขุ ภาพและหลกั ประกันสุขภาพ https://hfo65.cfo.in.th ไตรมาส 1/2565

ผลการคัดกรอง Financial Early Evaluation Detection พบวาผานเกณฑการคัดกรอง ทั้ง 3 ประเด็น

Cash ratio, NI ไมต ิดลบ และผลรายไดห รือคาใชจ ายเทยี บแผน

ตารางที่ 6 ผลการประเมิน 7 Plus Efficiency

รพ. 1. 2.อตั รา 3. 4.ระยะเวลา 5. 6. 7.การ จำนวน
ประสทิ ธภิ า ผลตอบแทน ระยะเวลา ถวั เฉล่ีย ระยะเวลา ระยะเวลา บรหิ าร ขอ ท่ี เกรด
พการทำ ถวั เฉลีย่ ใน ถัวเฉล่ียใน ถวั เฉลีย่ ใน สินคา คง ผา น
จาก การชำระ เรียกเกบ็ หน้ี การเรยี ก การเรียก คลัง ยา
กำไร สนิ ทรัพย หนี้การคา UC เกบ็ SSS
กลมุ บริการ เก็บ
CSMBS

ยี่งอเฉลิม ผา น ผา น ไมผ า น ผาน ผาน ไมผา น ไมผ า น 4 B-

พระเกียรติ 63.20 21.62 176 วนั 46 วนั 20 วัน 131 วนั 62 วนั

๘๐ พรรษา

ทีม่ า : ขอ มูลกองเศรษฐกิจสขุ ภาพและหลักประกันสุขภาพ https://hfo65.cfo.in.th ไตรมาส 1/2565

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 7

รายงานผลการวิเคราะหก ารบริหารการเงนิ การคลงั
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

ผลการประเมิน 7 Plus Efficiency ไตรมาส 1 ป 2565 จากการประเมนิ 7 ขอ โรงพยาบาลผา นเกณฑ 4
ขอ อยูในระดับ B- โดยหัวขอที่ยังไมผานเกณฑ คือ ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้การคากลุมบริการ,
ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรยี กเกบ็ SSS และ.การบริหารสินคาคงคลงั ยา

ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้การคากลุมบริการ (คายา เวชภัณฑมิใชยาฯ) เกณฑไมเกิน 90 วัน
ผลงาน 176 วัน

ระยะเวลาถวั เฉลยี่ ในการเรยี กเกบ็ SSS (สิทธปิ ระกันสงั คม) เกณฑไมเกิน 90 วนั ผลงาน 131 วัน
การบริหารสินคา คงคลัง ยา เกณฑไมเ กนิ 60 วัน ผลงาน 62 วัน

สถานการณด า นการเงนิ การคลงั ของโรงพยาบาลยง่ี อเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

สถานการณการเงินการคลังสุขภาพของหนวยบริการ ตั้งแตปงบประมาณ 2563 – 2564 พบวา จังหวัด
นราธิวาส มีโรงพยาบาลทั้งสิ้น 13 แหง ประสบปญหาวิกฤติทางการเงินเพียง 1 แหง คือ โรงพยาบาลยี่งอเฉลิม
พระเกียรติ ๘๐ พรรษา ซึ่งเปนโรงพยาบาลชุมชน (รพช. F2 30,000 - 60,000) จำนวนเตียงจริง 44 เตียง
ประชากรสิทธิ UC ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 จำนวน 38,994 คน สถานะดานการเงินการคลัง พบวา ป 2563 มี
ภาวะวิกฤติทางดานการเงินระดับ 4-7 (Risk Score : RS =4) ดัชนีที่ใชแสดงความคลองตามสภาพสินทรัพย
อัตราสวนทุนหมุนเวียน (Current Ratio) เทากับ 0.94, อัตราสวนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio) เทากับ 0.75
และอัตราสวนเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสดตอหนี้สินหมุนเวียน (Cash and cash equivalence ratio)
เทา กับ 0.63 ซึง่ ดัชนีทงั้ 3 ตวั ไมผ า นเกณฑท่กี ำหนดบงบอกถึงการขาดสภาพคลองทางการเงนิ สง ผลถึงการชำระ
หนี้ในระยะสั้น สวนดัชนีที่ใชแสดง ความมั่นคงทางการเงินมีกลุมแสดงความมั่นคงทางการเงิน มีทุนสำรองสุทธิ
(net working capital: NWC) ติดลบ -1,496,165.95 บาท และกำไรสุทธิรวมคาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย
(Net income: NI) จำนวน 59,095,242.49 บาท โดยที่ NI สามารถปรับให NWC เปนบวกใชเวลานอยกวา 3
เดือน ในป 2564 การเงินการคลังของโรงพยาบาลมีสถานการณที่ดขี ึน้ CR=1.47 (ไมผาน), QR=1.37 (ผาน) และ
CR=0.62 (ไมผาน) และพบวามีทุนสำรองสุทธิเพิ่มขึ้น (14,639,288.42 บาท) แตมี ผลประกอบการลดลง
(11,024,682.55 บาท) ซ่ึงขอมูลแผนทางการเงนิ ของโรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษา ป 2563-2564
มีแผนประมาณการรายไดยังไมผานเกณฑ ป 2563 โรงพยาบาลมีการประมาณแผนรายไดทั้งป จำนวน
249,476,548.51 บาท มีรายไดรบั จริง จำนวน 228,829,208.43 มีผลตางนอ ยกวาแผน 20,647,340.08 (รอยละ
8.28) สวนป 2564 ประมาณการรายไดท้ังป จำนวน 108,929,379.35 บาท มีรายไดรับจริง 131,030,285.20 มี
ผลตา งมากกวา แผน จำนวน 22,100,905.85 (รอ ยละ 20.29) สำหรับแผนประมาณการรายจายในป 2563 มีแผน
รายจายทั้งป จำนวน 166,903,641.90 มีรายจายจริง จำนวน 160,293,613.74 บาท ซึ่งมีผลตางต่ำกวาแผน จำนวน
6,610,028.16 (รอยละ 3.96) ซึ่งผานเกณฑไมเกินรอยละ 5 สวนป 2564 มีแผนประมาณการรายจาย จำนวน
152,303,570.27 บาท แตมีรายจายจริง จำนวน 165,298,354.88 บาท ซึ่งมีผลตางมากกวาแผน จำนวน
12,994,784.61 บาท (รอยละ 8.53)

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 8

รายงานผลการวเิ คราะหก ารบริหารการเงินการคลัง
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

ขอมูลเปรยี บเทยี บหนวยบริการในระดับเดียวกัน ไตรมาส 1/2565

ตารางท่ี 1 เปรียบเทียบสถานะทางการเงนิ การคลัง

รพ. กลุมแสดงความคลอ งตามสภาพ กลุม แสดงความม่นั คงทางการเงนิ Risk
สินทรัพย score

CR QR Cash NWC NI

ยีง่ อเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ 3.07 2.92 1.64 73,780,000.69 59,172,430.23 0

พรรษา

เจาะไอรอ ง 3.62 3.34 2.41 39,597,423.78 28,767,552.33 0

จะแนะ 5.49 5.15 1.90 80,972,642.26 65,037,971.94 0

ศรสี าคร 2.84 2.72 2.02 42,250,290.25 24,886,419.29 0

ทีม่ า : ขอมูลกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ https://hfo65.cfo.in.th ไตรมาส 1/2565

ขอมูลเปรียบเทียบสถานะทางการเงนิ การคลังของโรงพยาบาลย่ีงอเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษา เทียบกับ

โรงพยาบาลในกลุมเดียวกันของจังหวัดนราธิวาส คือ เจาะไอรอง จะแนะ และสุคิริน พบวา ทุกโรงพยาบาลไมมี

ภาวะวิกฤติทางการเงิน กลุมแสดงความคลองตามสภาพการเงิน (CR, QR และ Cash) ผานเกณฑที่กำหนด สวน

กลุมแสดงความม่ันคงทางการเงนิ เปนบวกทกุ แหง โดยโรงพยาบาลจะแนะ มี NWC และ NI สูงที่สุด รองลงมาคือ

โรงพยาบาลยงี่ อเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษา

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบ FEED (Financial Early Evaluation Detection)

ประเดน็ 1 ประเด็น 2 ประเดน็ 3

รพ. Cash ผล NI ไมต ิดลบ ผล รายได ผล คาใช ผล ผลรายได
ratio> เทียบ จาย หรอื
0.8 = แผน เทียบ
ผาน แผน คาใชจาย

ยีง่ อเฉลิมพระ 1.64 ผา น 59,172,430.23 ผาน 123.23 ผา น 6.80 ไมผ า น ผา น

เกียรติ ๘๐

พรรษา

เจาะไอรอง 2.41 ผาน 28,767,552.33 ผา น 36.24 ผาน 7.81 ไมผ า น ผา น

จะแนะ 1.90 ผาน 65,037,971.94 ผาน -2.47 ผาน 1.08 ผา น ผาน

ศรสี าคร 2.02 ผาน 24,886,419.29 ผา น 42.12 ผาน -2.65 ผา น ผา น

ที่มา : ขอมูลกองเศรษฐกิจสขุ ภาพและหลักประกนั สขุ ภาพ https://hfo65.cfo.in.th ไตรมาส 1 ป 2565

ขอมูลเปรียบเทียบ Financial Early Evaluation Detection (FEED) พบวาในภาพรวมทุกแหงผาน

เกณฑการคัดกรอง FEED แตในประเด็นที่ 3 การเปรียบเทียบคาใชจายกับแผน โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ

๘๐ พรรษา ไมผ า นเกณฑ เชนเดียวกบั โรงพยาบาลเจาะไอรอง (ประเมิน FEED ประเด็นแผน การเงนิ ตวั ใดตัวหน่ึง

ผานถอื วาผาน)

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 9

รายงานผลการวเิ คราะหการบรหิ ารการเงนิ การคลัง
โรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

ตารางท่ี 3 เปรียบเทียบตนทุนหนว ยบริการ Quick Method

OPD IPD ผลการประเมนิ

รพ. ตน ทนุ ตน ทุนบริการ IP OP&IP
บริการตอ Mean+1SD SumAdjRW ผปู วยในตอ Mean+1SD OP

ครัง้ AdjRW

ยง่ี อเฉลิมพระเกยี รติ 339.50 568.79 739.31 48,140.51 54,970.49 ผาน ผา น ผาน

๘๐ พรรษา

เจาะไอรอง 408.14 568.79 592.52 44,521.57 54,970.49 ผา น ผาน ผาน

จะแนะ 372.69 568.79 574.19 56,946.67 54,970.49 ผาน ไมผ า น ไมผา น

ศรสี าคร 411.09 568.79 1,149.10 19,951.11 54,970.49 ผาน ผาน ผาน

ทม่ี า : ขอมูลกองเศรษฐกจิ สขุ ภาพและหลักประกนั สุขภาพ https://hfo65.cfo.in.th ไตรมาส 1 ป 2565

การเปรียบเทียบตนทุนหนวยบริการ Quick Method ทั้ง OPD และ IPD โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระ

เกียรติ ๘๐ พรรษา มีตนทุนบริการไมเกินตนทุนโรงพยาบาลตามเกณฑเฉลี่ยกลุมระดับบริการเดียวกัน โดยมี

ตนทุนบริการ OPD นอยกวาโรงพยาบาลทุกแหง สวน IPD มีตนทุนบริการนอยกวาโรงพยาบาลจะแนะ แต

มากกวา เจาะไอรอ งและศรีสาคร

ตารางที่ 4 เปรียบเทยี บประสิทธภิ าพการเงนิ การคลงั (Total Performance Score: TPS)

รพ. การบรหิ าร การบริหาร การบริหารจัดการ ความสามารถ การวดั คะแนน เกรด
แผนทาง สินทรพั ย (การบรหิ าร ในการทำ สภาพ รวม
การเงนิ หมนุ เวียน ตนทนุ และ กำไร คลอง
และหนสี้ ิน คาใชจา ย,งบ ทาง
หมุนเวียน การเงนิ
ทดลองเบ้อื งตน,
ผลผลิต)

ย่งี อเฉลิมพระเกียรติ 0 1 5 3 2 11 B

๘๐ พรรษา

เจาะไอรอ ง 01 3 3 2 9C

จะแนะ 2 0.5 2 3 2 9.5 C

ศรีสาคร 12 3 3 2 11 B

ทม่ี า : ขอมูลกองเศรษฐกิจสขุ ภาพและหลักประกนั สขุ ภาพ https://hfo65.cfo.in.th ไตรมาส 1 ป 2565

ขอ มูลเปรยี บเทยี บประสิทธภิ าพการเงนิ การคลัง (Total Performance Score: TPS) ประเมิน 5 ดาน

คะแนนรวม 15 คะแนน โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ได 11 คะแนน อยูในระดับ B เทากับ

โรงพยาบาลศรีสาคร สวนโรงพยาบาลเจาะไอรองและจะแนะ ได 9 คะแนน ระดบั C

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 10

รายงานผลการวิเคราะหการบริหารการเงนิ การคลงั
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

ตารางท่ี 5 เปรยี บเทยี บผลการประเมนิ 7 Plus Efficiency

รพ. 1. 2.อตั รา 3. 4.ระยะเวลา 5. 6. 7.การ จำนวน
ประสทิ ธภิ า ผลตอบแทน ระยะเวลา ถวั เฉล่ยี ระยะเวลา ระยะเวลา บริหาร ขอ ที่ เกรด
พการทำ ถัวเฉล่ยี ใน ถัวเฉลี่ยใน ถัวเฉลี่ยใน สนิ คา คง ผา น
จาก การชำระ เรยี กเกบ็ หนี้ การเรียก การเรียก คลงั ยา
กำไร สนิ ทรพั ย หน้กี ารคา UC เก็บ SSS
กลมุ บริการ เก็บ
CSMBS

ยีง่ อเฉลมิ ผา น ผา น ไมผา น ผา น ผา น ไมผ าน ไมผา น 4 B-
พระเกยี รติ

๘๐ พรรษา

เจาะไอรอ ง ผาน ผาน ไมผ าน ผาน ผาน ไมผ าน ไมผาน 4 B-

จะแนะ ผา น ผาน ไมผาน ไมผ าน ผา น NA ไมผ าน 3 C

ศรสี าคร ผา น ผาน ไมผาน ผา น ผาน ไมผาน ผา น 5 B

ทีม่ า : ขอ มูลกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลกั ประกนั สุขภาพ https://hfo65.cfo.in.th ไตรมาส 1 ป 2565

เปรียบเทียบผลการประเมิน 7 Plus Efficiency จำนวน 7 ขอ โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐

พรรษาผานเกณฑทั้งหมด 4 ขอ ระดับ B- เทากับโรงพยาบาลเจาะไอรอง สวนโรงพยาบาลศรีสาคร ผานเกณฑ 5

ขอ ระดับ B โดยโรงพยาบาลจะแนะได 3 คะแนน ระดับ C โดยประเด็นที่ทั้ง 4 โรงพยาบาลไมผานเหมือนกันคือ

ระยะเวลาถัวเฉลย่ี ในการชำระหนี้การคากลมุ บริการ และระยะเวลาถัวเฉลีย่ ในการเรยี กเกบ็ สทิ ธปิ ระกันสังคม (รพ.

จะแนะไมมีขอมูลการประเมิน) สวนประเด็นการบริหารสินคาคงคลัง ยา มีเพียงโรงพยาบาลศรีสาครแหงเดียวท่ี

ผาน

การวิเคราะหจ ุดออนจุดแขง็ ขององคก ร 4 ดา น (SWOT)

S (Strengths) W (Weakness)

1. ผบู ริหารมีองคความรู ทกั ษะดา นการเงินการคลงั และมี 1. ผปู ฏิบัตหิ นา งานบันทึกขอมูลในระบบ

วิธกี ารในการจัดหารายไดเ พิ่ม เชน การเปด คลินกิ แพทยแ ผน e – Claim ไมครบถวน ไมส อดคลองกบั

ไทยและแผนจนี การเพิ่มอตั ราการครองเตียง การจดั ต้งั ศูนย เวชระเบียน

จัดเกบ็ รายได การเพ่ิมหอ งพเิ ศษ 2. ขาดบุคลากรในการบนั ทึกขอ มลู ใน

2. มกี ลยุทธข ององคกรที่เอ้ือตอ การปฏิบตั ิงานการเงนิ การคลงั ระบบ e - Claim ใหทันเวลา

เชนพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การใหมีประสทิ ธิภาพ และ พฒั นา 3. ขาดการส่อื สารระหวางเจา หนาที่

ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีเอือ้ ตอระบบบริการใหมี ผรู ับผิดชอบงาน UC กบั ผูป ฏิบัติหนางาน

ประสิทธภิ าพ 4. ขาดการติดตามความถูกตองของขอมลู

3. บคุ ลากรมศี ักยภาพสามารถบนั ทึกขอมูลคุณภาพบัญชีได ในระบบ HosXP

ถกู ตองครบถวนและทันเวลา ทำใหขอมูลมีความนาเชอื่ ถอื 5. ฝา ยIT ขาดการวิเคราะห และคืนขอมูล

สามารถนำมาวิเคราะหส ถานะการเงินการคลงั ได ดานการเงนิ การคลงั ไปยังหนวยงานยอย

4. มกี ารแตงตงั้ คณะกรรมการของรพ.มีหนา ทค่ี วบคมุ กำกบั ใน รพ.

ตดิ ตามสถานะการเงินการคลังผา นท่ีประชุม CFO ทกุ ไตรมาส

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 11

รายงานผลการวเิ คราะหก ารบริหารการเงินการคลัง
โรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

การวเิ คราะหจุดออนจุดแขง็ ขององคกร 4 ดา น (SWOT) ตอ

S (Strengths) W (Weakness)

5. มกี ารจดั ทำรายงานแผน/รายงานผลการใชจ ายเงินนำเสนอ 6. เจาหนาทีท่ ี่ปฏบิ ตั ิงานในหนวยบริการ

ผูบริหารเปนประจำทุกเดอื น มีอายรุ าชการมากกวา 3 ป ข้ึนไป ทำให

6. มกี ารนำเทคโนโลยี มาชว ยในการลดตน ทนุ เชน ระบบ ตองจา ยคาตอบแทนในอตั ราที่สงู

paperless , ระบบ Solar cell การดำเนนิ งานตาม 7. ขาดการ KM ดานการเงินการคลัง

GREEN&CLEAN Hospital เปนตน ภายในองคกร

การวเิ คราะหจ ุดออนจดุ แข็งขององคกร 4 ดา น (SWOT) (ตอ)

O (Opportunity) T (Threats)

1. สปสช. มีการกนั เงินงบประมาณ (เงิน CF : Contingency 1. สปสช.ไดก ันเงนิ งบประมาณผปู ว ยใน

Fund) ไวท ่ีสว นกลาง เพือ่ ปรับเกล่ียใหโรงพยาบาลท่ีขาดสภาพ (IP) ไวท ่ีเขตสุขภาพ ทำใหง บเหมาจายราย

คลอ งทางการเงิน หัวทีส่ งมายงั รพ.ลดนอยลง

2. สสจ.และ สปสช. เปน ทป่ี รึกษาดานการเงินการคลัง 2. ระบบการตรวจสอบในการเรยี กเก็บเงนิ

3.สสจ.มกี ารพัฒนาศักยภาพบุคลากร และแลกเปล่ยี นเรยี นรู ของ สปสช. มีหลายข้ันตอน

ดานการเงินการคลงั 3.การไดร บั เงินคา ตอบแทนจาก สปสช.

4.มที ีมตรวจสอบภายในงบการเงนิ ของหนว ยบริการ ทั้งระดับ (ฉ.11) ไมเ พยี งพอ

เขตและจงั หวัด 4. การระบาดของโรค COVID-19 ทำใหมี

5. บรษิ ทั เอกชนสนับสนุนโปรแกรมการบันทกึ ขอ มูลในระบบ จำนวนผูปว ยเพ่ิมขนึ้ ภาระงานเพ่มิ ขึน้

HosXP โดยไมคดิ คา ใชจ า ย

ตารางวิเคราะหการถว งน้ำหนักภายในและภายนอก SWOT Analysis

ท่ี ปจ จัยภายใน (จดุ แขง็ ) น้ำหนกั คะแนน (5 คะแนนถวง
(รวม=1) ระดบั ) นำ้ หนัก
4 1.2
1 ผูบริหารมอี งคความรู ทักษะดานการเงนิ และมวี ิธกี ารในการ 0.3
3 0.3
จดั หารายไดเ พ่ิม เชน การเปดคลินกิ แพทยแผนไทยและแผนจนี

การเพิ่มอตั ราการครองเตียง การจัดต้ังศูนยจัดเก็บรายได การ

เพม่ิ หองพิเศษ

2 มีกลยทุ ธขององคกรทีเ่ อื้อตอการปฏิบตั ิงานการเงนิ การคลงั เชน 0.1

พัฒนาระบบบริหารจัดการใหมีประสิทธภิ าพ และ พฒั นาระบบ

เทคโนโลยสี ารสนเทศที่เอื้อตอระบบบริการใหมปี ระสทิ ธิภาพ

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 12

รายงานผลการวิเคราะหก ารบริหารการเงินการคลงั
โรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

ตารางวเิ คราะหการถว งนำ้ หนกั ภายในและภายนอก SWOT Analysis

ท่ี ปจจยั ภายใน (จดุ แข็ง) น้ำหนัก คะแนน (5 คะแนนถวง
(รวม=1) ระดับ) นำ้ หนัก
4 0.8
3 บคุ ลากรมีศกั ยภาพสามารถบันทึกขอมลู คุณภาพบญั ชีไดถ ูกตอง 0.2
2 0.3
ครบถวนและทันเวลา ทำใหขอมลู มีความนา เชอื่ ถอื สามารถ 2 0.3
3 0.3
นำมาวเิ คราะหส ถานะการเงนิ การคลงั ได
18 3.2
4 มีการแตงตง้ั คณะกรรมการของรพ.มหี นา ทคี่ วบคุม กำกับ 0.15

ติดตามสถานะการเงนิ การคลงั ผา นท่ีประชุม CFO ทกุ ไตรมาส

5 มกี ารจดั ทำรายงานแผน/รายงานผลการใชจ ายเงนิ นำเสนอ 0.15

ผูบ รหิ ารเปนประจำทุกเดอื น

6 มกี ารนำเทคโนโลยี มาชว ยในการลดตนทุน เชน ระบบ 0.1

paperless , ระบบ Solar cell การดำเนนิ งานตาม

GREEN&CLEAN Hospital เปน ตน

รวม 1

ตารางวิเคราะหการถว งนำ้ หนกั ภายในและภายนอก SWOT Analysis (ตอ )

ที่ ปจจยั ภายใน (จดุ ออน) น้ำหนกั คะแนน (5 คะแนนถวง
(รวม=1) ระดบั ) น้ำหนัก
4 0.8
1 ผูปฏิบัตหิ นางานบนั ทึกขอมลู ในระบบ e – Claim ไมค รบถวน 0.2 4 0.4
ไมสอดคลอ งกับเวชระเบยี น 4 0.8
4 0.8
2 ขาดบุคลากรในการบนั ทกึ ขอมูลในระบบ e - Claim ใหท ันเวลา 0.1 4 0.4

3 ขาดการส่ือสารระหวา งเจา หนาที่ผรู บั ผดิ ชอบงาน UC กับ ผู 0.2 2 0.2
ปฏิบตั ิหนางาน 5 0.5
27 3.9
4 ขาดการตดิ ตามความถูกตองของขอมลู ในระบบ HosXP 0.2

5 ฝา ยIT ขาดการวิเคราะห และคืนขอมลู ดา นการเงินการคลงั ไป 0.1
ยงั หนวยงานยอยใน รพ.

6 เจาหนาทีท่ ปี่ ฏิบตั ิงานในหนว ยบริการ มอี ายุราชการมากกวา 3 0.1
ป ขึน้ ไป ทำใหต องจายคาตอบแทนในอัตราทส่ี ูง

7 ขาดการ KM ดา นการเงนิ การคลังภายในองคก ร 0.1

รวม 1

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 13

รายงานผลการวิเคราะหการบรหิ ารการเงนิ การคลัง
โรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

ตารางวิเคราะหก ารถวงน้ำหนักภายในและภายนอก SWOT Analysis (ตอ )

ท่ี ปจจยั ภายนอก (โอกาส) นำ้ หนกั คะแนน คะแนนถวง
(รวม=1) (5 ระดับ) น้ำหนัก

สปสช. มีการกันเงินงบประมาณ (เงิน CF : Contingency 4.5 1.35

1 Fund) ไวท ี่สว นกลาง เพอ่ื ปรับเกลย่ี ใหโ รงพยาบาลที่ขาด 0.3 4 0.8
4 0.8
สภาพคลองทางการเงิน
4 0.4
2 สสจ.และสปสช.เปนทปี่ รึกษาดานการเงนิ การคลงั 0.2
5 1.0
3 สสจ.มีการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร และแลกเปลย่ี นเรยี นรู 0.2 20 4.35
ดา นการเงินการคลัง
คะแนน คะแนนถวง
4 มที ีมตรวจสอบภายในงบการเงินของหนวยบริการ ท้งั ระดบั 0.1 (5 ระดับ) นำ้ หนกั
เขตและจงั หวดั
4 1.2
5 บริษทั เอกชนสนับสนนุ โปรแกรมการบนั ทึกขอมลู ในระบบ 0.2
HosXP โดยไมคิดคาใชจ า ย 3 0.75

รวม 1 คะแนน คะแนนถว ง
(5 ระดับ) นำ้ หนัก
ตารางวิเคราะหการถวงน้ำหนกั ภายในและภายนอก SWOT Analysis (ตอ )
4 0.6
ที่ ปจ จยั ภายนอก (อุปสรรค) น้ำหนกั 5 1.5
(รวม=1) 17 4.25

1 สปสช.ไดกันเงินงบประมาณผูปวยใน (IP) ไวที่เขตสุขภาพ 0.3
ทำใหงบเหมาจา ยรายหัวทสี่ งมายงั รพ.ลดนอยลง

2 ระบบการตรวจสอบในการเรียกเก็บเงนิ ของ สปสช. (เคส 0.25
COVID-19)มีหลายขนั้ ตอน

ตารางวิเคราะหก ารถวงนำ้ หนกั ภายในและภายนอก SWOT Analysis (ตอ )

ที่ ปจ จยั ภายนอก (อุปสรรค) นำ้ หนัก
(รวม=1)

3 การไดรบั เงินคาตอบแทนจาก สปสช. (ฉ.11) ไมเ พยี งพอ 0.15

4 การระบาดของโรค COVID-19 ทำใหมจี ำนวนผูป วย 0.3
เพมิ่ ข้นึ ภาระงานเพม่ิ ข้นึ

รวม 1

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 14

รายงานผลการวิเคราะหการบรหิ ารการเงินการคลงั
โรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

ตารางสรปุ ผลการวิเคราะห SWOT Analysis

SO (จุดแขง็ และโอกาส)

S = 3.2 O=4.35 SO=13.92
ST=13.6
ST (จดุ แข็งและภยั คกุ คาม) WO=16.96
WT=16.57
S = 3.2 T=4.25

WO (จดุ ออ นและโอกาส)

W=3.9 O=4.35

WT (จดุ ออนและภัยคุกคาม)

W=3.9 T=4.25

สรุปเปน WO = ใชโอกาสลดจุดออ น (Question Mark)

?

กลยทุ ธ
1. พัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารมาใชในการติดตามและตรวจสอบขอมลู การบริหารการเงินการคลงั

2. สงเสริมใหม รี ะบบการทำงานของบุคลากรดา นการบริหารการเงินการคลังทเ่ี ชอ่ื มโยงกันภายในองคกร
3. สนับสนุนใหม กี ารแลกเปล่ียนเรียนรูเ รอ่ื งการบรหิ ารการเงนิ การคลงั ภายในองคกร (KM)

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 15

รายงานผลการวิเคราะหการบริหารการเงินการคลัง
โรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

ขอเสนอแนะตอ การพฒั นา

กลยุทธ วัตถุประสงค มาตรการ แผนปฏบิ ัตกิ าร กลมุ เปา หมาย ตัวช้ีวดั
1. พฒั นาเทคโนโลยี 1. เพือ่ ใหเกดิ ความ 1. สรา งระบบ 1. แตงต้งั 1. ทมี 1. รอ ยละ 100 ของ
สารสนเทศและการ ถกู ตอง ครบถว น ตรวจสอบความ ผูปฏิบตั งิ านดาน รักษาพยาบาล การสงเบกิ คา บริการ
ส่ือสารมาใชใ นการ ทนั เวลาของขอ มลู ถกู ตองของ การรักษาพยาบาล 2. งาน ทางการแพทยใน
ตดิ ตามและ ที่สง เขาระบบ ขอมูล ใหอ ยใู นศนู ยจ ัดเก็บ เทคโนโลยี โปรแกรม
ตรวจสอบขอ มูลการ e - Claim 2. สรางระบบ รายไดและ สารสนเทศ e - Claim
บรหิ ารการเงนิ การ 2. เพื่อใหเ กิดการ คืนขอ มูล ตรวจสอบขอ มูล 3. งานบรหิ าร สปสช.ไดถ กู ตอง
คลงั ตดิ ตามสถานการณ สถานการณ กอนนำสง ขอมลู เขา ทันเวลา
การเงินการคลัง การเงนิ การคลงั ระบบ 1. งานการเงนิ 2. รอ ยละ 100
2. สง เสรมิ ใหมรี ะบบ อยางใกลช ิด ใหแ กผบู รหิ าร e - Claim 2. งานประกัน ของการคืนขอ มูล
การทำงานของ 2. จัดทำสรปุ ขอมูล สุขภาพ สถานการณทาง
บคุ ลากรดา นการ 1. เพอื่ ใหเกิดการ 1. สรา งการ สถานการณทาง 3. งาน การเงินเพ่ือคนื ขอมลู
บรหิ ารการเงินการ ทำงานดา นบรหิ าร ทำงานดา นการ การเงนิ เพ่ือคืน ทรพั ยากร ใหผ บู รหิ ารรบั ทราบ
คลังทเี่ ชื่อมโยงกนั การเงนิ การคลงั บรหิ ารการเงิน ขอมลู ใหผ บู รหิ าร บุคคล
ภายในองคกร อยางเปน ระบบ การคลังอยา ง รับทราบโดยนำ 4. งานอืน่ ๆ 1. รอยละ 100 ของ
ไมแ ยกสวน เปน ระบบ เทคโนโลยมี าใช ที่เก่ยี วของกับ การสงเบกิ คา บริการ
2. เพอ่ื ใหเกดิ การ การจัดซ้อื จัด ทางการแพทยใน
แกไขปญหาดาน 1. ทบทวนวิธกี าร จา ง โปรแกรม e - Claim
การเงินการคลัง ดำเนนิ งานใน สปสช.ไดถกู ตอง
รวมกนั อยาง ปจ จุบนั ทนั เวลา
รวดเรว็ ทันเวลา 2. จดั ทำ Flow 2. รอ ยละ 70 ของ
guideline ของการ คะแนนดชั นคี วามสขุ
จัดเก็บรายไดท่ี ในการทำงานของ
ชัดเจน ผูป ฏิบตั งิ านการเงนิ
การคลัง

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 16

รายงานผลการวเิ คราะหก ารบริหารการเงนิ การคลงั
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

ขอเสนอแนะตอ การพัฒนา มาตรการ แผนปฏบิ ัติการ กลมุ เปาหมาย ตวั ชี้วัด
กลยุทธ วตั ถุประสงค 1. สราง
3. สนับสนนุ ใหมีการ 1. เพอ่ื ใหเ กดิ ทมี บุคลากรดาน 1. จัดประชมุ 1. งานการเงนิ 1. รอ ยละ 100 ของ
แลกเปลย่ี นเรียนรู บรหิ ารการเงนิ การ การเงินการ
เรอื่ งการบริหาร คลังทีเ่ ขมแขง็ คลงั ทมี่ คี วามรู แลกเปลยี่ นเรยี นรู 2. งานประกัน กลมุ เปา หมายเขา รวม
การเงินการคลัง 2. เพื่อใหเกดิ การ ความสามารถ
ภายในองคกร (KM) แกไ ขปญหาดา น 2. สรางการ พดู คุยปญ หา สุขภาพ กจิ กรรม
ทำงานดานการ
การเงินการคลงั บริหารการเงิน อปุ สรรคของ 3. งาน 2. รอยละ 70 ของ
อยางรวดเรว็ การคลงั อยา ง
เปน ระบบ ผปู ฏบิ ตั งิ านเปน ทรพั ยากร คะแนนดัชนีความสขุ
ทันเวลา
ประจำ บุคคล ในการทำงานของ

2. ประชุมชีแ้ จงแนว 4. งานท่ี ผปู ฏิบตั ิงานการเงนิ

ทางการปฏบิ ัติงาน เกีย่ วของกับ การคลัง

การเงินการคลังของ การจัดซ้ือจดั

รพ. จา ง

เอกสารอางองิ

กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. คูมือ หลักเกณฑและแนวทางการ
เบิกจายชดเชยคาบริการทางการแพทยบุคคลที่มีปญหาสถานะและสิทธิ ปงบประมาณ 2562. นนทบุรี:
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข; 2562.

กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกัน กระทรวงสาธารณสุข. ระบบรายงานการเงินการคลัง.
https://hfo65.cfo.in.th. 2565. แหลง ที่มา : https://hfo65.cfo.in.th/GetMOCData.aspx คนเมอ่ื 19 เมษายน
2565

วาสนา จังพานิช.ปจจัยที่สงผลกระทบตอประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังของโรงพยาบาล.
วารสารหวั หนิ สุขใจไกลกงั วล: 3(1); 97–111, 2561.

สุธาดา ศิริกิจจารักษ. ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังของโรงพยาบาลในจังหวัดสุรินทร.
วารสารวจิ ยั และพัฒนาดา นสขุ ภาพ สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั นครราชสมี า: 5(2); 17–34, 2563.

สุทนิ สลางสิงห, & นิพนธ มานะ สถิต พงศ. (2021). ประสิทธภิ าพ การ บรหิ าร การเงิน การคลงั ของ
โรง พยาบาล ชมุ ชน จงั หวัด มุกดาหาร. วารสาร วิจยั และ พฒั นา ระบบ สขุ ภาพ, 14(2), 151-161

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 17

รายงานผลการวเิ คราะหก ารบริหารการเงินการคลัง
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

รายชือ่ สมาชิกกลุม

1. นางการัมบบี ี แซลีมา นักวิชาการเงินและบัญชชี ำนาญการ ประธาน
2. นางโศภิต สิทธิพันธ ฝา ยตรวจสอบภายใน สสจ.นราธวิ าส รองประธาน
3. นายธันวา พยัคฆโยธี เภสัชกรชำนาญการพิเศษ
4. นายพีระพล โชติกสถิตย กลุม งานคุมครองผบู รโิ ภค ฯ สสจ.นราธวิ าส
5. นายฮัยซนั เจะตู นักวชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ
6. นายมรั คาน เจะ หลี โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลบือราเปะ
7. นายอราม อามเี ราะ นายแพทยชำนาญการพิเศษ
8. นางวันฑิตา ทองชว ย โรงพยาบาลย่งี อเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษา
9. นางสาวอาซรู า รีเด็ง นายแพทยช ำนาญการพิเศษ
10. นายซำสุดนิ หามะ โรงพยาบาลบาเจาะ
11. นางสาวสุนยี  เจะกะบาซอ นายแพทยช ำนาญการพเิ ศษ
12. นางจฑุ ารตั น ตนภุ ทั รสรณ โรงพยาบาลศรสี าคร
13. นางรซู หละ บินอาแซ นกั วชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ
14. นางสาวยามลี ะ มซุ อ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมอื งนราธวิ าส
นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอย่ีงอ
นักวิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ
สำนักงานสาธารณสขุ อำเภอบาเจาะ
นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
สำนกั งานสาธารณสุขอำเภอศรีสาคร
นักวิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ
กลมุ งานทนั ตสาธารณสุข สสจ.นราธวิ าส
นักวิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ
กลุมงานทันตสาธารณสขุ สสจ.นราธิวาส
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
กลมุ งานสงเสริมสขุ ภาพ สสจ.นราธวิ าส

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 18

รายงานผลการวิเคราะหก ารบรหิ ารการเงินการคลงั
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

15. นายอรรถพล ขวัญเกดิ รายช่อื สมาชกิ กลมุ (ตอ) เลขานกุ าร
16. นางโรสมีนี ยูนหุ 
17. นางโซเพยี เพ็ชรฆาต นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
กลมุ งานประกันสขุ ภาพ สสจ.นราธวิ าส
นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ
กลมุ งานอนามยั สิ่งแวดลอม ฯ สสจ.นราธวิ าส
นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ
กลุมงานอนามัยส่ิงแวดลอ ม ฯ สสจ.นราธิวาส

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 19

รายงานผลการวิเคราะหก ารบรหิ ารการเงนิ การคลงั
โรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา

SUCCESSOR : NARA 1

SUCCESSOR : NARA 1

SUCCESSOR : NARA 1 หนา 20


Click to View FlipBook Version