The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ด้านการปฏิบัติงานของนางสาวชฎาพร วันทอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Weerayut Tuk Youyong, 2022-05-11 12:27:40

ด้านการปฏิบัติงาน

ด้านการปฏิบัติงานของนางสาวชฎาพร วันทอง

1 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน

ดานการปฏิบัติงาน

๑. การจัดการเรยี นการสอน

๑.๑ การนำผลการวเิ คราะหหลกั สตู ร มาตรฐานการเรยี นรู และตวั ชี้วดั หรือผลการเรียนรู มาใชในการ
จัดทำรายวิชาและออกแบบหนวยการเรียนรู
ขาพเจา นำผลการวเิ คราะหหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู และตัวชวี้ ัดหรอื ผลการเรียนรู มาใชใ นการจดั ทำ
รายวิชาและออกแบบหนวยการเรียนรู ดังน้ี

๑. วเิ คราะหม าตรฐานและสาระการเรยี นรตู ามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑
กลุมสาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ในระดับชว งชนั้ ที่สอน

๒. วเิ คราะหหลักสูตรของสถานศึกษาเพื่อนำมาจัดทำคำอธิบายรายวิชา โครงสรางรายวชิ า และหนวย
การเรยี นรู

๓. ศึกษาโครงสรางเวลาเรียนของกลุมสาระการเรยี นรู คำอธิบายรายวิชา มาตรฐานการเรียนรตู ัวช้วี ัด
เพือ่ นำมาจดั ทำหนว ยการเรยี นรูใหครอบคลุมทุกมาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชวี้ ัด

๔. จัดทำแผนการจดั การเรียนรูโ ดยเนนผเู รียนเปนสำคญั
๕. จดั กิจกรรมการเรยี นรแู ละบนั ทึกหลงั การสอน

หลกั ฐานรองรอย

2

ภาพประกอบท่ี 1 แผนการจัดการเรยี นรู

ดา นการปฏบิ ตั งิ าน

ภาพประกอบที่ 2 บันทกึ หลังการสอน

๑.๒ การออกแบบการจดั การเรยี นรูโดยเนน ผเู รียนเปน สำคญั เพ่ือใหผูเรยี นมีความรู ทักษะ คณุ ลักษณะ
ประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค และสมรรถนะทีส่ ำคัญตามหลักสตู ร
ขาพเจาไดศึกษามาตรฐานการเรยี นรูและตวั ชี้วัด เพ่อื เตรยี มการสอนใหครอบคลมุ เนื้อหา และเพ่ือใหเกดิ ผล
สมั ฤทธท์ิ างการเรยี น โดยไดจัดทำแผนการจดั การเรยี นรแู บบมุงเนนสมรรถนะและครอบคลุมเนือ้ หาทกุ หนว ย
การเรียนรู มกี ารออกแบบกจิ กรรมการเรียนรูอยางหลากหลาย ผา นรปู แบบการสอนทเ่ี นนผเู รยี นเปน สำคญั
สง ผลใหผูเรียนไดร บั การพฒั นาตามเปา หมายของหลกั สตู ร มกี ารสง เสรมิ สนบั สนนุ เปดโอกาสใหผ ูเ รียนมสี วน
รว มในการกำหนดกจิ กรรมและการประเมิน เชน กระบวนการทำงานเปน กลุม การศึกษาคน ควาอยา งอิสระ
โดยมคี รเู ปนผแู นะนำ การจดั การเรยี นการสอนโดยใชเ กม หรอื ใชเ ทคนิคการสอนเปน แบบ Brain Base
Learning การใชสมองเปน ฐาน หรอื การแสดงบทบาทสมมติ เปน ตน
หลักฐานรอ งรอย

3 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
ภาพประกอบที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู
ภาพประกอบที่ 4 การจัดการเรียนการสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ

4 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน

ภาพประกอบที่ 5 กระบวนการทำงานเปนกลมุ
๑.๓ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู อำนวยความสะดวกในการเรยี นรู และสง เสริมการเรียนรู ดวยวธิ กี ารท่ี
หลากหลายโดยเนนผูเรียนเปนสำคัญ
ขา พเจา ศกึ ษารูปแบบ เทคนิค วิธกี ารจัดการเรียนรทู ห่ี ลากหลาย แลวจดั กจิ กรรมการเรียนรูรปู แบบตาง ๆ โดย
ยดึ ผเู รียนเปนสำคัญ คอยอำนวยความสะดวกในการเรียนรู สง เสริมการเรยี นรตู ามธรรมชาติของผเู รียนแตละ
บุคคล ครอบคลมุ สาระการเรียนรู คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค และสมรรถนะสำคัญของผูเรยี น
หลักฐานรองรอย

5 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
ภาพประกอบท่ี 6 การจดั การเรียนการสอนโดยใชเกม
ภาพประกอบท่ี 7 การนำเทคโนโลยเี ขา มาสนับสนุนการเรยี นรูของผูเรยี น

6 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
๑.๔ การเลือกและใชส ่ือ เทคโนโลยแี ละแหลง เรยี นรูที่สอดคลองกับกจิ กรรมการเรียนรู
ขา พเจาเลือกใชส ื่อการเรยี นรูท่ผี ูเ รยี นสามารถเขาถงึ ไดงา ย ไมซ ับซอ น และสอดคลองกับจดุ ประสงคการเรียนรู
โดยคำนึงถงึ ความสนใจและวัยของผเู รียน สง ผลใหบรรยากาศการจดั การเรยี นการสอนเปน ไปอยา งสนกุ สนาน
เปนหองเรยี นที่มีชีวิต
หลักฐานรองรอย

ภาพประกอบท่ี 8 ออกแบบสือ่ การเรยี นการสอนท่ีผูเ รยี นเขา ถึงไดง า ย
๑.๕ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูดว ยวธิ ีการท่หี ลากหลาย เหมาะสม และสอดคลอ งกับตัวช้ีวัดและ
จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
ขา พเจาไดท ำการวัดและประเมินผลการเรียนรคู วบคูไปกับการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน อาทิ การประเมนิ
จากกระบวนการทำงานของผูเรยี น การประเมินจากชน้ิ งาน รวมทัง้ เม่อื ทำการสอนจบในแตล ะแผนฯ ขา พเจา
ไดจดบันทึกหลังการสอนถึงผลการเรยี นรูท่ีเกดิ ขึน้ แลวมาวิเคราะหถึงสาเหตุของปญหาดังกลา ว พรอมกบั หา
แนวทางการแกไ ขตอไป
หลักฐานรอ งรอย

7 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
ภาพประกอบท่ี 9 ประเมนิ ผลผเู รียนจากกระบวนการทำงาน

ภาพประกอบที่ 10 ประเมนิ ผลจากช้นิ งานของผูเ รียน

8 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
๑.๖ คณุ ภาพผเู รียน ไดแ ก ๑) ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผเู รยี น ๒) คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคข องผูเ รยี น
ขาพเจา ไดจ ดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนและกจิ กรรมพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความสามารถ เกดิ ทักษะ
สมรรถนะสำคัญ และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคตามหลักสูตรแกนกลางฯ และหลักสูตรสถานศึกษา
หลกั ฐานรอ งรอย

ภาพประกอบท่ี 11 แสดงจำนวนนักเรยี นทีไ่ ดผลการเรียนในรายวชิ า อ33224 ของนักเรียนช้ัน
มัธยมศกึ ษาปท ่ี 6/2

ภาพประกอบท่ี 12 แสดงจำนวนนักเรยี นท่ไี ดผ ลการเรยี นในรายวิชา อ33224 ของนกั เรยี นชนั้
มธั ยมศึกษาปท่ี 6/3

9 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
ภาพประกอบท่ี 13 แสดงจำนวนนกั เรียนทไ่ี ดผลการเรียนในรายวชิ า อ33224 ของนกั เรยี นช้นั

มัธยมศกึ ษาปท ี่ 6/4
ภาพประกอบท่ี 14 แสดงจำนวนนกั เรยี นทไี่ ดผ ลการเรยี นในรายวิชา อ33224 ของนกั เรียนชัน้

มัธยมศกึ ษาปท่ี 6/5

10

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคร ายวิชา อ33224 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
40

30

20

10

0 ม.6/3 ม.6/4 ม.6/5
ม.6/2 321

ภาพประกอบท่ี 15 แสดงจำนวนนกั เรียนทมี่ ีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคใ นรายวิชา อ33224

11 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน

๒. การบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี น

๒.๑ การจัดบรรยากาศทสี่ ง เสรมิ การเรยี นรู กระบวนการคดิ ทกั ษะชวี ติ และพฒั นาผูเรยี น
ขาพเจา จดั บรรยากาศทส่ี งเสริมการเรยี นรู กระบวนการคิด ผานการทำใหห องเรยี นเปน ทเ่ี ปด กวา ง

ทางความคิด ทกุ คนสามารถคิดตา งไดพรอ มมีเหตุผลรองรับ เปนที่ปลอดภยั สำหรับผเู รียน ปราศจากการ
คุกคามท้งั ทางรา งกาย วาจา และจติ ใจ มคี วามเอ้ืออาทรใหซง่ึ กันและกัน โดยสรปุ เปน ขอไดดงั นี้

๑. ผสู อนกับผูเรยี นมกี ารตกลงระเบียบรว มกนั ท่ีจะใชใ นการเรยี นการสอนตลอดภาคเรยี น
๒. ใชห ลกั ความเสมอภาค เทาเทียมท่ผี เู รียนจะไดรับการปฏบิ ัติท่เี หมอื นกันทกุ คน
๓. มกี ารปลกู ฝงคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคผา นกิจกรรมการเรยี นการสอน เชน การไมท ิง้ ขยะใตโ ตะ
การตรงตอเวลา
๔. ดแู ลเอาใจใสผเู รียนเปนรายบคุ คล และชว ยเหลือผทู ีม่ ีอุปสรรคในการเรียน
หลกั ฐานรองรอย

ภาพประกอบที่ 16 จัดบรรยากาศในช้นั เรยี นท่ีสง เสรมิ การเรียนรูของผเู รียน

12 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
ภาพประกอบที่ 17 สภาพหองเรียน
ภาพประกอบท่ี 18 การตกลงระเบียบรวมกนั ท่ีจะใชใ นการเรยี นการสอนตลอดภาคเรยี น

13 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
ภาพประกอบที่ 19 บรรยากาศช้ันเรยี น

14 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
๒.๒ การดำเนนิ การตามระบบดแู ลชวยเหลือผเู รยี น โดยมกี ารศกึ ษาและรวบรวมขอ มูลผูเรียนรายบคุ คล
เพื่อแกป ญ หาและพัฒนาผเู รียน

ขาพเจา ไดด ำเนินการตามระบบดูแลชว ยเหลือผเู รียนผานการเกบ็ ขอมลู และศึกษาผูเ รยี นเปน
รายบคุ คล การทำความรจู กั ผูเรยี นของตนเองทั้งหองทปี่ รกึ ษาและหองทร่ี บั ผิดชอบสอน มีการคัดกรองผเู รยี นท่ี
ไดร ับเงินอดุ หนนุ นกั เรยี นยากจนเพ่อื โอกาสทางการศึกษาที่เทา เทยี ม มีการวิเคราะหผเู รยี นเปน รายบคุ คลเพ่ือ
จะไดร ูจักและวางแนวทางในการพฒั นาผูเ รยี นตอไป
หลักฐานรองรอย

ภาพประกอบท่ี 20 มอบเงนิ ผูเรียนไดร ับเงินทนุ เรียนเสมอภาค

15 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
๒.๓ การอบรมบมนสิ ยั ใหผเู รยี นมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลกั ษณะอันพึงประสงค และคานิยมทดี่ ีงาม
ขาพเจา ใหค วามสำคัญกับการปลูกฝงคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคกบั ผูเรียนนอกเหนือไปจากการจัดการเรยี น
การสอนแลว เพราะการมลี ักษณะนิสัยท่ีดีติดตวั ไปยอมมีความสำคัญเทียบเทากับความรูที่ดดี ว ย เพราะหากมี
ความรดู ีแลว แตความประพฤตไิ มดี ยอ มไมม ีประโยชนอ ีกทั้งยังอาจจะเปน โทษตอสงั คมโดยรวม ดงั นั้นขา พเจา
จึงมงุ เนน ทจ่ี ะใหผเู รียนประพฤติปฏบิ ตั ติ ามประเพณีท่ีดีงาม อาทิ การใหน ักเรยี นเรียนรเู รื่องประเพณีอนั ดงี าม
เชน การไหวท ีถ่ ูกตอง การใหความเคารพผใู หญ เปนตน เรอื่ งการเรยี น ควรมีความรบั ผดิ ชอบตอหนาทข่ี อง
ตนเอง การมีวนิ ยั ในตนเอง การเปน ประชาธปิ ไตย เรื่องสทิ ธขิ องตน อาทิ นกั เรียนแสดงความคดิ เหน็ การตัดสิน
ปญหาดว ยการออกเสยี งตองยอมรับมติของเสียงขางมาก

หลักฐานรอ งรอย

ภาพประกอบที่ 21 ใชเวลาชว งโมงโฮมรูม สอนหนา ทพ่ี ลเมอื งพบผูเ รยี นเพื่ออบรมบมนสิ ยั

16 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
ภาพประกอบท่ี 22 เขาใจ เรยี นรู การเปน ประชาธิปไตย

17 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน

๓. การพฒั นาตนเอง

๓.๑ การพฒั นาตนเองเพ่อื ใหม คี วามรู ความสามารถ ทักษะ ดวยวิธกี ารตา ง ๆ อยางเหมาะสม
ขาพเจา ไดม ีการพฒั นาตนเองเพอ่ื ใหม ีความรู ความสามารถ ในดา นวชิ าเอกและวิชาชพี ผานการเขา รว มการ
อบรม การประชมุ เชิงปฏิบัตกิ าร ทัง้ ที่จดั ภายในโรงเรยี น หนวยงานภายนอก และทางออนไลนอยางสม่ำเสมอ
หลักฐานรองรอย

ภาพประกอบที่ 23 เขา รวมกจิ กรรมประกวดแผนการสอน Active lerning

ภาพประกอบที่ 24 เขารว มอบรมเชิงปฏิบตั ิการ สรา งชุมชนแหงการเรยี นรู PLC

18 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
๓.๒ การมีสว นรว มในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ
ขา พเจามสี วนรวมในการประชมุ ของกลุม สาระการเรยี นรูเ พ่อื แลกเปลยี่ นขอคิดเหน็ ในการแกไ ขปญหาของ
ผเู รยี นรวมกับเพื่อนรว มวิชาชีพ
หลกั ฐานรอ งรอย

ภาพประกอบท่ี 25 การประชุมการจดั กจิ กรรมวนั Christmas

ภาพประกอบที่ 26 การประชุม PLC ภายในกลุมสาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ

19

๔. การทำงานเปนทีม ดา นการปฏบิ ตั งิ าน

๔.๑ หลกั การทำงานเปน ทีม
ขาพเจา มีหลักการทำงานเปนทมี ดังน้ี
๑. สรา งความสามัคคใี นการทำงานรว มกนั
๒. ประชุมงานรวมกนั เพ่ือสรา งความเขา ใจท่ีตรงกนั ในการทำงาน
๓. วางแผนการทำงานรว มกัน จัดลำดบั ความสำคัญในการทำงาน
๔. กำหนดเปาหมาย และจดุ ประสงคในการทำงานรว มกนั
๕. รว มกันแกปญ หาอุปสรรคตา ง ๆ ท่ีเกดิ ขน้ึ ในการทำงาน
๖. ประชุมสรปุ ผลการทำงานรวมกนั หลังงานสำเร็จ

หลักฐานรองรอย

ภาพประกอบที่ 27 จดั กจิ กรรมการประชุมบูรณาการเพ่อื แนวทางแกไ ขปญหา

20 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
ภาพประกอบท่ี 28 ประชุมบูรณาการกำหนดเปาหมาย และจดุ ประสงคใ นการคัดเลือกผลงาน

ภาพประกอบท่ี 29 ประชุมการวางแผนการทำวารสารของโรงเรยี น

21 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
๔.๒ การพัฒนาทีมงาน

การใชและสรา งเครอื ขายทางวิชาการ ขาพเจาไดเ ขารว มกจิ กรรมที่องคก รวิชาชพี ทง้ั ภายในและ
ภายนอกองคกรจดั ข้ึนเพือ่ แลกเปลี่ยนเรยี นรกู ับบคุ คลในแวดวงวชิ าชพี ครู และแลกเปลีย่ นความรแู ละรว มกัน
พัฒนาส่ือการเรียนรู ตลอดจนสรา งเครอื ขายทางวชิ าการในรปู แบบชอ งทางตา ง ๆ
หลักฐานรองรอย

ภาพประกอบที่ 30 การพัฒนาทีมงาน (การประชมุ กลุมครสู ายช้ัน ม.3 กบั รายวชิ าบูรณาการ)

ภาพประกอบที่ 31 การพฒั นาทีมงาน (การทำฐานวิชาบรู ณาการเพือ่ แลกเปล่ยี นเรยี นรู
กับครวู ิชาภาษาจีน)

22 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน

๕. งานกิจกรรมตามภารกิจบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา

มคี วามรูความเขา ใจภาระงานของสถานศึกษาเกีย่ วกับงานบริหารทว่ั ไป หรืองานบรหิ ารวชิ าการ หรอื งาน
กจิ การนักเรยี น หรอื งานบริหารงบประมาณ หรืองานบรหิ ารทรัพยากรบุคคล และมีสว นรวมปฏบิ ตั ิงานท่ี
ไดร ับมอบหมายไดอ ยา งเหมาะสม

ขาพเจามีความรบั ผดิ ชอบและกระตอื รือรน ตอการทำงานที่ไดรับมอบหมายจากฝายบริหารโรงเรยี น
เปนอยางดี เพ่ือใหเ กิดประโยชนตอทางราชการ
หลกั ฐานรอ งรอย

ภาพประกอบที่ 32 ปฏิบัติหนาทจ่ี ดบนั ทกึ ตามนเิ ทศของฝา ยวิชาการ

23 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
ภาพประกอบที่ 33 ปฏิบตั ิหนา ทธี่ รุ การของฝายกจิ การ
ภาพประกอบที่ 34 ปฏบิ ัตหิ นา ท่ีฝายงบประมาณ ออกใบเสร็จใหรานคา

24 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
ภาพประกอบที่ 35 ปฏิบัตหิ นา ทีอ่ ยเู วรยามรักษาความปลอดภัยในตอนกลางวัน

25 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน

๖. การใชภาษาและเทคโนโลยี

สามารถใชภ าษาและเทคโนโลยใี นการปฏบิ ตั งิ านตามหนาทแ่ี ละความรับผิดชอบ
ขาพเจาเปน ผูทีใ่ ชภ าษาในการส่ือสารที่ชัดเจน เขียนสะกดดว ยคำที่ถูกตอ ง เพื่อเปนแบบอยางใหกับ

ผเู รียน และมกี ารนำเทคโนโลยใี นยุคปจจบุ นั มาใชพัฒนากระบวนการเรียนการสอนใหม ีประสทิ ธิผลเพิม่ มากขน้ึ
เชน การทำวีดโิ อเนอื้ หาใน YouTube ใหผ ูเรยี นไดศึกษานอกเวลา การนำโปรแกรมเกมเพอ่ื การศึกษาออนไลน
เขามาจัดกิจกรรมการเรยี นรู เพอื่ ใหการสอนบรรลจุ ดุ ประสงคและผเู รียนเกดิ ความรูสึกสนุกไปกบั การเรียน มี
เจตคติทีด่ ีกบั วชิ าที่สอน
หลกั ฐานรอ งรอย

ภาพประกอบท่ี 36 การนำโปรแกรม Mentimeter ออนไลนเขา มาใชใ นการจดั การเรียนการสอนเพ่อื ให
นักเรยี นแสดงความคดิ เหน็ ไดอยางอสิ ระ

26 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน

ภาพประกอบที่ 37 การนำโปรแกรมเกม Kahoot เขา มาใชในการจัดการเรียนการสอน
เพ่ือสะทอนความรูหลงั เรยี น

ภาพประกอบที่ 38 การนำโปรแกรม Youtube เขา มาใชในการจัดการเรียนการสอน
เพ่อื เปน เคร่อื งมือชวยในการจัดการเรียนการสอน

27 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน

ภาพประกอบที่ 39 การนำโปรแกรม Power point เขา มาใชใ นการจดั การเรยี นการสอน
เพ่อื เปน เคร่อื งมือชวยในการจดั การเรยี นการสอน และแทรกเสียงจาก Native speaker เพือ่ ใหน กั เรยี นได

ฟง การออกเสียงคำศัพทที่ถกู ตอง

28 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน

ภาพประกอบท่ี 40 การนำโปรแกรม QR code เขา มาใชใ นการจัดการเรียนการสอน
เพอ่ื เปน เครื่องมือชวยในการจดั การเรียนการสอนเพอื่ วดั ความรหู ลังเรยี น และนำเสนอบน

โปรเจค็ เตอรไ ดเ พอ่ื ใหเกดิ ผลสะทอ นกลับ

29 ดา นการปฏบิ ตั งิ าน
ภาพประกอบท่ี 41 การใช Form ในการตอบคำถามเขา รวมกจิ กรรมตามเทศกาลสำคัญเพื่อรบั เกยี รติ

บัตรและไดร ับความรูเกี่ยวกับคำศัพท และเรียนรวู ฒั นธรรมตา งประเทศ


Click to View FlipBook Version