ภมู ศิ าสตร์ประชากร
(Population Geography)
ความหมาย
ประชากร (population) หมายถึง กลุ่มคนทม่ี ีอยู่ ณ เวลาใดเวลาหนง่ึ หรอื
ในสถานทใี่ ดสถานที่หนง่ึ
ที่มา : พจนานกุ รมศัพทป์ ระชากรศาสตร์ ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน
ความหมาย (ต่อ)
ภมู ศิ าสตรป์ ระชากร (population geography หรือ demographic geography)
หมายถงึ วิชาภูมศิ าสตร์แขนงหน่งึ ศกึ ษาเนน้ หนกั ในเร่อื งเกย่ี วกบั ประชากรในถ่ินตา่ ง ๆ
ของโลก โดยพจิ ารณาถึงสภาพทางภมู ศิ าสตร์ที่เกี่ยวข้องหรือมผี ลต่อความเป็นอยู่ของ
ประชากรนั้น ๆ เช่น การกระจาย การยา้ ยถ่ินฐาน ความหนาแนน่
ทม่ี า : พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบณั ฑติ ยสถาน
พจนานุกรมแปล ไทย-องั กฤษ NECTEC's
Lexitron Dictionary
โครงสร้าง การกระจาย
ประชากร และความหนาแนน่
ของประชากรโลก
การเปล่ยี นแปลง การตัง้ ถิน่ ฐาน
ประชากรโลก ของมนษุ ย์
และประชากรไทย
การกระจายและความหนาแน่นของประชากรโลก
ปจั จยั ทางด้านกายภาพ ปัจจยั ทางด้านมนษุ ย์
ลักษณะภูมิประเทศ การเมอื ง
ทรัพยากร เศรษฐกจิ
ภูมอิ ากาศ
ปจั จยั ทางดา้ นกายภาพ Q: ให้นักเรยี นพิจารณาวา่ ภาพใด มปี จั จยั ที่เหมาะสมตอ่ ความ
หนาแน่นของประชากร พรอ้ มอธบิ าย
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ/ทรัพยากร/ภมู ิอากาศ
ปัจจัยทางดา้ นกายภาพ (ต่อ)
ปัจจยั ความหนาแนน่ ประชากรสูง ความหนาแน่นประชากรต่า
ลกั ษณะภูมิประเทศ พนื้ ทร่ี าบลมุ่ แม่น้าทม่ี ีความอุดมสมบูรณ์ พน้ื ทีส่ งู หรอื ภเู ขา หรือเขตทะเลทราย
ท่มี ีความแหง้ แลง้
ทรพั ยากร บรเิ วณทม่ี ีทรพั ยากรธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ บรเิ วณท่มี ที รพั ยากรธรรมชาติหรือ
ภมู อิ ากาศ
น้า ดนิ แหลง่ อาหาร อดุ มสมบรู ณ์ แหลง่ อาหารน้อย
บรเิ วณท่ีมีอากาศอบอนุ่ และปริมาณฝน บริเวณทม่ี ีอากาศร้อน แหง้ แล้งหรอื
เพียงพอต่อการทา้ การเกษตร การดา้ รงชีวติ หนาวเยน็ อยา่ งรนุ แรง
ปจั จัยทางดา้ นมนษุ ย์ Q: ให้นกั เรยี นพิจารณาวา่ ภาพใด มปี ัจจัยทีเ่ หมาะสมตอ่
ความหนาแนน่ ของประชากร พร้อมอธิบาย
ปัจจัยทางดา้ นมนษุ ย์ (ต่อ)
ปัจจยั ความหนาแนน่ ประชากรสูง ความหนาแน่นประชากรตา่
การเมอื ง ประเทศทมี่ เี สถยี รภาพ และความม่ันคง ประเทศทม่ี คี วามขดั แย้งทางดา้ นการเมอื ง
ทางการเมอื ง จนท้าให้เกิดการยา้ ยถน่ิ ฐานของประชากร
เศรษฐกิจ โอกาสในการทา้ งานสูง เช่น ในเมืองใหญ่ โอกาสในการทา้ งานมจี า้ กัด
ทว่ั โลก
ความหนาแนน่ ของประชากรโลก
Population density is the number of people per square kilometer.
10 ประเทศทม่ี คี วามหนาแน่นของประชากรมากทส่ี ดุ
ความหนาแนน่ ของประชากรในทวปี เอเชยี 4,630,925,429 คน
ทวปี เอเชีย
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม
บริเวณทม่ี ปี ระชากรหนาแน่น
- ทร่ี าบล่มุ แม่น้าหวางเหอและลุ่มแมน่ ้าฉางเจียง
- ที่ราบลุม่ แม่นา้ สินธุ คงคา พรหมบตุ ร
- ท่รี าบชายฝงั่ ทะเล และมหาสมุทร
บรเิ วณท่ีมีประชากรเบาบาง
- ทางตอนเหนือของทวปี /ท่รี าบสูงทเิ บต
- เขตทะเลทรายทแี่ หง้ แล้งในเอเชยี กลาง/เอเชียตะวนั ตกเฉียงใต้
ความหนาแน่นของประชากรในทวปี ยโุ รป 747,636,026 คน
ทวปี ยุโรป
มปี ระชากรหนาแน่นมากบริเวณภาคกลาง และภาคตะวนั ตก
ของทวีป ได้แก่ ประเทศฝรง่ั เศส เบลเยียม เนเธอรแ์ ลนด์
เยอรมนี และสหราชอาณาจกั ร เนอ่ื งจาก
มีการคมนาคมขนสง่ สะดวก มภี มู ิประเทศ/ภมู อิ ากาศ
ที่เหมาะแกก่ ารเพาะปลูก เลี้ยงสตั ว์
บริเวณที่มปี ระชากรเบาบาง
- ทางตอนเหนอื ที่มอี ากาศหนาวเย็นตลอดเวลา
- บริเวณทีเ่ ปน็ ภูเขา พน้ื ทที่ รุ กันดาร มคี วามลาดชัน มนี า้ แขง็ ปกคลมุ
ความหนาแนน่ ของประชากรในทวปี แอฟริกา 1,332,012,886 คน
ทวปี แอฟริกา
บรเิ วณท่ีมปี ระชากรหนาแน่น
- บริเวณลุ่มแม่น้าไนล์
- บริเวณชายฝัง่ ทะเล อ่าวกินี
- ทรี่ าบล่มุ แม่นา้ ไนเจอร์
บริเวณทมี่ ีประชากรเบาบาง
- บริเวณทเ่ี ปน็ เขตทะเลทราย
- บรเิ วณลมุ่ แม่น้าคองโก ซึ่งเป็นปา่ ฝนร้อนชนื้ แถบศูนยส์ ตู ร
ความหนาแนน่ ของประชากรในทวีปอเมรกิ าเหนอื 368,286,404 คน
ทวีปอเมรกิ าเหนอื
บริเวณทมี่ ปี ระชากรหนาแนน่
- พ้ืนที่เพาะปลกู แถบท่รี าบลุ่มแมน่ ้ามสิ ซิสซิปปี/แม่นา้ เซนต์ลอวเ์ รนซ์
บรเิ วณท่มี ปี ระชากรเบาบาง
- ทรี่ าบลุม่ แม่นา้ แมกแคนซี ทางตอนเหนือของประเทศแคนาดา
ความหนาแนน่ ของประชากรในทวีปอเมริกาใต้ 429,851,365 คน
ทวปี อเมริกาใต้
บรเิ วณทมี่ ปี ระชากรหนาแนน่
- บรเิ วณเขตทุ่งหญ้าสะวนั นา ในประเทศบราซลิ ประเทศชิลี
- บรเิ วณเขตทงุ่ หญา้ ปัมปสั ในประเทศอารเ์ จนตินา
บรเิ วณทม่ี ีประชากรเบาบาง
- บริเวณลุ่มน้าแอมะซอน
ความหนาแนน่ ของประชากรในทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี 42,536,586 คน
ทวปี ออสเตรเลียและโอเชยี เนยี
บริเวณท่ีมปี ระชากรหนาแน่น
- ในเขตอบอนุ่ ทางภาคตะวันออกเฉยี งใต้ บริเวณเมอื งซิดนีย์
เมลเบริ ์น เน่อื งจาก เป็นแหลง่ เพาะปลูก อุตสาหกรม และ
มีการคมนาคมสะดวก
บริเวณท่ีมีประชากรเบาบาง
- ทะเลทรายทแี่ ห้งแลง้ ในภาคตะวนั ตก
- ภาคใต้ของประเทศออสเตรเลยี ไดแ้ ก่ ทะเลทรายกบิ สนั
ทะเลทรายเกรตวกิ ตอเรีย และทะเลทรายเกรตแซนดี
การกระจายและความหนาแนน่ ของประชากรไทย 69.80 ลา้ นคน
ทม่ี า : https://www.worldometers.info/world-population/thailand-population/
การกระจายและความหนาแน่น ข้อควรระวงั
ของประชากรไทย เรามกั จะนกึ ถงึ เรอ่ื ง จ้านวนประชากร
ในแตล่ ะจงั หวัดเพียงอย่างเดยี วไมไ่ ด้ ต้องคา้ นงึ ถึง
"ขนาดพ้นื ท"่ี ของจังหวัดนนั้ ๆดว้ ย ซ่งึ อาจทา้ ให้
ความเขา้ ใจ หรอื การคาดการณ์ข้อมูลผิดเพีย้ นไปได้
Ex. จงั หวัดเชียงใหม่และเชียงราย
คนมักเขา้ ใจว่าความหนาแนน่ ประชากรเชียงใหม่
น่าจะสูงกวา่ เชยี งราย
แตด่ ว้ ยจังหวัดเชยี งใหมม่ ี "ขนาดพื้นท่ี
มากกวา่ " จงึ ทา้ ให้จา้ นวนประชากรเฉลีย่ ตอ่ พื้นที่ 1
หนว่ ยตารางกโิ ลเมตรของจังหวัดเชยี งใหมม่ ี "ความ
หนาแน่นน้อยกวา่ " จังหวดั เชยี งราย เปน็ ตน้
การกระจายและความหนาแน่นของประชากรไทย (ตอ่ )
ภาคกลาง 15.06 ล้านคน 91,798 ตร.กม
164 คน/ตร.กม
มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุด โดยเฉพาะ
กรุงเทพมหานคร เนื่องจาก เป็นเมืองหลวงและศูนย์กลาง
เศรษฐกิจของประเทศ
มีการกระจายอย่างหนาแน่นในเขตทรี่ าบภาคกลางตอนล่าง
ที่เกดิ จากการการทับถมของตะกอน เกิดเป็นดนิ ดอนสามเหลี่ยม
ปากแม่นา้ เจา้ พระยา
จงั หวดั อุทัยธานี มีความหนาแนน่ ของประชากรนอ้ ยที่สดุ
เน่ืองจาก พื้นทสี่ ่วนใหญท่ างตะวนั ตกเปน็ ปา่ และภเู ขาสงู
การกระจายและความหนาแน่นของประชากรไทย (ตอ่ )
ภาคตะวันออก 4.65 ลา้ นคน 34,380 ตร.กม
135 คน/ตร.กม
ความหนาแนน่ ของประชากรพบมากบริเวณด้านทิศ
ตะวันตกและทศิ ใต้ จังหวัดชลบุรี มีการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ มาก
ที่สดุ เพราะมีชายฝั่งทะเลทส่ี วยงาม
จังหวดั สระแก้ว มคี วามหนาแน่นของประชากรน้อยท่สี ดุ
รวมถึงบรเิ วณตอนกลางของภูมภิ าค เนื่องจาก มีทวิ เขาจนั ทบรุ ี
วางตวั ในแนวตะวนั ออก-ตะวันตก
การกระจายและความหนาแน่นของประชากรไทย (ตอ่ )
ภาคใต้ 9.28 ล้านคน 70,715 ตร.กม
131 คน/ตร.กม
จังหวดั ท่ีประชากรอาศยั อยู่อยา่ งหนาแนน่ สว่ นมากอยู่
บริเวณทรี่ าบชายฝ่งั เพราะเป็นพื้นทท่ี ่เี หมาะสมตอ่ การ
เพาะปลูกและการประมง
บรเิ วณทม่ี ปี ระชากรเบาบาง เป็นภูมปิ ระเทศแบบภูเขา
สูงสลบั ซบั ซอ้ น สว่ นใหญเ่ ปน็ พน้ื ทรี่ าบสูง และมีทรี าบต่้า
นอ้ ยไมเ่ หมาะตอ่ การตั้งถิ่นฐานและทา้ การเกษตร
เช่น ทวิ เขาฝ่ังตะวันตกของจงั หวดั ระนอง สรุ าษฎร์ธานี
การกระจายและความหนาแนน่ ของประชากรไทย (ต่อ)
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 9.28 ลา้ นคน 70,715 ตร.กม
131 คน/ตร.กม
ประชากรตั้งถ่ินฐานหนาแน่นมากบริเวณท่ีราบลุ่ม
แม่น้าสายส้าคัญ ได้แก่ แม่น้าชี แม่น้ามูล และรอบๆ
อ่างเก็บนา้ เพราะ น้าเป็นปัจจัยส้าคัญต่อการต้ังถิ่นฐานใน
เขตทม่ี คี วามแห้งแล้ง
จังหวัดเลยมีความหนาแน่นน้อยที่สุดในภูมิภาค
เนื่องจาก เป็นเขตทิวเขาในแนวเหนือ-ใต้ และมีพ้ืนที่ราบ
ลมุ่ นอ้ ยมาก
การกระจายและความหนาแน่นของประชากรไทย (ต่อ)
ภาคเหนอื 6.01 ล้านคน 93,690 ตร.กม
64 คน/ตร.กม
การกระจายของประชากรในภาคเหนือมคี วามสมั พนั ธ์กบั
ลักษณะภูมิประเทศมาก กลา่ วคือ บริเวณทีเ่ ปน็ ทีร่ าบหรือแอ่ง
แผ่นดนิ ระหวา่ งภเู ขาทม่ี แี ม่นา้ ล้าธารไหลผ่านพาโคลนตะกอน
มาทบั ถม ทา้ ใหด้ ินมคี วามอุดมสมบรู ณเ์ หมาะในการเพาะปลกู
จงั หวดั ที่มหี นาแน่นของประชากร ไดแ้ ก่ เชยี งใหม่
เชยี งราย ล้าปาง แพร่ นา่ น ลา้ พูน
จงั หวดั ทมี่ ีประชากรนอ้ ยทสี่ ดุ ได้แก่ แม่ฮอ่ งสอน
การกระจายและความหนาแน่นของประชากรไทย (ตอ่ )
ภาคตะวันตก 3.19 ล้านคน 53,679 ตร.กม
59 คน/ตร.กม
เปน็ ภาคที่มจี ้านวนประชากรนอ้ ยท่ีสดุ เน่ืองจาก พื้นท่ีส่วนใหญ่
ทางตะวนั ตกเป็นทิวเขาสูง ไดแ้ ก่ ทวิ เขาถนนธงชยั และทวิ เขา
ตะนาวศรี ซงึ่ เปน็ แนวแบ่งเขตระหว่างไทยกบั เมียนมา
บริเวณทม่ี ีประชากรหนาแน่นจะอยทู่ างฝ่งั ตะวันออกในบริเวณ
ท่ีราบลมุ่ แม่นา้ ปิง และแมน่ า้ แม่กลอง คือ จังหวัดราชบุรี
จงั หวัดทม่ี ีประชากรหนาแน่นนอ้ ยทสี่ ุด คอื จังหวดั ตาก
โครงสรา้ งประชากร (Population Structure)
หมายถึง โครงสรา้ งอายุและเพศของประชากรแสดงดว้ ยพีระมิด
ประชากร (Population pyramid) ซึ่งเป็นการแสดงภาพโครงสรา้ งอายุ
และเพศของประชากรด้วยกราฟแท่งท่วี างตามแนวนอน
โดยแสดงสัดสว่ นหรอื จา้ นวนของประชากร ดงั น้ี
ด้านขวา แสดงประชากรหญงิ ด้านซ้าย แสดงประชากรชาย
กราฟแตล่ ะแท่งแสดงกลมุ่ อายปุ ระชากรที่ห่างกนั ช่วงชน้ั ละ 5 ปี เรม่ิ จากฐานที่แสดง
กลุ่มอายนุ ้อยทส่ี ุดไปจนถงึ กลุ่มทอี่ ายสุ ูงทส่ี ดุ
ความหนาแน่นของประชากรโลก
ทม่ี า : Population Pyramids of the
World from 1950 to 2100
https://www.populationpyramid.net
/world/2020/
พรี ะมดิ ประชากรแบบฐานกวา้ ง พีระมดิ ประชากรแบบคงท่ี พรี ะมิดประชากรแบบฐานแคบ
พรี ะมดิ ประชากรแบบฐานกวา้ ง เปน็ พีระมดิ ทแี่ สดงโครงสรา้ งอายขุ องประชากรทม่ี ีอัตรา
พรี ะมิดประชากรแบบคงที่ การเกิดและอตั ราการตายสงู
พีระมดิ ประชากรแบบฐานแคบ พบในประเทศอัฟกานิสถาน และบงั กลาเทศ
เปน็ พรี ะมิดที่แสดงโครงสร้างอายุของประชากรที่
ประชากรแต่ละอายุมสี ัดส่วนใกลเ้ คยี งกนั เนื่องมาจากอตั รา
การเกดิ และอัตราการตายต่้าและคงท่ี
พบในประเทศออสเตรเลยี สหรฐั อเมริกา จีน
เป็นพรี ะมิดทแ่ี สดงโครงสรา้ งอายขุ องประชากรท่ีมอี ตั รา
การเกดิ และอตั ราการตายไดล้ ดตา้่ ลงมาก
พบในประเทศเยอรมนี สวเี ดน และสิงคโปร์
โครงสรา้ งประชากรโลก
ประเทศกา่ ลงั พัฒนา ประเทศทีพ่ ฒั นาแลว้
ประเทศทีม่ ปี ระชากรในวัยเด็กมาก
มีลักษณะของฐานพีระมดิ ฐานกว้าง มปี ระชากรในวยั เดก็ และวัยทา้ งาน
ยอดแหลม บ่งบอกถึงการเพิ่มขึน จา้ นวนใกล้เคียงกนั แสดงถงึ การ
ของขนาดประชากรอย่างรวดเร็ว เพิม่ ขึนของประชากรอยา่ งช้าๆ
เชน่ ประเทศอฟั กานสิ ถาน เคนยา เช่น สหรัฐอเมริกา
▪ ประเทศทป่ี ระชากรวัยเดก็ น้อยและวัยสูงอายุมาก แสดงถึงประชากรที่
ไม่เพ่ิมขึนหรือมีแนวโน้มลดลง เช่น ประเทศอติ าลี ญ่ปี ่นุ
โครงสรา้ งประชากรไทย
ประเทศไทยก้าลงั จะก้าวเขา้ ส่สู งั คมของผสู้ ูงอายุในอนาคต ผคู้ นจะมีชวี ติ
ยนื ยาวขน้ึ ท้าให้ประชากรไทยมอี ายุเฉลีย่ สูงขนึ้ เรอื่ ยๆ เน่อื งจาก
▪ ผ้หู ญิงไทยในวัยทา้ งานมแี นวโนม้ ที่จะแต่งงานช้าและเป็นโสดมากขึ้น
▪ มีความเปน็ ครอบครวั เด่ยี วมากขน้ึ
ดงั น้ัน การรักษาระดับอตั ราเจรญิ พันธ์ไุ มใ่ ห้ลดต้่าลงไป และการเตรยี มความ
พรอ้ มส่สู งั คมสูงอายเุ ป็นมาตรการสา้ คัญและทา้ ทายส้าหรับสถานการณก์ าร
เปล่ยี นแปลงโครงสร้างประชากรไทย
การเปลยี่ นแปลงของประชากรโลก
อดีต ปฏวิ ตั ิ ปัจจุบนั
อตุ สาหกรรม
เกิดต่า ตายสงู เกดิ สงู ตายตา่
ประชากรลดลงจากโรคระบาด ประชากรเพมิ่ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
(กาฬโรค อหวิ าตกโรค ไขท้ รพษิ ) ทุพภิกขภยั (คลาดแคลนอาหาร) **ส่วนใหญ่จะกระจายอยู่ในประเทศทีก่ ้าลงั พฒั นา
อัตราเกิด : อัตราเกิดของประชากรเป็นปจั จัยส้าคัญของการเพิม่ จ้านวนประชากร สาเหตุปัจจัยที่ทา้ ให้
ประชากรลดลงเกดิ จากสาเหตุทแ่ี ตกต่างกนั
ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ อัตราเกิด มดี ังนี
1. ระดับการศึกษา ถ้าประชากรมีการศึกษาที่ดี มีความรู้เรื่องการวางแผนครอบครัวจะส่งผลให้
อัตราเกิดลดลง
2. ค่านิยมและความเชื่อทางศาสนา ท่ีแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นท่ี บางพ้ืนท่ีนิยมให้มีบุตรมาก หรือ
ความเช่อื บางศาสนาท่หี า้ มไม่ใหค้ มุ กา้ เนิด
3. บรเิ วณทีอ่ ยู่อาศัยและภาวะทางเศรษฐกิจ ประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองมักมีบุตรน้อยกว่าผู้ท่ีอาศัย
อยใู่ นชนบท เน่ืองจากภาวะเศรษฐกจิ และค่าครองชพี ในเมอื งค่อนข้างสงู
แผนทแ่ี สดงอตั ราการเกดิ ของโลก พ.ศ. 2550 แผนที่แสดงอัตราการเกิดของโลก พ.ศ. 2560
เม่ือพิจารณาจากแผนท่ีแล้ว พบว่า พ.ศ.2560 หลายประเทศมีแนวโน้มอัตราเกิดลดลง
โดยเฉพาะกลมุ่ ประเทศทพ่ี ัฒนาแลว้ ซ่ึงสว่ นใหญ่อยใู่ นทวปี ยุโรป และอเมรกิ าเหนือ
อตั ราตาย : ปัจจบุ นั การแพทย์สาธารณสขุ มีความกา้ วหน้ามาก สง่ ผลให้โอกาสรอดชวี ิตของมนษุ ยเ์ พม่ิ
มากข้ึน ประเทศต่างๆจงึ มีอัตราตายท่ลี ดลง โดยเฉพาะประเทศทพี่ ัฒนาแล้ว
ปัจจัยท่สี ง่ ผลต่ออตั ราตาย มีดงั นี
1. ดา้ นสาธารณสุข ประเทศท่ีมีความเจริญทางการแพทย์ รวมถึงมีสวัสดิการทางสังคมท่ีดี มีการดูแล
ผูส้ ูงอายุ ประชากรจะมชี วี ิตยนื ยาว มอี ัตราตายต้า่
2. ด้านการศึกษา ปัจจุบันการให้ความรู้เรื่องการวางแผนครอบครัว การวางแผนการมีบุตร รวมถึง
ความรู้ดา้ นสขุ อนามยั ท้าใหล้ ดอัตราตายของทารกได้มาก
3. ด้านเศรษฐกิจ การเมืองและสิ่งแวดล้อม ประเทศที่มีสงครามหรือมีปัญหาทางเศรษฐกิจ รวมถึง
ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ และการแพร่กระจายของเชื้อโรค ส่งผลให้อัตราตายเพิ่ม
สูงข้ึน
แผนที่แสดงอัตราการตายของโลก พ.ศ. 2550 แผนที่แสดงอัตราการตายของโลก พ.ศ. 2560
เมื่อพิจารณาจากแผนท่ี พบว่า สถานการณ์อัตราตายของโลกและของไทย ในรอบ 10ปี
(พ.ศ. 2550-2560) อัตราตายในประเทศก่าลงั พัฒนาลดลงอยา่ งเห็นได้ชัด
การเปล่ียนแปลงประชากรสูงอายุ
● ผู้สูงอายุเปน็ ประชากรทมี่ อี ายมุ ากกว่า 60 ปขี ้นึ ไป
● สหประชาชาติระบวุ ่าประเทศใดมีประชากรสงู อายุเกินกวา่ ร้อยละ 10 ของจ้านวนประชากรทั้ง
ประเทศ ถือว่าประเทศนั้นก้าวเขา้ สู่การเปน็ สงั คมผู้สูงอายุ
● องค์การ HelpAge International ไดว้ ิเคราะหแ์ นวโน้มของประชากรสูงวยั ทั่วโลก ดงั น้ี
ปี 2558 ปี 2573 ปี 2593
อายุ 60+ อายุ 60+ อายุ 60+
1,402 ลา้ นคน 901 ล้านคน 2,092 ล้านคน
คดิ เปน็ 16.5% คดิ เป็น 12.3% คิดเปน็ 21.5%
ของประชากรท้งั หมด ของประชากรทงั้ หมด ของประชากรทง้ั หมด
ปจั จยั ทที่ าให้เกิดการเปล่ยี นแปลงประชากรสงู อายุ ทีส่ ้าคญั ไดแ้ ก่
การพัฒนาเศรษฐกิจและ ความกา้ วหนา้ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยี และการแพทย์
การพัฒนาประเทศ
▪ ทา้ ให้มกี ารพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ
▪ มีการเพ่ิมสวัสดิการแกป่ ระชากรมากข้ึน ในการรักษาโรคและควบคุมโรคระบาด
▪ มีการพัฒนาในด้านสาธารณสขุ ทา้ ให้ประชากรมีอายุยนื ยาวมากขึน้
▪ การคมนาคมขนสง่ ท้าใหป้ ระชากรมชี ีวิต
ความเปน็ อยทู่ ่ีดขี ้ึน
ประเด็นเก่ยี วกบั การสูงวยั ของประชากร
1 | ความตอ้ งการด้านการดูแลสุขภาพ
2 | ความต้องการด้านการบริการทางสงั คม
3 | ความตอ้ งการเงนิ บา่ นาญ (pension)
4 | ความต้องการด้านโอกาส > ในการท่องเทย่ี ว
โอกาสในท่างาน โอกาสในการทา่ ประโยชนเ์ พอื่ ส่วนรวม
**ประเด็นเหล่านี้ เป็นเรื่องของการบรหิ ารของภาครัฐท่ีจะต้องวางแผน
และเสนอนโบายในดแู ลประชากรสูงวัยในประเทศของตนอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
การยา้ ยถิ่น
ปัจจัยที่สง่ ผลต่อการยา้ ยถ่นิ มหี ลายปัจจยั ดงั นี
▪ ปจั จยั ด้านสภาพแวดล้อม มีสภาพภมู ปิ ระเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสม
มีทรพั ยากรธรรมชาตอิ ุดมสมบรู ณ์ เช่น พืนท่ีราบลุ่ม อากาศอบอุ่น
▪ ปจั จยั ด้านเศรษฐกิจ มกี ารขยายตวั ทางเศรษฐกิจที่ดี มีอาชีพท่ีหลากหลาย
ทงั ด้านเกษตรกรรม อตุ สาหกรรม การคา้ และบริการ
▪ ปัจจัยด้านความปลอดภยั เช่น สงคราม โรคระบาด ภยั ธรรมชาติ
ประเภทของการย้ายถนิ่ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่
1. การยา้ ยถน่ิ แบบสมคั รใจ (voluntary migration)
เป็นการอพยพยา้ ยถนิ่ ของผคู้ นส่วนใหญ่ จากการตอบสนองต่อปจั จัยท่ีมีอิทธพิ ลในการย้ายถิ่นต่างๆ
ผูย้ ้ายถ่ินมคี วามคาดหวงั ว่าจุดมุ่งหมายปลายทางจะมสี ภาพชวี ิตและโอกาสทางเศรษฐกจิ ทด่ี ีกวา่
2. การย้ายถน่ิ โดยถกู บังคบั (forced migration)
การยา้ ยถ่นิ ที่ไมไ่ ด้เปน็ ไปโดยความสมคั รใจของผู้ยา้ ยถิ่น แต่มีสาเหตมุ าจากการถูกบังคบั ขม่ ขู่ หรือ
รสู้ ึกว่าชีวิตหรอื สขุ ภาวะของตนถูกคกุ คาม ซ่งึ หมายถึง ผู้พลัดถ่นิ ผู้ลภี ยั หรอื ทาสแรงงาน รวมถึงเหย่ือของ
การคา้ มนุษย์
สถานการณ์ยา้ ยถ่นิ ของโลก การยา้ ยถ่นิ มี 3 ลักษณะ ดงั นี้
● การย้ายถน่ิ ของประชากรในประเทศ
เป็นการยา้ ยถน่ิ จากชนบทสู่เมอื ง เชน่ การยา้ ยถ่นิ ฐานจากแรงงานในภาคเกษตรกรรมสู่เมอื งเพื่อหางานทา้
● การยา้ ยถ่นิ ของประชากรระหวา่ งประเทศ
เป็นการยา้ ยถน่ิ เพอื่ ตอบสนองตอ่ วัตถปุ ระสงคใ์ นการพัฒนาฐานะทางเศรษฐกจิ ของบุคคลทตี่ อ้ งการจะเปล่ยี นแปลง
วิถีชีวิตและสภาพแวดล้อมของตนเอง เช่น ต้องการมคี ุณภาพชวี ิตที่ดีกวา่ หรืออาจเป็นเพราะสงคราม ภยั พิบัติฯ
● การย้ายถนิ่ ของประชากรระหวา่ งทวีป
เป็นการเคลื่อนยา้ ยของประชากรตา่ งทวปี ระยะทางการยา้ ยถิ่นไกลข้นึ น่นั หมายถึงประเทศจุดหมายปลายทางจะ
ต้องมแี รงดึงดูดทีท่ ้าให้ย้ายถิน่ ไป เช่น การเปดิ เสรดี า้ นการเคลอ่ื นยา้ ยแรงงาน มีการปรับปรงุ สวัสดกิ ารของแรงงาน