The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sujittra samokeaw, 2019-10-24 04:20:12

วจิ ัยในชัน้ เรยี น

การปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมการเรยี นใหม้ วี ินยั
และความรบั ผดิ ชอบของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1/4

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562

นางสาวสจุ ติ รา สมอเขยี ว
ตาแหนง่ ครู อันดับ คศ.1

โรงเรียนเมืองแกพิทยาคม
สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 32
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร



กติ ตกิ รรมประกาศ

การจัดทาวิจัยฉบับนี้ ขอขอบคุณนายกาญจนพงษ์ ตราชู ผู้อานวยการโรงเรียน นางสาวแสงจนั ทร์
สุขจิต หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ พร้อมคณะครโู รงเรียนเมืองแกพิทยาคม ท่ีให้การสนับสนุน
ท้ังด้านความรู้ แนวคิด และเอกสารในการจัดทาวิจัยในคร้ังนี้ ส่งผลให้การดาเนินงานสาเร็จลุล่วงได้อย่างมี
คุณภาพ

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าวิจัยฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายท่ีจะใช้เป็นคู่มือในการพัฒนา
คุณภาพของผู้เรียน เพ่ือมุ่งสู่คุณภาพ การจัดการศึกษาของโรงเรียนเมืองแกพิทยาคมให้เป็นท่ียอมรับของ
ผ้ปู กครองนักเรียน ชมุ ชน และหน่วยงานทางการศึกษาทเ่ี กยี่ วข้องตลอดไป

นางสาวสจุ ติ รา สมอเขยี ว
ผู้รายงาน



สารบัญ

หน้า
บทที่ 1 ความเปน็ มาและความสาคญั

ความสาคญั ของการศกึ ษา..................................................................................................................1
วตั ถปุ ระสงค์.......................................................................................................................................2
สมมุตฐิ านการวจิ ยั ..............................................................................................................................2
ขอบเขตของการศกึ ษาคน้ ควา้ ............................................................................................................2
นิยามศพั ท์เฉพาะ................................................................................................................................2
บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎที ีเ่ กย่ี วข้อง
จิตวทิ ยาการศกึ ษา..............................................................................................................................3
เจตคติ (Attitude)..............................................................................................................................8
ทฤษฎแี รงจงู ใจ..................................................................................................................................15
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเง่ือนไข แบบแบบการกระทาของสกินเนอร์..............................................16
บทท่ี 3 วธิ กี ารดาเนินการศกึ ษาค้นคว้า
ขน้ั ตอนการดาเนินการวจิ ยั ................................................................................................................17
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง................................................................................................................18
เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ัย.....................................................................................................................18
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ........................................................................................................................18
การวิเคราะห์ข้อมูล.............................................................................................................................18
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
การวิเคราะหข์ อ้ มูล.............................................................................................................................19
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล........................................................................................................................22
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ความม่งุ หมาย.....................................................................................................................................25
ประชากร/กลมุ่ ตวั อย่าง......................................................................................................................25
เครอ่ื งทใ่ี ช้ในการศึกษาคน้ คว้า............................................................................................................25
วธิ ีการดาเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ...................................................................................................25
สรปุ ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู .................................................................................................................25
ขอ้ เสนอแนะ.......................................................................................................................................27
บรรณานกุ รม

รายงานผลการปฏิบตั กิ ารสอน ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562
โรงเรียนเมอื งแกพิทยาคม สพม.32



บทคัดย่อ

งานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่ออเป็นการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีวนิ ัย
และความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการเรียนดีข้ึนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 ปีการศึกษา 2562
โรงเรยี นเมืองแกพทิ ยาคม โดยมกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากการสงั เกตการสัมภาษณ์ ข้อมลู ด้านการเรียนของ
วิชาคอมพิวเตอร์ สร้างสรรค์ และการตอบแบบสอบถามจากนักเรียน การใช้แรงจูงใจเสริมแรงโดยให้คา
ชมเชยแกน่ กั เรียน รวมท้งั ดูแลดา้ นการเรียนให้มีความรบั ผิดชอบ สนใจเรียน และตดิ ตามจากผู้ปกครอง ทา
ใหน้ ักเรียนมีความกระตือรือรน้ ต่อการมาเรยี นและการเรียนมากขึน้ มคี วามเอาใจใส่ต่อการเรยี น รับผิดชอบ
และสนใจเรยี นมากขึ้น ทาใหบ้ รรยากาศการเรียนภายในหอ้ งเรียนที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ มคี วามตั้งใจเรียนมาก
ขึ้น มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีไม่ขาดเรียน หรือมาสาย ทางานท่ีได้รบั มอบหมายและส่งงานตรงกาหนดเวลา
รู้จักช่วยเหลอื ซ่งึ กนั และกนั ดว้ ย ความเตม็ ใจ

บทที่ 1
ความเป็นมาและความสาคญั

ปัจจุบันสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงในทุก ๆ ด้าน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง
จึงจาเป็นตองอาศัยองค์ประกอบต่าง ๆ มาเกื้อหนุนกัน ซึ่งต้องมีการพัฒนาโดยต้องคานึงถึงทรัพยากรท่ีมี
คุณภาพ และส่ิงท่ีสาคัญท่ีสุดคือทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ โดยจะต้องมีคุณสมบัติด้านสมรรถภาพทาง
ร่างกายและจิตใจท่ีดี มีสติปัญญา มีความรู้ความสามารถ มีความอดทน ขยันขันแข็ง ไม่ย่อท้อต่อความ
ยากลาบาก กล้าเผชิญ ปัญหาและอุปสรรคด้วยความมุ่งม่ัน ถ้ามนุษย์ทุกคนมีคุณสมบัติดังกล่าวก็จะเป็นผู้มี
วินยั ในตนเอง ซงึ่ จะเป็น วฒั นธรรมท่ีทกุ คนในสงั คมต้องปฏิบัติ เพราะจะทาใหส้ งั คมอยรู่ ่วมกนั อย่างมคี วามสุข
วินัยจงึ เป็นคุณธรรมที่ควร สร้างและปลกู ฝังให้ทุกคนใช้เปน็ แนวทางสาหรบั บังคับพฤติกรรมของตนเอง ทาให้
บรรลุตามจุดหมายของชีวิตและประสบความสาเร็จในชีวิต เพราะฉะนั้นครูควรสร้างสรรค์วินัยให้เกิดแก่
นักเรียน เมื่อนักเรียนมีวินัย มีความรับผิดชอบในหน้าท่ีของตนจะทาให้สามารถควบคุมพฤติกรรมของตนให้
เป็นไปในทางท่ีดีงาม จึงควรมีการปลูกฝัง ให้ยึดถือและปฏิบัติอย่างเครง่ ครัด ถ้าหากในสังคมไม่มีการปลกู ฝงั
และพัฒนาเด็กใหม้ ีวินัยและมคี ุณภาพแล้ว การพัฒนาสงั คมและประเทศก็จะเปน็ ไปอย่างไม่มปี ระสิทธภิ าพจึง
ควรต้องปลูกฝังวนิ ัยในตนเองให้เป็นพ้ืนฐาน ในท่ีสุดก็จะสามารถพัฒนาประเทศชาติให้มีความก้าวหนา้ มาก
ยิ่งขึน้ ดงั น้ัน การศกึ ษาจงึ เปน็ สงิ่ ท่ีสาคญั และมคี วามจาเปน็ อย่างมากในการท่จี ะพัฒนาให้มนุษยม์ ีประสิทธิภาพ
และศักยภาพสูงสดุ

จากการเป็นคุณครูประจาช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 โรงเรียนเมืองแกพทิ ยาคม ซึ่งมีหน้าท่ีดูแลนักเรยี น
ด้านพฤติกรรมและการเรียนของนักเรียนท่ีงภายในและภายนอกห้องเรียน พบว่า พฤติกรรมการเรียนของ
นักเรียน บางคนในห้องเรียนไม่สนใจเรียน ขาดความรับผิดชอบและระเบียบวินัย จึงทาให้บรรยากาศการ
เรียนรไู้ มเ่ อ้อื ต่อการเรียนการสอนและมีพฤติกรรมทีไ่ มพ่ ึงประสงค์จึงทาให้เกิดปญั หาในการเรียนรู้จะสง่ ผลต่อ
นักเรียนบางคนท่ีมี ผลการเรียนค่อนข้างต่า จึงต้องใช้กระบวนการวิจัยมาแก้ปัญหา โดยการนาทฤษฎีการ
เรียนรู้ ทฤษฎีแรงจูงใจ และทฤษฎีการวางเง่ือนไข มาใช้กับนักเรียนเพื่อเป็นการพัฒนาและปรับ เปล่ียน
พฤติกรรมการเรียนและส่งเสริม ศักยภาพของนักเรียนให้เกิดการเรียนรู้เต็มศักยภาพและความสามารถของ
ตนเอง ซง่ึ จะสง่ ผลให้นักเรียนมวี นิ ัย ความรบั ผดิ ชอบในหนา้ ท่ขี องตนเอง มีบรรยากาศการเรียนรทู้ ีเ่ หมาะสม
เปน็ การปลูกฝงั ระเบยี บวินยั การรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและผู้อื่น ทาให้สามารถพฒั นานักเรยี นให้เกดิ การเรียนรู้
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและมีผลการเรียนดขี ้ึน

รายงานผลการปฏบิ ตั ิการสอน ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562
โรงเรียนเมอื งแกพทิ ยาคม สพม.32

2

ความสาคัญของการศึกษา
การศึกษาวิจัยในคร้ังน้ีทาให้ทราบถึงด้านพฤติกรรมการเรียน เมื่อนักเรียนมีการปรับเปลี่ยน

พฤติกรรมให้เป็นผู้ท่ีมีวินัยในตนเองและความรับผิดชอบ จะทาให้นักเรียนสนใจเรียนและมีความขัยนอดทน
มแี รงจูงใจ

ทาให้มีผลการเรยี นดีข้ึน ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน และครูทุกท่านท่ีจะนามาเสริมสร้าง พฒั นา
นกั เรียนให้มคี ณุ ค่ามคี ุณประโยชน์ตอ่ ครอบครัว โรงเรยี น สงั คมและประเทศชาตติ อ่ ไป

วัตถุประสงค์
เพื่อเป็นการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมการเรยี นให้เป็นผู้มีวนิ ัยและความรับผิดชอบตอ่ หน้าที่และการเรียน

ดี ขึ้นของนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1/4 ปีการศกึ ษา 2562 ของโรงเรียนเมืองแกพทิ ยาคม

สมมุติฐานการวิจัย
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีของนักเรียน ทาให้

สามารถ พฒั นาศกั ยภาพดา้ นพฤติกรรมและการเรยี นใหด้ ีขึ้น

ขอบเขตของการศึกษาค้นควา้
1. ประชากรในการศกึ ษาค้นควา้ เป็นนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1/4 ของโรงเรียนเมอื งแกพิทยาคม

จานวน 26 คน
2. ตัวแปรทศี่ ึกษา
2.1 ตวั แปรอสิ ระ คอื พฤตกิ รรมดา้ นวินัยและความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง ไดแ้ ก่
วนิ ยั ในตนเอง
ความรบั ผดิ ชอบ
แรงจงู ใจในการเรยี น
2.2 ตวั แปรตาม คือ พฤตกิ รรมด้านความมวี นิ ัยในตนเอง

นยิ ามศัพท์เฉพาะ
ความมีวินัยในตนเอง หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตามกฎระเบียบและไม่ทาผิดต่อกฎระเบียบใน

การเป็นนักเรียน
ความรับผิดชอบ หมายถึง ความมุ่งม่ันของนักเรียนท่ีจะงานที่ได้รับมอบหมายให้สาเร็จลุล่วงด้วยดี

และต้งั ใจเรียนอย่างเตม็ ความสามารถ
แรงจูงใจในการเรียน หมายถึง การแสดงพฤติกรรมเม่ือถูกกระตุ้นจากสิ่งเร้า เช่น คาชมเชย การให้

รางวัล ฯลฯ แล้วสามารถประพฤติตนไดบ้ รรลเุ ป้าหมายโดยการเรยี นรูข้ องแตล่ ะคน

รายงานผลการปฏบิ ตั ิการสอน ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562
โรงเรียนเมอื งแกพิทยาคม สพม.32

บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎที ่ีเกี่ยวข้อง

ทฤษฎที ่เี กยี่ วข้องในการจัดทางานวิจัย มดี ังนี้
จิตวทิ ยาการศึกษา
เจตคติ (Attitude)
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎกี ารเรยี นรู้แบบวางเงือ่ นไข แบบแบบการกระทาของสกนิ เนอร์

จติ วิทยาการศึกษา
จติ วทิ ยาการศึกษา มบี ทบาทสาคญั ในการจัดการศึกษา การสรา้ งหลักสูตรและการเรยี นการสอนโดย

คานงึ ถงึ ความแตกตา่ งของบุคคล นกั ศึกษาและครูจาเปน็ ตอ้ งมคี วามรูพ้ น้ื ฐานทางจิตวิทยาการศึกษา เพอื่ จะได้
เขา้ ใจพฤตกิ รรมของผูเ้ รยี นและกระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนถึงปญั หาต่าง ๆ เก่ยี วกับการเรียนการ

ความสาคัญของการศึกษาจิตวิทยาการศึกษา
ความสาคัญของวัตถุประสงค์ของการศึกษาและบทเรียน นักจิตวิทยาการศึกษาได้เน้นความสาคัญ

ของความชัดเจนของการระบุวัตถุประสงค์ของการศึกษาบทเรียนตลอดจนถึงหน่วยการเรียนเนื่องจาก
วัตถุประสงค์จะเป็นตัวกาหนดการจัดการเรียนการสอน ทฤษฎีพัฒนาการและทฤษฎีบุคลิกภาพเป็นเรื่องท่ี
นักการศึกษาและครูจะต้องมีความรู้เพราะจะช่วยให้เข้าใจเอกลักษณ์ของผู้เรียนในวัยต่าง ๆ โดยเฉพาะวัย
อนุบาล วยั เด็ก และวัยรุ่น ซึ่งเป็นวยั ที่กาลังศึกษาในโรงเรียน ความแตกต่างระหว่างบคุ คลและกลุม่ นอกจาก
มีความเข้าใจพัฒนาการของเด็กวัยต่าง ๆ แล้ว นักการศึกษาและครูจะต้องเรียนรู้ถึงความแตกต่างระหว่าง
บุคคลและกลุ่ม ทางด้านระดับเชาวน์ปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ เพศ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม
ซ่ึงนักจิตวิทยาได้คิดวิธีการวิจัยที่จะช่วยชี้ให้เห็นว่า ความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นตัวแปรท่ีสาคัญในการ
เลือกวิธีสอนและในการสร้าง หลักสูตรท่ีเหมาะสม ทฤษฎีการเรียนรู้ นักจิตวิทยาที่ศึกษาวิจัยเก่ียวกับการ
เรยี นรู้ นอกจากจะสนใจวา่ ทฤษฎีการเรียนร้จู ะช่วยนกั เรยี นใหเ้ รียนรู้และจดจาอย่างมีประสิทธภิ าพไดอ้ ย่างไร
แล้ว ยังสนใจองค์ประกอบเกี่ยวกับตัว ของ ผู้เรียน เช่น แรงจูงใจว่ามีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้อย่างไร
ความรู้เหล่าน้ีก็มีความสาคัญต่อการเรียนการสอน ทฤษฎีการสอนและเทคโนโลยีทางการศึกษา นักจิตวิทยา
การศึกษาไดเ้ ปน็ ผนู้ าในการบุกเบกิ ตง้ั ทฤษฎีการสอน ซึง่ มีความสาคัญและมีประโยชนเ์ ท่าเทียมกับทฤษฎีการ
เรียนรูแ้ ละพัฒนาการในการช่วยนักการศึกษาและครเู ก่ียวกับการเรียนการสอน สาหรับเทคโนโลยใี นการสอนท่ี
จะช่วยครูได้มากก็คือคอมพิวเตอร์ช่วยการสอน หลักการสอนและวิธีสอน นักจิตวิทยาการศึกษาได้เสนอ
หลักการสอนและวิธีการสอนตามทฤษฎีทางจิตวิทยาที่แต่ละท่านยึดถือ เช่น หลักการสอนและวิธีสอนตาม
ทัศนะนักจติ วทิ ยาพฤติกรรมนยิ ม ปัญญานยิ ม และมนุษย์นยิ ม

รายงานผลการปฏบิ ัตกิ ารสอน ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนเมอื งแกพิทยาคม สพม.32

4

หลกั การวดั ผลและประเมินผลการศึกษา ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรือ่ งนี้จะช่วยใหน้ กั การศกึ ษา และครูทราบว่า
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพหรือไม่ หรือผู้เรียนได้สัมฤทธ์ิผลตามวัตถุประสงค์เฉพาะของแต่ละวิชาหรือ
หน่วย เรยี น หรอื ไม่ เพราะถา้ ผูเ้ รียนมีสมั ฤทธิ์ผลสูง กจ็ ะเปน็ ผลสะท้อนว่าโปรแกรมการศึกษามีประสิทธิภาพ
และการสร้างบรรยากาศของห้องเรียน เพ่ือเอ้ือการเรียนรู้และช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพของนักเรียน
ความสาคญั ของ จติ วทิ ยาการศกึ ษาต่ออาชีพครมู ีความสาคัญในเรือ่ งตอ่ ไปน้ี

1. ช่วยให้ครูรู้จักลักษณะนิสัยของนักเรียนที่ครูต้องสอนโดยทราบหลักพัฒนาการทั้งทางร่างกาย
สติปัญญา อารมณ์ สังคม และบุคลิกภาพเปน็ ส่วนรวม

2. ช่วยให้ครูมีความเข่าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการของนักเรียน เช่น อัตมโนทัศน์
ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร และเรียนรู้ถึงบทบาทของครูในการที่ช่วยนักเรียนให้มี อัตมโนทัศน์ที่ดีและถูกต้องได้
อย่างไร

3. ช่วยครูให้มีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อจะได้ช่วยนักเรียนเป็นรายบุคคลให้
พฒั นาตามศกั ยภาพของแต่ละบุคคล

4. ช่วยให้ครูรู้วิธีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก้วัยและขั้นพัฒนาการของนักเรียน
เพ่ือจูงใจให้นกั เรียนมีความสนใจและมีความทอ่ี ยากจะเรยี นรู้

5. ช่วยใหค้ รูทราบถึงตัวแปรตา่ งๆ ทม่ี อี ิทธิพลตอ่ การเรยี นรู้ของนักเรยี นเช่นแรงจงู ใจอัตมโนทัศน์ และ
การตั้งความคาดหวังของครทู ี่มีต่อนักเรียน

6. ช่วยครูในการเตรียมการสอนวางแผนการเรียน เพ่ือทาให้การสอนมีประสิทธิภาพสามารถช่วยให้
นกั เรยี นทุกคนเรียนตามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล โดยคานึงถงึ หวั ขอ้ ต่อไปนี้

6.1 ช่วยครูเลือกวัตถุประสงค์ของบทเรียนโดยคานึงถึงลักษณะนิสัยและความแตกต่างระ
หวาง บุคคลของนักเรียนที่จะต้องสอนและสามารถที่จะเขียนวัตถุประสงค์ให้นักเรียนเข้าใจว่าส่ิง
คาดหวังให้นักเรียนรู้มี อะไรบ้าง โดยถือว่าวัตถุประสงค์ของบทเรียนคือส่ิงท่ีจะช่วยให้นักเรียนที่ราบ
เมือ่ จบบทเรยี นแล้วนักเรียน สามารถทาอะไรไดบ้ ้าง

6.2 ช่วยครูในการเลือกหลักการสอนและวิธีสอนท่ีเหมาะสม โดยคานึงลักษณะนิสัยของ
นกั เรียน และวชิ าที่สอน และกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน

6.3 ช่วยครูในการประเมินไม่เพียงแต่เฉพาะเวลาครูได้สอนจนจบบทเรียนเท่าน้ันแต่ใช้
ประเมิน ความพร้อมของนักเรียนก่อนสอน ในระหวางที่ทาการสอน เพ่ือทราบว่านักเรียนมี
ความกา้ วหนา้ หรอื มีปญั หาใน การเรยี นรอู้ ะไรบา้ ง
7. ช่วยครูให้ทราบหลักการและทฤษฎีของการเรยี นรู้ท่ีนกั ได้พิสูจน์แล้ววา่ ได้ผลดี เช่น การเรียนจาก
การสงั เกต หรอื การเลียนแบบ
8. ช่วยครูให้ทราบถึงหลักการสอนและวิธีสอนที่มีประสิทธิภาพรวมท้ังพฤติกรรมของครูที่มีการสอน
อยา่ งมีประสิทธภิ าพว่ามอี ะไรบ้าง เชน่ การใชค้ าถาม การให้แรงเสรมิ และการทาตน เป็นตน้ แบบ

รายงานผลการปฏิบัติการสอน ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562
โรงเรยี นเมอื งแกพิทยาคม สพม.32

5

9. ช่วยครูให้ทราบว่านักเรียนที่มีผลการเรียนดีไม่ได้เป็นเพราะระดับเชาวน์ปัญญาเพียงอย่างเดี่ยว
แต่มีองคป์ ระกอบอ่ืน ๆ เชน่ แรงจูงใจ ทศั นคตหิ รืออตั มโนทัศนข์ องนักเรียนและความคาดหวังของครูท่ีมีต่อ
นักเรยี น

10. ช่วยครูในการปกครองช้ันและการสร้างบรรยากาศของห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้และ
เสรมิ สร้างบุคลิกภาพของนักเรยี น ครูและนกั เรียนมคี วามรกั และไวว้ างใจซง่ึ กันและกนั นกั เรียน ต่างกช็ ่วยเหลือ
กัน และกนั ทาใหห้ อ้ งเรียนเป็นสถานทีท่ ีท่ กุ คนมคี วามสุขและนกั เรยี นร้กู โรงเรียน อยากมาโรงเรยี น

เนือ่ งจากการศกึ ษามบี ทบาทสาคัญในการชว่ ยใหเ้ ยาวชนพฒั นาการทั้งทางดา้ นเชาวนป์ ัญญา และทาง
บุคลิกภาพ เพื่อช่วยให้เยาวชนมีความสาเร็จในชีวิต ทุกประเทศจึงหาทางส่งเสริมการศึกษาให้มีคุณภาพ
มีมาตรฐานความเป็นเลิศ ความรู้เก่ียวกับจิตวิทยาการศึกษาจึงสาคัญในการช่วยทั้งครูและนกั ศึกษาผู้มีความ
รับผิดชอบในการปรบั ปรงุ หลักสูตรและการเรียนการสอน

พฒั นาการจิตวิทยาการศึกษา
จิตวิทยา เป็นศาสตร์ท่ีมีคนสนใจมาต้ังแต่สมัยกรีกโบราณก่อนคริสต์กาล มีนักปรัชญาช่ือ พลาโต

(Plato 427 – 347 ก่อนคริสต์กาล) อริสโตเติล (Aristotle 384 – 322 ก่อนคริสต์กาล) ได้กล่าวถึง
ธรรมชาติและพฤตกิ รรมของมนษุ ยใ์ นเชงิ ปรชั ญามากกว่าแนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตร์ การศกึ ษาในยคุ นัน้ เป็นแบบ
เกา้ อโ้ี ตะ๊ กลมหรอื เรียกวา่ Arm Chair Method เรียกจิตวิทยาในยุคนัน้ ว่า จติ วทิ ยายุคเกา่ เพราะนกั จติ วิทยา
น่ัง ศึกษาอย่กู ับโตะ๊ ท างาน โดยใชค้ วามคิดเห็นของตนเองเพียงอย่างเดยี วไม่มีการทดลองไม่มกี ารวิเคราะห์ใด
ๆ ท้ังสิ้น ต่อมาอริสโตเติลได้สนใจจิตวิทยาได้ท าการศึกษาและได้เขียนต าราเล่มแรกของโลกเป็นต าราที่ว่า
ด้วยเร่ือง วิญญาณชื่อ De Anima แปลว่า ชีวิต เขากล่าวว่า วิญญาณเป็นต้นเหตุให้คนต้องการเรียน
จิตวิทยา คนในสมัย โบราณจึงศึกษาจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับวิญญาณ โดยมีความเช่ือว่าวิญญาณจะสิงอยู่ใน
ร่างกายของมนุษย์ขณะมี ชีวิตอยู่ เม่ือคนส้ินชีวิตก็หมายถงึ ร่างกายปราศจากวญิ ญาณและวญิ ญาณออกจาก
ร่างล่องลอยไปชั่วระยะหน่ึง แล้วอาจจะกลับสู่ร่างกายคืนอีกได้ และเมื่อนั้นคน ๆ นั้นก็จะฟื้นคืนชีพข้ึนมาอกี
ชาวกรีกจึงมีการคิดค้นวิธีการ ป้องกันศพไม่ให้เน่าเป่ือยท่ีเรียกว่า มัมมี่ เพื่อคอยการกลับมาของวิญญาณ
ต่อมาประมาณศตวรรษท่ี 11 - 12 ไดเ้ กดิ ลัทธิความจริง (Realism) เปน็ ลัทธทิ ี่เชอ่ื สภาพความเปน็ จริงของ
ส่ิงต่าง ๆ และลัทธิความคิด รวบยอด (Conceptualism) ท่ีกล่าวถึงความคิดที่เกิดหลังจากได้วิเคราะห์
พิจารณาสงิ่ ต่างๆถถ่ี ว้ นแลว้ จากลัทธิทั้ง สองนี้เองท าใหผ้ คู้ นมีความคิดมากขึ้นมกี ารคิด วิเคราะห์ ไตรต่ รอง จึง
เป็นเหตุให้ผู้คนเริ่มหันมาสนใจในทาง วิทยาศาสตร์ และจึงเริ่มมาสนใจในเร่ืองจิตวิทยาในเชิงวิทยาศาสตร์
มากข้ึน ในขณะเดียวกันก็ยังสนใจศึกษาเรื่อง จิตมากข้ึนด้วย รวมทั้งให้ความสนใจศึกษาเก่ียวกับเร่ืองจิตส
านึก (Conscious) อันได้แก่ การมีสมาธิการมี สติสัมปชัญญะ และเช่ือว่าจะเป็นมนุษย์ได้จะต้องประกอบไป
ด้วยรา่ งกายกับจิตใจ จงึ มคี าพูดตดิ ปากว่า “A Sound mind is in a sound body” จติ ท่ผี ่องใสอยู่ใน
รา่ งกายท่สี มบูรณ์ ความสนใจเรอ่ื งจิตจงึ มีมากขน้ึ ตามล าดับ นอกจากน้ยี ังเช่อื ว่า จติ แบ่งสามารถเป็นส่วนๆ

รายงานผลการปฏบิ ตั กิ ารสอน ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรยี นเมอื งแกพทิ ยาคม สพม.32

6

ได้แก่ ความคิด (Idea) จินตนาการ (Imagine) ความจ า (Memory) การรับรู้ (Concept) ส่วนที่สาคัญ
ท่ีสุดเรียกว่า Faculty of will เป็นส่วนหนึ่งของจิต ที่สามารถส่ังการเคลื่อนไหวต่างๆ ของร่างกายต่อมา
Norman L. Mumm มีความสนใจเร่อื งจิต เขา กลา่ วว่า จติ วทิ ยา คือ การศกึ ษาเร่ืองจิต ในปี ค.ศ. 1590
ค าว่า Psychology จึงเปน็ ทีร่ ู้จักและสนใจของ คนท่ัวไป

จอห์น ลอค (John Locke ค.ศ. 1632 - 1704) ได้ชื่อว่าเป็น บิดาจิตวิทยาแผนใหม่เขาเชื่อว่า
ความรูส้ ึกตวั ( Conscious ) และสง่ิ แวดลอ้ มเปน็ ตัวทีม่ อี ิทธพิ ลตอ่ จิต

วิธกี ารศกึ ษาทางจิตวิทยา การศกึ ษาทางจิตวทิ ยาใชห้ ลาย ๆ วิธีการมาผสมผสานและทาการวิเคราะห์
บนสมมุติฐาน นักจิตวิทยาจะใช้วิธีการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เช่น การตรวจสอบตนเอง การสังเกตการศึกษา
บคุ คล เป็นรายกรณี การสัมภาษณ์ การทดสอบ ดงั จะอธิบายเรียงตามลาดับตอ่ ไปนี้

1. การตรวจสอบตนเอง (Introspection) หมายถึง วิธีการใหบ้ คุ คลสารวจ ตรวจสอบตนเองด้วย การ
ย้อนทบทวนการกระทาและความรู้สึกนึกคิดของตนเองในอดีต ทีผ่ า่ นมา แลว้ บอกความรสู้ กึ ออกมา โดยการ
อธิบายถึงสาเหตุและผลของการกระทาในเรอื่ งต่าง ๆ เช่น ต้องการทราบว่าทาไมเดก็ นักเรยี นคนหนง่ึ จึงชอบ
พูด ปดเสมอ ๆ กใ็ หเ้ ลา่ เหตุหรือเหตกุ ารณ์ในอดีต ทเ่ี ปน็ สาเหตุให้มพี ฤติกรรมเชน่ น้นั กจ็ ะทาให้ทราบที่มาของ
พฤติกรรมและไดแ้ นวทางในการทีจ่ ะชว่ ยเหลอื แกไ้ ขพฤติกรรมดังกล่าวได้ การตรวจสอบตนเองจะไดร้ บั ข้อมูล
ตรงตามความเป็นจรงิ และเป็นประโยชน์ เพราะผูร้ ายงานที่มี ประสบการณ์และอยู่ในเหตกุ ารณ์น้นั จรงิ ๆ แต่
หากผู้รายงานจดจาเหตุการณ์ได้แม่นยา และมีความจริงใจในการรายงานอย่างซ่ือสัตย์ไม่ปิดับงและบิดเบือน
ความจริง แตห่ ากผ้รู ายงานจาเหตุการณห์ รือเร่ืองราวไม่ไดห้ รือไม่ ตอ้ งการรายงานขอ้ มูลที่แท้จริงให้ทราบก็จะ
ทาให้การตคี วามหมายของเรื่องราวต่าง ๆ หรอื เหตุการณผ์ ิดพลาดไม่ ตรงตามขอ้ เทจ็ จรงิ

2. การสังเกต (Observation) หมายถึง การเฝ้าดูพฤติกรรมในสถานการณ์ท่ีเป็นจริงอย่างมี
จุดมงุ่ หมาย โดยไม่ใหผ้ ถู้ ูกสงั เกตรู้ตัวการสังเกตแบ่งเป็น 2 ลกั ษณะคือ

2.1 การสังเกตอย่างมแี บบแผน ( Formal Observation ) หมายถึง การสังเกตท่มี กี าร
เตรียมการล่วงหน้า มีการวางแผน มีกาหนดเวลา สถานการณ์ สถานท่ีพฤติกรรมและบุคคลที่จะสังเกตไว้
เรียบร้อยเม่ือ ถึงเวลาที่นักจิตวิทยาวางแผนก็จะเริ่มทาการสังเกตพฤติกรรมตามที่กาหนดและผู้สังเกต
พฤติกรรมจะจดพฤตกิ รรม ทกุ อยา่ งในช่วงเวลานน้ั อยา่ งตรงไปตรงมา

2.2 การสังเกตอยา่ งไมม่ แี บบแผน ( Informal Observation ) หมายถึง การสังเกตโดยไม่
ต้องมีการเตรียมการล่วงหน้าหรือวางแผนล่วงหน้า แต่สังเกตตามความสะดวกของผู้สังเกตคือจะสังเกต
ช่วงเวลาใด ก็ได้แล้วทาการจัดบันทึกพฤติกรรมท่ีตนเห็นอย่างตรงไปตรงมา การสังเกตช่วยให้ได้ข้อมูล
ละเอียด ชัดเจนและตรงไปตรงมา เช่น การสังเกต อารมณ์ ความรสู้ กึ ของบุคคลต่อสถานการณต์ ่าง ๆ จะ
ทาให้เห็นพฤติกรรมได้ชัดเจนกว่าการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการอื่น ๆ แต่การสังเกตที่ดีมีคุณภาพมีส่วนประกอบ
หลายอย่างเช่น ผู้สังเกตจะต้องมีใจเป็นกลางไม่อคติหรือลาเอียงอย่างหนึ่ง อย่างใด และสังเกตได้ทั่วถึง

รายงานผลการปฏบิ ัติการสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562
โรงเรียนเมืองแกพทิ ยาคม สพม.32

7

ครอบคลุม สังเกตหลาย ๆ สถานการณ์หลาย ๆ หรือหลาย ๆ พฤติกรรม และใช้ เวลาในการสังเกต

ตลอดจนการจัดบันทึกการสงั เกตอย่างตรงไปตรงมาและแยกการบนั ทกึ พฤติกรรมจากการตีความไม่ปะปนกัน

ก็จะทาใหก้ ารสังเกตไดข้ ้อมลู ตรงตามความเป็นจริงและนามาใชป้ ระโยชนต์ ามจุดม่งุ หมาย

3. การศกึ ษาบคุ คลเปน็ รายกรณี (Case Study) หมายถงึ การศึกษารายละเอยี ดต่าง ๆ ท่ีสาคญั ของ

บุคคล แต่ต้องใช้เวลาศึกษาติดต่อกันเป็นระยะเวลาหนึ่ง แล้วรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์พิจารณาตีความ

เพ่ือให้เข้าใจถึงสาเหตุของพฤติกรรม หรือลักษณะพิเศษท่ีผู้ศึกษาต้องการทราบ ทั้งน้ีเพื่อจะได้หาทาง

ช่วยเหลือแก้ไข ปรับปรุง ตลอดจนส่งเสริมพฤติกรรมให้เป็นไปในทางสรา้ งสรรค์ที่สาคัญของบุคคลแต่ต้องใช้

เวลาศึกษาติดต่อกัน เปน็ ระยะหนึ่ง แล้วรวบรวมข้อมลู มาวิเคราะหพ์ ิจารณาตีความเพอื่ ให้เข้าใจถงึ สาเหตุของ

พฤติกรรม หรือลักษณะ พิเศษที่ผู้ศึกษาต้องการทราบ ทั้งนี้ เพื่อจะได้หาทางช่วยเหลือแก้ไข ปรับปรุง

ตลอดจนสง่ เสริมพฤตกิ รรมให้เป็นไปในทางสร้างสรรค์

4. การสัมภาษณ์ (Interview) หมายถึง การสนทนากันระหว่างบุคคลต้ังแต่สองคนขึ้นไป โดยมี

จุดมุ่งหมาย ซ่ึงการสัมภาษณ์ก็มีหลายจุดมุ่งหมาย เช่น การสัมภาษณ์เพ่ือความคุ้นเคย สัมภาษณ์เพื่อ

คัดเลือกบุคคลเข้าทางาน สัมภาษณ์เพื่อคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อตลอดจนสัมภาษณ์เพ่ือการแนะแนวและ

การให้คาปรึกษา เป็นตน้ แตท่ ั้งการสมั ภาษณ์กเ็ พ่อื ให้ได้ขอ้ มูลหรือขอ้ เท็จจริงต่าง ๆ เพ่อื ใช้ในการตัดสินใจ

การสัมภาษณ์ท่ีดี จาเป็นต้องมีการเตรยี มการล่วงหน้า วางแผน กาหนดสถานทเ่ี วลาและเตรียม หัวข้อหรอื

คาถามในการสัมภาษณ์ และนอกจากนัน้ ในขณะสัมภาษณผ์ ู้สมั ภาษณ์ควรจะใช้เทคนิคอน่ื ๆ ประกอบดว้ ยก็

ยิ่งจะได้ผลดี เช่น การสังเกต การฟัง การใช้คาถาม การพูด การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหวาง ผู้ให้

สัมภาษณ์และผสู้ ัมภาษณ์กจ็ ะชว่ ยใหก้ ารสัมภาษณ์ไดด้ าเนินไปดว้ ยดี

5. การทดสอบ (Testing) หมายถึง การใช้เครื่องมือท่ีมีเกณฑ์ในการวัดลักษณะของพฤติกรรมใด

พฤติกรรมหน่ึง หรอื หลาย ๆ พฤตกิ รรม โดยให้ผู้รับการทดสอบเปน็ ผูต้ อบเเสนองตอ่ แบบทดสอบซ่งึ อาจเป็น

แบบทดสอบภาษาและแบบปฏิบตั ิการหรือลงมือทา ทง้ั นีเ้ พอ่ื ใหไ้ ด้ข้อมูลเกี่ยวกบั บคุ คลนั้นตามจดุ มงุ่ หมายที่ผู้

ทดสอบวางไว้แบบทดสอบที่นามาใช้ในการทดสอบหาข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบบุคลิกภาพ แบบทดสอบ

ความสนใจ เปน็ ตน้ การทดสอบกม็ สี ง่ิ ท่ีควรคานึงถงึ เพ่ือผลของข้อมลู ทไ่ี ดร้ บั ซง่ึ แบบทดสอบท่ี

นามาใชค้ วรเปน็ แบบทดสอบทีเ่ ชื่อถือได้เป็นมาตรฐาน ตลอดจนการแปรผลได้อย่างถูกต้อง เป็นตน้

6. การทดสอบ (Experiment) หมายถึง วิธีการรวบรวมข้อมูลที่เป็นระบบ มีขั้นตอนและเป็น

วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ ซ่งึ มลี าดับขนั้ ตอนั ดงั นี้ ต้งั ปญั หา ต้งั สมมตุ ฐิ าน การรวบรวมขอ้ มูล การทดสอบ

สมมุติฐาน การแปลความหมายและรายงานผล ตลอดจนการนาผลท่ีได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือส่งเสริม

ต่อไป การทดลองจึงเป็นการจัดสภาพการณ์ขึ้นมาเพ่ือดูผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนเพ่ือศึกษา

เปรียบเทยี บกล่มุ หรอื สถานการณ์ คือ

1. กลุ่มทดลอง (Experiment Group) คือ กลุ่มที่ได้รับการจัดสภาพการณ์ทดลองเพ่ือศึกษาผล

ที่ปรากฏจากสภาพนั้นเช่นการสอนดว้ ยเทคนคิ ระดมพลังสมอง จะทาให้กล่มุ เกิดความคดิ สร้างสรรค์หรอื ไม่

รายงานผลการปฏิบัติการสอน ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562
โรงเรยี นเมอื งแกพิทยาคม สพม.32

8

2. กลุ่มควบคุม (Control Group) คือ กลมุ่ ท่ีไม่ได้รบั การจดั สภาพการณ์ใด ๆ ทุกอยา่ งถกู ควบคมุ
ให้คงภาพเดิม ใช้เพ่ือเปรียบเทียบกับกลุ่มทดลอง สิ่งที่ผู้ทดลองต้องการศึกษาเรียกว่า ตัวแปร ซ่ึงมีตัวแปร
อิสระหรือตวั แปรต้น (Independent Variable) และตวั แปรตาม ( Dependent Variable )

เจตคติ (Attitude)
ความหมายของเจตคติ

เจตคติ หมายถึงอะไร ขัตติยา กรรณสูต (2516:2) ให้ความหมายไว้ คือ ความรู้สึกที่คนเรามีต่อสิ่ง
หนึ่งสิ่งใดหรือหลายสิ่งในลักษณะที่เป็นอัตวิสัย (Subjective) อันเป็นพ้ืนฐานเบ้ืองต้นหรือการแสดงออกท่ี
เรียกวา่ พฤตกิ รรม

สชุ า จนั ทรเ์ อม และ สรุ างค์ จนั ทรเ์ อม (2520:104) ให้ความหมายเจตคติ คือความรสู้ ึก หรือทา่ ที ของ
บุคคลที่มีต่อบุคคล วัตถุส่ิงของ หรือสถานการณ์ต่างๆ ความรู้สึก หรือท่าทีจะเป็นไปในท านองที่พึงพอใจ
หรอื ไมพ่ อใจ เห็นด้วยหรอื ไมเ่ ห็นดว้ ยก็ได้

สงวนศรี วิรัชชัย (2527:61) ให้ความหมายเจตคติ คือสภาพความคิด ความเข้าใจและความรู้สึกเชิง
ประเมนิ ที่มีตอ่ สิง่ ต่างๆ(วัตถุ สถานการณ์ ความคดิ ผคู้ น ฯลฯ) ซึ่งท าให้บุคคลมีแนวโนม้ ที่จะแสดงพฤติกรรม
ตอ่ สงิ่ น้ัน ในลกั ษณะเฉพาะตัวตามทิศทางของทัศนคติที่มอี ยู่

ชม ภูมิภาค (2516:64) ใหค้ วามหมายเจตคติ คือวถิ ีทางทบี่ คุ คลเกดิ ความรู้สกึ ต่อบางส่ิงบางอย่าง ค า
จ ากัดความเช่นน้ีมิใช่ค าจ ากัดความเชิงวิชาการมากนักแต่หากเราจะพิจารณาโดยละเอียดแล้วเราก็พอจะ
มองเห็น ความหมายของมนั ลกึ ซงึ้ ชดั เจนพอดู เมอ่ื พดู วา่ คือความรสู้ ึกต่อส่ิงน้ันก็หมายความว่าเจตคตนิ น้ั มีวัตถุ
วัตถุที่เจคติ จะมุ่งตรงต่อนน้ั จะเป็นอะไรก็ได้อาจจะเป็นบุคคล ส่ิงของ สถานการณ์ นโยบายหรืออ่นื ๆ อาจจะ
เป็นได้ท้ัง นามธรรมและรูปธรรม ดังน้ันวัตถุแห่งเจตคติน้ันอาจจะเป็นอะไรก็ได้ที่คนรับรู้หรือคิดถึงความรสู้ ึก
เช่นนี้อาจจะ เป็นในด้านการจูงใจหรืออารมณ์และเช่นเดียวกันแรงจูงใจแบบอ่ืนๆคือดูได้จากพฤติกรรม
ตัวอยา่ งเชน่ เจคติตอ่ ศาสนาหากเปน็ เจตคตทิ ี่ดีเราจะเกิดความเคารพในวดั เราจะเกดิ ความรสู้ กึ ว่าศาสนาหรือ
วัดน้ันจะเป็นสิ่งจรรโลง ความสงบสุข เรายินดีบริจาคท าบุญร่วมกับวัดเราจะพดู ได้อีกอยา่ งหน่ึงว่าเปน็ ความ
พร้อมท่ีจะถูกกระตุ้นด้วยวัตถุ การกระท าต่างๆของคนนน้ั มักถูกก าหนดด้วยเจตคติท่ีจะตัดสินใจว่าจะ
บริจาคเงินแก่วัดสักเท่าใดนั้นย่อมมีปัจจัย ต่างๆเข้าเกี่ยวข้อง เช่น ชอบสมภาร รายได้ตนเองดีขึ้น เห็น
ความสาคัญของวดั เหน็ ว่าสิ่งทจ่ี ะตอ้ งบรู ณะมาก

“เจตคติ” คือ สภาพความรู้สึกทางด้านจิตใจที่เกิดจากประสบการณ์และการเรียนรู้ของบุคคลอัน
เป็นผลท าให้เกิดมีท่าทีหรือมีความคิด เห็นรู้สึกต่อส่ิงใดส่ิงหนึ่งในลักษณะท่ีชอบหรือไม่ชอบ เห็นหรือไม่เหน็
ด้วย เจตคตมิ ี ๒ ประเภทคอื เจตคตทิ ่วั ไป เจตคตเิ ฉพาะอย่าง

COLLINS (1970:68) ให้ความหมายเจตคติ คือการท่ีบุคคลตัดสินในส่ิงต่างๆว่าดี –ไม่ดี เห็นด้วย-ไม่
เหน็ ด้วย ยอมรับได้-ยอมรบั ไมไ่ ด้

รายงานผลการปฏบิ ตั ิการสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรยี นเมอื งแกพิทยาคม สพม.32

9

ROKEACH (1970:10) ให้ความหมายเจตคติ คือการผสมผสานหรือจัดระเบียบของความเชื่อที่มีต่อ
ส่ิงหน่ึงส่ิงใดหรอื สถานการณ์หนึ่งสถานการณ์ใด ผลรวมของความเช่ือนี้จะเป็นตัวก าหนดแนวทางของบุคคล
ในการทจ่ี ะมีปฏิกริยาตอบสนองในลักษณะทชี่ อบหรอื ไมช่ อบ

BELKIN และ HKYDELL (1979:13) ให้ความหมายเจตคติ คือ แนวโนม้ ท่ีบคุ คลจะตอบสนอง ในทางที่
เปน็ ความพอใจ ไม่พอใจ ต่อผคู้ น เหตุการณ์ และสิง่ ต่างๆอย่างสม่ าเสมอและคงที่

ดังน้ันอาจสรุปความหมายของเจตคติ คือความรู้สึกของบุคคลท่ีมีต่อสูงใด ๆ ซึ่งแสดงออกมาเป็น
พฤติกรรมในลักษณะชอบ ไม่ชอบ อาจเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย พอใจ ไม่พอใจ ต่อสูงใด ๆ ในลักษณะเฉพาะตัว
ตาม ทศิ ทางของทศั นคตทิ ่ีมีอยู่และทาให้จะเปน็ ตวั กาหนดแนวทางของบุคคลในการทจ่ี ะมีปฏกิ ิรยิ าตอบเสนอง

องคป์ ระกอบของเจตคติ
องคป์ ระกอบของเจตคตทิ ี่สาคัญ 3 ประการคือ
1. การรู้ (COGNITION) ประกอบด้วยความเช่ือของบุคคลที่มีต่อเป้าหมาย เจตคติ เช่น ทัศนคติต่อ

ลทั ธิคอมมิวนสิ ต์ สิ่งสาคัญขององคป์ ระกอบน้ี กค็ อื จะประกอบดว้ ยความเชื่อทไ่ี ดป้ ระเมนิ ค่าแล้วว่าน่าเชื่อถือ
หรือไม่น่าเช่ือถือ ดีหรือไม่ดี และยังรวมไปถึงความเชื่อในใจว่าควรจะมีปฏิกิริยาตอบโต้อยา่ งไรต่อเป้าหมาย
ทัศนคตจิ งึ จะเหมาะสมทส่ี ดุ ดงั นนั้ การรแู้ ละแนวโนม้ พฤติกรรมจงึ มีความเก่ียวขอ้ งและสมั พนั ธอ์ ย่างใกลช้ ิด

2. ความรู้สึก (FEELING) หมายถึง อารมณ์ท่ีมีต่อเป้าหมาย เจตคติ น้ัน เป้าหมายจะถูกมองด้วย
อารมณช์ อบหรือไมช่ อบ ถกู ใจหรอื ไม่ถูกใจ สว่ นประกอบดา้ นอารมณ์ ความรูส้ ึกนเี้ องทท่ี าใหบ้ ุคคลเกดิ ความ
ดอ้ื ดึงยึดมั่น ซ่ึงอาจกระตนุ้ ใหม้ ปี ฏิกริยาตอบโตไ้ ดห้ ากมีส่งิ ที่ขดั กบั ความรู้สึกมากระทบ

3. แนวโน้มพฤติกรรม (ACTION TENDENCY) หมายถึง ความพร้อมที่จะมีพฤติกรรมที่สอดคล้อง
กับเจตคติ ถ้าบุคคลมีเจตคติที่ดีต่อเป้าหมาย เขาจะมีความพร้อมท่ีจะมีพฤติกรรมช่วยเหลือหรือสนับสนุน
เป้าหมายน้ัน ถ้าบุคคลมีเจตคติในทางลบต่อเป้าหมาย เขาก็จะมีความพร้อมที่จะมีพฤติกรรมทาลาย หรือทา
ร้าย เป้าหมายน้นั เช่นกัน

การเกิดเจตคติ และเจตคตเิ กดิ จากอะไร
เจตคตเิ กิดจากการเรยี นร้ขู องบุคคลไมใ่ ช่เป็นสงิ่ มีติดตัวมาแต่กาเนิด หากแตว่ ่าจะชอบหรือไม่ชอบส่ิง

ใดต้องภายหลัง เม่ือตนเองได้มีประสบการณ์ในส่ิงน้ัน ๆ แล้ว ดังน้ัน จึงพอสรุปได้ว่า เจตคติเกิดขึ้นจากเรื่อง
ตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี

1. การรวบรวมมีความคิดอนั เกดิ จากประสบการณห์ ลาย ๆ อยา่ ง
2. เกดิ จากความรู้สกึ ที่รอยพมิ พ์ใจ
3. เกดิ จากการเหน็ ตามคนอื่น

รายงานผลการปฏิบตั กิ ารสอน ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562
โรงเรยี นเมืองแกพทิ ยาคม สพม.32

10

ชม ภูมภิ าค (2516:66-67) ไดอ้ ธบิ ายเรอื่ งการเกิดเจตคติว่าเกิดจากการเรียนรู้และโดยมากก็เป็นการ
เรียนรทู้ างสงั คม (social learning) ดังนั้นปจั จัยท่ที าใหเ้ กดิ เจตคติจงึ มีหลายประการเช่น

1. ประสบการณ์เฉพาะ เม่ือคนเราได้รับประสบการณ์ต่อสูงใดสิ่งหนึ่งอาจจะมีลักษณะในรูปแบบท่ีผู้
ได้รับรู้สึกว่าได้รางวัลหรือถูกลงโทษ ประสบการณ์ท่ีผู้รู้สึกเกิดความพึงพอใจย่อมจะทาให้เกิดเจตคติท่ีดีต่อสูง
น้ัน แต่ถ้าเป็นประสบการณท์ ่ไี ม่เปน็ ท่ีพงึ พอใจก็ย่อมจะเกิดเจตคติท่ีไมด่ ี

2. การสอน การสอนน้ันอาจจะเป็นท้ังแบบที่เป็นแบบแผน หรือไม่เป็นแบบแผนก็ได้ซึ่งเราได้รับจาก
คนอื่น องค์การท่ีทาหนา้ ที่สอนเรามีมากมายอาทิเช่น บ้าน วัด โรงเรียน ส่ือมวลชนต่าง ๆ เรามักจะได้รับเจต
คติที่สงั คมมีอยู่และนามาขยายตามประสบการณ์ของเราการสอนท่ไี ม่เปน็ แบบแผนนน้ั สว่ นใหญ่เริม่ จาก

ครอบครัวต้งั แตเ่ ด็ก ๆ มาแลว้ พ่อแม่พนี่ อ้ งมกั จะบอกเราวา่ ส่งิ น้นั ไมด่ ีส่ิงนไ้ี ม่ดีหรอื ใครควรทาอะไรมี
ความสาคัญ อย่างไร การสอนสว่ นมากเป็นแบบยัดทะนานและมกั ได้ผลดีเสียดว้ ยในรูปแบบการปลกู ฝงั เจตคติ

3. ตัวอย่าง(Model) เจตคติบางอย่างเกิดข้ึนจากการเลียนแบบในสถานการณ์ต่าง ๆ เราเห็นคนอ่ืน
ประพฤติ เราเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมคนอ่นื ออกมาเป็นรปู ของเจตคติถา้ เรายอมรบั นับถอื หรือเคารพคน ๆ นั้น
เราก็ มกั ยอมรบั ความคิดของเขาตามท่ีเราเข้าใจ เชน่ เดก็ ชายแดงเหน็ บิดาดูรายการกีฬาทางโทรทัศนป์ ระจา
เขาก็จะ แปลความหมายว่า กีฬานั้นเป็นเรื่องนาสนใจและจะต้องดูหรือถ้าเขาเห็นพ่อแม่ระมัดระวังต่อชุด
รบั แขกในบ้าน มากกวา่ ของทอี่ ยู่ในสนามหญ้าหลงั บ้านเขาก็จะเกิดความรู้สกึ วา่ ของในบา้ นตอ้ งระวังรักษาเป็น
พิเศษ ซง่ึ การเรยี นรเู้ ช่นนี้พ่อไมไ่ ม่จาเปน็ ต้องพูดว่าอะไรเลย เดก็ จะเฝ้าสังเกตการณ์ปฏิบัติของพอ่ แม่ตอบุคคล
อ่ืนอย่างถ่ถี ว้ นจะ เรยี นรู้ว่าใครควรคบใครควรนบั ถือ ใครไมค่ วรนบั ถือ

4. ปัจจัยท่ีเกี่ยวกับสถาบัน ปัจจัยทางสถาบันมีอยู่เป็นอันมากที่มีส่วนสร้างสนับสนุนเจตคติของเรา
ตัวอย่างเช่น การปฏิบัติตนในวัด ในโบสถ์ การแต่งกายของคนในสถานการณ์ทางสังคมต่าง ๆ เป็นส่ิงให้แนว
เจต คตขิ องคนเราเปน็ อันมาก

สภาวะท่ีมีผลต่อการก่อเกิดของเจตคติน้ันมีหลายอย่างอาทิเช่น ประการแรก ข้ึนอยู่กับการที่เรา คิด
ว่าเราเป็นพวกเด่ียวกัน (identification) เด็กที่ยอมรับว่าตนเองเป็นพวกเด่ียวกับพ่อแม่ย่อมจะรับเจตคตขิ อง
พอ่ แมง่ า่ ยขึน้ หรือทีโ่ รงเรียนหากเด็กถอื ว่าครูเปน็ พวกเด่ยี วกับตนเด็กย่อมจะรับความเชอ่ื ถอื หรอื เจตคติของครู

ประการท่ีสอง ข้ึนอยู่กับว่า เจตคติน้ันคนอื่น ๆ เป็นจานวนมากเช่ืออย่างน้ัน หรือคิดอย่างน้ัน
(uniformity) การที่เราจะมีเจตคตเิ ข้ากลมเกลียวเปน็ อนั หน่งึ อันเดีย่ วกนั ไดน้ ้ันอาจจะมีสาเหตุอื่นอกี เช่นโอกาส
ท่ีจะได้รับเจตคติแตกต่างไปนน้ั ไม่มปี ระการหนึ่งอีกประการหนึ่งหากไม่เห็นด้วยกับส่วนใหญเ่ ราเกิดความรู้สกึ
ว่า ส่วนใหญ่ปฏิเสธเรา นอกจากน้ีประการที่สามการที่เรามเี จตคติตรงกับคนอื่นทาให้เราพูดติดต่อกับคนอ่ืน
เข้าใจ เมื่อเราเจริญเติบโตจากเด็กเป็นผู้ใหญ่นั้นแนท่ ี่สุดที่เราจะพบความแตกต่างของเจตคติมากมาย ในบ้าน
น้ันนับว่า เป็นแหล่งเกิดเจตคติตรงกันที่สุด แต่พอมีเพ่ือนฝูงเราจะเห็นว่าเจตคติของเพ่ือนฝูงและของพ่อแม่
ของเขาแตกต่าง กันบา้ ง ในโรงเรยี นโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในระดบั การศกึ ษาช้นั สงู เราจะพบความแตกต่างของเจต
คติมากมาย ดังนั้น เราจะเห็นได้ว่าเจตคติแรก ๆ ที่เราได้รับนน้ั ค่อนขา้ งจะคงทนถาวร เจตคตินั้นจะสามารถ

รายงานผลการปฏบิ ตั ิการสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรยี นเมอื งแกพิทยาคม สพม.32

11

นาไปใชก้ ับสถานการณใ์ หม่ ท่ีคล้ายกัน เชน่ คนทม่ี ีพ่อดุดนั เข้มงวดเขาจะเกิดความมุง่ ร้ายต่อพ่อ อาจจะคิดว่า
ผบู้ งั คบั บญั ชาน้ันดดุ ันเข้มงวด และเกดิ ความรูส้ ึกม่งุ ร้ายต่อผู้บงั คับบญั ชากไ็ ด้ หรือคนงานทไี่ ม่ชอบหวั หน้างาน
อาจจะนาความไมช่ อบนน้ั ไปใชต้ อบรษิ ัทหรอื เกลียดบริษัทไปดว้ ย

ลกั ษณะของเจตคติ
ทติ ยา สวุ รรรณชฎ (2520:602-603) กล่าวถึงลักษณะสาคญั ของเจตคติ 4 ประการคอื
1. เจตคติ เปน็ สภาวะกอ่ นทีพ่ ฤติกรรมโตต้ อบ (PREDISPOSITION TO RESPOND) ตอ่ เหตกุ ารณห์ รือ

สิ่งใดส่งิ หน่งึ โดยเฉพาะหรือจะเรยี กว่าสภาวะพรอ้ มทจ่ี ะมพี ฤติกรรมจรงิ
2. เจตคติ จะมีความคงตัวอยู่ในช่วงระยะเวลา (PERSISTENCE OVERTIME) แต่มิได้หมายความว่า

จะไม่มกี ารเปลย่ี นแปลง
3. เจตคติ เป็นตัวแปรหนึ่งนาไปสู่ความสอดคล้องระหวางพฤติกรรม ความรู้สึกนึกคิดไม่ว่าจะเป็น

การแสดงออกโดยวาจา หรอื การแสดงความรสู้ ึก ตลอดจนการท่ีจะตอ้ งเผชญิ หรือหลีกเลีย่ งต่อสงู ใดสง่ิ หน่งึ
4. เจตคติ มีคุณสมบัติของแรงจูงใจ ในอันท่ีจะทาให้บุคคลประเมินผล หรือเลือกสิ่งใดสิ่งหน่ึง

ซ่งึ หมายความตอ่ ไปถึงการกาหนดทศิ ทางของพฤติกรรมจริงด้วย
เจตคตินับว่าเป็นส่วนประกอบที่สาคัญในการทางานอย่างหนึ่ง นอกจากความพร้อมและการจูงใจ

บุคคลที่มเี จตคตทิ ด่ี ีต่อการทางานจะชว่ ยให้ทางานได้ผลท้งั น้ีเพราะเจตคติ เป็นตน้ กาเนิดของความคดิ และการ
แสดงการกระทาออกมานนั่ เอง

กล่าวโดยสรุป เจตคติ เป็นลักษณะทางจิตของบุคคลที่เป็นแรงขับแรงจูงใจของบุคคล แสดง
พฤติกรรมท่ีจะแสดงออกไปในทางต่อต้าน หรือสนับสนุนต่อสูงน้ัน หรือสถานการณ์นั้น ถ้าทราบทัศนคติของ
บคุ คล ใดทีส่ ามารถทานายพฤตกิ รรมของบคุ คลน้ันได้ โดยปกตคิ นเรามักแสดงพฤติกรรมในทิศทางท่ีสอดคล้อง
กบั ทัศนคตทิ ม่ี อี ยู่

อยา่ งไรกด็ ีเจตคติเมื่อเกิดขึน้ แล้วอาจจะมีลักษณะที่คอ่ นข้างถาวรและคงทน ความรังเกยี จท่เี รียนรู้ใน
วัยเด็กอาจจะคงอยู่ต่อไปจนช่ัวชีวิต เจตคติทางการเมืองศาสนาและอื่น ๆ มักจะมีความคงทนเป็นอันมาก
สาเหตทุ ่ีทาใหเ้ จตคตบิ างอย่างมีความคงทนอาจมีสาเหตุดงั ต่อไปน้ี

1.เน่ืองจากเจตคตินั้นเป็นแนวทางปรับตัวได้อย่างพอเพียงคือตราบใดท่ีสถานการณ์นั้นยังสามารถ
จะใช้เจตคติเช่นนน้ั ในการปรับตัวอยู่เจตคติน้ัน ก็จะยังคงไม่เปล่ียนแต่เนื่องจากไม่สามารถท่ีจะใช้ได้เน่อื งจาก
สถานการณ์ได้เปล่ียนแปลงไปแล้วเจตคตินั้นกม็ ักจะเปลี่ยนแปลงไป เช่น ในสหรัฐอเมริการิการิการกิ าริกาคน
ส่วนใหญ่มักจะ คดั ค้านการช่วยเหลอื ของรฐั บาลอยา่ งรนุ แรง แตพ่ อเกิดเศรษฐกิจตกตา่ อยา่ งรนุ แรงกอ็ าจจะรับ
ความชว่ ยเหลอื ของรฐั บาลมากขึน้

2. เหตุท่ีเจตคติไม่เปล่ียนแปลง่าย ๆ ก็เพราะว่าผู้มีเจคติน้ันจะไม่ยอมรับรู้สิ่งยกเว้นใด ๆ เหตุการณ์
เช่นน้ีเรยี กว่า Selective perception เชน่ คนทเี่ กลียดยิว เกิดความคิดว่าพวกยิวนี้ขี้เหนียวเอารัดเอาเปรียบ

รายงานผลการปฏิบตั กิ ารสอน ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรยี นเมอื งแกพิทยาคม สพม.32

12

ต่อมามยี วิ มาอยูบ่ ้านใกล้ ๆ ทัง้ ๆ ท่ียิวคนนั้นแสนจะดเี ปน็ กันเองใหค้ วามชว่ ยเหลอื เราดเี จตคติของเรามีอยู่เดิม
จะไม่ ยอมรบั ร้คู วามดีของยิวเชน่ นนั้ ดังน้นั เจตคตจิ งึ ไมเ่ ปลยี่ น

3. สาเหตุอีกอย่างหนง่ึ คอื ความภักดตี อ่ หมกู่ ลุ่มท่ีเราเป็นสมาชกิ คนเราไมอ่ ยากได้ช่อื ว่าทรยศต่อพวก
ตัวอย่างเช่น หญิงสาวถูกอบรมมาในครอบครัวซึ่งเคร่ง ไม่ยอมให้เล่นการพนัน สูบบุหรี่เพราะการกระทา
เช่นน้นั ครอบครัวถือว่าเปน็ การกระทามิใชว่ ิสัยสตรีที่ดี ที่จะพึงกระทาตอ่ มาแม้ว่าจะมีโอกาสท่ีจะกระทาได้แต่
ไม่ ทา เพราะเหน็ ว่าขัดต่อเจตคติของพอ่ แมท่ ี่เคยสง่ั สอนไว้

4. ความต้องการป้องกันตนเอง บุคคลท่ีไม่ยอมเปลี่ยนเจตคติท่ีเขามีอยู่เดิมนั้นอาจเน่ืองจากเหตุผล
ว่าหากเขาเปล่ียนแปลงแล้วจะทาให้คนอื่นเห็นว่าเขาอ่อนแอเช่น คนขายของเสนอวิธีการขายใหญใ่ ห้หัวหนา้
หวั หนา้ เห็นวา่ ดเี หมอื นกันแตไ่ มย่ อมรับเพราะเหน็ วา่ เป็นเรื่องท่ที าให้คนอนื่ เหน็ หัวหนา้ ไมม่ คี วามสามารถ

5. การได้รับการสนับสนุนจากสังคมน้นั คือการท่ีเราเช่ืออย่างน้ันมีเจตคติอยู่อยา่ งน้นั เรายังได้รับการ
สนับสนนุ กบั คนที่มคี วามเชื่ออย่างเดย่ี วกับเราอยู่

หน้าทีแ่ ละประโยชน์ของเจตคติ
Katz (อา้ งในนพมาศ 2534:130) มองวา่ เจตคติมีประโยชนแ์ ละหนา้ ทค่ี ือ
1. เปน็ ประโยชน์โดยการเป็นเครื่องมอื ปรับตัว และเป็นประโยชน์ในการใชเ้ พือ่ ทาการตา่ ง ๆ
2. ทาประโยชน์โดยการใช้ป้องกันสภาวะจิตใจ หรือปกป้องสภาวะจิตของบุคคล (EGODEFENSIVE

FUNCTION) เพราะความคดีหรอื ความเช่ือบางอย่างสามารถทาให้ผู้เช่ือหรือคิดสบายใจ ส่วนจะผิดจะถูกเปน็
อีกเรือ่ งหนง่ึ

3. เจตคติทาหน้าที่แสดงคา่ นยิ ม ให้คนเห็น หรอื รบั รู้ (VALUE EXPRESSIVE FUNCTION)
4. มีประโยชน์หรอื ให้คุณประโยชนท์ างความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับผู้คนและสง่ิ ตา่ ง ๆ
5. ช่วยให้บุคคลมีหลักการและกฎเกณฑ์ในการแสดงพฤติกรรมหรือช่วยพัฒนาค่านิยมให้กับบุคคล
การที่บุคคลมีทัศนคติที่ดีตอบุคคลสถานการณ์ต่าง ๆ ในสังคมจะเป็นสิ่งที่ช่วยให้บุคคลสามารถประเมินและ
ตัดสินไดว้ ่าควรจะเลอื กประพฤติอย่างไรจงึ จะเหมาะสมและดงี าม
ชม ภูมิภาค (2516:65) หน้าท่ีของเจตคติ เจตคติทาหน้าที่เก่ียวกับการรับรู้อยู่มากเจตคติมีส่วน
กาหนดการมองเห็นของคน นอกจากนย้ี ังทาหนา้ ทอี่ ื่น ๆ อีกเช่น
1. เตรยี มบคุ คลเพอื่ ใหพ้ รอ้ มต่อการปฏบิ ัตกิ าร
2. ช่วยให้บคุ คลได้คาดคะเนลว่ งหนา้ วา่ อะไรจะเกิดขึน้
3. ทาใหบ้ คุ คลได้รับความสาเร็จตามหลักชัยท่วี ่างไว้
การเปลยี่ นแปลงเจตคติ
สุชา จันเอม และสรุ างค์ จันเอม (2520:110 - 111) กล่าววา่ ทศั นคติของบคุ คลสามารถเปลี่ยนแปลง
ได้เน่ืองมาจาก

รายงานผลการปฏิบัติการสอน ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรยี นเมอื งแกพิทยาคม สพม.32

13

1) การชักชวน (PERSUASION) ทัศนคติจะเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงใหม่ได้หลังจากที่ได้รับ
คาแนะนาบอกเล่า หรอื ไดร้ บั ความรูเ้ พม่ิ พูนขนึ้

2) การเปลีย่ นแปลงกลุ่ม (GROUP CHANGE) ชว่ ยเปลีย่ นทศั นคติของบคุ คลได้
3) การโฆษณาชวนเช่อื (PROPAGANDA) เป็นการชักชวนให้บุคคลหนั มาสนใจหรอื รับรู้โดยการสร้าง
ส่งิ แปลก ๆ ใหม่ ๆ ขน้ึ
สิง่ ทมี่ ีอทิ ธิพลต่อเจตคติ คือ
1. บิดา มารดา ของเด็ก
2. ระเบยี บแบบแผน วฒั นธรรมของสังคม
3. การศกึ ษาเล่าเรียน
4. สง่ิ แวดลอ้ มในสงั คม
5. การพกั ผ่อนหยอ่ นใจทแี่ ต่ละคนใช้ประจาตวั
การแก้ไขเจตคติหรอื วธิ ีสร้างเจตคติ
เจตคติเปน็ เรอื่ งที่แกไ้ ขได้อยากถ้าจาเปน็ จะต้องช่วยแกไ้ ขเปล่ียนเจตคติของคนอาจใช้วิธีเหล่านน คือ
1. การค่อย ๆ ชืน้ ลงให้เข้าใจ
2. หาสง่ิ เรา้ และส่ิงจูงใจอย่างเข้มข้นมาย่ัวยุ
3. คบหาสมาคมกบั เพอ่ื นดีดี
4. ใหอ้ ่านหนังสอื ดีมีประโยชน์
5. ใหล้ องทาจนเห็นชอบแล้วกลบั ตวดั เี อง
ชม ภูมิภาค (2516:65) ไดอ้ ธิบายว่าเจตคติเปลย่ี นแปลงได้ ปจั จยั ท่จี ะชว่ ยให้เจคติเปล่ียนแปลงไดม้ ี
หลายประการเชน่
1. ความกดดนั ของกลุม่ (Group pressure) หากกล่มุ จะสามารถใหร้ างวลั หรอื ลงโทษไดย้ อ่ มจะมี
แรงกดดันมากในการที่จะกดดันทิศทางเจตคติของเราสิ่งยั่วยุที่เป็นรางวัลน้ัน ได้แก่ ความเป็นผู้มีคนรู้จักมาก
การเล่ือน ตาแหน่งการงาน สัญลักษณ์ของการยอมรับนับถือ เป็นต้น ส่วนสิ่งย่ัวยุท่ีเป็นการลงโทษกเ็ ช่น การ
เสียเพือ่ นฝูง เสยี ช่อื เสยี ง เสียตาแหน่ง เป็นต้น ยง่ิ เรามคี วามผดิ ปกตไิ ปจากกลมุ่ เท่าใดแรงบบี บังคบั ของหมู่มี
มากเทา่ ใดหรอื ย่งิ หมู่ กล่มุ น้นั ย่งิ เราต้องการเปน็ สมาชกิ ของหมู่ใด แรงบบี บังคับของหมู่ยอ่ มมมี ากเทา่ น้นั หรือ
ย่ิงหมู่กลุ่มต้องการเรามาก เท่าใดกลุ่มก็ย่ิงต้องการให้เราปฏิบัติตามมาตรฐานของกลุ่มเท่านั้นกลุ่มท่ีมีเกียรติ
ศักดิ์หรือศักดิ์ศรีต่าในหมู่อาจจะ กระทาผิดแปลกไปได้บ้าง แต่ย่ิงมีตาแหน่งสูงหรือศักดิ์ศรีสูงแล้วกระทาผดิ
มาตรฐานเพยี งนิดเด่ียวแรงกดดันของ หมจู่ ะเกิดข้ึนทันท่เี พื่อให้ปฏิบตั อิ ยู่ในแนว
นอกจากน้แี รงกดดันของกลุ่มจะมมี ากกค็ ือการทีไ่ มม่ มี าตรฐานอนื่ ที่จะปฏบิ ัตหิ รือมนี อ้ ยทางท่ีจะเลอื ก
หรือเราไม่มคี วามรูม้ ากมายนกั ในเรอื่ งนน้ั บคุ คลมกั จะเปล่ยี นความคิดเหน็ หรือเจตคตหิ ากกลุ่มของเขาที่ยึดอยู่
เปลี่ยนแปลงไป ตัวอย่างเช่น กรรมกร แรก ๆ อาจไม่สนใจกันรวมเป็นสมาคมแต่ต่อมาหากรู้ว่าคนอ่ืน ๆ ใน

รายงานผลการปฏิบตั กิ ารสอน ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรยี นเมืองแกพทิ ยาคม สพม.32

14

กลุ่มรับ ฟงั ความคิดเห็นน้ัน เขากอ็ าจเปล่ยี นความคิดยง่ิ กลุ่มมีความเปน็ เอกภาพเท่าใดแรงกดดนั ของกลุ่มยิ่งมี
ผลเท่านน้ั เรอ่ื งอานาจของความกดดนั ของกลุ่มอนั มผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงน้ันอาจจะเปน็ ไปได้ 4 กรณคี อื

1.1 เราอาจปฏิเสธบรรทัดฐานของกลุ่มและยึดม่ันในเจตคติของเราและเราอาจจะก้าวร้าวยิ่งขึ้น
หากเราเช่อื ว่ากลมุ่ ไม่มีผลบีบบงั คับเรามากนกั หรือเรามีความภักดตี ่อกลมุ่ อ่ืนมากกว่า

1.2 เราอาจจะไม่เปลี่ยนแปลงต่อเจตคติของเราแต่เราปฏิบัติตามกล่มุ เพราะเหตุผลภายนอกอย่างอ่ืน
โดยถอื ว่าเปน็ สว่ นตัวและเราไม่เหน็ ดว้ ยแตส่ ่วนรวมทาเช่นนัน้ กต็ อ้ งปฏิบตั ิตาม

1.3 เราอาจยอมรับบรรทัดฐานของกลุ่มเพียงผิวเผิน ภายในส่วนลึกของจิตใจเราไม่ยอมเปล่ียนแต่
พอเราออกไปอยกู่ ลมุ่ อ่ืนเราจะได้เหน็ ว่าเราเปลีย่ นแปลงเป็นอยา่ งอืน่

1.4 เราอาจจะนาเอาบางส่วนของบรรทัดฐานของกลุ่มมาผนวกกับความเชื่อของเราและปฏิเสธ
บางสว่ น

2. ประสบการณ์ที่นา่ พึงพอใจหรอื ไม่นา่ พึงพอใจ เราอาจเปล่ียนแปลงเจตคติไปไดเ้ มือ่ ไดร้ บั
ประสบการณ์ทน่ี ่าพอใจหรอื ไม่น่าพอใจ เช่น นายแดงเข้าท างานบริษัทหน่ึงเพราะเขาเชอ่ื วา่ จะมคี วามกา้ วหน้า
แต่ พบว่า หัวหน้าของเขาเป็นคนขีอ้ ิจฉาเมอื่ เขาเกิดเสนอความคิดเหน็ ดีๆเพ่ือปฏิบตั ิหัวหน้าอาจจะเห็นว่าการ
เสนอแนะของเขาเช่นน้ันท าให้ฐานะของเขาส่ันคลอนและนอกจากนั้นยังทราบดีว่าเพ่ือนร่วมงานของเขาไป
ฟ้องแก่หัวหนา้ งานบ่อยๆ เขาจึงอาจเปล่ียนเจตคติไปอีกแบบหน่ึงคือมองไม่เห็นความกา้ วหน้าในการท างาน
กบั บริษัทนี้ เชน่ นเ้ี ป็นตน้

3. อิทธิพลของกลุ่มบุคคลที่มีช่ือเสียง บุคคลท่ีมีช่ือเสียงในความหมายน้ีอาจจะเป็นเพือ่ นซึ่งเรานบั ถอื
ความคิดของเขาหรืออาจจะเป็นผู้เชียวชาญทางด้านความพิเศษต่างๆ ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดในเรื่องนีก้ ็คือ การ
โฆษณา ซ่งึ มักจะใชค้ นมีช่ือเสียงไปยงุ่ เก่ียว เช่น ดาราภาพยนตร์ช่ือดังคนนนั้ ใชส้ บยู่ ่หี อ้ นนั้ ๆ เปน็ ต้น

เจตคติเป็นความรู้สึกของบุคคลท่ีมีต่อส่ิงต่างๆ อันเป็นผลเนื่องมาจากการเรียนรู้ ประสบการณ์ และ
เป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมหรือแนวโน้มท่ีจะตอบสนองต่อส่ิงเร้านั้น ๆ ไปในทิศทางหนึ่ง อาจ
เปน็ ไป ในทางสนับสนนุ หรือคัดค้านกไ็ ด้ ท้ังนีข้ ึ้นอยู่กับขบวนการการอบรมให้การเรยี นรูร้ ะเบียบวธิ ีของสังคม
ซึ่งเจตคตินี่ จะแสดงออกหรือปรากฏใหเ้ หน็ ชัดในกรณีทีส่ ิง่ เร้านน้ั เป็นสง่ิ เร้าทางสังคม

องคป์ ระกอบของเจตคติ
องค์ประกอบของเจตคติมี 3 ประการ ไดแ้ ก่
1. ดา้ นความคิด (Cognitive Component) หมายถึง การรบั รู้และวนิ ิจฉัยขอ้ มูลตา่ ง ๆ ทไี่ ดร้ ับ แสดง

ออกมาในแนวคดิ ที่วา่ อะไรถกู อะไรผดิ
2. ด้านความรู้สึก (Affective Component) หมายถึง ลักษณะทางอารมณ์ของบุคคลท่ีสอดคล้อง

กบั ความคดิ เช่น ถ้าบคุ คลมคี วามคิดในทางทไ่ี ม่ดตี ่อส่ิงใด ก็จะมีความรูส้ ึกทไ่ี ม่ดีต่อส่ิงนนั้ ด้วย จงึ แสดงออกมา
ในรูปของความรู้สกึ ไมช่ อบหรอื ไม่พอใจ

รายงานผลการปฏิบัตกิ ารสอน ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562
โรงเรียนเมอื งแกพทิ ยาคม สพม.32

15

3. ด้านพฤติกรรม ( Behavior Component) หมายถึง ความพร้อมที่จะกระท าซ่ึงเป็นผลมาจาก
ความคดิ และความรสู้ ึกและจะออกมาในรูปของการยอมรับหรอื ปฏเิ สธ การปฏบิ ัตหิ รอื ไมป่ ฏิบัติ

ทฤษฎีแรงจูงใจ
ความหมายและองค์ประกอบของแรงจูงใจ ( Motivation)

แรงจงู ใจ หมายถงึ สภาวะทีอ่ ินทรียถ์ กู กระต้นุ ใหแ้ สดงพฤตกิ รรมเพื่อไปยงั จุดมงุ่ หมายดงั นั้น แรงจงู ใจ
จึงเป็นความปรารถนา ที่บุคคลมีความต้องการที่จะบรรลุเป้าหมายโดยการเรียนรู้ของแต่ละคนน่ันเอง เมื่อ
บุคคลได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าต่างๆ และบุคคลจะเกิดความต้องการ ( Needs ) และถ้าความต้องการของ
บุคคลไม่ได้รับการตอบสนอง บคุ คลจะเกดิ ความเครียด( stress ) เมอ่ื บุคคลสะสมความเครียดไวม้ าก ๆ บคุ คล
จะ ขาดความสุขในการด าเนินชีวิตการสะสมความเครียด ความวติ กกงั วลมาก ๆ จะท าให้บุคคลเกิดแรงขับ
( drive ) ทีจ่ ะกระท ากิจกรรมบางอย่างหรือแสดงพฤติกรรมบางอยา่ งให้ลดความเครยี ดนั้นลงมากระบวนการ
ท่ีเกิดข้ึน ภายในน้ีเอง ซ่ึงจะท าการกระตุ้นให้บุคคลไปสู่การกระท าบางอย่างท่ีไปสู่เป้าหมาย กระบวนการ
เชน่ นี้เรยี กว่า แรงจูงใจ ( Motivation )

องคป์ ระกอบในการเกดิ แรงจงู ใจ มี 4 ขนั้ ตอน คอื
1. ขัน้ ความต้องการ( needs stage ) ออความต้องการเป็นสภาวะขาดสมดลุ ท่ีเกิดได้เมือ่ บคุ คลขาดสิ่ง

ที่จะทาให้ส่วนตา่ ง ๆ ภายในร่างกายทาหน้าทไ่ี ปตามปกติ สิ่งทีอ่ าจจะเป็นสิ่งทจ่ี าเปน็ ตอ่ การดาเนินชวี ิตจึงทา
ใหเ้ กิดแรงขับและเกดิ แรงกระตุ้น เชน่ ความหวิ เม่ือบุคคลหวิ บุคคลกต็ อ้ งพยายามหาอาหาร คนทล่ี ดนา้ หนัก
โดย การใช้ยาลดความอว้ น ยาจะไปกดประสาทไม่ให้หวิ แตพ่ อหลงั จากไม่ใชย้ าลดน้าหนกั จะเห็นวา่ คนท่ีลด
นา้ หนัก โดยใชย้ าจะกนิ อาหารชดเชยมากข้ึนและอาจจะกลับมาอ้วนใหม่อีก หรือเด็กเลก็ ที่ไมก่ ินนมตอนป่วย
แต่พอให้ป่วยเด็กจะเร่ิมกินนมมากข้ึนเพ่ือชดเชยตอนท่ีป่วย ความกระหายก็เปน็ ความต้องการอีกอย่างท่ี
เมอื่ เกดิ แลว้ บุคคลต้องหาวิธีการเพอ่ื ให้หายกระหาย ความตอ้ งการทางเพศและความต้องการการพักผ่อนก็
จัดเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานในการดารงชีวิต และไม่มีใครในโลกนี้ที่พยายามฝืนเพ่ือไม่ให้ตนเองหลับ
มนษุ ยท์ ุกคน ต้องการการพักผ่อนดว้ ยกันท้งั สนิ้

2. ขั้นแรงขับ ( drive stage ) หรือภาวะที่บุคคลถูกกระตุ้นให้เกิดแรงขับ เม่ือบุคคลเกิดแรงขับ
แลว้ บคุ คลจะนิง่ อยูเ่ ฉย ๆ ไม่ไดบ้ ุคคลอาจจะรู้สกึ ไม่มีความสุข กระวนกระวายใจ ดงั น้ันบคุ คลจะคดิ ค้นหา
วธิ ีการทท่ี าให้ตนเองรสู้ ึกว่าได้รบั การตอบเเสนองจากความหิว ความกระหาย ความต้องการท้งั ปวงทเ่ี กิดขึ้น
เพอ่ื ผลกั ดัน ใหไ้ ปสจู่ ดุ หมายปลายทาง ตามทบ่ี ุคคลตอ้ งการเชน่ เม่อื เราวงิ่ เหนอ่ื ย ๆ อากาศกร็ อ้ นจัด ทาให้
เราเหน่ือยและคอแห้งอยากกินน้า ส่ิงที่เราต้องการบาบัดความกระหายในช่วงเวลานั้นคือน้า บุคคลจะ
พยายามทกุ วธิ ีทางทจ่ี ะ หานา้ มาด่มื

รายงานผลการปฏิบัติการสอน ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรยี นเมืองแกพทิ ยาคม สพม.32

16

3. ข้ันพฤติกรรม ( behavior stage ) เป็นข้ันที่เกิดแรงขับอย่างมากท่ีทาให้บุคคลเดินไปหาน้าดื่ม
โดยการเดนิ เขา้ ไปในรา้ นสะดวกซอื้ แล้วเปิดขวดดืม่ แล้วจงึ เดินมาจ่ายสตางค์หรอื ถ้าทนต่อความกระหายน้าได้ก็
รีบเดินอย่างรวดเรว็ ไปจ่ายสตางค์แล้วยกนา้ ดม่ื รวดเด่ยี วหมดขวด ชน่ื ใจ ความกระหายก็บรรเทาลง

4. ขนั้ ลดแรงขบั ( drive reduction stage ) เป็นข้นั สดุ ทา้ ยที่อินทรียไ์ ด้รับการตอบเเสนองคือได้ด่ืม
น้า เปน็ ข้นั ที่บคุ คลเกดิ ความพึงพอใจ ความตอ้ งการตา่ ง ๆ ก็จะลดลง

ทฤษฎกี ารเรยี นรู้แบบวางเงอ่ื นไข แบบแบบการกระทาของสกนิ เนอร์

สกินเนอร์ (B.F. Skinner) เกิดในมลรัฐเพนซิลวาเนีย ในปี ค.ศ. 1904 มีบทบาทสาคัญในการนา

บทเรียน สาเรจ็ รปู และเครอื่ งมอื มาใช้ บางคนเรยี กวา่ ทฤษฎีเสรมิ แรง การเสรมิ แรงเปน็ การช่วยตอบเเสนอง

สิ่งเร้าให้ปรากฏข้ึนซ้าอยู่เสมอจนทาให้เกิดความเคยชินส่ิงเร้าเดิม การตอบเเสนองเช่นเดิม ก็ตามมาคือเกิด

เป็นการเรยี นรู้ การทดลองของสกนิ เนอร์

ได้ทดลองกบั หนูขาว โดยมีข้นั การทดลอง ดงั นี้

ขัน้ ท่ี 1 ก่อนการเรียนรู้ ---> กดคาน (CR) ---> อาหาร (UCS) ---> กิน (UCR)

ขัน้ ท่ี 2 หลังการเรียนรู้ (S1) ---> (R1) ---> S2 ---> R2 คาน (CS)

กดคาน (CR) อาหาร (UCS) กนิ (UCR)

การประยกุ ต์ใชใ้ นการสอน
1. การตงั้ จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
2. การใชต้ ัวเสรมิ แรง ได้แก่ ยม้ิ แยม้ การชมเชยจากครู คะแนน
3. การใช้บทเรียนสาเร็จรปู

รายงานผลการปฏิบัตกิ ารสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรยี นเมอื งแกพิทยาคม สพม.32

บทที่ 3
วิธีการดาเนินการศกึ ษาคน้ ควา้

การศึกษาวิจัยครงั้ น้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือเปน็ การปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมการเรยี น ให้เป็นผู้มีวินัย และ
ความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีและการเรยี นดีข้ึนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1/4 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียน
เมอื งแกพทิ ยาคม ได้ดาเนนิ การตามขนั้ ตอันดงั นี้

1. ขัน้ ตอนการดาเนนิ การวิจยั
2. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
3. เคร่อื งมอื ทีใ่ ช้ในการวิจัย
4. การเก็บรวบรวมข้อมลู
5. การวิเคราะห์ข้อมลู

1. ข้ันตอนการดาเนนิ การวิจยั
ผวู้ ิจยั ได้กาหนดขน้ั ตอนในการวจิ ัยไว้ดังน้ี
1. ศกึ ษาหลักการทฤษฎีจติ วิทยาการศกึ ษา เจตคติ (Attitude) ทฤษฎแี รงจูงใจ ทฤษฎีการเรยี นร้แู บบ

วางเง่ือนไข แบบแบบการกระทาของสกินเนอร์ ลักษณะด้านวินัยในห้องเรียนความขัยนอดทนและความ
รับผดิ ชอบ

2. กาหนดกรอบความคิดในการวิจัย เพ่ือทาการศึกษาความมีวินัยในตนเอง ความรับผิดชอบของ
นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1/4 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเมอื งแกพทิ ยาคม

3. กาหนดวัตถปุ ระสงค์
4. กาหนดกลุ่มประชากร ในการวิจัยคร้ังนี้ได้กาหนดกลุ่มประชากร คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี
1/4 ของโรงเรียนเมืองแกพิทยาคมจานวน 26 คน
5. สรา้ งเครื่องมอื การวิจยั โดยผวู้ ิจยั ศกึ ษาจากหลักการทฤษฎีแนวคิด วัตถุประสงค์ เพื่อจาแนก ว่า
ควรสร้างเครือ่ งมือวัดด้านใดบ้างให้เหมาะสมกับสภาพของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1/4 ของโรงเรียนเมือง
แกพิทยาคมจานวน 26 คน ทนี่ ามาทาการวจิ ยั ในครงั้ น้ี
6. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผู้วิจัยนาได้ดาเนินการเก็บข้อมลู ดัวยตัวเองโดยการสังเกต ให้นักเรียนกลุ่ม
ตวั อย่างไดต้ อบแบบสอบถาม
7. การสรุปผลการวิจัยและนาเสนอผลการวจิ ัย โดยนาข้อมลู ท่ีไดม้ าวิเคราะห์ขอ้ มลู และเขยี น สรุปผล
การวิเคราะห์ขอ้ มูล

รายงานผลการปฏบิ ัตกิ ารสอน ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562
โรงเรียนเมืองแกพิทยาคม สพม.32

18
2. ประชากร/กลมุ่ ตวั อย่าง

ประชากร / กลุ่มตวั อย่างท่ใี ชใ้ นการศึกษาคร้ังนีเ้ ป็นนกั เรยี นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี
6/14 ของโรงเรียนเมืองแกพทิ ยาคมจานวน 26 คน
3. เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการศึกษาคน้ ควา้

ในการทาวจิ ัยครั้งนี้ เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้เป็นแบบสงั เกต แบบสอบถาม ทผ่ี ู้วจิ ัยสร้างขน้ึ เอง
4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผู้วจิ ัยได้ใชก้ ารสงั เกตและนาเครอ่ื งมือท่ีสร้างข้ึนให้นักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปี
ท่ี 1/4 ของโรงเรียนเมอื งแกพทิ ยาคมจานวน 26 คน ไดต้ อบแบบสอบถามและเกบ็ ขอ้ มลู ดว้ ย ตนเอง
5. การวิเคราะหข์ ้อมูล

ผู้วิจัยใช้คา่ รอ้ ยละในการวเิ คราะห์ข้อมูล

รายงานผลการปฏบิ ตั กิ ารสอน ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562
โรงเรียนเมืองแกพทิ ยาคม สพม.32

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู

การศึกษาวิจัยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่และ
การเรยี นดีขึ้นของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1/4 ปกี ารศกึ ษา 2562 โรงเรียนเมืองแกพิทยาคมปรากฏว่าไดร้ บั
ความร่วมมือจากนักเรยี นเป็นอย่างดี จึงทาให้นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สามารถตอบเสนองต่อตัว
นกั เรียนเอง ทาใหน้ กั เรียนมพี ฤตกิ รรมการเรยี นที่ดขี ึ้น มวี นิ ยั ในตนเองและมีความรบั ผิดชอบต่อหนา้ ทท่ี ่ไี ด้รับ
มอบหมายและการเรียนดีข้นึ ผ้วู ิจยั ไดด้ าเนนิ การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามลาดับขัน้ ตอันดังนี้

1. การวิเคราะห์ขอ้ มลู
2. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล

การวิเคราะห์ข้อมูล
ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยได้การดาเนินติดตามข้อมูลด้วยตัวเองโดยการสังเกต สัมภาษณ์ให้

นกั เรียนตอบแบบสอบถามและมีการติดตามดูแลพฤตกิ รรมและการเรียนของนักเรยี นอย่างใกล้ชดิ ดังน้ี
ผูว้ ิจยั ได้ดาเนนิ การศึกษาและสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1/4 ปีการศึกษา 2562

โดยการสังเกตพฤติกรรมและการเรียนของนกั เรียนในช่วั โมงโฮมรูม ขณะทที่ าการสอน และสอบถามจาก ครู
แต่ละวิชาท่ีทาการสอน ซ่ึงพบว่ามีนักเรียนที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมการเรียน ขาดวินัยและความรับผิดชอบ
เช่น มาสาย ไม่สนใจเรียน ไม่ส่งงานตามกาหนดเวลา บางคร้ังไม่มาเรียน มีการจัดบันทึกและติดตาม
นักเรียนเปน็ รายกรณี โดยการว่ากลา่ วตกั เตือนและมีการบันทึกเป็นลายลักษณอ์ กั ษรและมีการใหน้ กั เรยี นตอบ
แบบสอบถาม สรุปไดด้ งั น้ี

ตารางแสดงความมีวนิ ัย ความรับผิดชอบและความสนใจการเรียน

ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6/14 (ครัง้ ท่ี 1)

ขอ้ รายการ ทาเป็น ทาเปน็ ไม่เคย
ประจา บางครง้ั ทา
9.30
1. นักเรียนมักนางานวชิ าอ่ืนมาทาขณะท่ีกาลังเรียนวชิ าหนงึ่ 76.74 13.96 4.65
9.31
2. นักเรยี นพูดคยุ และเล่นเพ่อื นในขณะท่คี รูสอน 69.77 25.58 16.28
9.30
3. นกั เรยี นส่งงานและการบ้านตรงเวลาที่ครกู าหนด 72.09 18.60

4. นักเรียนนอนหลับในหอ้ งเรียนขณะชั่วโมงเรยี น 58.14 25.58

5. นักเรยี นไม่ทาการบ้านและลอกการบ้านเพอ่ื น 74.42 16.28

รายงานผลการปฏิบตั ิการสอน ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562
โรงเรียนเมืองแกพทิ ยาคม สพม.32

20

ขอ้ รายการ ทาเป็น ทาเปน็ ไมเ่ คย
ประจา บางคร้งั ทา
6. นกั เรยี นทาผดิ จะพยายามแกไ้ ขโดยไมท่ อ้ แท้ 41.86 44.19 13.95
7. นกั เรยี นมคี วามรับผิดชอบตอ่ งานที่ได้รบั มอบหมาย 46.51 46.51 6.98
8. นักเรียนมาเรยี นตรงเวลาและต้ังใจเรยี น 44.19 51.16 4.65
9. นักเรยี นรจู้ ักวางแผนและเตรยี มพร้อมที่จะศึกษาต่อใน 25.58 46.51 27.91

บทเรียนถดั ไป 41.89 46.57 11.54
10. นักเรียนใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์โดยการอา่ นหนังสอื

จากแบบสอบถามนักเรียนเก่ียวกับความมีวินัยและรับผิดชอบในห้องเรียน (ครั้งท่ี 1) สรุปได้ ดังน้ี
นกั เรยี นมักนางานวชิ าอืน่ มาทาขณะทกี่ าลังเรยี นวิชาหน่งึ นกั เรยี นท่ที าเป็นประจามากที่สุด คดิ เป็น
ร้อยละ 76.74
นักเรยี นพูดคุยและเล่นเพือ่ นในขณะท่ีครูสอน นกั เรียนที่ทาเปน็ ประจามากทส่ี ุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 69.77
นักเรียนส่งงานและการบ้านตรงเวลาที่ครูกาหนด นักเรียนที่ทาเป็นประจามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ
72.09
นักเรียนนอนหลับในห้องเรียนขณะช่ัวโมงเรียน นักเรียนท่ีทาเป็นประจามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ
58.14
นักเรียนไม่ทาการบ้านและลอกการบ้านเพ่ือน นักเรียนที่ทาเป็นประจามากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ
74.41
นกั เรียนทาผิดจะพยายามแก้ไขโดยไม่ทอ้ แท้ นักเรียนทีท่ าบางครัง้ มากท่ีสดุ คดิ เป็นร้อยละ 44.19
นักเรยี นมคี วามรับผดิ ชอบต่องานทีไ่ ด้รับมอบหมาย นกั เรียนทท่ี าเปน็ ประจาและทาเป็นบางครัง้ มาก
ท่ีสดุ คดิ เป็นรอ้ ยละ 46.51
นกั เรยี นมาเรยี นตรงเวลาและตั้งใจเรียน นักเรยี นทท่ี าบางครงั้ มากทสี่ ุด คิดเปน็ ร้อยละ 51.16
นักเรียนรจู้ ักวางแผนและเตรียมพรอ้ มท่ีจะศึกษาต่อในบทเรียนถัดไป นักเรียนทท่ี าบางครั้ง มากที่สดุ
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 46.51
นักเรยี นใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชนโ์ ดยการอ่านหนังสือ นกั เรียนท่ีทาบางครัง้ มากท่ีสดุ คิดเป็นร้อย
ละ 46.57
หลังจากท่ีผู้วิจัยได้ทาการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนและได้ใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับความมีวินัย
ความรับผิดชอบและความสนใจการเรียน โดยให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1/4 จานวน 26 คน ตอบ
แบบสอบถามด้วยความจริงแล้วนามาสรุปโดยใช้ค่าร้อยละในการวเิ คราะห์ผลการวจิ ัย จากแบบสรุปผลการ
ตอบ แบบสอบถาม) และประกอบกับผลการเรียนของภาคเรียนที่ 1 ทาให้ผู้วิจัยได้ทาการสังเกตนักเรียนที่มี

รายงานผลการปฏบิ ตั กิ ารสอน ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562
โรงเรยี นเมืองแกพิทยาคม สพม.32

21

พฤติกรรมในลักษณะดังกล่าวและมีผลการเรียนค่อนข้างต่า ซึ่งผู้วิจัยจะทาการวิจัยเพื่อเป็นปรับเปล่ียนด้าน
พฤติกรรมให้นักเรียนในห้องเรียนมีวินัยและความรับผิดชอบ ต้ังใจเรียน จึงได้ดาเนินการโดยให้แต่ละคน
รว่ มกัน แสดงความคิดเห็นและรว่ มกันสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ภายในหอ้ งเรยี นให้เอ้ือตอ่ การเรียนการสอน
โดยการวางเงอ่ื นไขกันภายในหอ้ งเรยี น สรา้ งแรงจูงใจ และสรา้ งความตระหนกี่ ให้นักเรียนเห็นถงึ ผลของการ
ไมม่ ี วินยั ขาดความรับผดิ ชอบ และไม่ตง้ั ใจเรียน โดยไดด้ าเนนิ การดังน้ี

ใหน้ ักเรยี นแต่ละคนเขยี นคาม่นั สัญญา
ขอความร่วมมือจากผู้ปกครองร่วมกันดูแลพฤติกรรมและการเรียนของนักเรียน ให้ผู้ปกครองแจ้ง
พฤติกรรมของนักเรียนขณะอยู่บ้าน เมื่อนักเรียนขาดเรียน หรือมาสายให้ครูทราบและครูก็มีการติดตาม
นกั เรยี น ร่วมกนั
ขอความร่วมมือจากครูที่ทาการสอินทก์ท่านให้ข้อมูลด้านพฤติกรรมของนักเรียนขณะเรียนในแต่ละ
วชิ า
ขอความร่วมมือกับเพื่อนภายในหอ้ งเรียน โดยการจดั เปน็ กลมุ่ 6 กล่มุ กลุม่ ละ 5 และกลมุ่ ละ 6 คน
จานวน 1 กลุ่ม รวมเปน็ ท้ังสนิ้ จานวน 26 คน โดยครจู ะคัดเลือกนักเรียนทม่ี ีความรบั ผิดชอบ ตั้งใจ เรียนและ
มีผลการเรียนค่อนข้างดี เป็นหัวหน้ากลุ่มเพ่ือเป็นพี่เล้ียงภายในกลุ่ม และให้นักเรียนท่ีเหลือเข้า รวมกลุ่ม
กนั เองตามความสมคั รใจให้ครบจานวนตามท่กี าหนด หลงั จากนนั้ ให้แตล่ ะกล่มุ เขียนคามนั่ สัญญารว่ มกัน และ
ร่วมกันวางแผนศึกษาต่อในบทเรียนถัดไป ซึ่งนักเรียนที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้ากลุ่มจะ ดาเนินการ
แต่งต้ังกรรมการแต่ละด้านร่วมกันดูแลภายในกลุ่ม เช่น ดูแลเกี่ยวกับพฤติกรรม การขาดเรียน มา สาย
การเรียนฯลฯ นักเรียนจะเข้ากลุ่มร่วมกันทางานและเป็นพี่เล้ียงคอยให้คาปรึกษา ช่วยเหลือกรณีไม่เข้าใจ
บทเรียน อ่านหนังสอื และทางานแต่ละวชิ าไดส้ าเรจ็
ผู้วิจัยได้ติดตาม ดูแลและสังเกตนักเรียนเป็นระยะ ๆ และในกรณีที่นักเรียนมีปัญหาไม่ว่าจะเป็น
ปัญหาด้านพฤติกรรมและการเรียน หัวหน้ากลุ่มแต่ละกลุ่มจะรายงานครูและร่วมกนั แก้ปัญหาทั้งด้านการมา
เรียน ถ้ามีนักเรียนขาดเรียนภายในกลุ่มจะแจ้งให้ครูทราบและมีการติดตามให้มาเรียนและชี้ให้นักเรียนเห็น
ความสาคัญ ของการเรียน ต้องมีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีทาให้บรรยากาศการเรียนรู้ภายใน
ห้องเรียนดีขึ้นรู้จัก เสียสละ มีความสามัคคีและช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ภายในห้องเรียนมีการจัดกิจกรรม
ต่าง ๆ ร่วมกัน เช่น ร่วมกันทาความสะอาดห้องเรียนนอกเหนือจากเวรทาความสะอาดประจาวันแล้ว
แข่งขัน กีฬาภายในห้องเรียน นอกจากน้ีมีการจัดให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมรักการอ่าน การรู้จักการออม
โดยในแต่ละ สัปดาห์จะมีการให้นักเรียนนาเงินท่ีเหลือมาฝากเงินกับธนาคารโรงเรียน ทั้งนี้เพื่อเป็นฝึกให้
นักเรยี นมีความรับผดิ ชอบและรู้จกั ประหยัดตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ผวู้ ิจัยไดส้ งั เกตพบว่า พฤตกิ รรมของนักเรียนภายในห้องหลงั จากมกี ารแบ่งกลุ่มเปน็ กลมุ่ ย่อย ๆ แล้ว
ใหเ้ พื่อนคอยเปน็ พีเ่ ลี้ยงแนะนาเพ่อื นไม่ว่าจะเปน็ ด้านพฤตกิ รรมและการเรียน ทาใหม้ บี รรยากาศท่เี อื้อต่อการ

รายงานผลการปฏบิ ตั ิการสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนเมืองแกพิทยาคม สพม.32

22

เรียนการสอนมากขนึ้ เมื่อนานกั เรียนมารว่ มกันทากิจกรรมของโรงเรียน พบว่านกั เรียนมีความกระตือรือร้นใน
การเขา้ ร่วมกิจกรรม และเอาใจใส่ตอ่ การเรยี นมากขึน้ ขณะเข้าแถวก็มคี วามเปน็ ระเบยี บและมวี นิ ัยมากขน้ึ

ตามลาดับ เมื่อแต่ละวิชาทาการสอบก็จะพบว่านักเรียนจะเข้ากลุ่มร่วมกันอ่านหนังสือและมีการซักถาม
บทเรียนที่ไม่เข้าใจ เพ่ือนท่ีเข้าใจก็จะอธิบายให้กับเพื่อนท่ีไม่เข้าใจบทเรียนทาให้ได้คะแนนดีข้ึน ครูก็ให้คา
ชมเชยและให้กาลังใจนักเรยี นเพื่อท่ีจะได้มกี าลังใจทาต่อไป รู้จักหน้าที่และมีความรับผิดชอบมากขึ้น ทาให้
นักเรียนเหน็ ความสาคญั ของตวั เอง สนใจเรยี นมากขึ้น มกี ารซกั ถามเกย่ี วกับบทเรียนกับครใู ห้อธบิ ายให้เข้าใจ
โดยดูจาก พฤติกรรมการเรยี น การส่งงานตรงกาหนดเวลา และไดร้ บั คาชมเชยจากครูแต่ละวชิ าท่ีทาการสอน
โดยภาพร่วม ของนักเรียนในหอ้ งปฏิบัตติ ามกฎระเบยี บของโรงเรยี น ต้ังใจเรยี น ช่วยเหลือซึง่ กันและกันมากขึน้
มีน้าใจ รู้จัก เสยี สละ มีการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมการมาเรียนใหม้ าทนั เรียน

หลังจากผู้วิจัยเห็นการปรับเปล่ียนพฤติกรรมให้นักเรียนเป็นผู้มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อการเรียน
และมีบรรยากาศภายในหอ้ งเรียนดีขึ้น ครกู ม็ กี ารพูดคยุ และร่วมกนั ประเมินผลการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของ
แต่ละ คนโดยการสัมภาษณ์และให้นักเรียนแต่ละคนตอบแบบสอบถามชุดเดิมอีกครั้ง แล้วนามาสรุป
เปรียบเทียบกับการตอบแบบสอบถามคร้ังแรก พบว่า นักเรียนมีความรัก สามัคคีในหมู่คณะ มีความ
รับผิดชอบ มาเรียนเป็นประจา ต้ังใจเรียนและทางานท่ีได้รับมอบหมาย มีผลการเรียนดีข้ึน ทาให้เกิดความ
ภาคภูมใิ จในตนเอง
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

จากผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู จากการสังเกต การสัมภาษณ์ ข้อมลู ดา้ นการเรียนของแตล่ ะวชิ า การตอบ
แบบสอบถามจากนักเรียนและจากการใช้แรงจูงใจเสริมแรงโดยให้คาชมเชยแก่นักเรียน รวมทั้งดูแลด้านการ
เรียน ให้มีความรับผิดชอบ สนใจเรียน และติดตามจากผู้ปกครอง คุณครูท่ีเข้าสอนแต่ละวิชา ปรากฏว่า
นักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1/4 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเมืองแกพิทยาคม มีความเอาใจใส่ต่อการเรียน
รับผิดชอบ และสนใจเรียนมากข้ึน โดยสังเกตจากบรรยากาศการเรียนภายในห้องเรียนท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้
ทาใหน้ ักเรยี นมี ความกระตือรอื รน้ ตอ่ การมาเรียนและการเรียน มคี วามตั้งใจเรยี น มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ หน้าท่ี
ไม่ขาดเรียน หรือมาสาย ทางานท่ีไดร้ บั มอบหมายและส่งงานตรงกาหนดเวลา รู้จกั ช่วยเหลือซง่ึ กันและกนั ด้วย
ความเต็มใจ ยงั ส่งผลทาให้ผลการเรียนมวี นิ ัย ความรับผดิ ชอบและความสนใจการเรียนของนกั เรยี น โดยสรุป
จากผลการเปรียบเทียบจากการตอบแบบสอบถาม ดังนี้

รายงานผลการปฏบิ ัติการสอน ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562
โรงเรียนเมืองแกพิทยาคม สพม.32

23

ตารางแสดงความมีวนิ ัย ความรับผิดชอบและความสนใจการเรยี น

ของนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6/14 (คร้งั ที่ 2)

ขอ้ รายการ ทาเป็น ทาเป็น ไมเ่ คย
ประจา บางครั้ง ทา
53.49
1. นักเรยี นมักนางานวิชาอ่นื มาทาขณะท่ีกาลงั เรียนวชิ าหนงึ่ 9.30 37.21 39.54
65.12
2. นักเรยี นพดู คยุ และเล่นเพื่อนในขณะท่ีครสู อน 13.95 46.51 95.35
88.37
3. นกั เรียนส่งงานและการบ้านตรงเวลาทีค่ รกู าหนด 4.65 30.23 0.00
0.00
4. นักเรียนนอนหลับในหอ้ งเรยี นขณะชัว่ โมงเรียน 0.00 4.65 0.00
0.00
5. นักเรียนไม่ทาการบา้ นและลอกการบา้ นเพ่อื น 0.00 11.63
0.00
6. นักเรยี นทาผิดจะพยายามแก้ไขโดยไมท่ อ้ แท้ 90.69 9.31

7. นกั เรยี นมีความรบั ผิดชอบตอ่ งานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 93.03 6.97

8. นักเรียนมาเรยี นตรงเวลาและต้งั ใจเรียน 90.70 9.30

9. นักเรียนร้จู กั วางแผนและเตรียมพรอ้ มท่จี ะศึกษาตอ่ ใน 76.74 23.26

บทเรยี นถดั ไป

10. นักเรยี นใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์โดยการอา่ นหนงั สือ 79.06 20.94

จากแบบสอบถามนักเรยี นเกี่ยวกบั ความมีวินัยและรับผิดชอบในหอ้ งเรียนครั้งท่ี 2 พบว่านักเรียนชน้ั
มัธยมศึกษาปีท่ี 6/14 มคี วามกระตือรือรน้ เอาใจใสต่ ่อการเรียน และมวี ินัยและความรับผิดชอบมากขึ้น โดย
สรุปได้ ดงั น้ี

นักเรียนมักนางานวิชาอนื่ มาทาขณะท่ีกาลังเรียนวิชาหน่ึง นักเรียนไม่เคยทามากที่สุด คิดเป็น ร้อย
ละ 53.49

นกั เรียนพูดคุยและเลน่ เพื่อนในขณะที่ครูสอน นักเรยี นที่ทาเป็นบางคร้งั มากทส่ี ุดคดิ เปน็ ร้อยละ 46.51
นกั เรยี นสง่ งานและการบ้านตรงเวลาทีค่ รูกาหนด นักเรยี นทไ่ี มเ่ คยทามากท่สี ุด คิดเปน็ ร้อยละ 65.12
นักเรยี นนอนหลับในหอ้ งเรียนขณะชว่ั โมงเรียน นักเรียนทีไ่ มเ่ คยทามากทส่ี ุด คดิ เป็นร้อยละ 95.35
นกั เรยี นไมท่ าการบา้ นและลอกการบา้ นเพอ่ื น นักเรียนท่ไี ม่เคยทามากทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 88.37
นกั เรียนทาผิดจะพยายามแก้ไขโดยไมท่ ้อแท้ นกั เรียนทีท่ าเปน็ ประจามากทีส่ ดุ คดิ เป็นร้อยละ 90.69
นักเรียนมีความรับผิดชอบต่องานท่ีได้รบั มอบหมาย นักเรียนท่ีทาเป็นประจามากที่สุดคิดเป็นรอ้ ยละ
93.02
นักเรยี นมาเรียนตรงเวลาและตงั้ ใจเรียน นักเรียนท่ที าเป็นประจามากท่ีสดุ คิดเปน็ ร้อยละ 90.70
นักเรียนรู้จักวางแผนและเตรียมพร้อมท่ีจะศึกษาต่อในบทเรียนถัดไป นักเรียนท่ีทาเป็นประจามาก
ทส่ี ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 76.74

รายงานผลการปฏบิ ัติการสอน ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562
โรงเรียนเมืองแกพทิ ยาคม สพม.32

24
นักเรียนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการอ่านหนงั สือ นักเรียนท่ีทาเป็นประจามากท่ีสุด คิดเป็น
ร้อยละ 79.06

รายงานผลการปฏบิ ตั ิการสอน ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562
โรงเรยี นเมืองแกพิทยาคม สพม.32

บทท่ี 5
สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

ความมุ่งหมาย
เพ่อื เป็นการปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรมการเรียนใหเ้ ป็นผู้มวี ินยั และความรบั ผิดชอบต่อหน้าท่แี ละการเรยี น

ดขี น้ึ ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1/4 ปกี ารศึกษา 2562 ของโรงเรยี นเมืองแกพิทยาคม

ประชากร/กล่มุ ตัวอย่าง
ประชากร / กล่มุ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการศึกษาคร้งั นี้เปน็ นกั เรียนนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/14 ของ

โรงเรยี นเมอื งแกพทิ ยาคมจานวน 26 คน

เครื่องมอื ท่ีใช้ในการศึกษาคน้ คว้า
เครือ่ งมือทใี่ ช้ในการศกึ ษาคน้ ควา้ คือการสงั เกต และการสมั ภาษณ์ การพดู คยุ การใช้คาม่นั

สัญญา และทฤษฎีเสรมิ แรง

วธิ ีการดาเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ในการทาวจิ ยั ครั้งนี้ เคร่ืองมือทใี่ ช้เป็นแบบสงั เกต แบบสอบถาม ท่ีผวู้ จิ ยั สร้างขึ้นเอง

การวเิ คราะหข์ ้อมูล
ผูว้ จิ ัยใช้ค่าร้อยละในการวิเคราะห์ขอ้ มูล

สรุปผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสังเกต ข้อมูลด้านการเรียนของแต่ละวิชา และการตอบ

แบบสอบถามจากนักเรียน การใชแ้ รงจูงใจเสรมิ แรงโดยให้คาชมเชยแก่นกั เรยี น รวมท้งั ดแู ลด้านการเรียนให้
มีความรับผิดชอบ สนใจเรียน และติดตามจากผู้ปกครอง คุณครูที่เข้าสอนแต่ละวิชา ซึ่งนักเรียนให้ความ
ร่วมมือเป็นอย่างดี ทาให้นักเรียนมีความกระตอื รือร้นต่อการมาเรียนและการเรยี นมากขน้ึ ในการทาวจิ ยั คร้งั นี้
ปรากฏว่า นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1/4 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเมืองแกพิทยาคมมีความเอาใจใส่ต่อ
การเรียน รับผิดชอบและสนใจเรียนมากข้ึนโดยสังเกตจากบรรยากาศการเรียนภายในห้องเรียนที่เอ้อื ต่อการ
เรียนรู้ มีความต้ังใจเรียนมากขึ้น มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีไม่ขาดเรียน หรือมาสาย ทางานท่ีได้รับ
มอบหมายและส่งงานตรง กาหนดเวลา รู้จกั ช่วยเหลอื ซึ่งกันและกันดว้ ยความเตม็ ใจ โดยดจู ากการสงั เกตการ

รายงานผลการปฏิบัติการสอน ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนเมอื งแกพทิ ยาคม สพม.32

26

สัมภาษณ์ ผลการเรียนและสรปุ ผลการเปรียบเทียบจากการตอบแบบสอบถามเกีย่ วกับความมวี ินัย
ความรบั ผดิ ชอบและความสนใจการเรยี น ของนักเรียน ดังน้ี

ตารางเปรียบเทียบความมีวินัย ความรับผิดชอบและความสนใจการเรยี น

ของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1/4 ปกี ารศกึ ษา 2562 (คร้ังท่ี 1 และคร้ังที่ 2)

ครง้ั ท่ี 1 ครั้งท่ี 2

ข้อ รายการ ทาเปน็ ทาเป็น ไม่เคย ทาเปน็ ทาเป็น ไม่เคย

ประจา บางครั้ง ทา ประจา บางครง้ั ทา

1. นักเรยี นมักนางานวชิ าอืน่ มาทาขณะทกี่ าลังเรยี น 76.74 13.96 9.30 9.30 37.21 53.49

วชิ าหนงึ่

2. นกั เรียนพูดคุยและเลน่ เพ่อื นในขณะทีค่ รสู อน 69.77 25.58 4.65 13.95 46.51 39.54

3. นักเรยี นสง่ งานและการบ้านตรงเวลาที่ครกู าหนด 72.09 18.60 9.31 4.65 30.23 65.12

4. นักเรยี นนอนหลับในหอ้ งเรียนขณะชว่ั โมงเรียน 58.14 25.58 16.28 0.00 4.65 95.35

5. นกั เรยี นไม่ทาการบา้ นและลอกการบ้านเพอ่ื น 74.42 16.28 9.30 0.00 11.63 88.37

6. นักเรยี นทาผดิ จะพยายามแกไ้ ขโดยไมท่ ้อแท้ 41.86 44.19 13.95 90.69 9.31 0.00

7. นักเรยี นมคี วามรบั ผิดชอบต่องานทไี่ ดร้ ับ 46.51 46.51 6.98 93.03 6.97 0.00

มอบหมาย

8. นกั เรียนมาเรียนตรงเวลาและต้งั ใจเรยี น 44.19 51.16 4.65 90.70 9.30 0.00

9. นักเรียนรจู้ กั วางแผนและเตรียมพร้อมท่จี ะศึกษา 25.58 46.51 27.91 76.74 23.26 0.00

ตอ่ ในบทเรียนถัดไป

10. นักเรยี นใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์โดยการอ่าน 41.89 46.57 11.54 79.06 20.94 0.00

หนังสอื

จากแบบสอบถามนักเรียนเก่ียวกับความมีวินัยและรับผิดชอบในห้องเรียน เมื่อน าผลสรุปของการ
ตอบแบบสอบถามครง้ั ท่ี 1 และครั้งท่ี 2 พบวา่ นกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1/4 มคี วามกระตอื รอื ร้น เอาใจใส่
ต่อการเรียน และมีวินัยและความรับผิดชอบมากข้ึน จากตารางพบว่า ในการตอบแบบสอบถามครั้งที่ 2
นักเรียน มีพฤติกรรมดังกล่าวมากกว่าครั้งที่ 1 หากพิจารณาในภาพรวมจะเห็นได้ว่าดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
คือ นักเรียนไม่ น างานวิชาอ่ืนมาท าขณะท่ีก าลังเรียนวิชาหน่ึง ไม่คุยและเล่นเพื่อนในขณะท่ีครูสอน ส่ง
งานและการบ้านตรงเวลา ท่ีครูก าหนด ไม่นอนหลับในห้องเรียนขณะช่ัวโมงเรียน ท าการบ้านและไม่ลอก
การบา้ นเพ่ือน ท าผดิ จะพยายาม แก้ไขโดยไม่ท้อแท้ มคี วามรับผิดชอบตอ่ งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย มาเรียนตรง

รายงานผลการปฏิบตั ิการสอน ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562
โรงเรยี นเมอื งแกพทิ ยาคม สพม.32

27
เวลาและต้ังใจเรียน รจู้ ักวางแผนและเตรียมพร้อมท่ีจะศึกษาต่อในบทเรียนถัดไป และใชเ้ วลาว่างให้
เปน็ ประโยชน์โดยการอา่ นหนังสอื ทาใหน้ กั เรยี น
สามารถปรับเปล่ียนพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการเรียน
ส่งผลให้การเรยี นดีขนึ้ และเป็นผู้ท่ีมีความสาเรจ็ ในชวี ติ ตามจดุ หมายท่ีต้ังไว้
ขอ้ เสนอแนะ
1. ควรมกี ารตดิ ตามอยา่ งใกลช้ ิดและตอ่ เน่ือง ควรมีการตดิ ตามอยา่ งต่อเน่ือง
2. ครูผู้ปกครอง นักเรียนและผู้ท่ีเก่ียวข้อง ควรร่วมมือกันแก้ไขและสะท้อนปัญหา ต่าง ๆ
ของนกั เรียน ทาให้นกั เรียนมีการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมและการเรียน

รายงานผลการปฏิบัตกิ ารสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562
โรงเรียนเมืองแกพทิ ยาคม สพม.32

28

บรรณานกุ รม

โยธิน คันสนยทุ ธ และคณะ. จติ วิทยา. กรุงเทพมหานคร : ศนู ยส์ ่งเสรมิ วชิ าการ, 381 หน้า. 2533.
จีราภา เตง็ ไตรรตั น์ และคณะ. จิตวิทยาท่วั ไป. พมิ พ์ครง้ั ที่ 4. กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ,

364 หนา้ . 2533.
ฉันทนา ภาคบงกช และคณะ. การสารวจคุณลักษณะทางวินยั ท่พี งึ ประสงคใ์ นสังคมไทย. กรงุ เทพมหานคร :

สถาบนั วจิ ยั พฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. 2539 จมุ พล หนมิ พานิช และคณะ.
จิตวทิ ยาทวั่ ไป. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคาแหง. 2542

รายงานผลการปฏิบัติการสอน ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนเมอื งแกพิทยาคม สพม.32


Click to View FlipBook Version