การใสอ่ ปุ กรณ์พยงุ หลัง ท่านั่ง นั่งพิงพนักเก้าอี้ให้เบาะรองนั่งซับก้นและต้นขาไดห้ มด คำแนะนำสำหรับผปู้ ว่ ยผา่ ตดั
❖ เส้ือพยุงสว่ นลำตวั หลังตรงไม่แอ่น หรือโค้งจนเกินไป หลีกเลี่ยงการนั่งกับพื้น กระดกู สันหลงั ส่วนอก สว่ นเอว
นัง่ พบั เพียบน่งั ยอง ๆ นงั่ ขดั สมาธิ และการใส่อุปกรณพ์ ยุง
❖ เสอื้ พยงุ ส่วนเอว
วิธกี ารใสแ่ ละถอดเครื่องพยุงหลัง ท่ายืนและเดิน ต้องหลังตรงอกผายไหล่ผึ่งสายตามองระดับ
สายตาสวมรองเท้าท่ีสบายส้นสงู ไม่เกิน 1 นวิ้ ไมเ่ ดินไหลห่ อ่ หลัง
ก่อนใส่ควรสวมเสื้อผ้าให้เรียบร้อย ขณะใส่ควรนอน ค่อมพุงย่นื
ใส่ก่อนลุก นั่ง ยืน เดินทุกครั้ง อาจมีญาติช่วยในกรณีที่ผู้ป่วย
ยงั ไมช่ ำนาญดงั ภาพ เรียงลำดบั จากซ้ายไปขวา
ท่าทางท่ีถูกตอ้ งในการปฏบิ ัตกิ จิ วตั รประจำวัน การยกของ ขณะยกสิ่งของจากพื้นค่อยๆย่อเข่าลงอย่าก้มตัว จดั ทำโดย
ทา่ นอน สามารถนอนหงายหรอื นอนตะแคงได้ ไม่ควรนอนคว่ำ
เพราะทำให้หลังแอน่ อาจทำให้อุปกรณ์ทีด่ ามกระดูกเคลื่อนตัว ยกสิ่งของให้สิ่งของอยู่ชิดกับล่าตัวมากที่สุดยืนขึ้นโดยใช้กำลัง หอผปู้ ่วยชั้น 22B (ออรโ์ ธปดิ กิ สช์ าย)
ไปกดเส้นประสาทหรือกล้ามเนื้อบริเวณรอบๆ ทำให้มีอาการ ขาและเข่ายนื ขึน้ ไม่ก้มหยบิ ของจากพนื้ ในท่าตรงทำใหป้ วดหลงั โรงพยาบาลราชวถิ ี
ปวด ชา อ่อนแรงได้ ดงั รปู กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ข้อควรระวงั !! โทร 022062900 ตอ่ 12231-2
ท่าลุกจากเตียง ก่อนลุกจากเตียงควรนอนตะแคงใช้แขนดัน
ตัวขึ้น ไม่ควรลุกในขณะที่นอนหงายเพราะจะทำให้กล้ามเนื้อ - ไมย่ กลากแบกของหนักเกนิ 4 กโิ ลกรมั อยา่ งนอ้ ย 4 สปั ดาห์
หลงั มีการเกร็งตัว ทำให้ปวดได้ ไมค่ วรบดิ หรอื เอ้ยี วตัวแรงๆ 6-8 สปั ดาหห์ ลงั การผา่ ตัด
ทา่ ขับรถ ใหห้ ลงั พงิ พนกั เข่างอเหนอื ระดับสะโพกเลก็ น้อย - ไม่เอื้อมหยบิ ของบนทีส่ งู อยา่ งน้อย 4 สปั ดาห์หลงั การผ่าตัด
- ไม่เลน่ กีฬาที่ต้องปะทะเชน่ ฟตุ บอลบาสเกตบอล และไม่ควร
บิดหรือเอีย้ วตวั แรงๆอยา่ งน้อย 6-8 สัปดาห์หลังการผา่ ตัด
- ไม่ขับหรือซ้อนท้ายมอเตอร์ไซค์หรือขับรถทางไกลอย่างน้อย
6-8 สัปดาห์หลังการผ่าตดั เพราะอาจทำให้กล้ามเนื้อล้าเกนิ ไปไ
- ไม่ควรนั่งนานเกิน 45 นาทภี ายใน 3 สปั ดาหห์ ลังการผ่าตดั
- ไมข่ นึ้ บันไดเกิน 2 คร้ังต่อวันภายใน 3 สัปดาห์หลงั การผา่ ตดั
- ควรใช้ส้วมชกั โครกหรือเกา้ อเี้ จาะรูในการขับถา่ ย
การปฏิบัตติ วั หลงั ผา่ ตดั การออกกำลังกายของผูป้ ว่ ยหลงั ผา่ ตัด 6) ออกกำลังกล้ามเนอ้ื หลังโดยนอนหงายชนั เขา่ ทัง้ สองข้าง
กระดูกสนั หลงั สว่ นอก สว่ นเอว เม่อื กลบั บา้ น กรเพะอ่ืดเพูกมิ่ สคนัวาหมแลขังง็ แรงของกลา้ มเน้อื แขนแนบลำตัวเร่มิ เกร็งกล้ามเนอื้ หน้าทอ้ งกดหลังกับพ้นื
เตียงเกรง็ ไวน้ าน 5 วินาทีแลว้ พักทา่ ติดตอ่ นาน 10 ครั้ง
การดูแลแผล ในกรณที ีย่ ังไม่ตัดไหมควรดูแลไม่ใหแ้ ผลถกู นำ้ และลดภาวะแทรกซ้อนทอี่ าจเกิดขนึ้
ไม่แกะเกาแผล ทำความสะอาดแผลท่ีสถานพยาบาลใกล้บา้ น ดังนี้` 7) นอนหงายชนั เขา่ ทงั้ สองข้างงอสะโพกและข้อเขา่ แขน
2-3 วันครั้ง ครบตัดไหม 10-14 วัน ส่วนกรณีที่ตัดไหมแลว้ แนบลำตัวแล้วจงึ ยกศีรษะและลำตัวส่วนบนช่วงอกเกรง็
หลังตัดไหม3วนั อาบน้ำไดแ้ ละซับให้แหง้ 1) การหายใจอย่างมีประสิทธิภาพเพือ่ ชว่ ยให้ปอดแข็งแรง กล้ามเน้ือหน้าทอ้ งคา้ งไวเ้ ปน็ เวลา 5 วินาทตี ิดต่อกนั นาน 10
โดยหายใจเข้าลกึ ๆหายใจออกชา้ ๆคอ่ ยๆปลอ่ ยลมหายใจ ครั้ง
การรับประทานยา ควรรับประทานยาตามที่แพทย์สั่ง ออกทางปาก 8) นอนหงายชนั เข่าทั้งสองขา้ งใช้มือจบั เขา่ งอเขา่ จรดอก
ต่อเนื่อง ไม่ควรซื้อยารับประทานเองหากยาหมดหรือมี 2) ออกกำลงั กายขอ้ เทา้ ทง้ั สองขา้ งโดยกระดกข้อเท้าขนึ้ -ลง ทำเทา่ ท่สี ามารถทนไดแ้ ล้วปล่อยทำสลับทีละข้างข้างละ
อ า ก า ร ผ ิ ด ป ก ต ิ ค ว ร ร ี บ ไ ป พ บ แ พ ท ย ์ ก ่ อ น น ั ด ไ ด ้ ท ั น ที และหมนุ ข้อเทา้ เปน็ วงกลมใหท้ ำครงั้ ละประมาณ 5 – 10 ประมาณ 10 ครง้ั
นาทีเพื่อปอ้ งกันขอ้ ติดแข็งได้
การออกกำลังกายเหล่านี้ควรทำอย่างสม่ำเสมอตามความ
การรับประทานอาหาร ควรรบั ประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ 3) พลกิ ตะแคงตัวแบบทอ่ นซงุ ได้ทุก 2 ช่วั โมง ทนทานของผู้ป่วยแต่ละรายเมื่อลุกนั่งยืนและเดินได้ควรใส่
เนอื้ สัตว์ นม ไข่ ผกั ผลไม้ และไม่ขดั ตอ่ โรคประจำตวั 4) ออกกำลงั กล้ามเนือ้ ต้นขาโดยการเกร็งข้อเท้าข้ึนและกด อุปกรณ์พยุงหลังก่อนทุกครั้ง เพื่อให้เกิดความแข็งแรงและ
เขา่ ลงบนทน่ี อนใหไ้ ด้มากที่สุดพรอ้ มขน้ึ นับ 1 – 10 จึงปล่อย มัน่ คงของกระดกู และกล้ามเนอ้ื บรเิ วณผ่าตดั ปอ้ งกันอันตราย
การมเี พศสมั พนั ธ์ สามารถมเี พศสมั พันธ์ในทา่ ทีเ่ หมาะสม กล้ามเนือ้ คลายตัว ท่อี าจเกดิ ขน้ึ ได้ เชน่ หกล้ม
ไดต้ ามปกติ หลงั ผ่าตดั อย่างนอ้ ย 6 สัปดาห์
5) ออกกำลังกายแขนทง้ั สองขา้ งโดยยกหมอนทรายข้นึ – ลง การเฝ้าระวังอุบัติเหตุ หลังผ่าตัดกล้ามเนื้อและเส้นประสาท
การมาตรวจตามนัดและอาการผิดปกติ ควรมาตรวจตามท่ี สลบั กนั ทัง้ 2 ขา้ ง ยังมีการฟื้นฟูสภาพ อาจมีอาการปวด ชา อ่อนแรงได้ ญาติ
แพทย์นัดและสังเกตอาการผิดปกติของแผลเช่น บวม แดง จึงควรดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายหรือ
รอ้ น มหี นอง มไี ขส้ ูง หรือแขน-ขา ออ่ นแรงมากขน้ึ ปวดมาก อบุ ัตเิ หตเุ กดิ ขึ้นกับผ้ปู ่วยได้
ขึ้น หรือได้รับอุบัติเหตุโดยตรงที่หลัง รีบมาพบแพทย์ก่อน
นัดได้