The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อาคม ประหยัด, 2019-09-05 04:13:23

สุขศึกษา ม.4

สุขศึกษา ม.4

หนังสอื เรย� น รายวช� าพน� ฐาน

สุขศึกษา ม. 4

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 4
กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ผเู รียบเรยี ง
แพทยห ญิงยศวดี รวมเจริญ พบ.

ผตู รวจ
ดร.ประกติ หงษแสนยาธรรม
กศ.บ., กศ.ม., ปร.ด.
ดร.สุเพียร โภคทพิ ย
พย.บ., วท.ม., ปร.ด.
ปรศิ นา อุนสกุล คบ., คม.

บรรณาธิการ
พัชราภรณ ใจมพี ร กศ.บ., บธ.ม.
ปท มา จนั ทรข าํ ศศ.บ.

หนังสอื เรย� น รายวช� าพน� ฐาน

สุขศึกษา ม. 4

ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 4
กลุ่มสาระการเรียนร้สู ขุ ศึกษาและพลศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

ผู้เรียบเรยี ง
แพทย์หญงิ ยศวด ี รว่ มเจริญ
ผู้ตรวจ
ดร.ประกติ หงษแ์ สนยาธรรม
ดร.สเุ พียร โภคทิพย ์
ปริศนา อุนสกุล
บรรณาธกิ าร
พชั ราภรณ์ ใจมีพร
ปทั มา จนั ทรข์ ำ

ISBN 978-616-8047-03-3

บรษิ ัท กรพฒั นายงิ่ จํากดั
เลขที่ 23/34–35 ช้นั 3 หอง 3B
ถนนตรีมิตร แขวงตลาดนอย เขตสัมพนั ธวงศ
กรุงเทพฯ 10100

คํานาํ

หนงั สอื เรียน รายวิชาพนื้ ฐาน สขุ ศึกษา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 เล่มน้จี ดั ทำ ขึ้นตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สำ หรบั นกั เรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
โดยมีเป้าหมายให้นักเรียนและครูใช้เป็นส่ือในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดที่กำ หนดไว้ในหลักสูตร และสาระการเรียนรู้แกนกลาง พัฒนา
นักเรียนให้มีสมรรถนะสำ คัญตามที่ต้องการท้ังในด้านการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้
ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ทำ ประโยชนใ์ หส้ งั คม เพอ่ื ใหส้ ามารถอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ในสงั คมไทยและสงั คมโลกไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ
ในการจัดทำ หนงั สือเรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน สุขศกึ ษา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4 คณะผู้จดั ทำ
ซ่ึงเปน็ ผ้เู ชยี่ วชาญในสาขาวชิ าและการพัฒนาส่ือการเรียนร ู้ ได้ศึกษาหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา
ข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 อย่างลึกซึง้ ทงั้ ด้านวสิ ัยทศั น์ หลักการ จดุ หมาย สมรรถนะสำ คญั
ของผูเ้ รยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค ์ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู ้ ตวั ชี้วดั ของสาระการเรียนรู้
แกนกลาง แนวทางการจัดการเรียนรู้ แล้วจึงนำ องค์ความรู้ท่ีได้มาออกแบบหน่วยการเรียนรู้
แตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรปู้ ระกอบดว้ ยมาตรฐานการเรยี นร ู้ ตวั ชว้ี ดั ชว่ งชนั้ สาระการเรยี นร ู้ ประโยชน์
จากการเรยี น และคำ ถามชวนคดิ (คำ ถามนำ สกู่ ารเรยี นร)ู้ เนอ้ื หาสาระแตล่ ะเรอ่ื งแตล่ ะหวั ขอ้ นานา นา่ ร้ ู
กจิ กรรมเรยี นรู.้ ..สูป่ ฏิบตั ิ (กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น) แหล่งสืบคน้ ความร ู้ บทสรปุ หน่วยการเรียนร้ ู
กิจกรรมเสนอแนะ โครงงาน การประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำ วัน และคำ ถามประจำ หนว่ ยการเรียนรู ้
นอกจากนท้ี า้ ยเลม่ ยงั มภี าคผนวก บรรณานกุ รม และคำ อภธิ านศพั ท ์ ซง่ึ องคป์ ระกอบของหนงั สอื เรยี น
เหล่านี้จะช่วยส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรอู้ ยา่ งครบถว้ นตามหลกั สตู ร
การเสนอเนื้อหาและออกแบบกิจกรรมในหนังสือเรียนเล่มน้ี ได้จัดทำ ขึ้นโดยยึดแนวคิด
การจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำ คัญ โดยคำ นึงถึงศักยภาพของนักเรียน เน้นการเรียนรู้
แบบองค์รวมบนพ้ืนฐานของการบูรณาการแนวคิดทฤษฎีทางการเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย
เชน่ การเรยี นรโู้ ดยใชส้ มองเปน็ ฐาน พหปุ ญั ญา การใชค้ ำ ถามแบบหมวกความคดิ 6 ใบ การเรยี นรู้
แบบประสบการณ์และที่เน้นการปฏิบัติ การเรียนรู้แบบโครงงาน เป็นต้น จัดการเรียนรู้แบบ
บูรณาการ เน้นให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง มุ่งพัฒนาการคิด และพัฒนาการเรียนรู้
ท่สี อดคล้องกับพัฒนาการทางสมองและพัฒนาการทางรา่ งกายของนักเรียน อันจะช่วยให้นักเรียน
เกดิ การเรียนรอู้ ยา่ งสมบรู ณ์และสามารถนำ ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจำ วนั ได้
หวังเป็นอยา่ งยิง่ ว่า หนงั สอื เรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน สุขศกึ ษา ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ ี 4 เล่มน้ี
จะช่วยสนับสนุนให้นักเรียนได้พัฒนาความรู้ด้านทักษะกระบวนการทางสุขศึกษาได้เป็นอย่างดี
และสนบั สนนุ การปฏริ ปู การเรยี นรตู้ ามเจตนารมณข์ องพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาต ิ พ.ศ. 2542
และแก้ไขเพิ่ม (ฉบบั ท ่ี 2) พ.ศ. 2545

คณะผ้จู ดั ทำ

คําช�้แจง

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 เล่มนี้ได้ออกแบบหน่วย
การเรยี นรใู้ หแ้ ตล่ ะหน่วยการเรยี นรู้ประกอบดว้ ย
1. มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายท่ีต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนเม่ือจบการศึกษา
ในหนว่ ยการเรียนรู้นัน้ ๆ หรอื เมือ่ จบการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
2. ตัวชี้วัดช่วงช้ัน เป็นเป้าหมายในการพัฒนานักเรียนให้ได้รับและปฏิบัติได้ในหน่วย
การเรยี นรู้ ซึ่งสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นร ู้ มรี หัสของมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชว้ี ัดชว่ งชน้ั
กำ กับไว้หลงั ตวั ชีว้ ดั ชั้นป  เช่น พ 1.1 ม. 4–6/1 (รหัสแตล่ ะตวั มีความหมายดังน ้ี พ คือ กลมุ่
สาระการเรยี นรู้ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.1 คอื สาระท ่ี 1 มาตรฐานการเรียนร้ขู ้อท ี่ 1 ม. 4–6/1
คือ ตวั ชวี้ ัดชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 4–6 ขอ้ ท่ี 1)
3. สาระการเรยี นรู้ เป็นการนำ เสนอขอบข่ายเน้อื หาทีน่ กั เรยี นจะไดเ้ รียนรูใ้ นระดับชน้ั นัน้ ๆ
4. ประโยชนจ์ ากการเรยี น นำ เสนอไว้เพ่อื กระตนุ้ ใหน้ กั เรียนนำ ความร ู้ ทกั ษะจากการเรียน
ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำ วัน
5. คำถามชวนคิด (คำถามนำสู่การเรียนรู้) เป็นคำ ถามหรือสถานการณ์เพ่ือกระตุ้นให้
นกั เรยี นเกิดความสงสยั และสนใจทจ่ี ะคน้ หาคำ ตอบ
6. เนอ้ื หา เปน็ เนอ้ื หาทต่ี รงตามสาระ มาตรฐานการเรยี นร ู้ ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป  และสาระการเรยี นรู้
แกนกลาง โดยแบง่ เนอ้ื หาเปน็ ช่วง ๆ แล้วแทรกกิจกรรมพฒั นาการเรียนร้ทู ่ีพอเหมาะกับการเรียน
รวมทัง้ มีการนำ เสนอดว้ ยภาพ ตาราง แผนภูม ิ และแผนท่คี วามคดิ เพื่อเป็นสอ่ื ให้นกั เรยี นสร้าง
ความคดิ รวบยอดและเกิดความเข้าใจทีค่ งทน
7. นานา น่ารู้ (ความรูเ้ สรมิ หรือเกร็ดความร)ู้ เป็นความรู้เพือ่ เพิม่ พูนใหน้ กั เรยี นมีความรู้
กวา้ งขวางข้นึ โดยคดั สรรเฉพาะเร่ืองทีน่ กั เรียนควรรู้

8. กจิ กรรมเรียนรู.้ ..สู่ปฏิบัติ (กิจกรรมพฒั นาการเรยี นรู้) เปน็ กิจกรรมทก่ี ำ หนดไว้เม่ือจบ
เนื้อหาแต่ละตอนหรือแต่ละหัวขอ้ เปน็ กจิ กรรมท่หี ลากหลาย ใช้แนวคดิ ทฤษฎตี ่าง ๆ ท่ีสอดคลอ้ ง
กบั เน้ือหา เหมาะสมกบั วัย และพฒั นาการด้านตา่ ง ๆ ของนกั เรียน สะดวกในการปฏบิ ัติ กระตนุ้
ใหน้ ักเรยี นได้คดิ และส่งเสรมิ ใหศ้ กึ ษาคน้ ควา้ เพ่มิ เตมิ มีคำ ถามเป็นการตรวจสอบผลการเรยี นรู้
ของนักเรียน ได้ออกแบบกิจกรรมไว้อย่างหลากหลาย และมีมากเพียงพอที่จะพัฒนาให้นักเรียน
เกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมายของหลักสูตร โดยครูผู้สอน/นักเรียนสามารถนำ กิจกรรมดังกล่าวมา
ใชปฏิบัตใิ นชวงกิจกรรมลดเวลาเรยี นเพมิ่ เวลารไู ด

9. แหลง่ สบื คน้ ความรู้ เปน็ แหลง่ การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ตามความเหมาะสม เชน่ เวบ็ ไซต ์ หนงั สอื
สถานที่ หรือบคุ คล เพ่อื ใหน้ กั เรยี นศึกษาค้นควา้ เพ่มิ เติมใหส้ อดคล้องกับเร่อื งทเี่ รยี น
10. บทสรุป ได้จัดทำ บทสรปุ เป็นผังมโนทัศน์ (concept map) เพ่อื ให้นกั เรียนได้ใช้เปน็ บท
สรปุ ทบทวนความร้ ู โดยวธิ กี ารจนิ ตภาพจากผังมโนทัศนท์ ่ไี ด้สรปุ เนอ้ื หาที่ไดจ้ ัดทำ ไว้
11. กจิ กรรมเสนอแนะ เปน็ กจิ กรรมบรู ณาการทกั ษะทรี่ วมหลกั การและความคดิ รวบยอดใน
เรอื่ งต่าง ๆ ท่ีนักเรียนไดเ้ รียนร้ไู ปแลว้ มาประยุกต์ใชใ้ นการปฏบิ ัติกิจกรรม
12. โครงงาน เปน็ ขอ้ เสนอแนะในการกำ หนดใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั โิ ครงงาน โดยเสนอแนะหวั ขอ้
โครงงานและแนวทางการปฏบิ ตั โิ ครงงานทสี่ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ชว่ งชน้ั ของ
หน่วยการเรียนรนู้ ้นั เพือ่ พฒั นาทักษะการคิด การวางแผน และการแก้ปัญหาของนกั เรยี น
13. การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั เปน็ กจิ กรรมทเี่ สนอแนะใหน้ กั เรยี นไดน้ ำ ความร ู้ ทกั ษะ
ในการประยุกตค์ วามรูใ้ นหน่วยการเรียนรนู้ ้ันไปใชใ้ นชวี ติ ประจำ วนั
14. คำถามประจำหน่วยการเรียนรู้ เป็นคำ ถามท่ีต้องการให้นักเรียนได้สะท้อนความคิดใน
เนื้อหาที่ได้ศกึ ษา โดยเนน้ การนำ หลกั การตง้ั คำ ถามสะทอ้ นคิด (RCA) มาจดั เรยี งเปน็ คำ ถามตาม
เนอ้ื หาทน่ี ักเรียนได้เรยี นรู้
15. ภาคผนวก เป็นความรเู้ สรมิ ประกอบการศึกษาค้นควา้ สำ หรับนักเรียน
16. บรรณานกุ รม เปน็ รายชื่อหนงั สือ เอกสาร หรือเว็บไซต์ท่ใี ชค้ น้ คว้าอ้างอิงประกอบการ
เรยี บเรยี งเน้อื หาความรู้
17. คำอภิธานศพั ท์ เปน็ การนำ คำ สำ คัญท่แี ทรกอยูต่ ามเน้อื หามาอธิบายให้ความหมาย และ
จดั เรยี งตามลำ ดบั ตัวอักษร เพือ่ ความสะดวกในการค้นควา้

สารบัญ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรยี นร้ตู ัวเรา................................................. 1–35
• มาตรฐานการเรียนรู้ ....................................................................1
• ตัวชีว้ ัดชว่ งช้นั ...........................................................................1
• สาระการเรยี นรู้ ..........................................................................1
• ประโยชน์จากการเรียน ................................................................1
• คำถามชวนคิด ...........................................................................1
1. ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย.................................................... 2–25
1.1 องคป์ ระกอบของร่างกาย ............................................................ 2
1.2 ระบบห่อหุ้มรา่ งกาย ................................................................... 3
1.3 ระบบกระดูก ............................................................................ 9
1.4 ระบบกล้ามเนือ้ ....................................................................... 19
2. การวางแผนดแู ลสุขภาพตนเอง.......................................... 25–31
2.1 ความหมายและความสำ คญั ของการวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง .... 25
2.2 การวางแผนดแู ลสุขภาพตนเอง ................................................. 26
2.3 ปัจจัยท่มี ผี ลต่อการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของวยั รุน่ ............. 26
• บทสรุปหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ........................................................32
• กจิ กรรมเสนอแนะ ....................................................................34
• โครงงาน................................................................................34
• การประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน ...................................................35
• คำถามประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 1.................................................35
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 ชวี ิตและครอบครวั ....................................... 36–56
• มาตรฐานการเรียนรู้ ..................................................................36
• ตวั ชี้วดั ชว่ งช้ัน .........................................................................36
• สาระการเรยี นรู้ ........................................................................36
• ประโยชนจ์ ากการเรียน ..............................................................36
• คำถามชวนคิด .........................................................................36
1. อทิ ธิพลที่สง่ ผลตอ่ พฤติกรรมทางเพศของวยั รุ่น....................... 36–40
1.1 ความหมายและความสำ คัญของวยั ร่นุ กบั พฤตกิ รรมทางเพศ ........ 36
1.2 ปัจจยั ทีม่ ีอิทธิพลต่อพฤตกิ รรมทางเพศและการดำ เนินชีวติ .......... 36
2. การป้องกัน ลดความขัดแย้ง และแก้ปัญหาเรื่องเพศ

และครอบครัว ............................................................... 41–49
2.1 ทกั ษะการสรา้ งเสรมิ สัมพนั ธภาพ ............................................... 41
2.2 ทักษะในการป้องกนั และแกไ้ ขสถานการณเ์ สีย่ ง
ต่อการมีเพศสัมพนั ธใ์ นวัยร่นุ ................................................... 45
3. ความขัดแยง้ ในวัยร่นุ ...................................................... 49–53
3.1 ความหมายและประเภทของความขัดแยง้ ................................... 50

3.2 สาเหตุของความขดั แยง้ ระหว่างนกั เรียนหรือเยาวชนในชุมชน ........ 50
3.3 ผลกระทบท่เี กดิ จากความขัดแย้ง .............................................. 51
3.4 แนวทางในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาความขัดแย้ง .................... 52
• บทสรุปหนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 ........................................................54
• กิจกรรมเสนอแนะ ....................................................................55
• โครงงาน................................................................................55
• การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวนั ...................................................56
• คำถามประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 2.................................................56
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 ใส่ใจสุขภาพ .............................................. 57–92
• มาตรฐานการเรียนรู้ ..................................................................57
• ตัวช้ีวดั ชว่ งชน้ั .........................................................................57
• สาระการเรียนรู้ ........................................................................57
• ประโยชน์จากการเรียน ..............................................................57
• คำถามชวนคิด .........................................................................57

1. การสร้างเสริมสขุ ภาพและการป้องกนั โรคในชุมชน .................. 58–64
1.1 ความหมายของชมุ ชน การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ
และการป้องกันโรค ................................................................. 58
1.2 ความสำ คัญของการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ
และการปอ้ งกันโรคในชมุ ชน ..................................................... 58
1.3 โรคทีเ่ ปน็ ปัญหาในชมุ ชนและหลกั การป้องกนั โรค ........................ 60
1.4 แนวร่วมของคนในชมุ ชนเพ่อื สรา้ งเสรมิ สุขภาพ
และการปอ้ งกนั โรค ................................................................. 62
1.5 ตวั อย่างโครงการสร้างเสรมิ สขุ ภาพและการปอ้ งกันโรค
ที่สามารถนำ ไปปรบั ใช้ในชมุ ชนของตนเอง .................................. 62

2. สอื่ โฆษณากบั การบรโิ ภค.................................................. 64–68
2.1 ความหมายและประเภทของสื่อโฆษณา ...................................... 64
2.2 อทิ ธพิ ลของส่ือโฆษณาตอ่ ผบู้ รโิ ภค ............................................ 65
2.3 หลกั การพจิ ารณาสื่อโฆษณาเพื่อการเลือกบริโภค
อย่างฉลาดและปลอดภยั ......................................................... 66
2.4 การวิเคราะห์และประเมนิ สอ่ื โฆษณา
เพอื่ การเลอื กบริโภคอย่างฉลาดและปลอดภัย ............................. 67
3. โรคไมต่ ิดต่อท่เี ป็นปญั หาสขุ ภาพของคนไทย.......................... 68–78
3.1 ความหมายและความสำ คญั ของโรคไม่ตดิ ต่อ ............................. 68
3.2 ตวั อย่างโรคไม่ตดิ ตอ่ ทีส่ ำ คญั ................................................... 69
4. การวางแผนพฒั นาสุขภาพของตนเองและครอบครวั ................ 79–88
4.1 ความหมายและความสำ คัญของสุขภาพ และการวางแผน
พฒั นาสขุ ภาพของตนเองและครอบครวั ..................................... 79
4.2 การประเมินภาวะสขุ ภาพของตนเองและครอบครัว ...................... 79
4.3 การประเมินพฤติกรรมเสีย่ งตอ่ สขุ ภาพของตนเองและครอบครัว ... 81
4.4 การจดั ทำ แผนพฒั นาสขุ ภาพของตนเองและครอบครัว ................ 84

• บทสรปุ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 ........................................................89
• กจิ กรรมเสนอแนะ ....................................................................91
• โครงงาน................................................................................91
• การประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั ...................................................92
• คำถามประจำหน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3.................................................92
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ชวี ิตปลอดภยั ........................................... 93–138
• มาตรฐานการเรียนรู้ ..................................................................93
• ตวั ชี้วัดช่วงช้ัน .........................................................................93
• สาระการเรยี นรู้ ........................................................................93
• ประโยชน์จากการเรยี น ..............................................................93
• คำถามชวนคดิ .........................................................................93
1. สวัสดภิ าพกบั การดำรงชีวติ .............................................. 94–108
1.1 ความหมายและความสำ คัญของสวัสดภิ าพกบั การดำ รงชวี ิต ......... 94
1.2 การใชย้ าอยา่ งปลอดภยั ........................................................... 94
1.3 ภัยจากสารเสพตดิ ................................................................... 99
1.4 ปญั หาความรนุ แรงในเด็ก.......................................................106
2. ความปลอดภัยในการเดินทาง .........................................109–119
2.1 ความหมายและความสำ คัญของความปลอดภยั ในการเดนิ ทาง ....109
2.2 สาเหตขุ องการเกิดอุบตั ิเหตจุ ากการเดินทาง ..............................109
2.3 ความปลอดภัยจากอบุ ตั ิเหตุการจราจรทางบก ...........................110
2.4 ความปลอดภยั จากอุบตั เิ หตุการจราจรทางน้ำ ...........................116
2.5 ความปลอดภยั จากอบุ ัติเหตกุ ารโดยสารเครื่องบนิ .....................117
2.6 ตัวอย่างการวางแผนและกำ หนดแนวทางลดอุบตั ิเหตุ
จากการเดินทาง ....................................................................118
3. กระบวนการทางประชาสงั คมกับความปลอดภัยในชมุ ชน ........120–122
3.1 ความหมายและความสำ คัญของกระบวนการทางประชาสงั คม .....120
3.2 องคป์ ระกอบของกระบวนการทางประชาสงั คม .........................120
3.3 กระบวนการทางประชาสังคมกบั การสรา้ งเสริม
ความปลอดภัยในชมุ ชน .........................................................121

4. การชว่ ยฟนื้ คืนชีพ.......................................................122–134
4.1 ความหมายและความสำ คัญของการชว่ ยฟืน้ คืนชพี ....................122
4.2 การประเมินสถานการณก์ ารบาดเจ็บ ........................................123
4.3 หลกั การช่วยฟ้ืนคนื ชีพผูบ้ าดเจ็บในสถานการณฉ์ กุ เฉนิ ..............124
• บทสรุปหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ......................................................135
• กิจกรรมเสนอแนะ ..................................................................137
• โครงงาน..............................................................................137
• การประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั .................................................138
• คำถามประจำหนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4...............................................138
ภาคผนวก ................................................................................139
บรรณานกุ รม.............................................................................143
คำอภธิ านศพั ท์...........................................................................145

1หนว ยการเร�ยนรูท ี่

เรย� นรตู ัวเรา

มาตรฐานการเร�ยนรู

พ. 1.1 เขา ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย

ตัวช�ว้ ัดชวงชนั�

1. อธบิ ายกระบวนการสรางเสรมิ และดำรงประสิทธภิ าพการทำงานของระบบอวัยวะตา ง ๆ
(พ 1.1 ม. 4–6/1)

2. วางแผนดูแลสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโตและพัฒนาการของตนเองและบุคคล
ในครอบครวั (พ 1.1 ม. 4–6/2)

สาระการเรย� นรู

1. ระบบตาง ๆ ของรา งกาย
2. การวางแผนดูแลสขุ ภาพตนเอง

ประโยชนจากการเรยี น คาถามชวนคิด

รูและเขาใจกระบวนการสรางเสริมและดำรง • การที่ผิวหนังรับความรูสึกไดสงผลดีตอเรา
ประสทิ ธภิ าพการทำงานของระบบหอ หมุ รา งกาย อยา งไร
ระบบกระดกู และระบบกลา มเนอ้ื อกี ทงั้ สามารถ
วางแผนดแู ลสขุ ภาพของตนเองไดอ ยา งเหมาะสม • ถา รา งกายของคนเราไมม กี ระดกู จะเกดิ อะไร
และสมำ่ เสมอ ข้นึ

รา งกายของเราประกอบไปดวยระบบตา ง ๆ หลายระบบทีท่ ำงานสัมพันธกัน การทีเ่ ราจะมี
สขุ ภาพทดี่ ไี ดน นั้ ตอ งมกี ารดแู ลรกั ษาระบบตา ง ๆ ของรา งกายใหท ำงานไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพดว ย
การวางแผนดแู ลสุขภาพตนเองในดานโภชนาการ การออกกำลังกาย การพกั ผอ น การสรางเสรมิ
ความตา นทานโรค การปองกนั อบุ ัตเิ หตุ การจดั การกับอารมณแ ละความเครียด การสรา งทกั ษะ
ชีวิต การสรา งเสรมิ สติปญญา และการเรยี นรู

2 หนังสือเรยี น รายวชิ าพื้นฐาน สุขศึกษา ม. 4 1. ระบบตาง ๆ ของรา งกาย
+
แมร ะบบจะทำหนา ทท่ี ี่แตกตางกนั ออกไป แต
(เซลล) กจ็ ะทำงานประสานสอดคลอ งกนั และหากระบบใด
(เน้อื เย่ือ) ระบบหนงึ่ ทำงานผดิ ปกตหิ รอื มคี วามผดิ ปกตเิ กดิ ขน้ึ
(อวยั วะ) กจ็ ะสงผลกระทบตอระบบอน่ื ๆ ทำใหร า งกายเกดิ
ความผิดปกติหรือเกิดโรคภัยไขเจ็บตาง ๆ ข้ึนได
(ระบบอวัยวะ) ดงั นน้ั นกั เรยี นจงึ ควรเรยี นรแู ละทำความเขา ใจเกย่ี วกบั
โครงสรา งหนา ท่ี และการสรา งเสรมิ และดำรงประสทิ ธ-ิ
(รางกาย) ภาพระบบตาง ๆ ของรางกายใหสามารถทำงานได
แผนภาพแสดงการจดั ลำดบั กลมุ เซลล ตามปกติ เพ่ือจะไดนำไปปฏิบัติอยางถูกตองและ
เหมาะสมชว ยสง เสรมิ การทำงานของระบบตา ง ๆ ใน
ทปี่ ระกอบเปน ระบบรางกาย รางกายใหด ำเนนิ ไปอยา งปกติ

1.1 องคป ระกอบของรา งกาย

องคประกอบของรางกายจะเริ่มจากหนวยที่
เล็กทีส่ ดุ เรียกวา เซลล (cell) เซลลหลาย ๆ เซลล
จะรวมกลมุ กนั เปน เนอื้ เยอื่ (tissue) เพอ่ื ทำหนา ที่
เฉพาะอยาง เนื้อเย่ือหลาย ๆ ชนิดจะรวมกันเปน
อวัยวะ (organ) เพ่ือทำหนาที่อยางใดอยางหนึ่ง
อวยั วะหลาย ๆ อวยั วะทท่ี ำหนา ทปี่ ระสานกนั จะรวม
กลุมกันเปนระบบ (system) ระบบทุกระบบจะ
ประกอบกันเปนรูปรางตัวตนและทำงานประสานกัน
เปนรา งกาย

อวัยวะท่ีทำงานประสานกันเพ่ือทำหนาที่อยาง
ใดอยางหนง่ึ ในรา งกายเรยี กวา ระบบอวยั วะ ไดแ ก
ระบบห‹อหŒุมร‹างกาย ระบบกระดูก ระบบกลาŒ มเนื้อ
ระบบไหลเวยี นโลหติ ระบบหายใจ ระบบยอ ยอาหาร
ระบบขบั ถา ยปส สาวะ ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ
และระบบตอมไรทอ ซ่ึงในหนวยการเรียนรูน้ีจะได
ศกึ ษาในเรอื่ ง ระบบหอ หมุ รา งกาย ระบบกระดกู และ
ระบบกลามเน้อื

หนังสือเรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน สุขศึกษา ม. 4 3

กิจกรรมเรยี นร.ู ..สูปฎิบติ

• เพอ่ื ความเขาใจท่คี งทนใหนกั เรียนปฏบิ ัติกิจกรรมตอ ไปนี้
1. เขยี นแผนผังสรปุ ความเขา ใจเร่ือง องคประกอบของรางกาย
2. ศึกษาคนควาความรูเพิ่มเติมเร่ือง องคประกอบของรางกายมนุษย จากส่ือการเรียนรูในหองสมุด
โรงเรียนหรือจากสื่ออินเทอรเ นต็ แลว จัดทําเปน รายงาน

1.2 ระบบหอหมุ รา งกาย

ระบบหอ หุมรางกาย (the integumentary system) ประกอบดว ยผวิ หนัง เลบ็ ขน และผม
โดยแตละอวยั วะมีโครงสรางและความสำคัญ ดังนี้
1.2.1 องคประกอบของระบบห‹อหŒมุ รา‹ งกาย
1. ผวิ หนงั
ผิวหนัง (skin) เปน อวยั วะท่ีมีพนื้ ท่ีมากทสี่ ดุ ของรา งกาย ใชเ ลอื ดหลอ เลี้ยงในปรมิ าณ
1/3 ของเลือดในรางกาย หากมีสุขภาพดีจะมีผิวพรรณเปลงปล่ัง สวยงาม หากมีสุขภาพท่ีไมดี
ผวิ จะดูซดี เซยี ว แหง หรืออาจเปน โรคผวิ หนังตาง ๆ เชน เปนผดผน่ื คัน หดิ กลาก เกลอื้ น
1) โครงสรา งของผิวหนัง แบงออกเปน 2 ช้ัน ไดแ ก
– ช้นั หนังกำพรา (epidermis) คือ ผวิ หนงั ชั้นนอก มเี ซลลอยูเปนชัน้ ๆ สวนของ
เซลลดานลางสุดจะทำหนาที่สราง
เสน ขน

เซลลใหมตลอดเวลาและดันเซลล
เกา ออกมา เซลลด า นนอกจะคอ ย ๆ
แหง ตาย และหลดุ ออกมาเปน ขไ้ี คล หนงั กำพรา รูขน

ความหนาของหนงั กำพรา แตล ะสว น ตอมไขมัน
ของรา งกายจะไมเทากัน สวนท่ีบาง
ที่สุดอยูที่บริเวณหนังตาและหลังหู หนงั แท
สว นทหี่ นาทสี่ ดุ อยทู ฝี่ า เทา และฝา มอื
สผี วิ หนงั ของคนจะขน้ึ อยกู บั เซลลส รา ง ทอ ของ
ตอ มเหงอื่

เมด็ สีที่เรยี กวา เมลานนิ (melanin) ตอ มเหง่ือ
ซึ่งอยูชั้นลึกสุดของผิวหนังกำพรา
หากมีเมลานินมากผิวจะมีสีคลํ้า
หากมีเมลานนิ นอยผิวจะมีสีขาว โครงสรา งของผวิ หนงั

4 หนังสอื เรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุขศกึ ษา ม. 4

– ช้ันหนังแท (der- นานา นา รู
mis) คอื ผวิ หนงั ทอ่ี ยถู ดั จากชน้ั หนงั กำพรา
เขาไป ประกอบดวย หลอดเลือดฝอย
เสนประสาท ตอมเหงอื่ ตอมไขมัน และขน เซลลสรางเม็ดสีเมลานินมีประโยชนในการปองกัน
หรอื ผม ในชนั้ หนงั แทม หี ลอดเลอื ดฝอยเปน แสงแดด มีคุณสมบัติดูดซับแสงและปองกันรังสี
อัลตราไวโอเลตไมใหทะลุเขาไปทำลายเซลลผิวหนัง
จำนวนมากทำหนาที่นำเลือดมาหลอเลี้ยง คนผิวดำจึงทนทานตอแสงแดดไดดีกวาคนผิวขาว
ผวิ หนงั มเี สน ประสาทรบั ความรสู ึกตา ง ๆ คนผวิ ขาวจะเกดิ ผวิ ไหมแ ดดไดง า ย และถา ถกู แดดบอ ย ๆ
กระจดั กระจายอยทู วั่ ไป และยงั มตี อ มเหงอื่ เปน เวลานานจะทำใหผ วิ แกก อ นวัย ผวิ ตกกระ ผิวแหง
ทำหนาที่ระบายความรอนออกจากรางกาย และเหีย่ วยนขาดความยดื หยุน
มตี อ มไขมนั ทพี่ บไดใ นผวิ หนงั เกอื บทง้ั หมด ทม่ี า: สถาบนั โรคผวิ หนงั , ความรเู รอ่ื ง ผวิ หนงั และโรคสะเกด็ เงนิ

ที่มีขน และช้ันหนังแทยังผลิตขนและผม
ของรางกายอีกดว ย ถัดเขาไปจากชัน้ หนังแทจ ะเปน ชนั้ เนอ้ื เยือ่ ใตผ วิ หนัง ประกอบไปดว ยเน้ือเย่อื
ไขมนั เปน สวนใหญ ทำหนาที่คลา ยฉนวนกนั ความรอนและเปนเบาะกันสะเทือน
2) หนาทีข่ องผวิ หนงั มีดงั นี้
(1) ปอ งกนั รา งกาย
– ปอ งกนั อวยั วะภายในรา งกายไมใ หไ ดร บั อนั ตรายจากการถกู กระทบกระเทอื น
สารเคมี สารพิษ เช้ือโรค และรังสี เพราะผวิ หนังมีคุณสมบัตยิ ืดหยนุ หนา และเหนยี ว
– ปอ งกนั ไมใ หเ ชอื้ โรคผา นเขา สรู า งกายไดง า ย นอกจากนไ้ี ขมนั ในชน้ั ผวิ หนงั มี
สภาพเปนกรดชว ยยับย้ังการแพรกระจายของเชอ้ื โรค
– ปอ งกนั การระเหยและการซมึ ของนำ้ เพราะหนงั กำพรา มสี ารเคราตนิ (keratin)
ซง่ึ มีคุณสมบตั กิ นั น้ำได จงึ ทำใหเราสามารถวายนำ้ ไดเ ปนเวลานาน ๆ
– ปองกนั แสงตาง ๆ ไมใหเขา สรู า งกาย เชน แสงแดด เวลาถูกแสงแดดเซลล
ของหนงั กำพรา ทม่ี เี มด็ สเี มลานนิ จะดดู แสงแดดไว และกระตนุ ใหเ ซลลข องผวิ หนงั สรา งเมด็ สเี มลานนิ
มากขึ้น เพื่อปองกันไมใหรังสีอัลตราไวโอเลต (ultraviolet) จากแสงแดดทะลุเขาไปทำลายเซลล
ผิวหนัง
(2) ควบคุมอุณหภูมิของรางกายใหอยูในระดับปกติ เมื่อรางกายไดรับความรอน
เสนเลือดจะขยายตัวเพื่อใหเลือดไหลสูพื้นผิวมากข้ึน สวนตอมเหง่ือที่มีอยูในช้ันผิวหนังก็จะผลิต
เหงื่อออกมา ความรอนก็จะระเหยไปกับเหง่ือทำใหรูสึกเย็นลง เมื่ออากาศเย็นเสนเลือดจะหดตัว
เพอ่ื รกั ษาความรอนใหคงอยกู ับรา งกาย
(3) รักษาความชุมช้ืนของรางกาย ตอมไขมันจะผลิตน้ำมันมาเล้ียงผิวหนังชั้นหนัง
กำพราทำใหม คี วามชมุ ชื้นเตงตงึ ไมแหงกรา น เหง่ือทีถ่ ูกขบั ออกมาก็จะชว ยรกั ษาความชมุ ช้ืนของ
ผิวหนงั

หนงั สือเรียน รายวิชาพน้ื ฐาน สุขศกึ ษา ม. 4 5
(4) ขับถา ยของเสียออกจากรา งกายในรูปของเหงื่อ เชน ยูเรยี (urea) ซงึ่ เปน เกลอื
แรที่รา งกายไมตองการ
(5) เปน แหลง สรา งวติ ามนิ ดใี หแ กร า งกาย โดยอาศยั แสงแดดชว ยสงั เคราะหส าร 7–ดี
ไฮโดรคอเลสเตอรอล (7–dehydrocholesterol) ที่อยใู นผิวหนงั ใหเปน วิตามินดี 3 (vitamin D3)
ไดชวยปอ งกนั การเกดิ โรคกระดกู ออ น
(6) เปนอวัยวะที่รับความรูสึกตาง ๆ โดยมีประสาทรับความรูสึกหลายชนิดและ
จำนวนมากอยใู นบริเวณช้ันหนงั แท เชน ความรูสกึ รอน เย็น หรือความรสู ึกเจบ็ ปวด
3) ความผดิ ปกติของผวิ หนัง
ความผดิ ปกติท่เี กดิ ข้นึ และพบบอย ไดแก
(1) สวิ (acne) เกดิ จากสาเหตหุ ลายประการ เชน การเปลยี่ นแปลงของฮอรโ มนเพศ
ในชวงวัยรุน ทำใหตอมไขมันขับไขมันออกมามาก เมื่อไขมันแข็งตัวอุดตันตอมไขมันและรูขน
จะทำใหเกิด สิวเส้ียน และถาถูกไขมันที่ขับออกมาใหมดันจนนูนขึ้นจะกลายเปนหัวสิว หากมี
เชือ้ แบคทเี รียเขาไปยังตอ มไขมันและรขู นทเ่ี ปน สวิ นน้ั ก็จะเกดิ การอกั เสบ บวมแดง และเปนหนอง
ซงึ่ บางคนเรยี กสิวชนิดนีว้ า สวิ หวั ชา ง นอกจากน้ี สวิ ยังอาจเกิดจากเชื้อจุลินทรียทอ่ี ยใู นตอมไขมนั
ใตผิวหนังมีมากผิดปกติ อากาศที่รอนและช้ืน
ทำใหเ หงอ่ื ออก ผวิ หนงั สกปรก ภาวะทตี่ งึ เครยี ด
หงุดหงิด และการใชเคร่ืองสำอางท่ีเปนน้ำมัน
หรือครีมอาจทำใหมีการอุดตันของรูขนซ่ึงเปน
สาเหตุทำใหเกิดสิวไดงาย เมื่อเปนสิวควรลาง
หนาดวยนํ้าสะอาดและสบู่วันละ 2 ครั้ง
เชา–เย็น อยาแกะหรือบีบหัวสิว หลีกเลี่ยง
อาหารมัน ๆ หรือหวาน นอนหลับพักผอน การแกะหรือบีบสิวอาจทำใหสิวอกั เสบมากย่ิงขนึ้
ใหเพียงพอ เลิกวิตกกังวล ถาเปนสิวมาก
ควรปรึกษาแพทย
(2) ตาปลา (corn) เกดิ จากแรงกดหรือมแี รงเสียดสีผิวหนังบรเิ วณนั้นบอ ย ๆ ทำให
ผิวหนังดานและหนาตัวข้ึน มีลักษณะเปนเม็ดกลมและแข็ง และจะเจ็บปวดมากเมื่อเม็ดกลม ๆ
นนั้ กดลงบนเนอื้ ออ นทอ่ี ยดู า นลา งลงไป ตาปลามกั จะเกดิ บรเิ วณนวิ้ เทา หรอื ฝา เทา เนอ่ื งจากใสร องเทา
ท่ีคับเกินไป วิธีการปองกัน คือ การสวมรองเทาท่ีไมคับหรือไมบีบเทา และเมื่อเปนแลวหากจะ
ตดั ท้ิงหรือควา นออกตองระมัดระวังเรอื่ งความสะอาดเพราะอาจจะอักเสบและติดเชอ้ื โรคได
(3) กลิน่ ตัว (odour) เกดิ จากปฏกิ ริ ิยาเคมขี องกรดไขมนั จากตอ มเหงือ่ เซลลบ ุผวิ
ที่ตายแลว เหงื่อรวมกับแบคทีเรียและความชื้นจะเกิดกลิ่นตัว เมื่อมีกล่ินตัวควรอาบนำ้ ฟอกสบู
บริเวณรกั แร ขาหนีบ ใตคอและหลงั หอู ยางนอ ยวันละ 2 ครัง้ หากมีกล่นิ ตวั แรงอาจใชก อนสารสม
หรอื ลูกกลง้ิ ระงบั กล่ินเหงือ่ ทาบริเวณรักแร

6 หนังสือเรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน สุขศกึ ษา ม. 4
(4) โรคเชื้อราทเ่ี ทาหรอื โรคฮอ งกงฟุต (Hong Kong’s foot) หรือโรคเทานักกฬี า

(Athlete’s foot) เกดิ จากตดิ เชอ้ื ราทเ่ี ทา เนอ่ื งจากรองเทา อบั ชน้ื หรอื เดนิ ลยุ นำ้ สกปรก ทำใหม อี าการ
คันบริเวณซอกนิ้วเทาและอาการคันจะเพิ่มมากข้ึนถามีการเกาดวยจะทำใหผิวหนังลอกเปนขุย ๆ
มีกลิ่นเหม็น หากเปนนาน ๆ ผิวหนังบริเวณนั้นจะมีเนื้อนูนหนา แข็ง และลอกออกเปนขุย ๆ
สามารถลามไปยังนิ้วใกลเคียงได การปองกันและรักษาทำไดโดยการลางเทาใหสะอาดแลวเช็ดให
แหง สนทิ พยายามอยาใหเทา อบั ช้นื ในกรณที ม่ี ีเหงื่อออกบริเวณเทามาก อาจใชแปงฝุนโรยบรเิ วณ
งามนิ้วเทา เพ่ือชวยใหน้ิวเทาและฝาเทาแหงได โรคเชื้อราท่ีเทามีการรักษาคอนขางยาก ควรจะ
ปรึกษาแพทย และเม่ือหายแลวไมควรนำถุงเทาและรองเทาคูเดิมมาใชอีก เพราะยังมีเชื้อราอยู
ถา จะนำมาใชค วรนำไปฆา เช้ือโดยการตม หรือผึ่งแดด

(5) ผวิ หนงั แหง กรา น (dry skin) เกดิ จากสภาพแวดลอ มภายนอกผดิ ปกติ เชน อากาศ
รอ นจดั หรือหนาวจัด การฟอกสบูบางชนิด เชน สบูยา หรือใชสบูบอยคร้ังเกินไปทำใหไขมัน
ท่ีผิวหนังลดลง ไมสามารถรักษาความช้ืนไวไดจึงแหง เปนขุยและแตก มีอาการคันและแสบ
อาจตดิ เชอ้ื ทำใหผ วิ หนงั อกั เสบได วธิ กี ารปอ งกนั คอื หลกี เลย่ี งสถานทที่ ม่ี อี ากาศเปลย่ี นแปลงอยา ง
รวดเรว็ สวมใสเ สอ้ื ผา ทใ่ี หค วามอบอนุ แกร า งกาย ระมดั ระวงั ในการอาบนำ้ อนุ การใชก ระเปา นำ้ รอ น
การผิงไฟกลางแจง เพราะจะทำใหผิวหนังแหงและแตกมากขึ้น หากผิวหนังแหงหรือแตกควร
ใชนำ้ มันหรือครีมทาผิวเพื่อรักษาความชุมช้ืนของผิวหนังไวและปองกันไมใหนำ้ ระเหยออกจาก
ผิวหนงั มากเกนิ ไป

(6) ฝ (abscess) เกดิ จากเชอื้ แบคทเี รยี ชนดิ หนง่ึ ซง่ึ มอี ยบู นผวิ หนงั ทวั่ ไป ทำใหเ กดิ
การอักเสบทบี่ ริเวณรอบ ๆ ขมุ ขน ตอ มเหงื่อ ตอ มไขมัน หรอื ทางรากผม ตอ มาเปน หนอง ระยะ
แรกจะมลี กั ษณะบวมแดง แขง็ และรอนบริเวณท่เี ปน เจ็บมาก เริ่มจากเปน เมด็ เลก็ ๆ หรือกอน
แข็งแลวโตอยางรวดเร็ว มีหัวหนองสีเหลืองตรงกลาง ตอมาหัวหนองออนตัวลงจนมีลักษณะนุม
มีหนองสเี หลอื ง เหนียวเหลว ซึง่ มเี ชื้อโรคปะปนอยูมาก และอาจกระจายไปสูท ีอ่ นื่ ๆ ของรา งกาย
ได การปอ งกนั และรักษา อาบน้ำอยางนอ ยวันละ 2 คร้งั และรกั ษาผวิ หนังใหสะอาดอยเู สมอ ไม
ใชเลบ็ หรอื มือที่สกปรกแกะ เกา ผวิ หนัง หากเปน ฝห ามบีบหรือบงหวั ฝ จนกวาจะมีอาการออ นนมุ
ทตี่ รงกลาง ถาฝไ มแ ตกออกหรือเปน หนองควรไปพบแพทย ถา ปวดหรือมไี ขใ หก ินยาลดไข

2. เลบ็
1) โครงสรางของเล็บ
เล็บ (nails) เปนสวนของเซลลชั้นหนังกำพราที่ตายแลว ซ่ึงเจริญเปล่ียนแปลงมา

จากเซลลท ม่ี ชี วี ติ ในชนั้ ลา งทเี่ ลอื่ นขน้ึ มาอดั แนน เปน แผน แขง็ ยดื หยนุ ได อยทู างดา นหลงั ของปลาย
นว้ิ มือน้วิ เทาปลองสุดทา ย มีหนา ท่ีปอ งกันปลายนิ้วไมใหไ ดร ับอันตราย เล็บมีลักษณะโปรงแสง มี
สวนที่ย่ืนพนปลายน้ิว ซ่ึงไมมีหลอดเลือดและประสาทมาเล้ียง เวลาเราตัดเล็บจึงไมรูสึกเจ็บ
สวนของเล็บที่ฝงอยูในหนัง เรียกวา รากเล็บ สองขางของเล็บจะมีผิวหนังย่ืนมาคลุมเล็กนอย

หนังสอื เรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน สุขศกึ ษา ม. 4 7

ขางใตเ ล็บมีปลายประสาทรับความรสู กึ มากมายและมหี ลอดเลือดมาเลีย้ งมาก ดงั นนั้ เม่อื มดี บาด
หรอื หนามตำใตเล็บจงึ เจบ็ ปวดในคนท่มี ีสุขภาพดี สขี องเล็บจะเปนสีชมพูเร่ือ ๆ ตามสขี องเลอื ด
ท่ีสะทอ นผานเล็บขนึ้ มา แตถ า เปน โรคโลหติ จางเลบ็ จะมสี ซี ีดขาว รอ งระหวางแผนเลบ็ กับผิวหนัง
เปนแหลงสะสมเช้ือโรคและความสกปรกตาง ๆ หนังท่ีคลุมเหนือโคนเล็บจึงเปนดานแรกท่ีชวย
หนงั คลมุ ปอ งกนั ฝนุ ละอองและเชอื้ โรค
เนอื้ โคนเล็บ ตาง ๆ ไมใหเ ขาไปในโคนเลบ็
แผน เล็บ โคนเลบ็ ปลายเลบ็ เวลาตัดเล็บจึงไมควรตัดหนัง
ปลายเลบ็ แผน เล็บ ขางเล็บออก เพราะจะทำให
หนังคลุม เช้ือโรคเขาสูรางกายไดงาย
ผวิ หนัง เนื้อโคนเลบ็ การตัดเล็บควรตัดใหปลาย
ปลายเล็บ

กระดกู นวิ้ มอื โคงมน อยาตัดชิดน้ิวเกินไป
และหมั่นรักษาเล็บใหสะอาด
สว นตา ง ๆ ของเลบ็ อยูเสมอ

2) หนาทีข่ องเล็บ
(1) ชวยปองกนั การถกู กระทบกระเทือนและปองกนั อนั ตรายใหกบั ปลายนิ้วมอื และ
น้ิวเทา เพราะเล็บประกอบไปดว ยสารเคราตนิ ที่มคี วามแข็งแรง และท่แี ผนเลบ็ ยังไมมเี สนประสาท
จึงไมร ูสกึ เจบ็ ปวดหรอื เจ็บปวดนอ ยลงกวา การไมมีเล็บคอยปกปอง
(2) ชว ยในการหยิบจบั สิ่งของตาง ๆ ไดสะดวก
(3) ใชสำหรับแคะ แกะ เกา ขว น
(4) ชว ยใหก ารเดิน วงิ่ และหยิบจับส่งิ ของไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ
(5) ชว ยในการวนิ จิ ฉยั โรคบางชนดิ ทเี่ กยี่ วขอ งกบั อวยั วะภายในรา งกาย เชน ถา เลบ็
มีสขี าวทึบแสดงวาเปนโรคตบั
3) ความผดิ ปกตเิ ก่ียวกับเลบ็ ไดแ ก
(1) เล็บขบ (ingrown nail) มักเปนกับนิ้วหัวแมเทา เกิดจากการงอกของเล็บท่ี
กดลึกเขาไปในเน้ือบริเวณซอกเล็บ ทำใหเกิดความเจ็บปวดและเปนแผล ถาติดเช้ือก็จะเกิดการ
อักเสบได วิธีปองกันรกั ษา คือ ตดั เลบ็ เปน แนวตรง ไมส ้นั จนเกนิ ไป หากมเี ล็บขบใหทำสะอาด
มมุ เล็บ และใชส ำลชี บุ ยาฆา เชอื้ อุดไวใ ตเล็บ
(2) เชอ้ื ราทเี่ ล็บ (tinea unguium) มักเกดิ กับผทู ีม่ ือหรือเทาเปย กนำ้ อยูเปน ประจำ
หรืออับชืน้ อาการเรม่ิ จากทีซ่ อกเลบ็ แลว ลามออกไปยังผวิ หนงั ขา งเลบ็ และตวั เล็บ เล็บจะเปลย่ี นสี
เปนสขี าวขนุ หรอื สีเหลือง มขี ุยสะสมอยใู ตเลบ็ ทำใหเ ล็บแยกออกจากเน้อื แลวคอย ๆ กรอ นลงท่ี
ตอนปลายแลวลามตอไปจนถึงโคนเล็บ วิธีปองกันรักษาทำไดโดยหมั่นตัดเล็บใหส้ัน รักษาเล็บ
ใหสะอาดและแหงอยูเสมอ ไมควรใชเล็บเกาบริเวณที่เปนเช้ือรา เพราะเช้ือราจะติดเล็บมาได

8 หนังสอื เรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน สขุ ศึกษา ม. 4

หากจำเปนตองถูกนำ้ บอยหรือแชนำ้ เปนเวลานานใหสวมถุงมือยาง ถุงเทา รองเทาควรรักษาให
สะอาดและแหง อยเู สมอ และไมค วรใชร ว มกบั ผอู นื่ ถา เลบ็ เปน เชอ้ื ราใหใ ชข ผี้ งึ้ รกั ษาเชอื้ ราทาบรเิ วณ
ท่เี ปน ถามอี าการมากควรปรกึ ษาแพทย
3. ขนหรอื ผม
1) โครงสรางของขนหรือผม
ขนหรอื ผม (hair) งอกมาจากขมุ ขน ซง่ึ เปน สวนทเ่ี จรญิ เปลีย่ นแปลงมาจากเซลลที่
มชี วี ติ ของชน้ั หนงั กำพรา สว นลกึ โคนผมไดร บั เลอื ดจากหลอดเลอื ดฝอยและมเี สน ประสาทควบคมุ
อยู สวนทพ่ี น ผวิ หนังขน้ึ มาเปน เซลลท ี่ตายแลว ขนมอี ยทู ัว่ รา งกายยกเวน ฝามอื ฝา เทา สะดือ
หัวนม ริมฝปาก ขนทุกเสนประกอบดวยเสนขน รากขนและขุมขน เสนผมจะมีตอมสีในเซลล
เสนผมที่ผลติ เมด็ สลี งไปในแตละเซลลข องเสนผม เม็ดสีเหลา น้ีจะมสี ตี าง ๆ คือ ดำ นำ้ ตาลเขม
และเหลอื งปนแดง คนเราเมอ่ื อายมุ ากขนึ้ การสรา ง
เม็ดสีในเซลลของเสนขนจะลดนอยลงจนกระทั่ง
เสนขน หยดุ สรา งผมจะเรม่ิ มสี อี อ นลงและหงอกขาวในทสี่ ดุ
เสนผมแตละเสนจะมีอายุประมาณ 7 ป แลวจะ
หลุดรวงไปและจะมีเสนใหมงอกข้ึนมาแทนท่ีใน
ตอมไขมัน รูขมุ ขนเดมิ

2) หนาท่ีของเสน ผม
เสนผมมีหนาท่ีชวยปองกันไมให
รากขน ขมุ ขน หนงั ศรี ษะไดร บั ความรอ นหรอื ความเยน็ มากเกนิ ไป

เสนเลือดฝอย และยงั ชว ยลดความรนุ แรงจากอนั ตรายตา ง ๆ ทมี่ า
กระทบศีรษะ นอกจากนี้เสนผมยังชวยเสริม
ความงามใหแ กใบหนา และซับเหง่อื หรือสงิ่ สกปรก
โครงสรา งของผิวหนงั แสดงใหเหน็ หรอื ชว ยปอ งกันเช้ือโรคเขา สรู า งกายอีกดวย
สวนของขนหรอื ผม

3) ความผิดปกติของเสน ผม ไดแ ก
– ผมรวง (alopecia) เสน ผมของคนเราจะรวงไดตามธรรมชาติแลว งอกข้ึนมาใหม
อยูตลอดเวลา แตถาหากรวงมากกวาปกติอาจจะมีสาเหตุมาจากการขาดสารอาหาร การเจ็บปวย
ดว ยโรคเชอ้ื รา การแพย าสระผม หรอื เกดิ จากตอ มนำ้ มนั ทโ่ี คนผมไมผ ลติ น้ำมนั มาหลอ เลยี้ งเสน ผม
วิธปี องกันรักษา คือ รับประทานอาหารตามหลกั โภชนาการจะชว ยบำรุง หลีกเลยี่ งการเปาผมดวย
ความรอน หลีกเล่ียงการยอ มผม หรือการดดั ผม และเมอ่ื เกดิ ความผดิ ปกติควรรีบปรึกษาแพทย
– รงั แค (dandruff) เกิดจากผวิ หนังหรอื เซลลที่ตายแลวแหงหลดุ ออกมาเปน แผน
หรอื เปน ขุย ๆ มักเกาะติดอยกู บั เสนผม ทำใหคนั ศรี ษะและผมรว ง วธิ ีปอ งกันรกั ษา คอื สระผม
ดวยแชมพูสระผมอยางออ น ๆ งดใชน ้ำมนั ใสผม หากรังแคยงั ไมห ายควรรบี ปรึกษาแพทย

หนังสอื เรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน สขุ ศกึ ษา ม. 4 9
1.2.2 การสราŒ งเสรมิ และดำรงประสิทธภิ าพของระบบหอ‹ หมŒุ รา‹ งกาย
ระบบหอหุมรางกายมีความสำคัญตอรางกาย เราจึงควรสรางเสริมและดำรงประสิทธิภาพ
ระบบหอ หุมรางกายใหสามารถทำงานไดต ามปกติ ดังนี้
1. รับประทานอาหารทมี่ ีประโยชนอ ยาง เชน พวกโปรตีน ผัก ผลไมท ี่มวี ิตามนิ เอ วติ ามินบี
และวติ ามนิ ซี
2. ออกกำลังกายกลางแจง อยา งสม่ำเสมอเพ่อื ใหตอมตา ง ๆ ทีอ่ ยใู ตผิวหนงั ไดทำงาน และ
การไดร บั แสงแดดออ น ๆ ในตอนเชา และตอนเยน็ รา งกายจะไดร บั รงั สอี ลั ตราไวโอเลต (ultraviolet)
ซง่ึ จะชวยใหผวิ หนงั แขง็ แรงสมบรู ณ
3. ชำระลางรางกายใหสะอาดอยเู สมอ โดยการอาบน้ำ การกำจดั กลนิ่ ตวั การสระผมและ
การตัดเลบ็ การรกั ษาความสะอาดยังชวยปอ งกนั การเกดิ โรคผิวหนงั บางชนดิ เชน กลาก เกลื้อน
ไดอ กี ดว ย
4. เลือกใชเ ครอ่ื งสำอาง เชน แชมพสู ระผม สบู ครีมบำรุงผิว ใหเหมาะสมกับสภาพของ
เสนผมและผิวหนงั ของตนเอง
5. พกั ผอ นใหเ พยี งพอ และทำจติ ใจใหราเรงิ แจม ใสอยูเ สมอ
6. ระมดั ระวงั ไมใ หเ กดิ อบุ ตั เิ หตุ ทอ่ี าจทำใหเ กดิ บาดแผลเลอื ดไหล บาดแผลฟกช้ำทผ่ี วิ หนงั

กจิ กรรมเรยี นรู...สปู ฎบิ ติ

• เพ่อื ความเขาใจทค่ี งทนใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตอ ไปนี้
1. วาดภาพระบายสีแสดงโครงสรา งของผิวหนงั เลบ็ และผม พรอ มกบั บอกหนา ท่ที ีส่ ําคัญ
2. แบงกลมุ กลุม ละ 3–4 คน รวมกนั อภปิ รายเร่อื ง ความผิดปกตขิ องผวิ หนัง เลบ็ และผม พรอมทงั้
หาแนวทางการปองกนั และแกไ ข
3. เขยี นแนวทางการบาํ รงุ รกั ษาระบบหอ หมุ รา งกายของตนเองใน 1 สปั ดาห แลว นาํ ไปปฏบิ ตั จิ รงิ
4. หาขาวหรือบทความจากหนังสือพิมพ หรือนิตยสารเก่ียวกับเร่ือง ความผิดปกติท่ีเกิดข้ึนกับผิวหนัง
แลว นาํ มาวเิ คราะหส าเหตุ และแนวทางการแกไขปญหา

1.3 ระบบกระดูก

ระบบกระดูก (the skeletal system) เปนระบบท่ีประกอบดวย กระดูก กระดูกออน
ขอตอและเอ็นเชื่อมกระดูก กระดูกเปนสวนท่แี ข็งท่สี ุดในรา งกาย กระดูกแตละทอนหรือแตล ะขอ
จะเชื่อมตอกันดวยเอ็นเชื่อมกระดูกตรงบริเวณขอตอ ซึ่งจะชวยใหกระดูกยืดหยุนและทำให
สวนตา ง ๆ ของรางกายเคลอ่ื นไหวไดส ะดวก การบำรุงรกั ษากระดูกใหเ จริญเตบิ โตอยางแขง็ แรง
และการฝกการเคล่ือนไหวของรางกายทุกอิริยาบถใหถูกตอง จะชวยใหมีโครงรางและบุคลิกภาพ
ทีด่ ี

10 หนงั สือเรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน สขุ ศึกษา ม. 4

กระดกู หนา ผาก กระดูกขา งขมอ ม
กระดกู ขมบั กระดกู ทา ยทอย
กระดกู โหนกแกม กระดกู สะบกั
กระดกู ปลายแขนทอ นนอก
กระดกู ไหปลารา กระดกู ตนแขน
กระดูกหนาอก

กระดกู ซี่โครง กระดูก
สนั หลัง

กระดกู กระเบนเหน็บ กระดกู ปลายแขนทอนใน

กระดกู กระดูกฝา มอื
กน เชกงิรกะดราูกน กระดูกน้วิ มือ
กตรน ะขดาูก
กระแดขูกงหนา
กนระอดงกู

กระดูก
ฝาเทา

ลักษณะโครงกระดกู ดา นหนา และดานหลงั

1.3.1 องคประกอบของระบบกระดูก
1. กระดกู

กระดกู (bone) ในระยะแรกจะเจรญิ ในรปู ของกระดกู ออ นและกลายเปน กระดกู แขง็ เพอ่ื
รองรับนำ้ หนักเม่ือมีอายุมากข้ึน ยกเวนบางสวนท่ียังคงเปนกระดูกออน เชน ใบหู ปลายจมูก
หลอดลม ในเด็กแรกเกิดจะมีกระดูกมากถึง 350 ช้ิน เม่ือโตเปนผูใหญกระดูกจะเชื่อมติดกัน
เหลือเพยี ง 206 ชนิ้ กระดูกแบงออกเปน 2 สว นใหญ ๆ คือ

กระดกู แกน (axial skeleton) คอื กระดกู ทเ่ี ปน แกนกลางของลำตวั มอี ยู 80 ชนิ้ ประกอบ
ดวยกะโหลกศีรษะ 29 ช้นิ มีหนาท่หี อหมุ และปองกันสมอง กระดูกสันหลัง 26 ช้นิ มีหนาท่ี
ค้ำจุนและรองรบั น้ำหนกั ของรางกาย และกระดูกทรวงอก ซ่งึ ประกอบดวยกระดูกหนา อก 1 ชนิ้
และกระดกู ซ่โี ครงอกี 12 คู มหี นาทเี่ ปนสวนที่ชว ยในการหายใจและปอ งกันอันตรายใหกับอวัยวะ
ที่อยูภายใน เชน ปอด หวั ใจ และอวัยวะอื่น

หนังสือเรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน สุขศึกษา ม. 4 11
กระดกู รยางค (appendicular skeleton) คือ กระดกู ทน่ี อกเหนอื ไปจากกระดกู ลำตวั มี
อยู 126 ชนิ้ ประกอบดว ยกระดกู แขน 64 ชนิ้ ทำหนาทเี่ ปนฐานเชื่อมโยงกบั กระดูกสว นอน่ื ๆ
และกระดูกขา 62 ชิน้ ทำหนา ทีร่ บั น้ำหนกั ของรางกาย
1) ชนิดของกระดูก

กระดูกคนเราจะมีลักษณะและรูปรางตาง ๆ กันไป แยกตามรูปรางท่ีปรากฏได
4 ชนิด คอื

(1) กระดกู ยาว (long bones) พบไดท ก่ี ระดกู ตน แขน แขนทอ นปลาย ตน ขา และขา
ฝามือ ฝา เทา นิว้ มือ และนิว้ เทา เปนกระดกู ยาวขนาดเลก็ ในสวนลำของกระดูกยาวเรียงตัวกนั
เปนรูปทรงกระบอก ตรงกลางเปนโพรง ที่ขอบกระดูกเปนเนื้อแนน ปลายของกระดูกยาวมักโต
กวา สว นลำ มกี ระดกู เนอ้ื แนน บาง ๆ อยทู ขี่ อบ ภายในเปน ชน้ิ กระดกู เลก็ ๆ ตดิ ตอ กนั คลา ยฟองน้ำ
เรยี กวา กระดกู พรนุ กระดกู ชนดิ นม้ี ไี วส ำหรบั รบั นำ้ หนกั ของรา งกายและเคลอื่ นไหวมากกวา กระดกู
ชนดิ อื่น ๆ ซึ่งมีทัง้ หมด 90 ชิ้น

(2) กระดูกส้ัน (short bones) อยูตามรางกายสวนท่ีแข็งแรง สำหรับออกแรง
เมือ่ เวลาทำงานทีไ่ มมีการเคลือ่ นไหวมาก ไดแ ก กระดกู ขอ มอื และขอเทา กระดูกเหลานเี้ ปน ทอ น
สนั้ ๆ ไมมีสวนลำแตจ ะมกี ระดกู เนือ้ แนนบาง ๆ อยทู ขี่ อบภายในเปน กระดกู ฟองนำ้ กระดูกสน้ั
มีทั้งหมด 30 ช้นิ

(3) กระดกู แบน (flat bones) มีลกั ษณะเปนแผนแบนกวา ง ประกอบดว ยกระดูก
เนอ้ื แนน 2 แผนเชือ่ มตดิ กนั ภายในเปน กระดูกพรนุ กระดูกชนดิ นจ้ี ะชวยปอ งกนั อวัยวะภายใน
ไมใ หไดรับอันตรายงาย ไดแก กระดูกกะโหลกศรี ษะ กระดกู ซ่ีโครง กระดูกสะบกั กระดูกหนาอก
และกระดูกเชิงกราน กระดูกแบนมีทง้ั หมด 40 ชน้ิ

(4) กระดกู ทมี่ รี ปู รา งไมแ นน อน (irregular bones) หรอื มรี ปู แปลก ๆ ไดแ ก กระดกู
สันหลังกระดูกกนกบ กระดูกขากรรไกร กระดูกโคนลิ้น กระดูกหู ฯลฯ กระดูกชนิดน้ีมีแง
มเี หลยี่ มหรอื ชอ งโคง ไปมามาก เพอื่ ใหเ หมาะกบั การประกอบเขา ไดก บั กระดกู ชนิ้ อน่ื ทเ่ี ปน โครงรา ง
ของรา งกายกระดกู ชนิดน้มี ที ้ังหมด 46 ช้ิน

2) การแบง กระดกู จากสวนประกอบ
การแบงกระดูกจากสวนประกอบจะแบง ไดเปน 2 สวน คอื
(1) สวนท่ีมีชีวิต ไดแก เซลล กระดูก เนื้อเย่ือยึดเหน่ียว เน้ือเย่ือประสาท และ

หลอดเลอื ดเปนสว นที่ทำใหกระดกู เหนยี วแนน ทนทาน ไมเปราะหรอื แตกหกั งาย
(2) สวนท่ีไมมีชีวิต ไดแก สารประกอบพวกแคลเซียมคารบอเนต (Calcium

Carbonate) และแคลเซยี มฟอสเฟต (Calcium Phosphate) แรธ าตเุ หลานส้ี ามารถละลายไปสู
เลือดไดเม่ือรางกายตองการ กระดูกจึงเปนแหลงสะสมธาตุแคลเซียม (Calcium) แรธาตุเหลานี้
เปนสวนที่ทำใหกระดูกแข็งแรง สวนประกอบของกระดูกท้ังสองสวนเมื่อประกอบกันเขาจึงทำให
กระดกู ของคนเราแข็ง เหนียวแนน ทนทาน ไมเ ปราะหรอื แตกหักงาย

12 หนงั สือเรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน สุขศึกษา ม. 4

3) ลกั ษณะของกระดกู
กระดกู เกือบทกุ ชน้ิ ในสตั วหรอื ในตัวมนุษย มลี กั ษณะดงั นี้

(1) สวนท่ีถูไถกับกระดูกอ่ืนจะ
เปน สว นทเี่ รยี กวา ดา นขอ ตอ จะมกี ระดกู ออ น
กระดกู ออ น เคลอื บอยแู ละระหวา งกระดกู ออ นจะมนี ้ำไขขอ
ทง้ั กระดกู ออ นและนำ้ ไขขอ จะชว ยลดการเสยี ดสี
กระดูกพรนุ

กระดูกทบึ ของกระดูกขณะเคล่ือนไหว ซ่ึงทำใหกระดูก
เคล่ือนไหวที่ขอตอไดสะดวก ยกเวนกระดูก
แบนจะไมม กี ระดกู ออ นคลมุ เชน กระดกู ดา น
บนของกะโหลกศรี ษะ ซ่งึ มขี อบขรขุ ระและยดึ
โพรงกระดูก ไขกระดูก กันดวยพังผดื
เย่อื หมุ กระดกู
(2) ภายในทอนกระดูก หรือท่ี
เรยี กวา สว นลำของกระดกู จะปรากฏลกั ษณะ
ของเนอ้ื เยอ่ื กระดกู 2 ชนิด คอื กระดกู ทบึ
ลักษณะภายในและภายนอกของกระดกู และกระดกู พรนุ กระดกู ทบึ (compact bone)

เปนสวนที่ติดกับเย่ือหุมกระดูก ทำหนาท่ีคลายฝาผนัง มีความแข็งแรง ชวยในการพยุงและรับ
นำ้ หนกั ลักษณะภายในจะเหน็ เปนวงซอ นกนั เปนช้นั ๆ มีชองวางตรงกลางวงเพ่ือใหเ สน เลอื ดนำ
อาหารผา นเขา ไปเลย้ี งเซลลไ ด กระดกู พรนุ (spongy bone) เปน สว นทอ่ี ยถู ดั จากกระดกู ทบึ เขา ไป
มลี ักษณะเปนรพู รนุ คลายฟองนำ้ เรยี กชอ งวา งนวี้ า โพรงกระดูก (medullary cavity) ภายในโพรง
กระดกู จะมี ไขกระดูก (bone marrow) บรรจุอยู ซ่งึ ไขกระดูกน้จี ะทำหนาที่สรางเซลลเ มด็ เลอื ด
ตาง ๆ รวมทั้งเกล็ดเลือดใหกบั รางกาย
(3) สว นของกระดกู ทง้ั หมด ยกเวน ดา นขอ ตอ จะมเี ยอ่ื บาง ๆ หอ หมุ เรยี กวา เย่อื หมุ
กระดูก (bone covering) ระหวางเน้ือเยื่อยึดเหน่ียว และไขกระดูกก็จะมีเยื่อบาง ๆ นี้
บุค่ันไวเชนเดียวกนั เยื่อนจี้ ะทำหนาทีส่ รา งเซลลก ระดกู ใหมเ พอ่ื ทดแทนเซลลก ระดกู สวนทีต่ ายไป
และเพ่มิ เซลลก ระดกู ใหม ากขนึ้ เพอ่ื การเจรญิ เตบิ โตของกระดกู หรือซอ มแซมในกรณีทกี่ ระดกู หกั
2. กระดูกออ‹ น
กระดกู ออ น (cartilage) จดั เปน เนอ้ื เยอื่ ยดึ เหนย่ี วชนดิ หนง่ึ ซงึ่ มสี ารระหวา งเซลลเ หนยี ว
หนืดมีหนาที่รองรับเนื้อเยื่อออน ๆ และชวยทำใหขอตอเคล่ือนไหวไดสะดวกขึ้น กระดูกออน
ไมแ ข็งแรงเทา กระดูก เพราะไมม ีแรธ าตุ แตมีความยดื หยนุ มากกวากระดูก มีเยอื่ หุมกระดกู ออน
เชน เดยี วกับกระดกู กระดูกออนแบง ออกเปน 3 ชนิด คือ
1) กระดูกออ นขาว ปรากฏเปน สีขาวปนสีนำ้ เงนิ พบไดท ่ีดานขอตอของกระดกู กระดกู
ออนซีโ่ ครง กระดกู ออนกลอ งเสียง และกระดูกออ นหลอดลม

หนังสอื เรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน สุขศึกษา ม. 4 13

2) กระดกู ออ นยดื หยุน สีคอ นขางเหลอื ง ยดื หยุน ไดมาก เพราะมเี สนใยมาก พบไดท ี่
กระดกู ออ นใบหู และฝาปด กลอ งเสยี ง
3) กระดกู ออ นพงั ผืด มีเสน ใยพังผดื มาก พบไดท ่หี มอนรองกระดูกสนั หลงั และขอ ตอ
หวั หนาว
3. ขอŒ ตอ‹ และเอน็ เชื่อมกระดกู
ขอตอ (joint) เกดิ จากกระดกู ตั้งแต 2 ช้ินข้นึ ไปที่อยูใ กลก นั มาเชือ่ มหรือตอกนั โดยมี
เอ็นและกลามเน้ือชวยยึดเสริมความแข็งแรงใหแกขอตอ ทำใหโครงกระดูกยืดหยุน สวนตาง ๆ
ของรา งกายเคลอ่ื นไหวไปมาไดส ะดวกเนือ่ งจากกระดกู ท่ีมาตอ กนั นั้นอยูในลกั ษณะตาง ๆ กัน ขอ
ตอตาง ๆ ในรางกายจึงแตกตางกนั ทัง้ รูปราง ลกั ษณะ และหนา ท่ี ทำใหแ ยกประเภทของขอ ตอได
ดังนี้
1) ขอตอเอ็น (fibrous เอน็ ยึดระหวางกระดูก เย่ือหมุ กระดูก
กระดกู กะโหลกศีรษะ

joint) เปนขอตอท่ียึดกันดวยเอ็น
พังผืดขาว ไดแก ขอตอระหวาง
กระดกู กะโหลกศีรษะสว นบน ขอตอ
ชนิดนจ้ี ะไมม ีการเคลือ่ นไหวเลย เยือ่ หมุ กระดูก

ลักษณะของขอ ตอ เอน็

2) ข อ ต อ ก ร ะ ดู ก อ อ น รรู ะหวาง เอน็ ระหวางปลาย
(cartilaginous joint) เปนขอตอที่ กระดกู สันหลงั ของปมุ แหลมของ
กระดกู สนั หลัง
เช่ือมกันดวยกระดูกออนและมีเอ็น กระดูกสันหลัง
ปมุ แหลมของ
ชว ยเสรมิ ดว ย ทำใหส ามารถเคลอ่ื นไหว กระดกู ออ นระหวาง กระดกู สันหลงั
ไดเล็กนอย ไดแก ขอตอระหวาง กระดูกสันหลงั เอน็ ระหวางปมุ แหลม

กระดกู ออ นซ่โี ครงซ่ีท่ี 1 กบั กระดูก ลกั ษณะของขอ ตอ กระดูกสันหลัง
หนาอกและขอตอระหวางกระดูก
สนั หลงั

เย่อื หมุ กระดกู

3) ข อ ต อ ซิ น โ น เ วี ย ล กระดกู ออนคลมุ ดาน เอน็ รอบขอ
(synovial joint) เปนขอ ตอทพี่ บมาก ถูไถของกระดูก โพรงขอ
ในรา งกายเรา ดานขอตอของกระดกู
คลุมดวยกระดกู ออนขาวหรือกระดกู เยอื่ บุซนิ โนเวยี ล
ออนพังผืดทำใหเคล่ือนไหวไดคลอง
มีเอ็นรอบขอช้ันนอกเปนเยื่อพังผืด ลักษณะของขอตอซนิ โนเวียล
สีขาว ช้ันในเปนเยื่อบุซินโนเวียล

14 หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน สขุ ศกึ ษา ม. 4
ซ่ึงเปนท่ีสรางนำ้ ไขขอสำหรับชวยในการหลอลื่น และยังทำหนาที่นำอาหารจากหลอดเลือดมาสู
กระดูกออ นที่คลุมปลายกระดกู ดวย

ขŒอต‹อซินโนเวียลเปนชนิดขŒอต‹อที่เคลื่อนไหวไดŒอิสระ ซึ่งแบ‹งตามการเคลื่อนไหวไดŒ
3 แบบ ดังนี้

1. ขอŒ ต‹อที่เคลอื่ นไหวไดŒรอบแกนเพียงแกนเดียว 2. ขอŒ ต‹อทีเ่ คล่ือนไหวไดŒรอบแกนสองแกน
มี 2 ชนิด มี 2 ชนดิ

ขŒอตอ‹ แบบบานพบั (hinge joints) ขŒอต‹อคอนไดลอยด (condyloid joints)
ไดแก ขอ ศอก ขอ เขา ไดแก กระดกู ฝา มือกบั น้ิวมือ เรียกวา ขอตอ เมทาคารโ พ

ฟารงิ เจยี ล (metacarpo pharyngeal joints)

ขอŒ ต‹อแบบหมนุ (pivot joints) ขŒอตอ‹ รูปไข‹ (ovoid or ellipsoidal joints)
ไดแก ขอ ตอระหวางกระดกู คอชนิ้ ทหี่ นึ่งและชิ้นทส่ี อง ไดแ ก ขอตอ เรเดียสกบั กระดูกขอ มอื

3. ขŒอตอ‹ ท่เี คลื่อนไหวไดŒรอบแกนหลาย ๆ แกน
มี 2 ชนิด

ขอŒ ต‹อแบบบอลในเบŒา (ball and socket joints) ขŒอต‹อแบบอานมาŒ (saddle joints)
ไดแก ขอไหล ขอ สะโพก ไดแ ก ขอตอ ระหวา งกระดูกนิ้วหวั แมมอื กบั กระดูกฝา มือ

หนังสือเรียน รายวิชาพนื้ ฐาน สุขศกึ ษา ม. 4 15
เอ็นเช่ือมกระดกู (ligament) เปน สวนสำคัญหน่ึงในระบบกระดูกทีช่ ว ยยดึ กระดกู ใหต อกนั
ตรงขอตอ ซ่ึงเปนเนื้อเย่ือยึดเหน่ียวที่มีความเหนียวทนทาน แตหากมีการบิดหรือดึงตรงขอตอ
แรง ๆ กอ็ าจทำใหข อเคลด็ ได
3.1.2 หนŒาท่ขี องระบบกระดกู สรปุ ไดด งั นี้
1. เปน โครงรา งของรา งกาย ชว ยคำ้ จนุ และรองรบั นำ้ หนกั ทำใหร า งกายทรงรปู รา งอยไู ด
2. ชวยยกและพยงุ อวัยวะตา ง ๆ ของรางกาย เชน ลำไส มดลูก
3. ปอ งกนั อวยั วะภายในรา งกายไมใหเปน อนั ตราย เชน สมอง หวั ใจ ปอด
4. เปน ทเี่ กาะยดึ ของกลามเนื้อ ทำใหรา งกายเคล่ือนไหวได
5. เปนแหลง ทีส่ รางเม็ดเลือด เกลด็ เลือด และเกบ็ ธาตแุ คลเซยี มของรา งกาย
3.1.3 การเจรญิ เติบโตของกระดูก
กระดกู จะเรม่ิ เจรญิ เปน กระดกู ออ นตง้ั แตอ ยใู นครรภ เมอ่ื รา งกายเจรญิ เตบิ โตขน้ึ กระดกู ออ น
จะคอย ๆ แขง็ ตวั จากแรธ าตทุ ส่ี ะสมในกระดูก การเจริญเติบโตของกระดกู จะเรม่ิ ทีจ่ ุดศนู ยกลาง
บรเิ วณตอนกลางของแกนกระดูก แลวขยายออกไปท้งั 2 ดานรอบโพรงกระดกู จากน้ันจะเจรญิ
เติบโตโดยมีจุดศูนยกลางบริเวณปลายกระดกู ท้ัง 2 ขาง ในเพศชายการเจรญิ เติบโตของกระดกู มี
มากในชวงอายุ 18–21 ป โดยฮอรโมนจากอัณฑะเปน ตวั กระตนุ ในเพศหญิงจะมมี ากในชว งอายุ
16–18 ป โดยฮอรโ มนจากรังไขเ ปน ตัวกระตุน และกระดูกจะเจรญิ จนถึงประมาณ 25 ป ก็จะ
หยุดการเจริญเตบิ โต

12 ป 14 ป ผูใหญ

4 ป

1 ป กระดกู ที่เตบิ โต
แรกเกดิ เต็มที่

กระดกู ออน เสนเจริญเติบโต
ลักษณะการเจรญิ เติบโตของกระดกู

16 หนังสือเรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน สุขศกึ ษา ม. 4

3.1.4 การสราŒ งเสรมิ และดำรงประสทิ ธภิ าพและการทำงานของระบบกระดูก
กระดกู มคี วามสำคญั ตอ รา งกาย เราจงึ ควรสรา งเสรมิ และดำรงประสทิ ธภิ าพของระบบกระดกู
ใหเจรญิ เตบิ โต ดงั นี้
1. รับประทานอาหารใหค รบ 5 หมู โดยเฉพาะอาหารทม่ี ีแคลเซียมและฟอสฟอรสั ซ่ึงเปน
สว นประกอบทส่ี ำคญั ของกระดกู และฟน และปอ งกนั โรคกระดกู ออ นได ไดแ ก นม ไข ถว่ั เมลด็ แหง
ปลาเล็กปลานอ ย และควรรับประทานอาหารทมี่ ีวติ ามินดี เชน ไขแ ดง ผกั สด จะชวยทำใหรางกาย
ดดู ซมึ แรธ าตุไดด ี

การวายน้ำเปนการออกกำลังกายอีกชนิดหนึ่ง 2. ออกกำลังกายกลางแจง โดยเฉพาะ
ที่ชวยสรางเสริมและดำรงประสิทธิภาพของกระดูก ชว งเชา และเยน็ เปน ประจำจะทำใหก ระดกู เจรญิ
เติบโตแข็งแรง ขอ ตอสวนตา ง ๆ ของกระดูก
ใหแข็งแรง เคลอ่ื นไหวไดด ี และรา งกายไดร บั วติ ามนิ ดอี ยา ง
เพยี งพอ

3. เคลอ่ื นไหวรา งกายอยา งถกู ตอ ง ดว ย
การพฒั นาทา ทางการทรงตวั หรอื การเคลอ่ื นไหว
ของรางกาย ไดแก การยนื เดิน น่ัง นอนให
ถูกตอง เปนส่ิงท่ีฝกฝนได และจะชวยใหมี
โครงรา งและบคุ ลกิ ภาพท่ดี ี ซึง่ มีวิธปี ฏิบตั ิดงั น้ี

ทา‹ การยนื ทถี่ กู ตอŒ ง คอื ยนื ในลกั ษณะ

ทา ทางการยืนที่ถูกสุขลกั ษณะ ท่ีกระดูกสันหลังเรียงตัวแอนเล็กนอยท่ีระดับ
คอ งอเล็กนอยที่ระดับอก และแอนเล็กนอย
ท่ีระดับเอว หรือสังเกตงาย ๆ วาแนวของ
ศรี ษะ ไหล สะโพก และสน เทา จะตรงอยใู นแนว
เดียวกันดังรูป ถายืนแอนหลังเกินไปจะทำให
ยนื ไดไ มน าน เพราะปวดหลงั หรอื ถา ยนื หลงั คอ ม
กจ็ ะทำใหเสียบคุ ลิกภาพ

ท‹าการเดนิ ท่ถี กู ตŒอง คอื การทสี่ ภาพ
รา งกายอยใู นภาวะสมดลุ สว นหลงั ลำคอจะตอ ง
ต้ังตรงเสมอ ขาทั้ง 2 ขางตองขนานกัน ใน
ขณะเดินนำ้ หนักตัวตองตกลงที่อุงเทาและตอง
ไมอ ยูในลักษณะเกรง็ เพราะจะทำใหเ มอ่ื ยลา

หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน สขุ ศกึ ษา ม. 4 17
ท‹าการนง่ั ทีถ่ ูกตŒอง คือ สวนของหลงั ระดับเอวตองแนบ
ไปกับพนักพิงของเกาอี้ สวนไหลและศีรษะอยูในแนวตรง
เชนเดียวกับทายืน แตถาจำเปนตองโนมตัวไปขางหนาเพ่ือ
เขยี นหนังสอื รบั ประทานอาหาร หรือทำงานอน่ื ๆ ก็ใหโนม ตัว
ไปขางหนาโดยการงอสะโพกเพียงอยางเดยี ว สว นอน่ื ๆ จะอยู
ในสภาพเดิม อยา งไรก็ตาม การนัง่ โนมตวั ไปขางหนา กไ็ มควร
กระทำอยูเปน เวลานาน

ทา ทางการนัง่ ทถี่ กู สุขลักษณะ

ท‹าการนอนทถี่ กู ตอŒ ง คอื นอนบนที่นอนทไี่ มอ อนนุม หรือแขง็ จนเกินไป ถา นอนหงายชว ง
ลำตวั และชว งกน จะตอ งแนบกบั พนื้ ควรจะมหี มอนหรอื ผา รองใตเ ขา หากนอนตะแคง หลงั ตอ งตรง
ขาบนกา ยหมอนขาง ขาลางเหยยี ดตรงและไมควรใชหมอนหนนุ ทส่ี งู เกินไปเพราะจะทำใหเ มื่อยคอ
วางมือและเทาตามสบายอยาใหถูกกดหรือถูกทับ สวนการนอนควำ่ นอนงอตัวหรือนอนคุดคู
ไมควรกระทำเพราะเปนวธิ ีท่ีไมถ กู ตองและอาจปวดหลังได

ทาทางการนอนท่ีถูกสุขลกั ษณะ

18 หนงั สอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน สขุ ศึกษา ม. 4
ในบางครงั้ เราอาจจำเปน ตอ งยกของหนกั กม ลงเกบ็ สงิ่ ของทต่ี กหรอื วางอยกู บั พนื้ หรอื ทำงาน

ในทีต่ ่ำกวา ระดบั เอว การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมดังกลาวจำเปนตอ งปฏิบตั ดิ ว ยทาท่ถี กู ตอง

¡Òá¢Í§

·Ò‹ ¡Ò÷ӧҹ㹷µÕè èÓ¡ÇÒ‹ ÃдѺàÍÇ ·Ò‹ ¡ÒÃÂÍ‹ à¢Ò‹ ⹌ÁµÑÇ¡ŒÁŧ

12 3

·‹Ò¡ÒáÊÔ觢ͧ˹ѡ¢¹éÖ ¨Ò¡¾é¹× ´ŒÇÂÊͧÁ×Í 2

1

·Ò‹ ¡ÒáʧèÔ ¢Í§Ë¹¡Ñ ¢Ö¹é ¨Ò¡¾¹×é ´ÇŒ ÂÁ×Íà´ÂÕ Ç

หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน สุขศกึ ษา ม. 4 19

กจิ กรรมเรียนรู...สูปฎิบติ

• เพือ่ ความเขาใจทคี่ งทนใหน ักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมตอไปน้ี
1. จับคูกับเพ่ือนผลัดกันตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับชนิดของกระดูก หนาท่ี และการสรางเสริม
และดํารงประสทิ ธิภาพและการทาํ งานของระบบกระดูก
2. เขยี นแผนทค่ี วามคดิ สรุปความเขา ใจเรอ่ื ง ระบบกระดกู
3. แบงกลมุ กลมุ ละ 3–4 คน ฝก ปฏบิ ตั กิ ารเคลือ่ นไหวรางกายในอิริยาบถตา ง ๆ ใหถ ูกตอ ง (การนง่ั
การยนื การนอน และการยกสงิ่ ของ) แลวบันทึกผลการปฏบิ ตั แิ ละสงิ่ ทค่ี วรปรบั ปรงุ ลงในสมุดบนั ทึก
4. แบง กลมุ กลมุ ละ 3–4 คน รวมกันอภิปรายเรื่อง แนวทางการปอ งกันการบาดเจบ็ ของระบบกระดกู
จากอุบตั เิ หตแุ ละการเลนกีฬาทร่ี ุนแรง

1.4 ระบบกลามเนอื้

ระบบกลามเนอื้ (the muscular system) เปน ระบบเกี่ยวกบั การเคลื่อนไหวของรา งกาย
มนุษยสามารถเคล่ือนไหวในอริ ยิ าบถตา ง ๆ ทง้ั เดนิ วง่ิ เหยยี ด ยืดแขนขา และอืน่ ๆ ไดน น้ั ตอง
อาศยั การทำงานของระบบกลา มเนอื้ และระบบกระดกู ทที่ ำหนา ทรี่ ว มกนั เสมอ โดยการหดและขยาย
ตวั ของมดั กลา มเนอื้ แตล ะครงั้ จะสง ผลทำใหก ระดกู ขอ ตอ และเอน็ ตา ง ๆ เกดิ การเคลอ่ื นไหวและ
ทำงานได กลา มเนอื้ จงึ เปรียบไดก ับเคร่ืองยนตซงึ่ เปนแหลงพลังงานกลทใี่ ชใ นการเคล่ือนไหวสวน
ตาง ๆ ของรางกาย

กลามเนื้อท่หี นาผาก
ควบคมุ การยน ของหนาผาก

กลา มเน้ือท่ีหัวไหล
ควบคุมการยกแขนขนึ้

กลามเนื้อที่หนาทอ ง กลามเน้อื ทีก่ น
ควบคุมการพับหรอื ควบคุมการเคลอ่ื นไหว
กม ลำตัว ของตน ขา
กลามเนื้อทต่ี นขา กลา มเน้อื ท่ีนอ ง
ควบคมุ การเหยยี ดเขา ควบคมุ การงอขอ เทา

กลา มเนอื้ ในสว นตาง ๆ ของรา งกาย

20 หนงั สือเรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน สุขศึกษา ม. 4

1.4.1 คุณสมบัตขิ องกลาŒ มเนือ้

นานา นา รู กลา มเนอ้ื ของคนเรามคี ณุ สมบตั ิ ดงั น้ี
1. ความรูŒสึกต‹อส่ิงเรŒา (electrical
excitability) กลามเน้ือสามารถรับและ
ตะครวิ คือ ภาวะทีก่ ลามเนอ้ื หดเกร็งเปนระยะเวลา ตอบสนองตอส่ิงเราซ่ึงเปนคำส่งั จากสมอง
หน่ึงโดยท่ีเราไมสามารถควบคุมใหกลามเน้ือมัดน้ัน ๆ ทม่ี าตามเสน ประสาท ระหวา งทมี่ กี ารกระตนุ
คลายตัวได ตะคริวอาจเกิดจากกลามเนื้อถูกใชงาน จากเสนประสาทกลามเน้ือจะหดตวั เรื่อย ๆ
ติดตอกันเปนเวลานานจนเกิดความลาหรืออาจเกิดจาก
การกระแทกจนกลา มเนอื้ ฟกชำ้ การปฐมพยาบาลจะตอ ง จนกวา จะมคี ำสงั่ หยุด
คอ ย ๆ ยดื กลามเนอื้ บรเิ วณทเี่ ปน ตะครวิ อาจใชเ วลา 2. การหดตวั (contractility) เปน
ประมาณ 1–2 นาทีและไมควรบีบนวดขณะกลามเน้ือ
เกรง็ ตวั คุณสมบัติที่สำคัญของกลามเนื้อซึ่งทำให
ที่มา: http://www.bangkokhealth.com เกดิ การทำงานและการเคลอ่ื นไหวของรา งกาย
โดยอาศยั การเคลื่อนทข่ี องโปรตนี 2 ชนดิ
คอื แอกทนิ (actin) และไมโอซนิ (myosin)
3. ความตึงตัวของกลาŒ มเน้อื (extensibility) หมายถงึ การหดตัวของกลา มเน้อื เพยี งบาง
สวน โดยปกติแลวกลามเน้ือบางสวนจะหดตัวเพ่ือใหกลามเน้ือมีความตึงตัวเสมอ ตัวอยางเชน
ผูปวยท่ีนอนบนเตียงนาน ๆ ความตึงตัวจะลดลงเรื่อย ๆ เม่ือเวลาจะลุกขึ้น จะลุกไมขึ้นหรือ
ลม ตองมีคนคอยพยงุ ทงั้ นี้เนื่องจากกลามเนื้อไมมคี วามตงึ ตัว
4. การยืดและคลายสู‹สภาพเดิม (elasticity) โดยปกติแลวกลามเน้ือจะมีความยืดหยุน
คลายยาง และเตรียมพรอมท่ีจะกลบั ไปสูร ูปรางเดิม คณุ สมบตั นิ ชี้ ว ยปอ งกันการฉีกขาดของกลาม
เนื้อเมื่อมีแรงกระตุนมาก ๆ และเมื่อมีการกระตุนเบา ๆ กลามเน้ือก็สามารถหดตัวได เชน
กลา มเนือ้ เรียบที่ผนังกระเพาะปส สาวะสามารถยดื ตวั ไดม ากเม่ือมีปสสาวะเตม็ และจะหดตวั กลับ
สูสภาพเดมิ ไดเมื่อปส สาวะหมดไป
1.4.2 ประเภทของกลŒามเนอื้
กลา มเนอื้ ในรา งกายของคนเราแบง เปน 3 ประเภทตามทอี่ ยู รปู รา ง ตำแหนง และการทำงาน
ดงั น้ี
1. กลŒามเนื้อลาย (striated muscle) เปนกลามเนอื้ ทเี่ กาะตดิ กับกระดกู มีลกั ษณะเปน
แถบลายขาว ๆ ดำ ๆ สลบั กนั เซลลข องกลามเน้ือลายจะประกอบเปนมดั ยาว ๆ เซลลห นึง่ มหี ลาย
นวิ เคลยี ส การทำงานของกลา มเนอื้ ประเภทนถ้ี กู ควบคมุ ดว ยระบบ
ประสาทสวนกลาง สามารถบังคับใหทำงานตามคำส๋ังไดจึงเรียก
กลา มเนอ้ื ประเภทนอี้ กี ชอื่ หนง่ึ วา กลา มเนอ้ื ทอี่ ยภู ายใตอ ำนาจจติ ใจ
(voluntary muscle) ซ่งึ ไดแ ก กลามเนื้อแขน กลา มเน้อื ขา
ลักษณะเซลลก ลา มเนอื้ ลาย

หนงั สอื เรียน รายวิชาพื้นฐาน สขุ ศึกษา ม. 4 21

2. กลŒามเน้ือเรียบ (smooth muscle) เปนเซลล
กลามเน้ือที่มีลักษณะแบนยาวแหลม หัวแหลม ทายแหลม
ไมมีลาย ภายในเซลลมีนิวเคลียสอันเดียวอยูตรงกลาง
กลา มเนอ้ื ประเภทนจ้ี ะควบคมุ การเคลอ่ื นไหวของอวยั วะภายใน ลักษณะเซลลก ลามเนอื้ เรียบ

เชน ระบบยอยอาหาร ระบบไหลเวียนโลหติ ระบบขบั ถายปส สาวะ และระบบสบื พันธุ กลามเน้ือ
ประเภทนถ้ี กู ควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ รางกายไมส ามารถควบคุมการทำงานได จึงเรียก
อกี ชอื่ หน่ึงวา กลา มเนื้อทีอ่ ยูนอกอำนาจจติ ใจ (involuntary muscle) เซลลกลา มเนื้อประเภทน้ี
ไดแก ผนังกระเพาะอาหาร ผนังลำไส กลามเน้ือหูรดู ทมี่ านตา
3. กลŒามเน้อื ลายหวั ใจ (cardiac muscle) พบเฉพาะบริเวณหวั ใจเทา น้ัน เซลลกลา มเน้อื
ประเภทน้ีมีลักษณะเปนลายพาดขวางและมีนิวเคลียส
หลายอันเหมือนกลามเน้ือลาย แตเปนกลามเน้ือที่อยูนอก
อํานาจจิตใจและถูกควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ
เชนเดยี วกับกลามเน้ือเรยี บ
1.4.3 การทำงานของกลŒามเนอื้ ยดึ กระดกู ลักษณะเซลลก ลามเน้อื หัวใจ

กลามเน้ือท่ีเราเห็นโดยท่ัว ๆ ไปในรางกายจะมีปลาย 2 ขางสำหรับยึดเกาะที่กระดูก
ปลายขา งหน่ึงอยูใ กลลำตวั เรยี กวา จุดเกาะตน (origin) ปลายขางนม้ี ขี นาดเลก็ และเคลอ่ื นไหวได
นอย บางคร้ังจะแผเปน แผน คลมุ อยูบนกลามเนอื้ เรยี กวา เอ็นแผน (aponeurosis) สวนปลาย
อกี ขางหนึ่งจะอยูหางจากลำตัวมาก และเคลอ่ื นไหวไดม ากกวา เรียกวา จุดเกาะปลาย (insertion)
จดุ เกาะปลายมกั มลี กั ษณะเปนเอ็นสีขาว ซึ่งเรียกวา เอ็นกลา มเนื้อ (tendon) กลา มเนื้อยึดกระดกู
เปนกลา มเนอื้ ทม่ี มี ากทส่ี ุดในรางกาย มลี กั ษณะเปนมัด ๆ ซ่งึ แตละมดั จะประกอบดว ยหลายมัด
ยอย แตละมัดยอยจะประกอบดวยเซลลท่ีมลี ักษณะยาวเหมือนเสน ใยทเี่ รยี กวา เสน ใยกลา มเน้ือ
(muscle fiber) ภายในเสน ใยกลา มเนอื้ จะประกอบดวยเสนใยกลา มเนอ้ื เลก็ ๆ หรือ เสน ใยฝอย
(myofibrils) ท่ีมีลักษณะเปนทอนยาวเรียงซอนกันตามยาวเสนใยกลามเน้ือแตละเสนจะมีเยื่อหุม
เซลลห มุ ไวและในเสน ใยกลา มเนอื้ จะมีปลายของใยประสาทแอกซอน (axon) ปนอยดู วย
กลามเนื้อยึดกระดูกจะทำงานประสานกันเปนคู ๆ โดยเริ่มทำงานพรอมกันแตตรงกันขาม
กลาวคือ ในขณะท่ีกลามเนื้อมัดหน่ึงหดตัว กลามเน้ืออีกมัดหน่ึงจะคลายตัว มัดกลามเนื้อคูนี้
เรียกวา ไบเสบ็ (biceps) อยดู านบนและไตรเซ็ปส (triceps) อยูดา นลางเม่อื งอแขน
การทำงานของกลามเน้ือยึดกระดูกที่เห็นไดชัด ไดแก กลามเน้ือแขน ปลายขางหนึ่งของ
กลามเนื้อจะยึดติดกับกระดูกแขนทอนบน ปลายอีกดานจะยึดติดกับกระดูกแขนดานลาง ขณะ
งอแขนกลามเน้ือไบเซ็ปสจะหดตัว กลามเน้ือไตรเซ็ปสจะคลายตัว การทำงานประสานกันเชนนี้
เรยี กวา แอนตาโกนซิ มึ (antagonism) นอกจากนย้ี งั มคี กู ลา มเนอื้ บรเิ วณโคนขา หวั ไหลแ ละสะโพก
ซงึ่ ทำงานแบบแอนตาโกนิซมึ ดว ย จงึ ทำใหคนเราสามารถงอเขา ยกแขนและขาได

22 หนงั สือเรียน รายวิชาพนื้ ฐาน สุขศึกษา ม. 4

กลา มเนื้อตนแขน กลามเน้อื ตนแขน กลา มเนอ้ื ตนขา
ดานหนาคลายตวั ดานหนาหดตวั ดานหลังหดตัว

กลา มเนื้อตน ขา กลามเน้ือตน แขน
ดานหนาหดตัว ดานหลังหดตวั

กลา มเน้ือตน แขนดาน
หลงั คลายตัว

กลามเน้ือตนขา
ดานหนาคลายตัว

กลามเนอื้ ตนขา
ดา นหลงั คลายตัว

ลกั ษณะกลามเนอื้ ท่ีทำงานรวมกนั เปนคู

เอ็นรอ ยหวาย กลามเน้ือ โดยปกตแิ ลว กลา มเนอ้ื จะยดึ ตดิ กบั กระดกู
ยึดกระดูก โดยมีเอ็นเปนตัวเชื่อม เชน กลามเน้ือน้ิวมือ
กระดูก มีจุดเร่ิมตนต้ังแตตอนบนของแขนทอนลาง
โดยมเี อน็ ขนาดยาวมากเชอื่ มไปสนู ว้ิ มอื แตล ะนว้ิ
ถาลองเกร็งหลังมือดูก็จะเห็นเสนเอ็นไดอยาง
ชดั เจน เอน็ ยึดกลามเนอ้ื กบั กระดูกทใี่ หญทส่ี ุด
รองรับนำ้ หนักมากท่ีสุดอยูดานหลังของขอเทา
เรยี กวา เอน็ รอ ยหวาย (calcaneal tendon) ซง่ึ เรา
สามารถจบั เอน็ รอ ยหวายท่ีขอเทา ของตนเองได

เอ็นยดึ ระหวางกลามเน้อื กับกระดูกตรงนอ งและขอเทา

หนงั สือเรียน รายวิชาพนื้ ฐาน สุขศึกษา ม. 4 23
กลามเนื้อลายที่ยึดติดกับกระดูกเปนตัวชวยใหรางกายคนเราเคล่ือนไหวในลักษณะตาง ๆ
ได โดยการหดตัวของเซลลกลามเน้ือ ซ่ึงในแตละเซลลมีเสนใยกลามเน้ืออัดแนน เสนใยเหลานี้
จะมโี ปรตีน 2 ชนดิ คือ ไมโอซินและแอกทนิ เปนองคป ระกอบหลัก เมื่อช้นั โปรตนี ทง้ั สองเลือ่ น
เขาซอ นกนั จะทำใหเ ซลลกลามเนอ้ื ส้นั ลงและหนาขนึ้ ดว ย กลา มเน้ือสามารถหดตวั ไดราว 1 ใน 3
ของความยาวปกติ ยง่ิ มจี ำนวนเซลลท ห่ี ดตวั มากเทา ใด กลา มเนอ้ื กย็ งิ่ แขง็ แรงและหนาขน้ึ เพยี งนนั้
ถาลองงอขอศอกและเกร็งแขนดูก็จะเห็นกลามเน้ือโคนแขน (ไบเซ็ปส) ท่ีหดสั้นลงการทำงาน
ของกลามเน้ือน้ันตองอาศัยพลังงานซ่ึงอยูในรูปของกลูโคส (glucose) ที่ไดจากอาหารจำพวก
คารโ บไฮเดรตทเี่ รารบั ประทานเขา ไป โดยอาจเปน กลโู คสทส่ี ะสมอยใู นกลา มเนอ้ื เอง หรอื อาจสง มา
จากสวนอ่ืนของรางกายซึ่งผานมาทางกระแสเลือดก็ได และในข้ันตอนการเปลี่ยนกลูโคสเปน
พลงั งานนน้ั ตอ งอาศัยออกซเิ จนจากเซลลเ ม็ดเลือดแดงท่ผี านมาตาม กระแสเลือดดว ย
1.4.4 ความเมอื่ ยลŒาของกลาŒ มเน้ือ
ความเมอ่ื ยลา ของกลา มเนอ้ื คอื การทกี่ ลา มเนอ้ื ไมส ามารถหดตวั และคลายตวั ไดต ามทสี่ มอง
สง่ั การ ทงั้ นเ้ี กดิ จากไกลโคเจน (glycogen) ในกลา มเนอ้ื สลายตวั ไปหมด อาหารและแกส ออกซเิ จน
จากเลอื ดเขา ไปหลอ เลย้ี งไมพ อ รวมทง้ั ไมส ามารถสง ของเสยี ทเ่ี กดิ จากการทำงานของกลา มเนอื้ ออก
จากบรเิ วณนน้ั ทำใหกลามเนอื้ ไมม ีพลงั งาน บางคร้งั ทำใหม อี าการท่ีเรยี กวา ตะคริว ซง่ึ แกไ ขได
โดยคอ ย ๆ ยดื กลา มเนอ้ื บรเิ วณทเ่ี ปน ตะครวิ เชน เปน ตะครวิ ทกี่ ลา มเนอ้ื นอ ง ใหน ง่ั เหยยี ดเขา และ
กระดกปลายเทา ขน้ึ อกี สาเหตหุ นง่ึ ทท่ี ำใหก ลา มเนอ้ื เมอ่ื ยลา กค็ อื เกดิ กรดแลคตกิ (lactic acid) และ
แอมโมเนีย (ammonia) สะสมอยูในกลามเน้ือมากเกินไป เน่ืองจากกลามเนื้อทำงานนานเกินไป
โดยไมหยุดพัก กรดแลคติกและแอมโมเนียสลายตัวไมทันจะสะสมในกลามเน้ือเปนปริมาณมาก
ถากลามเนื้อไดออกซิเจนจากเลือดเขา มามากพอจะทำใหอ าการเมื่อยลา ผอนคลายลงได
นอกจากนี้ความตึงเครียด ความวิตกกังวลก็เปนอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำใหรางกายเมื่อยลา
และออนเพลียไดเ ชนกนั แตเปนการออ นลาของระบบประสาทและกลา มเนือ้ ทำงานไมป ระสานกัน
ดังนั้นหลังจากทำงานทงั้ วันหรอื ออกกำลงั กายมาใหม ๆ เราจำเปนตองพกั ผอนใหเ พยี งพอ
1.4.5 การเจริญเตบิ โตของกลาŒ มเนอ้ื และการซ‹อมแซม
ปกติเมอื่ ทารกคลอดออกมา กลามเนื้อยังมขี นาดเล็ก ไมแข็งแรง และควบคุมไดไมเ ต็มที่
แตเ มอ่ื รา งกายมกี ารเคลอ่ื นไหวเพม่ิ ขน้ึ กลา มเนอ้ื จะมกี ารเจรญิ เตบิ โตขน้ึ โดยแขนขาทเ่ี ปน กลา มเนอ้ื
มดั ใหญจ ะเจริญเตบิ โตกอ น และเมือ่ เดก็ เริ่มยืน เดนิ และว่ิง จะชว ยใหก ลา มเน้ือเจรญิ เติบโตและ
ทำงานประสานกันดีย่ิงข้นึ จนเปนกลามเนอื้ มดั ใหญท ีแ่ ขง็ แรง ซ่งึ กลามเนื้อคนเราจะเจรญิ เตบิ โต
และอยูในสภาพแข็งแรงที่สุดเมื่ออายุประมาณ 25 ป และถาเรารับประทานอาหารท่ีมีประโยชน
และออกกำลงั กายอยเู สมอกจ็ ะสามารถคงสภาพความแขง็ แรงของกลา มเนอื้ ตอ ไปไดอ กี นาน เซลล
กลา มเนอ้ื เมื่อถูกตดั ขาดจากกันเปน 2 สวน เชน กรณีเกิดอบุ ตั ิเหตุ สวนท่ีมีองคประกอบสำคัญ
ภายในเซลลอยูจะสามารถซอมแซมสรางสวนท่ีขาดหายไปเพิ่มเติมข้ึนมาใหมไดแตอีกสวนหน่ึง

24 หนงั สอื เรยี น รายวิชาพื้นฐาน สขุ ศกึ ษา ม. 4
จะคอย ๆ เสื่อมสลายไป การเชื่อมตอกันของบาดแผลบนมัดกลามเนื้อ ซ่ึงมีเสนประสาทและ
เลอื ดหลอ เลย้ี งอยอู ยา งสมบรู ณ จะซอ มแซมโดยการแบง เซลลข องเนอื้ เยอ่ื ยดึ เหนยี่ วเปน สว นใหญ
แตก็อาจมีเซลลกลามเนื้อท่ีถูกทำลายสรางสวนของเซลลท่ีขาดหายไปข้ึนมาใหมไดบาง และอาจมี
เซลลพ ิเศษบางชนดิ ซึง่ ปกติจะแทรกอยูกบั เย่ือหุมมดั กลา มเน้อื สามารถแบง เซลลได เซลลก ลา ม
เน้ือขึ้นมาใหมซึ่งมีไมมากนัก ดังนั้นสวนที่เกิดขึ้นมาประสานกันจึงมีลักษณะคลายพังผืดยกเวน
เซลลก ลามเน้อื หัวใจท่ไี มม ศี ักยภาพในการซอ มแซมสวนทขี่ าดหายไปข้ึนมาใหมไ ด

1.4.6 การสราŒ งเสริมและดำรงประสทิ ธภิ าพของระบบกลาŒ มเน้ือ
ระบบกลา มเนอ้ื เปน ระบบทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การเคลอื่ นไหวทกุ สดั สว นของรา งกายทเ่ี ปน สงิ่ สำคญั
ในการปฏิบัตกิ จิ กรรมตาง ๆ เราจงึ ควรสรางเสรมิ และดำรงประสทิ ธิภาพของระบบกลามเนือ้ ให
กลา มเนื้อมคี วามแขง็ แรงและความอดทนอยเู สมอดังนี้
1. รับประทานอาหารใหค รบ 5 หมู อาหารประเภทโปรตนี จะชวยในการเจรญิ เติบโตและ
ความแข็งแรงของกลามเน้ือ หากเกดิ ภาวะขาดอาหารอยา งรุนแรงหรือประสาทท่คี วบคุมกลา มเน้อื
ถูกทำลายในชวงทเ่ี ขา สูว ยั ชรา อาจทำใหก ลามเนอื้ ลีบเล็กไมม เี รี่ยวแรงได เพราะโปรตนี ทเี่ ปน องค
ประกอบในเซลลกลามเนื้อสลายตัว สวนอาหารประเภทคารโบไฮเดรตจะใหพลังงานแกกลามเนื้อ
ทำใหส ามารถใชก ลามเนื้อในการดำเนนิ กจิ กรรมตา ง ๆ ได
2. ออกกำลังกายอยางสมำ่ เสมอเปนประจำ ไดแก การเพิ่มความแข็งแรงและอดทนของ
กลา มเนอื้ โดยการดงึ ขอ การฝก ความคลอ งแคลว โดยการวงิ่ กลบั ตวั วงิ่ เกบ็ ของ รวมถงึ การยดื เหยยี ด
กลา มเนอื้ และการเลน กฬี าทเี่ หมาะสมกบั รา งกาย ซง่ึ การออกกำลงั กายจะทำใหก ลา มเนอื้ และเสน ใย
กลา มเนือ้ มีขนาดใหญแ ละแขง็ แรงขึ้น
3. พกั ผอ นใหเ พยี งพอ จะชว ยคลายความเมื่อยลา ของกลามเนอ้ื
4. ทำจติ ใจใหร า เรงิ แจม ใสอยเู สมอ เพราะความเครยี ดและความวติ กกงั วลจะทำใหก ลา มเนอ้ื
แขน ขา หนา ตา มกี ารเกรง็ ตวั และมักปวดกลา มเนือ้ ตามคอ หลงั บางคนอาจปวดกระบอกตา

กิจกรรมเรียนรู...สูป ฎบิ ติ

• เพ่อื ความเขา ใจท่คี งทนใหนักเรียนปฏิบตั ิกจิ กรรมตอไปน้ี
แบงกลุม เปน 2 กลุม แตละกลุมรว มกนั ศึกษาคน ควาในหัวขอตอไปน้ี
1. จบั คูกับเพ่ือนระดมสมอง อธบิ ายการทาํ งานของระบบกลามเนอ้ื ในขณะทรี่ างกายเคล่ือนไหว โดยการ
ยกแขนและยกขา แลวบันทกึ ลงสมดุ บนั ทกึ
2. จดั ทาํ รายงานสรปุ ความรเู รอ่ื ง ระบบกลา มเนอ้ื แลว นาํ มาอภปิ รายรว มกบั เพอ่ื น ๆ ในชน้ั เรยี น
3. วางแผนการบาํ รงุ รกั ษาระบบกลา มเนอ้ื ของรา งกายตนเองในดา นการรบั ประทานอาหาร การออกกาํ ลงั -
กาย และการพักผอ น แลวนําแผนน้นั ไปปฏิบตั จิ ริง

หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน สุขศกึ ษา ม. 4 25

แหลงสบื คนความรู

นักเรียนสามารถคนควาความรูเร่ือง ระบบตาง ๆ ของรางกาย เพ่ิมเติมไดจากการ
สอบถามครู อาจารยแพทย หรือศกึ ษาจากสอ่ื เอกสารทางวชิ าการท่ีเก่ยี วขอ ง และที่เวบ็ ไซต
http://th.wikipedia.org/wiki/โดยสืบคนคําวา “ระบบอวัยวะ” ตอจากนั้นบันทึกผลการ
คน ควา และคําถามทส่ี งสัยในสมุดบันทกึ นําไปรายงานผลในการเรียนครัง้ ตอไป

2. การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง

การมสี ขุ ภาพทด่ี เี ปน สง่ิ ทที่ กุ คนปรารถนา แตเ ราจะมสี ขุ ภาพทด่ี ไี ดน นั้ เกดิ จากความเอาใจใส
ในสขุ ภาพของตนเองอยา งสมำ่ เสมอ โดยตองรจู กั การวางแผนดแู ลสุขภาพของตนเอง ทงั้ สุขภาพ
กาย จิตใจ สังคม และปญญา ดงั นนั้ นกั เรยี นจงึ ตอ งมคี วามรู ความเขาใจเร่ืองการวางแผนดแู ล
สขุ ภาพ โดยเรียนรปู จ จัยท่มี ผี ลตอ การเจริญเติบโตและพฒั นาการของตนเอง เพอ่ื จะไดสรา งเสรมิ
สขุ ภาพตามการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการตามวยั อยางถูกตอ งจนเกดิ สขุ ภาพที่ดตี ามมา

2.1 ความหมายและความสาํ คัญของการวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง

การวางแผนดแู ลสุขภาพตนเอง คือ การกำหนดแนวทางการปฏบิ ตั ิตนเพ่อื การดแู ลสุขภาพ
ตนเองนำมาสสู ขุ ภาวะทสี่ มบรู ณท งั้ ทางรา งกาย จติ ใจ อารมณ สงั คม และปญ ญา หากรจู กั วางแผน
ดแู ลสขุ ภาพยอ มทำใหม สี ขุ ภาพดี ปฏบิ ตั หิ นา ทไี่ ดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ และชว ยลดคา ใชจ า ยในการ
รักษาพยาบาล เมอื่ ทุกคนรูจ กั ดแู ลสขุ ภาพตนเองแลว สขุ ภาพของบุคคลในชุมชนและสังคมกจ็ ะดี
ประชากรของประเทศกจ็ ะมีคุณภาพ

2.2 การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง

มีข้ันตอนหรอื กระบวนการวางแผน ดงั น้ี
1. การวเิ คราะหสถานการณและการประเมินปญหาสุขภาพ โดยพิจารณาวาตนเองมสี ขุ ภาพ
อยา งไร มีการเจบ็ ปวยหรอื มคี วามเสี่ยงตอ การเกดิ สขุ ภาพไมด ีอยางไร ซึ่งวิเคราะหและประเมนิ ได
จากสถติ กิ ารรบั บรกิ ารทางการแพทยแ ละสาธารณสขุ ของตนเอง รวมถงึ วเิ คราะหส าเหตขุ องการเกดิ
พฤตกิ รรมสขุ ภาพทไ่ี มด ี และสภาพแวดลอมท่ีเอ้อื ตอ การเจบ็ ปวยอนื่ ๆ ดว ย
2. การจัดลำดับความสำคัญของปญหาสุขภาพ เปนการจัดลำดับความสำคัญของปญหา
สุขภาพที่ตองดำเนินการแกไขอยางเรงดวนกอน เชน หากปวดศีรษะบอย ๆ ซึ่งเปนอุปสรรค
ตอการศึกษา รวมทั้งมีภาวะน้ำหนกั เกินมาตรฐาน ลำดบั แรกท่คี วรดำเนนิ การแกไข คอื การรักษา
โรคปวดศีรษะใหหายเปนปกตกิ อ น

26 หนงั สือเรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน สุขศึกษา ม. 4
3. การวางแผนการแกไขปญหาสุขภาพ เปนขั้นตอนการกำหนดวิธีแกไขปญหาสุขภาพ

ใหเ หมาะสม โดยอาจนำแนวคดิ หรอื ทฤษฎกี ารดแู ลสขุ ภาพตา ง ๆ มาเปน แนวทางในการแกไ ข เชน
การปฏบิ ัติตามหลักสุขบญั ญัตแิ หง ชาติ การดแู ลสุขภาพตามหลัก 6 อ.

4. การปฏิบัตติ ามแผนการแกไ ขปญ หาสขุ ภาพทีว่ างไว เพอ่ื สขุ ภาพท่ดี ีตอ ไป
5. การประเมินการแกไขปญหาสุขภาพ เปนการประเมินผลวาเปนไปตามผลที่กำหนดไว
หรือไม เชน ปญหาสุขภาพและการเจ็บปวยหมดไป หรือมีการพึ่งการรักษาพยาบาลจากแพทย
ลดลง

2.3 ปจ จัยท่มี ผี ลตอการเจร�ญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุน

ปจ จยั สำคัญที่มีผลตอการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของวยั รุนมดี งั น้ี
2.3.1 พันธุกรรม
พันธกุ รรม (heredity) หมายถึง การถายทอดคุณลักษณะจากคนรนุ หนง่ึ ไปสคู นอีกรนุ หนึ่ง
โดยผา นทางยนี (gene) ทีอ่ ยใู นโครโมโซม (chromosome) ของพอและแม ซ่งึ จะเกิดขน้ึ เม่ือมกี าร
ผสมกันระหวางเซลลสืบพันธุเพศชาย คือ อสุจิ (sperm) และเซลลสืบพันธุเพศหญิง คือ ไข
(ovum) ลกู จงึ ไดร บั การถา ยทอดลกั ษณะตา ง ๆ มาจากพอ และแม ลกั ษณะทถี่ า ยทอดทางพนั ธกุ รรม
ไดแ ก ลกั ษณะทางกาย เชน ชนิดของกลมุ เลอื ด สีผม สีผิว สขี องนยั นต า ความสงู และลกั ษณะ
ทางจิตใจและเชาวนปญญา ไดแ ก ความสามารถทางสตปิ ญ ญาลกั ษณะที่ถา ยทอดทางพนั ธุกรรม
ตลอดจนการถายทอดลักษณะความผิดปกติของโรคและความบกพรองตาง ๆ ท่ีอาจสงผลตอ
รางกาย สภาพจติ ใจและสติปญ ญาของวัยรนุ ได เชน ภาวะปญ ญาออน ภาวะเตย้ี แคระ ตาบอดสี
ผิวเผือก โรคลมบาหมู โรคธาลัสซีเมีย (thalassemia)
2.3.2 การทำงานของต‹อมไรทŒ ‹อ
ต‹อมไรทŒ ‹อ (endocrine gland) เปน ตอ มไมม ที อ ทอ่ี ยใู นรางกาย จะทำหนา ทผ่ี ลติ ฮอรโ มน
(hormone) ตาง ๆ เขาไปในกระแสเลอื ดไปสูอวยั วะเปาหมาย เพื่อควบคมุ การทำงานของอวยั วะ
ตาง ๆ กระตนุ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการ ทำใหร า งกายอยใู นภาวะสมดลุ

หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน สุขศึกษา ม. 4 27

ตอ มใตสมองสวนหนา
ตอมไทรอยด
ตอ มไทมัส
ตอมหมวกไต
ตอมเพศ

ท่ตี ง้ั ของตอ มไรทอทมี่ ีอิทธพิ ลตอ การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการในวยั รุน

ตอมไรทอท่ีมีบทบาทในการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุน ไดแก ต‹อมใตŒสมอง
ส‹วนหนาŒ (anterior pituitary gland) ตอ มไทรอยด (thyroid gland) และตอ มหมวกไต(adrenal
gland) โดยแตละตอ มดังกลาวจะผลติ ฮอรโ มนที่ทำหนาท่สี ำคัญและมผี ลตอ การเจรญิ เติบโตและ
พฒั นาการของวัยรนุ แตกตางกนั ออกไป เชน โกรทฮอรโ มน (growth hormone) เปน ฮอรโ มนที่
ทำหนา ที่ควบคมุ การเจริญเตบิ โตของรา งกายใหเ ปนปกติ โดยเฉพาะการแบง เซลล การสงั เคราะห
โปรตนี และการเจรญิ เตบิ โตของกระดกู ฮอรโ มนในกลมุ โกนาโดโทรฟน (gonadotrophin hormone)
กระตุนการสรางตัวอสุจิในวัยรุนชายและการตกไขในวัยรุนหญิง ฮอรโมนไทรอกซิน (thyroxin
hormone) ทำหนา ทคี่ วบคมุ การเผาผลาญอาหารในรา งกาย และฮอรโ มนแอนโดรเจน (androgen
hormone) ซ่งึ เปนฮอรโ มนทม่ี ีผลตอการพฒั นาการทางเพศของวยั รนุ ชายมากกวา วัยรนุ หญิง

2.3.3 พฤตกิ รรมสขุ ภาพ
พฤติกรรมสุขภาพ1 (health behavior) ตามความหมายของคณะกรรมการสุขศึกษา
(2539:23) หมายถึง การกระทำหรือการปฏิบัติของบุคคลที่มีผลตอสุขภาพ ซ่ึงเปนผลจากการ
เรยี นรขู องบุคคลเปน สำคญั โดยแสดงออกใหเห็นในลกั ษณะของการกระทำและการไมก ระทำสงิ่ ท่ี
เปนผลดตี อ สุขภาพหรอื ผลเสียตอ สุขภาพ

1 เกษตรศาสตร, มหาวิทยาลัย. สขุ ภาพเพอ่ื ชีวิต. พิมพคร้ังที่ 3. กรงุ เทพฯ: สำนักพมิ พมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร,
2543. หนา 66.

28 หนงั สอื เรียน รายวิชาพ้ืนฐาน สขุ ศกึ ษา ม. 4
พฤติกรรมสุขภาพแบง เปน 2 ลกั ษณะ คือ พฤติกรรมที่พึงประสงคเปน พฤตกิ รรมทป่ี ฏบิ ตั ิ

แลว สง ผลดตี อ สุขภาพ เชน ออกกำลงั กายสม่ำเสมอ รบั ประทานอาหารครบ 5 หมู และพฤติกรรม
เส่ียงเปน พฤตกิ รรมทปี่ ฏบิ ตั ิแลว กอใหเ กดิ ผลรา ยตอ สุขภาพ เชน การดืม่ สรุ า การเสพสารเสพตดิ

ดังน้ัน พฤติกรรมสุขภาพจงึ มีผลตอการเจริญเติบโตและพฒั นาการตามวยั ของวัยรนุ ถามี
พฤตกิ รรมสขุ ภาพทดี่ พี งึ ประสงคย อ มมรี า งกายทแี่ ขง็ แรง ถา มพี ฤตกิ รรมสขุ ภาพทไ่ี มพ งึ ประสงคก ็
จะเจบ็ ปวยและสงผลใหการเจริญเติบโตหยดุ ชะงัก

2.3.4 สิ่งแวดลอŒ ม
สงิ่ แวดลอม (environment) หมายถงึ ทุกสิ่งทกุ อยางท่อี ยูร อบตัวเราและมีผลตอ การดำรง
ชวี ติ ซงึ่ มบี ทบาทตอ การเจรญิ เตบิ โตและภาวะสขุ ภาพของวยั รนุ โดยเฉพาะในเมอื งทมี่ ปี ญ หามลพษิ
และสงิ่ แวดลอ มทสี่ งผลกระทบตอสขุ ภาพ ทำใหคณุ ภาพชวี ติ ดอ ยลง นำมาซึ่งปญหาสุขภาพ และ
การเจรญิ เติบโตจะชา กวาวัยรนุ คนอนื่ ๆ ในวยั เดียวกัน นอกจากนี้ยังรวมถงึ ลักษณะการเลยี้ งดู
ของครอบครวั สภาพสังคมและวัฒนธรรม วัยรุนทบี่ ดิ ามารดาใหความเอาใจใสจ ะมพี ัฒนาการเปน
ไปตามเกณฑม าตรฐานและมสี ขุ ภาพทด่ี ี อกี ทงั้ การอาศยั อยใู นสภาพสงั คมทป่ี ลอดภยั และมบี รกิ าร
สาธารณสขุ ที่เหมาะสม ยอมสงเสรมิ การมีสุขภาพที่ดี

กิจกรรมเรียนร.ู ..สูปฎิบติ

• เพอ่ื ความเขาใจทคี่ งทนใหนักเรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตอไปนี้
1. เขยี นสรปุ ความเขา ใจเรอื่ ง ความหมายและความสาํ คญั ของการวางแผนดแู ลสขุ ภาพตนเอง ลงในสมดุ
บนั ทกึ
2. สาํ รวจพฤตกิ รรมสขุ ภาพทพ่ี งึ ประสงค และพฤตกิ รรมเสยี่ งของตนเองวา มอี ะไรบา ง แลว นาํ มาวางแผน
ดแู ลสุขภาพตนเองตามกระบวนการวางแผนดแู ลสุขภาพเพื่อการมสี ขุ ภาพทดี่ ี
3. สรา งแผนทีค่ วามคดิ สรปุ ความเขาใจเร่อื ง ปจ จยั ที่มีผลตอการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของวยั รนุ

2.4 แนวทางการดูแลสุขภาพตนเอง

การท่ีวัยรุนจะเจริญเติบโตและมีพัฒนาการดานตาง ๆ สมกับวัย เพ่ือท่ีจะไดกาวไปสูวัย
ผใู หญอ ยา งเหมาะสมนนั้ ขน้ึ อยกู บั ปจ จยั หลายอยา ง ดงั นน้ั วยั รนุ ควรดแู ลสขุ ภาพของตนเองในดา น
ตาง ๆ ดังแสดงในแผนภาพ ดังนี้

หนังสือเรยี น รายวิชาพื้นฐาน สขุ ศึกษา ม. 4 29

ควรเลอื กรับประทานอาหารที่ปรงุ สุก สะอาด
ถกู สุขลกั ษณะ ด่ืมนำ้ สะอาดอยา งนอ ยวันละ 6–8 แกว
ไมควรดมื่ เคร่ืองดื่มท่มี ีแอลกอฮอล และควรหม่นั ดแู ล
นำ้ หนกั ตวั ใหอยใู นเกณฑปกติ

น้ำมนั

ขŒาวและแป‡ง ผกั ผลไมŒ เน้ือสัตว (สกุ ) นำ้ มนั
นม น้ำตาล

เกลือ

ใหร บั ประทานวนั ละ 5 ทัพพี ใหรบั ประทานวนั ละ ใหรับประทาน
แตนอย
อาหารกลมุ นีจ้ ะให วติ ามิน 9 ชอ นกนิ ขา ว เทา ทจี่ ำเปน
อาหารกลุมนีจ้ ะให
แรธ าตุ และใยอาหาร สารอาหารหลักคือ
ควรดื่มวันละ 2 แกว
ใหร ับประทานวนั ละ 10 ทพั พี ใหร บั ประทานวันละ 4 สว น โปรตีน นมจะใหส ารอาหารโปรตีน
อาหารกลุมนีจ้ ะให อาหารกลมุ นี้จะให วติ ามนิ
และยงั ใหแ คลเซียม
สารอาหารหลกั คอื คารโบไฮเดรต แรธ‹ าตุ และใยอาหาร และธาตุเหลก็ สูง

ควรพิจารณาสุขภาพรา งกายของตนเองกอ นออกกำลังกาย
หากเกดิ อาการผิดปกติ เชน หนา มดื ใจสน่ั เหน่ือยหอบผดิ ปกติ
ควรหยุดออกกำลงั กายทันที หากมีโรคประจำตวั ควรปรกึ ษาแพทย
กอนเรม่ิ ตน ออกกำลังกาย และควรออกกำลังกายในชว งเวลาเดยี ว-
กนั ของทกุ วัน เพราะจะมผี ลตอการปรับตัวของรางกาย

การนอนหลบั 8 10 ช.ม.
เปนการพักผอ นทีด่ ที ี่สดุ
วัยรนุ ควรไดน อนหลบั วนั ละประมาณ 8–10 ช่วั โมง 25c
การพกั ผอ นอยางเพยี งพอสงผลใหรางกายและจิตใจ
ไดผอนคลายจากความเหน็ดเหนือ่ ยและความตงึ เครียด

วัยรุนควรพักผอน ผอ นคลายอิริยาบถจากความเหน่ือยลา ในระหวางวัน
ดว ยการปฏิบตั ิกจิ กรรมที่ชน่ื ชอบ เชน ฟงเพลง เดินเลน เลนกฬี า ดโู ทรทัศน

30 หนังสอื เรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน สขุ ศกึ ษา ม. 4

ในรา งกายมนุษยจ ะมรี ะบบภมู คิ มุ กนั ทส่ี ำคญั ไดแ ก เมด็ เลือดขาวและตอ มนำ้ เหลือง
ท่ีจะคอยทำลายเช้ือโรคทีเ่ ขาสรู างกายแตร ะบบภูมิคมุ กนั ของรางกายไมส ามารถปอ งกนั โรคไดท ั้งหมด
โดยเฉพาะโรคทีเ่ ปนแลว รกั ษาหายยาก กอ ใหเกดิ ความพกิ ารหรอื เปนอนั ตรายถึงแกช ีวิต ดงั นนั้ เราจงึ
ตองรับวัคซีนเพื่อจะสรางภมู ิคุมกันใหแกร างกาย ซ่งึ วัยรนุ จำเปนตองไดรบั วัคซนี เพ่อื กระตนุ ภูมคิ มุ กัน
โรคที่เคยไดรบั มาแลว ในวัยเด็ก ไดแ ก วัคซีนปอ งกนั โรคคอตบี และบาดทะยกั

ปลอดภยั ไวกŒ ‹อน วยั รุนเปนวัยที่กำลงั คกึ คะนอง และมีอารมณรอน
จึงมกั มคี วามประมาทไมคอ ยใสใจในความปลอดภัย
จงึ ทำใหเกดิ อุบัติเหตขุ ้ึนได ดังนัน้ ควรปฏิบัตติ ามกฎจราจร
มอก อยางเครงครดั เชน สวมหมวกนริ ภัยขณะขบั ข่ี

60 หรอื โดยสารรถจักรยานยนต

กม./ชม. 6. การจัดการกับอารมณ
และความเครียด

วยั รุนควรรจู ักจัดการกับอารมณแ ละความเครยี ดของตนเอง
เชน ระบายความทกุ ขใหก ับบคุ คลทไี่ ววางใจฟง ควรผอ นคลาย
ความเครียดดวยวิธกี ารตา ง ๆ เชน เลนดนตรี เลน กฬี า หรอื
ทำงานอดเิ รกทตี่ นเองช่นื ชอบ

JSNUAOSY!T วยั รุนเปนวยั ที่มคี วามออนไหวตอการถูกชักจูงไปสูพ ฤติกรรม
เสยี่ งทางสขุ ภาพไดงาย ทงั้ ปญหาการเสพสารเสพตดิ ปญหาการ
ติดโรคทางเพศสัมพันธ และปญหาการตง้ั ครรภในวยั เรียน ดงั นน้ั
วยั รุนจงึ ตอ งฝก ฝนตนเอง ใหร จู ักสรางทกั ษะชีวติ โดยเรียนรวู ธิ ี
การแกป ญหา การตัดสนิ ใจดว ยวธิ กี ารที่ถกู ตอง การพูดปฏิเสธ
ในส่ิงท่ีไมดีตอสขุ ภาพ

วยั รนุ เปน วัยที่มพี ฒั นาการทางสติปญญาอยางรวดเรว็ มคี วามคิดทเ่ี ปน เหตุผลมากข้นึ
จงึ ตองใชความสามารถทางสติปญญาในชว งวัยน้ใี หเกิดประโยชนในการพัฒนาตนเอง
ใหมีความรูความสามารถในการศึกษาเลาเรยี น และการสะสมประสบการณก ารเรยี นรู ดังน้ัน
จงึ ตองหมนั่ คน ควา หาความรูอยูเ สมอ

หนงั สอื เรียน รายวิชาพื้นฐาน สขุ ศกึ ษา ม. 4 31

กิจกรรมเรียนร.ู ..สูปฎบิ ติ

• เพ่อื ความเขาใจที่คงทนใหนกั เรยี นปฏิบตั กิ จิ กรรมตอไปนี้
1. เขยี นสรปุ ความเขา ใจเรอ่ื ง ความหมายและความสาํ คญั ของการวางแผนดแู ลสขุ ภาพตนเอง ลงในสมดุ
บันทึก
2. สาํ รวจพฤตกิ รรมสขุ ภาพทพ่ี งึ ประสงค และพฤตกิ รรมเสย่ี งของตนเองวา มอี ะไรบา ง แลว นาํ มาวางแผน
ดูแลสุขภาพตนเองตามกระบวนการวางแผนดแู ลสุขภาพเพือ่ การมสี ุขภาพทีด่ ี
3. สรา งแผนทค่ี วามคิดสรปุ ความเขาใจเร่อื ง ปจ จยั ทม่ี ผี ลตอ การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของวยั รนุ

แหลงสืบคน ความรู

• นกั เรยี นสามารถคน ควา ความรเู รอื่ ง การวางแผนดแู ลสขุ ภาพตนเอง เพมิ่ เตมิ ไดจ ากการ
สอบถามครู อาจารย นักโภชนาการ เจาหนาท่ีสาธารณสุขในชุมชน หรือนักกีฬาของ
ชมุ ชน และทเี่ วบ็ ไซต http://nutrition.anamai.moph.go.th หรอื http://www.thaihealth.
or.th หรือ http://www.thaihed.com ตอ จากน้นั บันทกึ ผลการศึกษาคน ควา และคําถาม
ที่สงสยั ลงในสมดุ บนั ทึก นาํ ไปรายงานผลในการเรียนคร้งั ตอ ไป

32 หนงั สอื เรียน รายวิชาพ้ืนฐาน สขุ ศกึ ษา ม. 4

บทสรุปหน‹วยการเรยี นรทูŒ ี่ 1
นกั เรยี นสามารถสรปุ ทบทวนความรโู ดยใชว ธิ กี ารจนิ ตภาพจากผงั มโนทศั น (concept map)
เพอ่ื สรปุ องคความรไู ดด งั น้ี
เร�ยนรูตัวเรา

เรยี นรเู ก่ยี วกบั

ระบบตา ง ๆ ของรา งกาย

ระบบหอหุมรา งกาย

องคประกอบของรา งกาย องคป ระกอบ – ผวิ หนงั – ขน
– เล็บ – ผม
องคป ระกอบของรางกายจะ
เริม่ ตน จาก เซลล เน้ือเย่อื อวัยวะ – ปองกันรา งกาย
ระบบ และรางกายตามลำดบั – ควบคมุ อณุ หภมู ิของรางกาย
– รกั ษาความชุมชื้น
ระบบกระดกู ทำหนาที่ – ขบั ถา ยของเสียออกจากรางกายในรปู

ของเหง่อื
– เปนแหลง สรา งวติ ามนิ ดี
– เปนอวยั วะท่รี บั ความรูสกึ ตาง ๆ

องคประกอบ – กระดกู – ขอตอ – รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน
– กระดูกออ น – เอ็นเชอื่ มกระดูก
– ออกกำลงั กายกลางแจงอยา งสมำ่ เสมอ
– เปนโครงสรา งของรา งกาย การ – ชำระลางรา งกายใหสะอาดอยูเสมอ
สรางเสริม
และดำรง – เลือกใชเ ครอื่ งสำอาง
– ชวยยกและพยงุ อวยั วะตาง ๆ ประสทิ ธิภาพ – พักผอ นใหเพียงพอ
– ปองกันอวยั วะภายในรางกายไมใหเ ปน
อันตราย – ระมัดระวังไมใหเกดิ อบุ ัติเหตุ
ทำหนาที่ – เปน ท่เี กาะยึดของกลามเนอ้ื

– เปนแหลง ท่สี รางเม็ดเลอื ด เกลด็ เลือด ระบบกลา มเนื้อ
และเก็บธาตุแคลเซยี ม

การ – รับประทานอาหารใหครบ 5 หมู ประเภท – กลามเนือ้ ลาย – กลามเนอื้ ลายหวั ใจ
สรางเสริม – ออกกำลังกายกลางแจงอยางสม่ำเสมอ – กลามเนอ้ื เรียบ
และดำรง – ระมัดระวังการเกิดอบุ ตั เิ หตุ – ความรสู กึ ตอส่งิ เรา
ประสิทธภิ าพ – เคลอ่ื นไหวรา งกายอยางถกู ตอ ง
คุณสมบัติ – การหดตวั
– รับประทานอาหารใหค รบ 5 หมู การ – ความตงึ ตวั ของกลามเน้ือ
– ออกกำลังกายอยางสมำ่ เสมอ สรา งเสริม – การยดื และคลายสูสภาพเดมิ
– พกั ผอนใหเ พยี งพอ และดำรง
– ทำจติ ใจใหร า เรงิ แจมใสอยเู สมอ ประสทิ ธิภาพ
– ระมดั ระวังการบาดเจบ็ ของกลามเน้ือจากการเลน

กีฬาและอุบัติเหตตุ า ง ๆ

หนงั สือเรยี น รายวชิ าพื้นฐาน สุขศึกษา ม. 4 33

เรย� นรูตวั เรา (ตอ)

เรยี นรเู กีย่ วกบั

การวางแผนดแู ลสขุ ภาพของตนเอง

ความหมายและความสําคญั ปจ จยั ท่มี ผี ลตอการเจรญ� เติบโตของวัยรุน
ของการวางแผนดูแลสขุ ภาพของตนเอง
พันธกุ รรม หมเู ลือด
ความหมายและความสำคัญ สีผม
เชน สีผิว
การกำหนดแนวทางในการเลือกรูปแบบการปฏิบัติตน
เพอ่ื การดแู ลสขุ ภาพของตนเอง การวางแผนดแู ลสขุ ภาพ ทางกาย
ของตนเองแลวยอมเกดิ สุขภาพทีด่ ี ปองกนั การเจบ็ ปวย
สามารถเรยี นหนังสือทำงานไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ และ ทางจติ ใจและเชาวนป ญญา
ลดคาใชจาย
ไดแกค วามสามารถทางสตปิ ญญา
การวางแผนดูแลสขุ ภาพของตนเอง ความผิดปกติของโรค
และความบกพรองตา ง ๆ
มขี ัน้ ตอนดงั น้ี
การทำงานของตอ มไรท อ
– การวเิ คราะหสถานการณและประเมนิ ปญ หาสุขภาพ
– การจัดลำดบั ความสำคัญของปญ หาสุขภาพ ทม่ี ีบทบาทสำคัญไดแ ก
– การวางแผนการแกไ ขปญหาสขุ ภาพ
– การปฏบิ ตั ติ ามแผนการแกไขปญ หาสุขภาพทวี่ างไว ตอมใตสมองสว นหนา
– การประเมนิ ผลการแกไ ขปญหาสขุ ภาพ ตอ มไทรอยด
ตอ มหมวกไต

พฤตกิ รรมสุขภาพ

แนวทางการดูแลสุขภาพของตนเอง พฤติกรรมท่ีพึงประสงค

โภชนาการ รับประทานอาหารใหค รบ 5 หมู เชน ออกกำลังกายอยางสมำ่ เสมอ
รบั ประทานอาหารใหค รบ 5 หมู
การออกกำลังกาย ดวยวิธกี ารที่เหมาะสมอยางสมำ่ เสมอ
พฤติกรรมเสีย่ ง
การพักผอน เลือกที่เหมาะสมกับเพศและวัย เชน การเสพสารเสพตดิ
ความสามารถ ฐานะทางเศรษฐกจิ การสำสอนทางเพศ

การสรางเสรมิ ความตา นทานโรค การรับวัคซนี ส่งิ แวดลอม
เชน ออกกำลงั กายอยา งสมำ่ เสมอ
การปองกันอบุ ตั ิเหตุ ระมัดระวงั และมีสติในการกระทำส่ิงตา ง ๆ รับประทานอาหารใหครบ 5 หมู

การจดั การกบั อารมณและความเครียด ผอนคลายดว ยวิธีการตาง ๆ

การสรางทักษะชวี ติ เรียนรกู ารแกปญหาและการตดั สนิ ในอยางถูกตอง

การสรา งเสริมสติปญ ญาและการเรียนรู ศกึ ษาคนควา ความรูอยูเ สมอ

34 หนังสอื เรียน รายวิชาพนื้ ฐาน สขุ ศกึ ษา ม. 4

กจิ กรรมเสนอแนะ

• เพอื่ ความเขา ใจทคี่ งทนใหนักเรยี นปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตอไปน้ี
1. แบง กลุม กลมุ ละ 5 คน ตงั้ คำถามเกยี่ วกับเร่ืองระบบตาง ๆ ของรา งกายที่ตนเอง
สนใจ คนละ 3 คำถาม และใหทกุ คนในกลมุ ตอบคำถามทกุ คำถามลงในสมุดบนั ทกึ
ของตนเองและนำมาแสดงความคิดเห็นรว มกนั
2. ถานักเรียนเปนสิว นักเรียนจะแกไขปญหาอยางไร รวมกันอภิปรายกับเพื่อนใน
ชนั้ เรยี น
3. สรางแผนท่ีความคิดเร่ือง การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง และนำการวางแผน
ดงั กลาวไปปฏิบัตพิ รอ มกบั บนั ทึกผลทุกสัปดาห
4. แบง กลุม ออกเปน 7 กลุม ศึกษาคนควา รายละเอียด และอภิปรายหนาชั้นเรียนใน
เร่ือง การวางแผนดแู ลสุขภาพของวยั รนุ ในเรอ่ื งตอ ไปนี้ (เลือกกลุมละ 1 ขอ )
1) โภชนาการ 5) การจดั การกบั อารมณแ ละความเครยี ด
2) การออกกำลังกายและการพกั ผอ น 6) การสรางทกั ษะชวี ิต
3) การสรา งเสรมิ ความตา นทานโรค 7) การสรา งเสรมิ สติปญ ญาและการเรยี นรู
4) การปองกันอบุ ตั ิเหตุ
แตละกลุมนำผลจากการศึกษาคนควาในเรื่องท่ีกลุมเลือกมาประเมินผลการปฏิบัติของ
สมาชิกแตละคนวามขี อ บกพรองอยางไร แลวหาแนวทางแกไขรวมกัน

โครงงาน

• เพอ่ื ความเขาใจที่คงทนใหนักเรยี นปฏิบัตกิ จิ กรรมตอ ไปนี้
นกั เรยี นเลอื กทำโครงงานตอ ไปน้ี (เลอื ก 1 ขอ ) หรอื อาจเลอื กทำโครงงานอนื่ ตามความสนใจ
ตามรปู แบบโครงงานทีผ่ ูส อนกำหนด (ซึ่งอยา งนอยตอ งมหี ัวขอ ตอ ไปน้ี เหตุผลท่เี ลอื กโครงงานน้ี
จุดประสงค แผนการปฏบิ ัติการ)
1. โครงงานการสำรวจเรื่อง พฤติกรรมการดูแลรักษาสุขภาพผิวหนังของนักเรียนชายและ
นักเรียนหญิงในโรงเรียน (โรงเรยี นของนกั เรียน)
2. โครงงานการสำรวจเรอ่ื ง ทา ทางและการเคลอ่ื นไหวรา งกายของนกั เรยี นในชน้ั เรยี น (ชน้ั เรยี น
ของนักเรยี น) และแนวทางการปรบั ปรงุ และสรา งเสริมบุคลิกภาพทด่ี ี
หมายเหตุ: โครงงานที่เลือกตามความสนใจควรไดรับคำแนะนำแกไขจากผูสอน เม่ือ
ไดรับความเห็นชอบแลวจึงดำเนินโครงงานน้ัน ๆ โดยผูสอน/ผูปกครอง/กลุมเพื่อนประเมิน
ลักษณะกระบวนการทำงาน และนักเรียนควรมีการสรุปแลกเปลี่ยนความรูซ่ึงกันและกันกอน
พจิ ารณาเก็บในแฟมสะสมผลงาน

หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน สขุ ศกึ ษา ม. 4 35

การประยุกตใ ชใ นชีวติ ประจาวน

1. นกั เรยี นบันทกึ การสรางเสรมิ สขุ ภาพตนเองใน 1 สปั ดาห ท่มี ีสวนชวยพัฒนาประสทิ ธิภาพ
การทำงานของระบบหอ หุมรา งกาย ระบบกระดกู หรอื ระบบกลามเนอ้ื ของตนเอง และนำมา
แลกเปลยี่ นกนั อา นกบั เพอื่ นในช้ันเรยี น

2. นักเรียนนำแนวทางการสรางเสริมสุขภาพของตนเองไปปรับใชเพ่ือการวางแผนดูแลสุขภาพ
ของบุคคลในครอบครวั โดยจัดทำเปน รายงานนำเสนอหนา ชั้นเรยี น

คาถามประจาหนว ยการเรยี นรูที่ 1

ตอบคำถามตอ‹ ไปน้ี
1. หากระบบใดระบบหน่งึ ในรางกายมีการทำงานผิดปกติ จะสง ผลกระทบตอคนเราอยางไร
2. ระบบหอ หมุ รา งกาย ระบบกระดกู และระบบกลา มเนอื้ มคี วามสำคญั ตอ สขุ ภาพและการดำรง

ชีวติ อยา งไร
3. ถาตองการใหผ ิวพรรณของตนเองสวยงามและมสี ขุ ภาพดี นกั เรียนตองทำอยา งไร
4. นกั เรยี นจะยนื เดนิ นง่ั หรอื ยกส่ิงของดว ยทาทางอยา งไรจึงจะสงผลดีตอ ระบบกระดกู ของ

รางกาย
5. ถา นกั เรยี นปวดเมอื่ ยกลา มเนอื้ กลา มเนอื้ เปน ตะครวิ หรอื กลา มเนอื้ อกั เสบจากการเลน กฬี า

นักเรียนจะแกไขปญ หานี้อยางไร
6. อธิบายความสัมพันธของปจจัยท่ีมีผลตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุนตอไปน้ี

พนั ธกุ รรม อาหาร การออกกำลังกาย การพกั ผอ น โรคภัยไขเจ็บ และอุบัติเหตุ
7. นกั เรยี นเขยี นแผนดแู ลสขุ ภาพดา นโภชนาการทเ่ี หมาะสมตอ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ

ของตนเอง
8. นกั เรียนจะวางแผนดูแลสุขภาพดานการออกกำลงั กายเพื่อการมีสขุ ภาพทดี่ ไี ดอยางไร


Click to View FlipBook Version