The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการแกล้งดิน2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-11-02 04:38:37

โครงการแกล้งดิน2

โครงการแกล้งดิน2

คำนำ

ตลอด ๗๐ ปี แห่งกำรครองรำชย์ของพระบำทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหำภูมิพลอดุลย
เดชรัชกำลที่ ๙ พระองค์มีพระรำชดำริเกยี่ วกบั โครงกำรต่ำงๆเพ่ือยกระดบั คุณภำพชีวติ
ของพสกนิกรชำวไทยกว่ำ ๔,๖๐๐ โครงกำรซึ่งแต่ละโครงกำรล้วนแสดงถึงพระ
อจั ฉริยภำพพระวริ ิยะอตุ สำหะและพระรำชปณธิ ำนทีจ่ ะขจดั ปัญหำควำมทุกข์ยำกของ
รำษฎรทรงทุ่มเทพระวรกำยในกำรเสด็จพระรำชดำเนินไปเย่ียมเยียนรำษฎรในพื้นท่ี
ห่ำงไกลพระรำชทำนแนวพระรำชดำริแนวทำงกำรดำเนินงำนและคำแนะนำเพ่ือแก้ไข
ปัญหำรวมถงึ ทรงสร้ำงสรรค์นวตั กรรมและสิ่งประดษิ ฐ์ต่ำงๆด้วยพระองค์เองจนทำให้
โครงกำรเหล่ำน้ันสำเร็จลุล่วงด้วยดี

หนังสือชุดศำสตร์พระรำชำได้น้อมนำโครงกำรตำมพระรำชดำริท่เี ป็ นแบบอย่ำงอนั
ดีในกำรศึกษำหลกั กำรทรงงำนของพระองค์ท่ำนซึ่งมีหลกั กำรสำคญั คือ“ เข้ำใจเข้ำถึง
พฒั นำ” เพ่ือเป็ นแรงบันดำลใจที่จะน้อมเกล้ำน้อมกระหม่อมนำหลกั คิดและพระรำช
กรณียกจิ ของพระองค์ไปศึกษำค้นคว้ำและประยุกต์ใช้ให้เกดิ ประโยชน์แก่ตนเองและ
ประเทศชำตสิ ืบไป

ปวงขา้ พระพุทธเจา้ ขอนอ้ มเกลา้ นอ้ มกระหม่อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาท่ีสุดมิได้
ขา้ พระพุทธเจา้ กล่มุ นักศึกษำแผนกคอมธุรกจิ

โครงกำรแกล้งดิน

แกลง้ ดิน หมายถึง กระบวนการเร่งปฏิกิริยาเคมีในดินซ่ึงมีศกั ยห์ รือความพร้อมจะเป็ นดินเปร้ียว ใหเ้ ปร้ียว
รุนแรงมีกรดจดั จากน้นั จึงปรับปรุงโดยเติมปูนขาวหรือด่าง ร่วมกบั การใชร้ ะบบชลประทานนาน้ามาเจือจาง
ดินเปร้ียวจนสามารถเพาะปลูกได้ เป็ นแนวพระราชดาริท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวพระราชทานเม่ือ
พุทธศกั ราช ๒๕๒๗ เพ่ือการทดลองท่ีศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาพิกุลทองอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ เม่ือไดผ้ ล
แล้วจึงนาไปประยุกต์ใช้ในพ้ืนท่ีดินเปร้ียว เช่น พรุในจงั หวดั นราธิวาส และพ้ืนที่ดินเปร้ียวในจงั หวดั
นครนายก เป็ นตน้ การแกลง้ ดิน คือการเร่งปฏิกิริยาเคมีของดินท่ีมีแร่กามะถนั หรือสารประกอบไพไรต์
(Pyrite) โดยทาให้ดินแห้งและเปี ยกสลับกัน เม่ือดินแห้งสัมผสั กับอากาศ ทาให้แร่กามะถนั กลายเป็ น
ออกไซด์ของเหล็กและซลั เฟต เม่ือทาให้ดินเปี ยกซลั เฟตผสมกบั น้ากลายเป็ นกรดอีกคร้ัง เมื่อดินถูกแกลง้
สลบั ไปมาจนกลายเป็ นดินท่ีเปร้ียวรุนแรงหรือเป็ นกรดจดั จากน้นั จึงปรับปรุงดินโดยเติมฝ่ นุ ปูนซ่ึงเป็ นด่าง
ร่วมกบั การใชร้ ะบบชลประทานควบคุมระดบั น้าใตด้ ินและนาน้ามาเจือจางดินเปร้ียวจนสามารถเพาะปลูก
ขา้ ว พืชไร่เช่น ขา้ วโพด ผลไมเ้ ช่นเสาวรสและเล้ียงปลาเช่นปลานิลได้

แนวพระราชดาริแกลง้ ดินมาจากการเลียนแบบสภาพธรรมชาติของพ้ืนท่ีภาคใต้ ซ่ึงมีฤดูแลง้ ๔ เดือน ฤดูฝน
๘ เดือน การทดลองใชว้ ิธีร่นระยเวลาช่วงแลง้ และช่วงฝนในรอบปี ใหส้ ิ้นลง ปล่อยให้ดินแห้ง ๑ เดือน และ
ขงั น้าใหด้ ินเปี ยกนาน ๒ เดือน ปี หน่ึงจึงมีภาวะดินแหง้ และดินเปี ยก ๔ รอบ เหมือนมีฤดูแลง้ สลบั ฤดูฝนปี ละ
๔ คร้ัง

ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาพกิ ลุ ทองอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ ไดศ้ ึกษาวจิ ยั และปรับปรุงดินโดยวธิ ีการแกลง้ ดิน
จนประสบผลสามารถแกป้ ัญหาดินเปร้ียวในพ้ืนที่พรุใหเ้ พาะปลูกได้ และขยายผลไปยงั พ้ืนที่พรุบา้ นโคกอิฐ-
โคกโพธ์ิ อาเภอตากใบ จงั หวดั นราธิวาส สามารถเพิ่มผลผลิตขา้ วไร่ละ ๕-๑๐ ถงั เป็ น ๔๐-๕๐ ถงั เม่ือ
พุทธศกั ราช ๒๕๓๕ นอกจากน้ียงั นาแนวพระราชดาริแกลง้ ดินไปใใชใ้ นพ้ืนท่ีพรุแค จงั หวดั ปัตตานี มีการ
ปลูกขา้ วพนั ธุ์ชัยนาท ขา้ วพนั ธุ์แก่นจนั ทร์ ขา้ วพนั ธุ์เฉ้ียงพทั ลุง ขา้ วพนั ธุ์หอมสุพรรณบุรี ไดผ้ ลเป็ นท่ีน่า
พอใจ

พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระบรมราชานุญาตแก่สานักงาน
คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ (สานกั งาน กปร.) ดาเนินการขอ
จดสิทธิบตั ร และกรมทรัพยส์ ินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ทูลเกลา้ ทูลกระหม่อมถวายสิทธิบตั รในพระ
ปรมาภิไธย เลขท่ี ๒๒๖๓๗ วนั ที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๐ สาหรับการประดิษฐ์คือ กระบวนการปรับปรุง
สภาพดินเปร้ียวเพื่อใหเ้ หมาะแก่การเพาะปลูก (โครงการแกลง้ ดิน)



ทม่ี ำของโครงกำร

สืบเนื่องจากการท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจา้ ฯพระบรมราชินีนาถ เสด็จแปร
พระราชฐานไปยงั จงั หวดั ตา่ ง ๆ อยอู่ ยา่ งสม่าเสมอในการเสด็จแปรพระราชฐานทุกคร้ังมิไดเ้ พื่อทรงพกั ผอ่ น
เช่น สามญั ชนทว่ั ไป แต่จะเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยย่ี มเยยี นราษฎรหรือติดตามโครงการต่าง ๆ ท่ีทรง
ริเริ่มหรือมีพระราชดาริไว้ ดงั น้นั เพ่ือเป็ นการถวายความสะดวกแด่พระประมุขของชาติ รัฐบาลจึงสร้างพระ
ตาหนกั นอ้ มเกลา้ ฯ ถวายเป็ นท่ีประทบั ในคราวเสด็จแปรพระราชฐานไวใ้ นหลายจงั หวดั เช่น พระตาหนกั ภู
พิงคร์ าชนิเวศน์ ท่ีจงั หวดั เชียงใหม่ พระตาหนกั ทกั ษิณราชนิเวศน์ ที่จงั หวดั นราธิวาส เป็นตน้

จากการเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในจงั หวดั ภาคใต้ ทาให้ทรงทราวว่าราษฎรมีความ
เดือดร้อนหลายเรื่องโดยเฉพาะในกลุ่มของเกษตร เช่น การขาดแคลนที่ทากินหรือปัญหาในพ้นื ท่ีพรุซ่ึงมีน้า
ขงั อยตู่ ลอดปี แมส้ ามารถทาใหน้ ้าแหง้ ได้ ดินในพ้ืนท่ีเหล่าน้นั ก็ยงั เป็ นดินเปร้ียวจดั ทาการเกษตรไดผ้ ลน้อย
ไม่คุ้มทุนพระองค์ทรงตระหนักถึงปัญหาเหล่าน้ีว่ามีความ จานงเร่งด่วนท่ีจะต้องพระราชทานความ
ช่วยเหลือ ดงั จะเห็นไดจ้ ากความตอนหน่ึงในพระราชดารัสตอ่ ไปน้ี

“ ..ที่ที่น้าท่วมน่ีหาประโยชน์ไม่ไดถ้ า้ เราจะทาให้มนั โผล่พน้ น้าข้ึนมา มีการระบายน้าออกไป ก็จะเกิด
ประโยชนก์ บั ประชาชนในเร่ืองของการทามาหากินอยา่ งมหาศาล..”

พระองคท์ รงมอบใหห้ น่วยราชการที่เก่ียวขอ้ งร่วมกนั พิจารณาหาแนว ทางในการปรับปรุงพ้ืนที่พรุซ่ึงมีน้า
แช่ขงั อยตู่ ลอดปี มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ตอ่ การทาเกษตรใหไ้ ดม้ ากที่สุด โดยตอ้ งคานึงถึงผลกระทบต่อระบบ
นิเวศของป่ าพรุดว้ ย

การที่ดินในป่ าพรุเป็ นดินเปร้ียวจดั ก็เพราะ ดินเหล่าน้ีเป็ นดินที่มีอินทรียวตั ถุคือรากพืชเน่าเป่ื อยอยขู่ า้ งบน
และในระดบั ความลึกประมาณ 1-2 เมตร มีลกั ษณะเป็นดินเลนสีเทาปนน้าเงินซ่ึงมีสารประกอบไพไรตห์ รือ
กามะถนั อยมู่ าก ดงั น้นั เมื่อดินแห้ง กรดกามะถนั ก็จะทาปฏิกิริยากอั ากาศทาให้แปรสภาพเป็ นดินเปร้ียวจดั
พระองคจ์ ึงมีพระราชประสงคจ์ ะแกไ้ ขปัญหาน้ีใหก้ บั ราษฎร

เม่ือวนั ท่ี 16 กนั ยายน พ.ศ. 2527 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานพระราชดาริ อนั เป็นตน้ กาเนิด
ของโครงการ แกลง้ ดิน ท่ีศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาพิกลุ ทองฯ ความวา่ “..ใหม้ ีการทดลองทาดินใหเ้ ปร้ียวจดั โดย
การระบายน้าให้แห้งและศึกษาวธิ ีการแกด้ ินเปร้ียว เพ่ือนาผลไปแกป้ ัญหาดินเปร้ียวให้แก่ราษฎรท่ีมีปัญหา
ในเรื่องน้ีในเขต จงั หวดั นราธิวาส โดยใหท้ าโครงการศึกษาทดลองในกาหนด 2 ปี ..”

โครงการ “ แกล้งดิน” จึงกาเนิดข้ึนโดยมีศูนย์ศึกษาการพฒั นาพิกุลทองฯ เป็ นหน่วยดาเนินการสนอง
พระราชดาริ เพ่ือศึกษาการเปล่ียนแปลงความเป็นกรดของดินกามะถนั

กำรดำเนินงำน

วธิ ีดำเนินกำรในโครงกำร เร่ิมจากการแกลง้ ดินให้เปร้ียวโดยการทาใหด้ ินแห้งและเปี ยกสลบั กนั ไป เพื่อ
เร่งปฏิกิริยาทางเคมีของดินซ่ึงจะไปกระตุน้ สารประกอบกามะถนั หรือสารประ กอบไพไรต์ ใหท้ าปฏิกิริยา
กบั ออกซิเจนในอากาศส่งผลให้ดินเป็ นกรดจดั คือตอ้ งการ “แกลง้ ดินใหเ้ ปร้ียวจนสุดขีด” จนพืชเศรษฐกิน
ตา่ งๆ ไม่สามารถเจริญงอกงามใหผ้ ลผลิตได้ จากน้นั จึงหา

วธิ ีปรับปรุงดินดงั กล่าวใหส้ ามารถปลูกพืชเศรษฐกิจได้
โดยมีแนวพระราชดาริดงั น้ี

1. แกไ้ ขโดยวธิ ีการควบคุมระดบั น้าใตด้ ิน พยายามคุมน้าใตด้ ินให้
อยเู่ หนือช้นั ดินเลนซ่ึงมีสารประกอบไพไรต์ เป็ นการป้องกนั มิให้
สารประกอบไพไรตท์ าปฏิกิริยากบั ออกซิเจนหรือถกู ออกซิไดซ์
โดยมีข้นั ตอนดงั น้ี
1.1 วางระบบการระบายน้าทว่ั ท้งั พ้ืนที่
1.2 ระบายน้าเฉพาะส่วนบนออก เพือ่ ชะลา้ งกรด
1.3 รักษาระดบั น้าในคูระบายน้าใหอ้ ยใู่ นระดบั ไม่ต่ากวา่ 1 เมตรจาก
ผิวดินตลอดท้งั ปี

2. แก้ไขโดยวธิ ีปรับปรุงดนิ ตำมแนวพระรำชดำริ โครงกำรนีจ้ ะมวี ธิ ปี รับปรุงดนิ 3 วธิ อี ำจ
เลือกใช้ได้ตำมควำมเหมำะสมและตำมสภำพของดนิ คือ

วธิ ีกำรที่ 1 ใชน้ ้าชะลา้ งความเป็นกรด ดาเนินการตามข้นั ตอนดงั น้ี

- ใชน้ ้าชะลา้ งดินเพื่อลา้ งกรด ทาใหค้ า่ pH เพมิ่ ข้ึน โดยวธิ ีการปล่อยน้าใหท้ ่วมขงั แปลงแลว้ ระบายออก ทา
เช่นน้ีประมาณ 2-3 คร้ัง โดยเวน้ ใหห้ ่างกนั ประมาณ 1-2 สปั ดาห์

- ดินจะเปร้ียวจดั ในช่วงดินแหง้ หรือในฤดูแห้ง ดงั น้นั การชะลา้ งควรเริ่มในฤดูฝนเพื่อลดปริมาณการช้า
ชลประทาน การใชน้ ้าชะลา้ งความเป็นกรดตอ้ งกระทาต่อเนื่องและตอ้ งหวงั ผลในระยะยาวมิใช่ กระทาเพียง
1 หรือ 2 คร้ังเท่าน้นั วิธีน้ีเป็ นวิธีที่ง่ายที่สุด แต่จาเป็ นตอ้ งมีน้ามากพอท่ีจะใช้ชะลา้ งดินควบคู่ไปกับการ
ควบคุมระดบั น้าใต้ ดินใหอ้ ยเู่ หนือช้นั ดินเลนที่มีสารประกอบไพไรตม์ าก

- เม่ือดินคลายความเปร้ียวลงแลว้ จะมีค่า pH เพิม่ ข้ึน อีกท้งั สารละลายเหล็กและอะลูมินมั ท่ีเป็นพิษกเ็ จือจาง
ลงจนทาใหพ้ ชื สามารถ เจริญเติบโตไดด้ ีถา้ หากใชป้ ๋ ุยไนโตรเจนและฟอสเฟตเช่วยกส็ ามารถเจริญเติบโต ได้
ดีถา้ หากใชป้ ๋ ุยในโตรเจนและฟอสเฟตช่วยก็สามารถทาการเกษตรได้

วธิ ีกำรท่ี 2 การแกไ้ ขดินเปร้ียวโดยใชป้ ูนผสมคลุกเคลา้ กบั หนา้ ดิน คือ

-ใชว้ สั ดุปูนท่ีหาไดง้ ่ายในทอ้ งที่ เช่น ใชป้ ูนมาร์ล (mar) สาหรับภาคกลาง หรือปูนฝ่ นุ ( lime dust ) สาหรับ
ภาคใต้ หวา่ นใหท้ วั่ 1-4 ตนั ต่อไร่แลว้ ไถแปรหรือพลิกกลบคืน ( ปริมาณของปูนท่ีใชข้ ้ึนอยกู่ บั ความรุนแรง
ในความเป็นกรดของดิน )

วธิ ีกำรที่ 3 การใชป้ ูนควบคู่ไปกบั การใชน้ ้าชะลา้ งและควบคุมระดบั น้าใตด้ ินเป็ นวธิ ีการท่ี สมบูรณ์ท่ีสุดและ
ใชไ้ ดผ้ ลมากในพ้นื ที่ซ่ึงดินเป็นกรดจดั รุนแรงหรือถูกปล่อย ทิง้ ใหร้ กร้างวา่ งเปล่าเป็นเวลานาน

วธิ ีกำรแก้ไข ใหป้ ฏิบตั ิไปตามลาดบั ข้นั ตอนดงั น้ี

- หวา่ นปูนใหท้ วั่ พ้ืนที่ โดยใชป้ ูน 1-2 ตนั ตอ่ ไร่ แลว้ ไถกลบ

- ใชน้ ้าชะลา้ งความเป็นกรดออกจากหนา้ ดิน

- ควบคุมน้าใตด้ ินให้อยู่เหนือช้นั ดินเลนที่มีสารประกอบไพ
ไรต์ มากเพื่อป้องกนั มืให้ทาปฏิกริยากบั ออกซิเจน เพราะจะทา
ดินกลายเป็ นกรด

3. กำรปรับสภำพพืน้ ที่

เน่ืองจากสภาพพ้ืนท่ีดินเปร้ียวในแถบน้ีเป็ นป่ าพรุ มีลกั ษณะ
เป็ นท่ีราบลุ่ม จึงทาการระบายน้าออกจากพ้ืนท่ีได้ลาบาก
จาเป็นตอ้ งมีการปรับสภาพพ้ืนท่ี ซ่ึงโดยทวั่ ไปทากนั อยู่ 2 วธิ ี

3.1 การปรับผิวหน้าดิน โดยการทาให้ผิวหน้าดินลาดเอียง
เพอ่ื ใหน้ ้าไหลออกไปสู่คลองระบายน้าไดห้ รือ ถา้ เป็นการทานา
ก็ จดั ตกแต่งแปลงนาและคนั นาให้สามารถเก็บกักน้าและ
สามารถระบาย น้าออกไดถ้ า้ ตอ้ งการ

3.2 การยกร่องปลูกพืช วธิ ีน้ีใชส้ าหรับพ้ืนที่ที่จะทาการปลูกพชื
ไร่ พืชผกั ไมผ้ ล หรือไมย้ ืนตน้ แต่วิธีน้ีจาเป็ นจะตอ้ งมีแหล่ง
น้าชลประทาน เพราะจะต้องขังน้าไวใ้ นร่องเพื่อใชถ่ายเท
เปล่ียน เมื่อน้าในร่องเป็นกรดจดั


Click to View FlipBook Version