The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jp.jongkolnee, 2022-04-25 10:24:38

สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สถานการณ์ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอ้ ม

ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)

หมายถงึ ส่งิ ตา่ งๆทีเ่ กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ และเปน็ สงิ่ ทส่ี ามารถนามาใช้
ให้เกดิ ประโยชน์ต่อการดารงชวี ิตของมนุษย์ ในหลายๆด้าน เชน่ นามาประกอบ
อาหาร ใช้เปน็ เครอื่ งนงุ่ ห่ม ใชเ้ ปน็ ยารักษาโรค หรือนามาดดั แปลงเป็นทอ่ี ยู่อาศัย
เปน็ ตน้

ทรัพยากรธรรมชาติ แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท

ทรพั ยากรธรรมชาติทีใ่ ช้แล้วหมดไป

ทรพั ยากรธรรมชาติท่ใี ชแ้ ลว้ ไมห่ มดไป

ทรัพยากรธรรมชาติทีส่ ามารถสร้าง
ทดแทนขึน้ ใหม่ได้

สิง่ แวดล้อม (Environment)

หมายถึง สงิ่ ตา่ งๆ ทอ่ี ย่รู อบตัวเรา ทง้ั สง่ิ ท่มี ชี ีวิต สิ่งไม่มชี วี ิต เห็นได้ดว้ ยตาเปลา่ และ
ไม่สามารถเห็นไดด้ ว้ ยตาเปลา่

ส่งิ แวดล้อมท่เี กิดข้ึนเองตามธรรมชาติ

สิง่ แวดล้อมทมี่ นุษย์สรา้ งขึ้น

สถานการณ์การเปล่ยี นแปลง
ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม

1. การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ วิกฤตกิ ารณเ์ กยี่ วกับทรัพยากรดิน
2. ความเสอ่ื มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3. การเปลย่ี นแปลงความหลากหลายทางชีวภาพ วกิ ฤตกิ ารณ์เกย่ี วกบั ทรพั ยากรน้า

วกิ ฤตกิ ารณเ์ กีย่ วกบั ทรพั ยากร
และสตั วป์ ่า

วิกฤตกิ ารณ์เก่ียวกบั แรแ่ ละพลังงาน

วกิ ฤตกิ ารณเ์ กี่ยวกับขยะและ
ของเสียอันตราย

1.1 การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ

เปน็ ปรากฎการณท์ ่ีเกดิ ข้ึนอย่างชา้ ๆ และใชเ้ วลานานกว่าจะสังเกตได้ โดยนบั ต้ังแต่
สมัยปฏิวตั ิอตุ สาหกรรมเป็นต้นมา มีการสะสมของแก๊สเรือนกระจกและการเกบ็ กักความ
ร้อนในชั้นบรรยากาศเพมิ่ สูงขึน้ อย่างรวดเร็ว ก่อใหเ้ กดิ ภาวะโลกรอ้ น มีผลทาให้
ภูมอิ ากาศมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งฉบั พลนั

สาเหตขุ องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

สาเหตจุ ากธรรมชาติ สาเหตจุ ากมนุษย์

การเพ่ิมขึน้ ของพลงั งานความ ▪ การใช้พลังงาน ที่มาจากการเผาไหม้ของ
รอ้ นจากดวงอาทติ ย์ ท้าใหฤ้ ดกู าล
และอณุ หภูมขิ องโลกผกผัน เชอ้ื เพลิง เช่น ถา่ นหิน น้ามนั แก๊ส

ธรรมชาติ ก็ใหเ้ กดิ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
▪ การทา้ การเกษตรและปศุสัตว์ ทา้ ใหเ้ กิด

แก๊สมีเทนและไนตรสั ออกไซต์
▪ การใช้สารคลอโรฟลูออโรคารบ์ อน

ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ

ความอุดม ระดบั น้าทะเล ภัยธรรมชาติ
สมบรู ณ์ของดิน เพิม่ สูงข้ึน รนุ แรงขน้ึ

ลดลง ความหลากหลาย
ทางชีวภาพลดลง
ผลผลติ
ทางการเกษร ปริมาณนา้ จืด
ลดลง
ลดลง

อนุสญั ญาสหประชาชาตวิ ่าด้วยการเปลี่ยนแปลง พธิ สี ารเกยี วโต (Kyoto Protocol)
สภาพภูมอิ ากาศ (United Nations Framework
Convention on Climate Change : UNFCCC) กาหนดใหป้ ระเทศสมาชิกตอ้ งลดปรมิ าณการปลอ่ ย
แกส๊ เรอื นกระจกไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 5 ภายใน
กาหนดให้ประเทศทพี่ ฒั นาแลว้ ลดการปล่อยแกส๊ เรือนกระจก พ.ศ.2551-2555 ระยะ 2 คอื พ.ศ.2556-2563
และช่วยเหลอื ประเทศอ่ืนในการลดแกส๊ เรือนกระจก

แนวทางแกไ้ ขการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ

นกั เรียนสามารถมีส่วนร่วมในการลดการปลอ่ ยแก๊สเรือนกระจก
ในบรรยากาศ อย่างไรบา้ ง? (จงยกมา 5 วธิ ี)

1.2 ความเส่ือมโทรมของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม

กลายเปน็ ทะเลทราย วิกฤตการณเ์ กย่ี วกบั
ดนิ เคม็ ทรพั ยากรดิน

น้าท่วมขังผวิ ดิน
การปนเปือ้ นของสารเคมี
การพังทลายของหนา้ ดนิ

สาเหตขุ องวกิ ฤตการณ์ ผลกระทบจากวิกฤตการณ์
เก่ยี วกับทรัพยากรดนิ เกี่ยวกบั ทรพั ยากรดนิ

❑ สาเหตุจากมนุษย์ ประชากรเพ่ิมข้ึน ทาให้มี ❑ ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม การจัดการทด่ี ินไม่เหมาะสม
การขยายที่ดินทากินมากขึ้น มีการบุกรุกถางป่า ทาใหม้ กี ารชะล้างพงั ทลายของหนา้ ดิน เกดิ เป็น
ก่อให้เกิดการพังทลายของหน้าดินอย่างรุนแรง ตะกอนตามแหล่งน้า ส่งผลใหแ้ หลง่ น้าต้นื เขนิ
จนถึงขั้นดินถล่ม หรือการใช้ท่ีดินไม่เหมาะสม รฐั จึงตอ้ งเสยี คา่ ใช้จา่ ยในการขุดลอกคคู ลอง
เช่น ดินเหมาะแก่การเกษตรแต่ไปตั้งโรงงาน
อุตสาหกรรม เป็นตน้ ❑ ด้านเศรษฐกจิ สง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ ผลผลติ
ทางการเกษตร ทาใหเ้ กษตรกรมีรายไดต้ ่าและ
❑ สาเหตจุ ากภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ นา้ ทว่ ม ยากจน
โลกร้อน ภยั แลง้ ไฟป่า แผน่ ดนิ ไหว
❑ ดา้ นสงั คม เกดิ การอพยพเข้ามาในเมือง



แนวทางในการแก้ไขวกิ ฤตการณเ์ กย่ี วกบั ทรัพยากรดนิ

ลดการไถหนา้ ดิน
การเพาะปลูกแบบขนั้ บนั ใด
การทา้ เกษตรแบบอนิ ทรยี ์
การคงความอุดมสมบูรณ์ของดนิ และการปรบั สภาพดิน

1.2 ความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม (ต่อ)

วกิ ฤตการณเ์ กยี่ วกับ การเกดิ อทุ กภัย
ทรพั ยากรน้า การขาดแคลนนา้
การเกดิ มลพิษทางน้า

ประเทศไทยมที รพั ยากรน้าอุดมสมบูรณ์ แตใ่ นบางพ้นื ทีห่ รอื ในบางช่วงยังคงประสบ
ปญั หาดา้ นปริมาณของน้าและคุณภาพของน้า เช่น การเวลาก็ขาดแคลนน้าในฤดูแลง้
ปัญหานา้ ทว่ มในฤดูฝน ปัญหามลพษิ ทางนา้ และการรุกลา้ ของน้าเค็ม ล้วนสง่ ผลกระทบ

ตอ่ การดารงชวี ติ ของประชาชน รวมถงึ ระบบนเิ วศแหล่งน้า

สาเหตุของวิกฤตการณ์ สาเหตจุ ากธรรมชาติ สาเหตุจากมนษุ ย์
เก่ยี วกับทรพั ยากรนา้

การเกิดอุทกภัย ▪ ฝนตกหนกั เนือ่ งจากพายุ ▪ การตดั ไม้ทา้ ลายปา่
การขาดแคลนน้า ▪ น้าทะเลหนุน ไม่สามารถระบายน้าได้ ▪ การก่อสร้างขวางการไหลของน้า
การเกดิ มลพิษทางนา้
▪ ฝนตกน้อย/ฝนทิง้ ชว่ ง ▪ การทา้ ลายปา่ ต้นน้า
▪ ขาดการวางแผนการใชน้ า้
- ▪ ท่ีเหมาะสม

▪ การทิง้ ขยะ/ระบายน้าเสีย
ลงในแหลง่ นา้
▪ การใชส้ ารเคมีทางการเกษตร

ผลกระทบจากวิกฤตการณเ์ กยี่ วกบั ทรพั ยากรน้า

ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ▪ ระดบั น้าตามธรรมชาตติ ้นื เขนิ ระดบั น้าใต้ดนิ เปลย่ี นแปลง
ดา้ นเศรษฐกจิ
ด้านสงั คม ▪ การขาดแคลนน้าท้าให้ผลผลิตทางการเกษตรและอุตสาหกรรม
ด้านสุขภาพ ลดลง สง่ ผลต่อเศรษฐกจิ โดยรวมของประเทศ

▪ เกิดการละท้ิงถนิ่ ฐาน การอพยพเข้าสูเ่ มอื งใหญ่

▪ ปญั หานา้ เนา่ เสียสง่ กลิ่นเหมน็ เป็นแหล่งเกดิ เชื้อโรค เช่น
อหวิ าตกโรค โรคทางเดินอาหาร



แนวทางในการแกไ้ ขวกิ ฤตการณเ์ กยี่ วกบั ทรัพยากรน้า
การจัดหาแหล่งน้าและการกักเกบ็ น้า

การจดั ระบบจ่ายน้า
การพฒั นาเทคโนโลยมี าชว่ ยในการจดั การน้า

1.2 ความเสื่อมโทรมของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม (ตอ่ )

วิกฤตการณ์เกีย่ วกบั การสูญเสยี พ้นื ทีป่ ่าไมเ้ ป็นการท้าลาย
ทรัพยากรป่าไมแ้ ละสัตว์ป่า แหลง่ ทอี่ ยู่อาศัยและอาหารของสัตว์ป่า

การลกั ลอบค้าสตั วป์ ่า

ในอดีตโลกมีพ้นื ท่ีปา่ ไม้อย่ปู ระมาณรอ้ ยละ 40 ของพื้นทีท่ ัง้ หมด แต่ในปัจจุบันพน้ื ทีป่ า่ ไมล้ ดลงเหลือเพยี ง
รอ้ ยละ 20 ของพื้นทีท่ ั้งหมด และไดม้ กี ารคาดการณว์ ่าในอีก 30 – 50 ปีข้างหนา้ ป่าไม้ในเขตร้อนจะหมดไป พนื้ ที่
การทาปศุสตั ว์ในทวีปแอฟริกาและภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ตกเฉยี งใต้จะหลายเป็นทะเลทราย ประชากรจะขาดแคลนไม้
ในการทาฟืน

สาเหตุของวิกฤตการณ์เกีย่ วกบั ผลกระทบจากวกิ ฤตการณเ์ กี่ยวกับ
ทรพั ยากรป่าไมแ้ ละสตั ว์ป่า ทรพั ยากรปา่ ไมแ้ ละสัตวป์ า่

❑ การบุกรุกพ้นื ท่ีป่าไม้เพอ่ื เข้าครอบครองที่ดนิ ❑ การสญู เสียพันธุพ์ ชื และสตั ว์

❑ การจัดสร้างสาธารณูปโภคของรัฐ เช่น เข่ือน ❑ เกิดภาวะโลกรอ้ น เนือ่ งจากป่าไมเ้ ป็น
อ่างเก็บนา้ เสน้ ทางคมนาคม เป็นตน้
แหลง่ ดูดซับกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซตจ์ าก
❑ ไฟไหม้ปา่ บรรยากาศ หากถูกทาลายกจ็ ะยิ่งสง่ ผลให้
อณุ หภูมขิ องโลกสงู ขนึ้
❑ การท้าลายถิ่นทอ่ี ย่อู าศัยของสตั ว์ปา่
การทาลายป่าเพือ่ ใชพ้ ้ืนทใี่ นป่า/การลา่ สัตวป์ ่า





แนวทางในการแก้ไขวกิ ฤตการณ์เกย่ี วกบั ทรัพยากรปา่ ไม้และสัตว์ป่า

การปอ้ งกันการตดั ไม้ การบุกรุกป่า
การปลกู ปา่ และฟ้ืนฟูปา่ ไม้
การเพาะพนั ธสุ์ ตั วป์ า่
การก้าหนดพนื้ ทีป่ ่าเพือ่ การอนรุ กั ษ์

1.2 ความเสอ่ื มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม (ต่อ)

วิกฤตการณเ์ กยี่ วกบั ความตอ้ งการพลังงานเพิม่ สงู ขึน้
ทรัพยากรแร่และพลังงาน

การขาดแคลนทรพั ยากรพลังงาน โดยเฉพาะน้ามนั ทถี่ ือเป็นพลังงานหลกั ท่ใี ชก้ นั ทวั่ โลก มปี ริมาณสารอง

ท่ีถูกพสิ จู น์แล้วของนา้ มนั โลก มที ั้งหมด 1,687.9 พันลา้ นบาร์เรล ใน พ.ศ. 2556 ซ่ึงคาดว่าจะมเี หลอื ให้ใช้ใน
อตั ราการผลิตปจั จุบนั ได้อีกประมาณ 46 ปี ในขณะท่แี ก๊สธรรมชาติมีปริมาณสารองเหลือ 185.7 ล้านล้าน
ลูกบาศกเ์ มตร คาดวา่ จะมีเหลอื ให้ใชใ้ นอตั ราการผลิตปัจจบุ ันได้อีกประมาณ 58 ปี

สาเหตุของวิกฤตการณเ์ กีย่ วกับ ผลกระทบจากวกิ ฤตการณ์เกยี่ วกบั
ทรพั ยากรแร่และพลังงาน ทรพั ยากรแรแ่ ละพลงั งาน

❑ ปญั หาการใชพ้ ลังงานอยา่ งฟุม่ เฟือย ❑ การเกิดมลพษิ ทางอากาศ

❑ ปัญหาการผลิตพลังงานที่ส่งผลกระทบต่อ ❑ แก๊สคาร์บอนไดออกไซต์ในบรรยากาศ
ส่ิงแวดลอ้ ม เพ่ิมขน้ึ

❑ การขาดแคลนพลงั งานในอนาคต



แนวทางในการแก้ไขวกิ ฤตการณเ์ กยี่ วกบั ทรพั ยากรแรแ่ ละพลงั งาน

การพฒั นาพลงั งานทดแทนทสี่ ามารถหมุนเวยี นได้
เนื่องจากไม่กอ่ ให้เกดิ ปัญหามลพษิ ไดแ้ ก่

พลังงานน้า พลังงานลม

พลงั งานแสงอาทติ ย์ พลงั งานนา้

พลังงานความรอ้ นใต้พภิ พ พลังงานคลื่น













1.2 ความเส่ือมโทรมของทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม (ตอ่ )

วิกฤตการณเ์ ก่ียวกับ การขยายตัวของประชากร และการ
ขยะและของเสยี อันตราย ขยายตัวทางเศรษฐกจิ ส่งผลให้ปริมาณ
ขยะและของเสยี อนั ตรายเพิ่มมากข้ึน

ประชากรท่ีอาศยั อยูใ่ นเขตเมืองท่วั โลก ประมาณ 220 ลา้ นคน ก่อใหเ้ กิดขยะประมาณ 300,000 ตนั ตอ่ วนั
สบิ ปผี า่ นไป ประชากรทอี่ าศยั อยใู่ นเขตเมอื งมีจานวนเพ่มิ มากขึ้นเปน็ 2.9 พันล้านคน ทาใหเ้ กดิ ปริมาณขยะ
เพมิ่ ข้นึ เปน็ 3 ลา้ นตันต่อวัน และมกี ารคาดการณ์วา่ ภายใน พ.ศ. 2568 ปริมาณขยะน้จี ะเพ่ิมขึ้นเป็น 2 เทา่









สาเหตุของวกิ ฤตการณ์เก่ยี วกับ ผลกระทบจากวิกฤตการณเ์ กีย่ วกับ
ขยะและของเสยี อนั ตราย ขยะและของเสยี อันตราย

❑ การเพิม่ ข้ึนของประชากรโลก ❑ มีสารพษิ ปนเปื้อนสูส่ ิง่ แวดลอ้ ม

❑ การเก็บและการท้าลาย หรือน้าขยะไปใช้ ❑ เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุเชอื้ โรค
ประโยชน์อย่างไม่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้
ขยะตกค้าง กองหมักหมม เป็นมลพิษกับ ❑ ท้าให้แหล่งน้าเน่าเสยี
ส่ิงแวดล้อม
❑ ท้าใหเ้ กิดความเสยี หายต่อทรัพยส์ ิน
และสงั คม

แนวทางในการแกไ้ ขวิกฤตการณ์เกย่ี วกบั ขยะและของเสียอันตราย

คดั แยกประเภทของขยะและของเสยี อันตราย
ขยะมารไี ซเคิล
ใชเ้ ทคโนโลยที เ่ี หมาะสม

เลือกซื้อ เลือกใชส้ นิ ค้าที่เป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม

การคัดแยกขยะมูลฝอย

การจดั การขยะมูลฝอย จาเปน็ ต้องมกี ารคัดแยกประเภทต่าง ๆ เพ่อื นากลับไปใช้ประโยชนใ์ หม่ และงา่ ยตอ่ การกาจัด ดังน้ี

ขยะอันตราย/ขยะพษิ ขยะท่ัวไป ขยะรไี ซเคลิ ขยะย่อยสลายได้
- ถ่านไฟฉาย - ถงุ พลาสตกิ - ขวดแก้ว - เศษอาหาร
- หลอดไฟ - ซองขนมขบเคยี้ ว - กระดาษ - เศษผกั ผลไม้
- แบตเตอรี่ - กลอ้ งโฟม - กระปอ๋ งเคร่อื งดื่ม - ใบไม้



สถานการณ์การเปล่ียนแปลงความหลากหลายทางชีวภาพ

ปจั จบุ นั โลกกาลังสูญเสียสตั ว์และพืชปา่ เขตรอ้ นอยา่ งน้อย 27,000 ชนดิ ต่อปี หรือส่ิงมีชวี ิต
สูญพนั ธไ์ุ ปจากโลกนป้ี ระมาณ 3 – 4 สปีชสี ต์ อ่ ช่วั โมง เพราะเขตภมู ิอากาศเขตรอ้ นเป็นเขตทอ่ี ุดม
สมบูรณ์ มคี วามหลากหลายทางชีวภาพมาก

สาเหตุหลกั มาจากการสูญเสียที่อยู่อาศยั ตามธรรมชาติ เนอื่ งจากการขยายตวั ของ
ประชากรโลกและกจิ กรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ นอกจากในป่าเขตรอ้ นแล้วความหลากหลายทาง
ชวี ภาพในระบบนิเวศอน่ื ๆ กก็ าลงั ลดลงเช่นกนั เชน่ ในแนวปะการัง พนื้ ท่ชี มุ่ น้าบนเกาะหรือบนภเู ขา

ปจั จยั ท่ีทา้ ให้เกิดการเปล่ยี นแปลงความหลากหลายทางชวี ภาพ

การเพ่ิมจ้านวนประชากร และการกระจายตวั ของประชากร
การเปล่ียนแปลงทางสภาพภูมอิ ากาศของโลก
การเกดิ มลพษิ ต่อสิ่งแวดล้อม
ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีชวี ภาพ

แผนทแี่ สดงการสญู เสียทางชีวภาพความหลากหลาย

พื้นที่ที่มีการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ส่วนใหญ่เกิดข้ึนในพื้นท่ีที่มีการคัดไม้ทาลายป่าเป็นจานวนมาก
โดยเฉพาะประเทศอินโดนเี ซยี ส่งผลให้เกดิ การสญู เสียความหลากหลายทางชวี ภาพ เช่น การลดจานวนลงของช้างสุมาตรา แรด
สมุ าตรา ในประเทศอินเดียสัตว์ เช่น เสือโคร่งเบงกอล สิงโตอินเดีย นอกจากนี้ ยังมีการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพยัง
เกิดข้ึนมากในประเทศออสเตรเลีย จนี สหรัฐอเมรกิ า บราซิล และทวปี ยโุ รป


Click to View FlipBook Version