The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พุทธประวัติจากพระโอฏฐ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by attapalo.phra, 2022-06-10 07:13:47

พุทธประวัติจากพระโอฏฐ์

พุทธประวัติจากพระโอฏฐ์

การบําเพญ็ บารมีในอดตี ชาติ ๓๗๑

เคยทรงบังเกิดเปนมหาพรหม สักกะ ฯลฯ๑

ภิกษุ ท.! แตชาติท่ีแลวมาแตอดีต ตถาคตไดเคยเจริญเมตตาภาวนา
ตลอด ๗ ป จึงไมเคยมาบังเกิดในโลกมนุษยนี้ ตลอด ๗ สังวัฏฏกัปป และ
วิวัฏฏกัปป. ในระหวางกาลอันเปนสังวัฏฏกัปปนั้น เราไดบังเกิดในอาภัสสร
พรหม. ในระหวางกาลอันเปนวิวัฏฏกัปปนั้น เราก็ไดอยูพรหมวิมานอัน
วางเปลาแลว.

ภิกษุ ท.! ในกัปปนั้น เราไดเคยเปนพรหม ไดเคยเปนมหาพรหมผู
ยิ่งใหญ ไมมีใครครอบงําได เปนผูเห็นส่ิงท้ังปวงโดยเด็ดขาด เปนผูมีอํานาจ
สูงสดุ .

ภิกษุ ท.! เราไดเคยเปนสักกะ ผูเปนจอมแหงเทวดา นับได ๓๖ คร้ัง.
เราไดเคยเปนราชาจักรพรรดิผูประกอบดวยธรรม เปนพระราชาโดยธรรม มี
แวนแควนจดมหาสมุทรทั้งส่ีเปนท่ีสุด เปนผูชนะแลวอยางดี มีชนบทอันบริบูรณ
ประกอบดวยแกวเจ็ดประการ นับดวยรอย ๆ คร้ัง, ทําไมจะตองกลาวถึงความ
เปนราชาตามธรรมดาดว ย.

ภิกษุ ท.! ความคิดไดเกิดข้ึนแกเราวา ผลวิบากแหงกรรมอะไรของ

www.buddhadasa.infoเราหนอ ที่ทําใหเราเปนผูมีฤทธิ์มากถึงอยางนี้ มีอานุภาพมากถึงอยางนี้ ใน

คร้ังนน้ั ๆ.
ภิกษุ ท.! ความรูสึกไดเกิดขึ้นแกเราวา ผลวิบากแหงกรรม ๓ อยาง

นี้แล ที่ทําใหเรามีฤทธ์ิมากถึงอยางน้ี มีอานุภาพมากถึงอยางน้ี, วิบากแหงกรรม
๓ อยาง ในครั้งนั้น คือ ผลวิบากแหง ทาน การให ๑, แหง ทมะ การบีบ
บังคับใจ ๑, แหง สญั ญมะ การสํารวมระวัง ๑, ดงั นี้.

๑. บาลี อติ ิวุ. ขุ. ๒๕/๒๔๐/๒๐๐. ตรัสแกภกิ ษทุ ัง้ หลาย

๓๗๒ พุทธประวัติจากพระโอษฐ - ภาค ๖

คร้ังมีพระชาติเปนโชติปาลมาณพ ๑

อานนท! ความคิดอาจมีแกเธอวา ‘ผูอื่นตางหาก ที่เปนโชติ-
ปาลมาณพในสมัยโนน'. อานนท! เธอไมควรเห็นเชนนั้น, เรานี่เองไดเปน
โชติปาลมาณพแลว ในสมยั น้นั ......๒

อานนท ครั้งดึกดําบรรพ พื้นที่ตรงนี้เปนนิคมชื่อเวภฬิคะ มั่งคั่ง
รุงเรือง มีคนมากเกลื่อนกลน.อานนท! พระผูมีพระภาค นามวา กัสสปะ
ทรงอาศัยอยู ณ นิคมเวภฬิคะนี้, ไดยินวา อารามของพระองคอยูตรงนี้เอง,
ทานประทับนงั่ กลาวสอนหมูสาวก ตรงนี้.

อานนท! ในนิคมเวภฬิคะ มีชางหมอช่ือฆฏิการะ เปนอุปฏฐากอันเลิศ
ของพระผูมีพระภาคกัสสปะนั้น. ฆฏิการะมีสหายรักชื่อโชติปาละ. อานนท !
คร้ังน้ัน ฆฏิการะเรียกโชติปาลมาณพผูสหายมาแลวกลาววา “เพื่อนโชติปาละ !
มา, เราไปดวยกัน, เราจักไปเฝาพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจากัสสปะ.
การเหน็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา น้ัน บัณฑิตลงเห็นพรอ มกันวา ด”ี .

“อยาเลย, เพื่อนฆฏิการะ! มีประโยชนอะไรดวยการเห็นสมณะ
หัวโลน”.

“เพื่อนโชติปาละ! ไปดวยกันเถอะ, ฯลฯ การเห็นพระสัมมา-

www.buddhadasa.infoสัมพุทธเจานั้น บัณฑติ ลงเห็นพรอ มกันวา ด”ี . (โตกันดงั่ นถ้ี ึงสามครัง้ ).

“อยาเลย, เพื่อฆฏิการะ! มีประโยชนอะไรดวยการเห็นสมณะ
หัวโลน”.

๑. บาลี ฆฏิการสูตร ม.ม. ๑๓/๓๗๔/๔๐๕. ตรัสแกพระอานนท ที่รุกขมูลแหงหนึ่งระหวาง
การเดินทาง ในชนบทแหง โกศล.
๒. เนอื้ ความทอ นน้ี อยูท า ยสูตร นาํ มาจว่ั หนา, เพอ่ื ใหเขา ใจงายวา ตรสั ถงึ เรอื่ งในชาตกิ อ น.

การบําเพญ็ บารมใี นอดตี ชาติ ๓๗๓

“ถาเชนนั้น เราเอาเครื่องขัดถูรางกายไปอาบน้ําที่แมนํ้ากันเถอะ,
เพ่ือน!”

อานนท! คร้ังน้ัน ฆฏิการะและโชติปาลมาณพไดถือเคร่ืองขัดสีตัว
ไปอาบนํ้าท่ีแมนํ้าดวยกันแลว, ฆฏิการะไดกลาวกะโชติปาลมาณพอีกวา “เพ่ือน
โชติปาละ! น่ีเอง วิหารแหงพระผูมีพระภาคเจากัสสปะอยูไมไกลเลย, ไปเถอะ
เพื่อน! เราจะไปเฝาพระผูมีพระภาคเจาดวยกัน, การเห็นพระสัมมาสัมพุทธเจาน้ัน
บัณฑติ ลงเห็นพรอมกนั วา ด”ี .

“อยาเลยเพื่อน ฆฏิการะ! มีประโยชนอะไรดวยการเห็นสมณะหัวโลน
นนั้ ”. (โตกนั ดังน้อี กี ถงึ ๓ ครง้ั ).

อานนท! ฆฏิการะ ไดเหนี่ยวโชติปาลมาณพที่ชายพก แลวกลาววา
“เพื่อนโชติปาละ! ตรงนี้เอง วิหารของพระผูมีพระภาคเจา ไมไกลเลย,
ไปเถอะเพื่อน, เราจักไปเฝาพระผูมีพระภาคเจาดวยกัน, การเห็นพระสัมมา-
สัมพทุ ธเจา บัณฑิตลงเห็นพรอมกนั วา ด”ี .

อานนท! คร้ังนั้นโชติปาละ พยายามโดยวิธีท่ีฆฏิการะตองปลอย
ชายพกนั้นไดแลว กลาววา”อยาเลยเพื่อน ฆฏิการะ! ประโยชนอะไรดวย
การเห็นสมณะหัวโลน.” อานนท! ลําดับนั้น ฆฏิการะเหนี่ยวโชติปาลมาณพ
ผูอาบน้าํ สระเกลาเรียบรอ ยแลว เขาทม่ี วยผมแลว กลาวดัง่ นน้ั อีก.

www.buddhadasa.infoอานนท โชติปาลมาณพ เกิดความคิดข้ึนภายในใจวา “นาอัศจรรย

หนอทาน, ไมเคยมีเลยทาน, คือขอท่ีฆฏิการะชางหมอมีชาติอันตํ่า มาอาจเอื้อม
จับเรา ที่มวยผมของเรา, เรื่องนี้เห็นจักไมใชเร่ืองเล็กนอยเสียแลวหนอ.” ดังนี้
จึงกลา วกะ ฆฏกิ าระชา งหมอ :-

“เพือ่ นฆฏิการะ! น่ีจะเอาเปน เอาตายกันเจยี วหรอื ?”
“เอาเปนเอาตายกันทีเดียว, เพื่อนโชติปาละ! เพราะการเห็นพระ
สัมมาสัมพุทธเจา เปน การดจี ริง ๆ.”
“เพือ่ นฆฏกิ าระ! ถาเชน นนั้ กจ็ งปลอ ย เราจกั ไปดวยกันละ”.

๓๗๔ พุทธประวตั จิ ากพระโอษฐ - ภาค ๖

อานนท! ลําดับนั้น ฆฏิการะและโชติปาลมาณพ ไดเขาไปเฝาพระ
ผูมีพระภาคกัสสปะถึงที่ประทับแลว น่ังอยู ณ ท่ีควร;สวนโชติปาลมาณพ ก็ได
ทําความคุนเคยช่ืนชมกับพระผูมีพระภาคเจากัสสปะ น่ังอยูแลว. ฆฏิการะไดทูล
พระผูมีพระภาคเจากัสสปะวา “พระองคผูเจริญ!นี่คือโชติปาลมาณพสหายรัก
ของขาพระพทุ ธเจา, ขอพระผูมพี ระภาคเจา จงทรงแสดงธรรมแกเขาเถิด”.

อานนท! พระผูมีพระภาคกัสสปะ ไดทําใหฆฏิการะและโชติปาละ
เห็นจริง, ถือเอา, อาจหาญและราเริงเปนอยางดี ดวยธรรมิกถาแลว. ทั้งสองคน
เพลิดเพลินปราโมทยตอภาษิตของพระองค. บันเทิงจิต ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาท
ทําประทกั ษิณ แลวจึงหลกี ไป.

อานนท! ลําดับน้ัน โชติปาลมาณพไดกลาวถามกะฆฏิการะวา
“เพื่อนฆฏิการะ! เพื่อนก็ฟงธรรมนี้อยู ทําไมจึงยังไมบวชออกจากเรือน เปนผู
ไมหวังประโยชนด ว ยเรอื น เลา?”

“เพื่อนไมเห็นหรือ เพื่อนโชติปาละ! ฉันตองเลี้ยงมารดาบิดา
ผูแกและตาบอดอย”ู .

“เพ่ือนฆฏิการะ! ถาเชนน้ัน ฉันจักบวช ออกจากเรือนไมเก่ียวของ
ดวยเรือนละ”.

อานนท! คร้ังน้ัน เขาท้ังสองไดเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคกัสสปะอีก.

www.buddhadasa.infoฆฏิการะกราบทูลวา “พระองคผูเจริญ! โชติปาละสหายรักของขาพระพุทธเจาน่ีแล

ประสงคจะบวช, ขอพระองคจงใหเ ขาบวชเถิด”.
อานนท! โชติปาลมาณพ ไดบรรพชาและอุปสมบทในสํานักแหง

พระผูมีพระภาคกัสสปะแลว,ราวกึ่งเดือน พระผูมีพระภาคกัสสปะ ก็เสด็จจาริก
ไปยังเมืองพาราณสี. ...ฯลฯ...อานนท! ความคดิ อาจมีแกเธอวา “คนอืน่ ตางหากที่

การบําเพ็ญบารมใี นอดีตชาติ ๓๗๕

เปนโชติปาลมาณพในสมัยโนน”.อานนท! เธอไมควรคิดไปอยางน้ัน, เรานี่เอง,
เปนโชติปาลมาณพแลว ในสมยั โนน .

ครั้งมีพระชาติเปนพระเจามหาสุทัศน ๑

ในกาลใด, เราเปนพระเจาแผนดินในนครชื่อกุสาวดี มีนามวา
มหาสุทัศนผูเปนจักรพรรดิมีกําลังมาก. ในกาลน้ัน เราจัดใหมีการปาวรองในท่ี
ท่ัวไป วันละสามคร้ัง. ใครปรารถนาอะไร ใครประสงคสิ่งใด ใครควรไดทรัพย
เชนไร, ใครหิว ใครกระวนกระวาย, ใครตองการมาลา ใครตองการเครื่องลูบทา.
ผายอมแลวดวยสีตาง ๆ กัน ใครไรผาจงนุงหม. ใครจะเดินทางจงเอารมไป,
เอารองเทางาม ๆ นิม่ ๆ ไป'.

เราใหปาวรองเชนนี้ ท้ังเชาและเย็นทุก ๆ แหง. ทรัยพที่เตรียมไว
สําหรับยาจก ไมใชสิบแหง หรือรอยแหง แตตั้งหลายรอยแหง. จะเปนกลางวัน
หรือกลางคืนก็ตาม ถายาจกมาเม่ือใด เปนไดสิ่งของตามท่ีเขาปรารถนาเต็มมือ
กลับไปเสมอ. เราใหทานอันใหญหลวงเชนนี้ จนตลอดชีวิต และใชวาจะใหทาน
ดวยทรพั ยส ว นที่เราเกลยี ดไมช อบ ก็หาไม การสะสมทรัพยจะมีในเราก็หาไม.

www.buddhadasa.infoผูปวยกระสับกระสาย ใครจะพนไปจากโรค ใหขวัญขาวแกหมอ

จนเปนที่พอใจแลว ยอมหายจากโรคไดฉันใด เราก็ฉันนั้น เรามุงแตจะทําให
เต็มเปยม, ใหทานแกยาจก ก็เพื่อทําใจที่ยังพรองอยูใหเต็ม, ไมอาลัยทรัพย
ไมเกาะเก่ียวในทรัพย ก็เพื่อการลุถงึ โดยลาํ ดับ ซึ่งปญญาอันเปน เคร่ืองรูพ รอม.

๑. บาลี มหาสุทัสสนจริยา จรยิ า. ข.ุ ๓๓/๕๕๔/๔.

๓๗๖ พทุ ธประวัตจิ ากพระโอษฐ - ภาค ๖

๑อานนท! ความคิดอาจมีแกเธอวา `ผูอ่ืนตางหาก ที่เปนพระเจา
มหาสุทัศนในสมัยโนน'. อานนท! เธอไมควรเห็นเชนนั้น, เรานี่เองเปน
พระเจามหาสุทัศนแลวในสมัยน้ัน. นครจํานวนแปดหม่ืนสี่พัน มีราชธานีกุสาวดี
เปนประมุข เหลาน้ันของเรา. ๒ปราสาทจํานวนแปดหม่ืนส่ีพัน มีปราสาทช่ือ
ธรรมปราสาทเปนประมุข เหลานั้นเปนของเรา. เรือนยอดจํานวนแปดหมื่นส่ีพัน
มีปราสาทยอดชื่อมหาวิยูหะเปนประมุข เหลานั้นเปนของเรา. บัลลังกจํานวน
แปดหมื่นสี่พัน ทําดวยทอง ทําดวยเงิน ทําดวยงา ทําดวยแกวลาย ลาดดวยขนเจียม
ลาดดวยสักหลาด ฯลฯ เหลาน้ันเปนของเรา. ชางจํานวนแปดหม่ืนส่ีพันประดับ
ดวยเคร่ืองทอง ฯลฯ มีพญาชางตระกูลอุโบสถเปนประมุข เหลานั้นเปนของเรา.
มาจํานวนแปดหม่ืนส่ีพัน ประดับดวยเครื่องทองฯลฯ มีพญามาตระกูล วลาหก
เปนประมุข เหลานั้นเปนของเรา. รถจํานวนแปดหมื่นส่ีพัน หุมบุดวยหนังราชสีห
หนังเสือโครง ฯลฯ มีเวชยัตรถเปนประมุข เหลานั้นเปนของเรา. มณีแปดหม่ืน
สี่พัน มีแกวมณีรัตนะเปนประมุข เหลานั้นเปนของเรา. หญิงแปดหมื่นสี่พัน
มีนางสุภัททาเทวีเปนประมุข เหลานั้นเปนของเรา. คหบดีแปดหมื่นสี่พัน
มีคหปติรัตนะเปนประมุข เหลานั้นเปนของเรา. กษัตริยแปดหม่ืนส่ีพัน ผูคอย
แวดลอมประดับเกียรติ มีปริณายกรัตนะเปนประมุข เหลานั้นเปนของเรา.
โคนมแปดหม่ืนสี่พัน กําลังมีนมไหลรูดรองได เหลาน้ันเปนของเรา. ผาแปดหมื่น

www.buddhadasa.infoส่ีพันโกฏิ คือผาปานอันละเอียดออน ผาฝายอันละเอียดออน ฯลฯ เหลานั้นเปน

ของเรา. ถาดตกแตงอาหารแปดหม่ืนสี่พัน อันคนเชิญเครื่องเชิญทั้งเชาและเย็น
เหลานั้นเปนของเรา อานนท ! นครที่เราอยู ปราสาทที่เราอยู…ฯลฯ…
ถาดตกแตงอาหารท่ีเราใช ลวนเปนของช้ันเอก (ไมมีสองเปรียบ) ทั้งนั้น.

๑. มหาสุทัสสนสูตร มหา. ที. ๑๐/๒๒๕/๑๘๕, ตรัสแกพระอานนทท่ีปาสาละ ใกลนครกุสินารา,
อันเปน ทีพ่ ระอานนททูลวา เปน เมืองกิง่ เมอื งดอน ไมค วรปรนิ พิ พาน.
๒. คาํ วาแปดหมน่ื สพี่ นั เปน สาํ นวนภาษาบาลีทีใ่ ชก ับของที่มากทส่ี ดุ ทค่ี นเรายกยอ งกนั .

การบําเพญ็ บารมีในอดีตชาติ ๓๗๗

อานนท! จงดูเถิด, สิ่งทั้งหลายเหลานั้น ทั้งหมด
ไดล ว ง ไ ป แ ล ว ดั บ ห า ย ไ ป แ ล ว แ ป ร ป ร ว น ไ ป สิ้ น แ ล ว .
อานนท! สังขารทั้งหลาย เปนของไมเที่ยง เชนนี้เอง เปน
ของไมยั่งยืน เชนนี้เอง เปนของไมมีเจาของ อยางน้ีเอง.

อานนท! เพียงเทานี้ ก็พอแลว, พอเพื่อจะหนายในสังขาร
ทั้งหลาย, พอเพื่อคลายกําหนัด,พอเพื่อหลุดพนไปจาก. อานนท!
เรารูที่ที่เปนหลุมฝงเรา, เขาฝงสรีระของเราไว ณ ท่ีนี้, การทอดท้ิงราง
เหนอื แผน ดนิ ครงั้ นี้ เปน ครง้ั ท่ี ๗ ของเราในชาติท่เี ปน พระราชาชั้นจักรพรรด.ิ

ครั้งมีพระชาติเปนปุโรหิต
สอนการบูชายัญญ ๑

พราหมณ! ในสมัยน้ัน เราเปนพราหมณผูปุโรหิต ผูสั่งงานบูชายัญญ

ของพระเจามหาวชิ ิตราช.๒

พราหมณ! เร่ืองมีแลวในกาลกอน. พระเจามหาวิชิตราช เปนราชา

www.buddhadasa.infoเหลือเฟอ มีทรัพยและขาวเปลือกเหลือเฟอ มียุงฉางเต็มลน.
ผูมั่งคั่ง มีทรัยพสมบัติมาก มีทองและเงินเหลือเฟอ มีอุปกรณของทรัพย

วันหนึ่ง

ประทับอยู ณ ท่ีสงัด เกิดพระดําริวา `เราไดเสวยมนุษยสมบัติอันวิบูล ครอบ-

ครองปฐพีมณฑลอันใหญย่ิง ถากระไร เราควรบูชามหายัญญ อันจะเปน

๑. บาลี กูฏทันตสูตร สี. ที. ๙/๑๗๑/๒๐๕. ตรัสแกกูฎทันตพราหมณ ท่ีราชอุทยานอัมพลัฏฐิ
กาบานขานุมตั ร แวน มคธ.
๒. เฉพาะเน้ือความตอนนี้ อยูท ห่ี นา ๑๘๕ บรรพ ๒๓๐

๓๗๘ พุทธประวัติจากพระโอษฐ - ภาค ๖

ประโยชนเก้ือกูล และความสุขแกเราส้ินกาลนาน'รับสั่งใหหาพราหมณปุโรหิต
มาบอกพระดํารินแ้ี ลว ขอใหบอกสอนวธิ ีการบชู ายญั ญ.

พราหมณ! ปุโรหิตไดทูลสนองพระดํารัสนั้นวา ‘แวนแควนของ
พระองคยังมีเส้ียนหนามหลักตอ การปลนฆาในหมูบานก็ยังปรากฏ การปลนฆา
ในจังหวัดก็ยังปรากฏ. การปลนฆาในนครก็ยังปรากฏการแยงชิงตามระยะ
หนทางก็ยังปรากฏ. และถาพระองคจะใหเลิกเก็บสวย ในขณะที่แวนแควน
เปนไปดวยเสี้ยนหนามหลักตอเชนน้ี ก็จะไดชื่อวาทํากิจไมควรทํา. อีกประการ
หนึ่ง พระองคอาจทรงพระดําริวา เราจักถอนหลักตอ คือโจรผูรายเสียไดดวย
การประหาร การจองจํา การริบ การประจาน หรือการเนรเทศดังนี้ ขอน้ี
ก็ไมช่ือวาเปนการกําจัดไดราบคาบดวยดี เพราะผูท่ียังเหลือจากการถูกประหารก็ยังมี
ชนพวกนี้จะเบียดเบียนชนบทของพระองคในภายหลัง. แตวามีอุบายที่จะถอน
หลักตอเหลาน้ันใหราบคาบดวยดีได คือ ชนเหลาใดบากบ่ันเล้ียงโคเพ่ือกสิกรรม
พระองคจงประทานพืชพันธุขาวแกชนเหลานั้น. ชนเหลาใดบากบั่นในวาณิชยกรรม
พระองคจงประทานเงินเพิ่มใหชนเหลานั้น. ชนเหลาใดเปนขาราชการ ขอ
พระองคจงประทานเบ้ียเล้ียงแกชนพวกนั้น. มนุษยเหลานั้นตางจะขวนขวายในการ
งานของตน ไมเบียนเบียนแวนแควนของพระองค และพระคลังหลวงก็จะเพ่ิมพูน
มากมาย. แวนแควนจะตั้งอยูดวยความเกษม ปราศจากเส้ียนหนามหลักตอ. พวก

www.buddhadasa.infoมนุษยจะราเริงบันเทิง นอนชูบุตรใหเตนฟอนอยูบนอก แมจักไมปดประตูเรือน

ในเวลาคา่ํ คืน กเ็ ปนอยไู ด.
พราหมณ! คร้ันชนบทน้ันสงบจากเสี้ยนหนามหลักตอแลว ปุโรหิต

จึงกราบทูลวิธีแหงมหายัญญ (อันประกอบดวยบริกขารสิบหก คือไดรับความยินยอมเห็นพอง

จากกษัตริยเมืองออก จากอมาตยบริษัท จากพราหมณมหาศาล และจากคหบดีมหาศาล นี้จัด
เปนบริกขารส่ี, พระเจามหาวิชิตประกอบดวยองคคุณ ๘ มีพระชาติอันดี มีพระรูปสงางามเปนตน
น้ีเปนบริกขารอีกแปด; และปุโรหิตประกอบดวยองคคุณ ๔ มีความเปนผูมีชาติบริสุทธ์ิ และจบเวท
เปน ตน นเ่ี ปนบรกิ ขารอกี สี่ รวมเปน สิบหก; และกราบทูลประการสามแหง ยญั ญ คือผบู ูชาตองไมเกิด

การบําเพ็ญบารมใี นอดตี ชาติ ๓๗๙

วิปฏิสารดวยความตระหน่ี ทั้งในขณะจะบูชา บูชาอยู และบูชาเสร็จแลว;แลวกราบทูลเหตุไมควร
วิปฏิสารเพราะปฏิคาหกผูมารับทาน ๑๐ จําพวก เชนเปนคนทําปาณาติบาต อทินนาทาน ฯลฯ เปนตน,
เพอ่ื ไมใ หเ กดิ เสียพระทยั วาคนเลว ๆ มารบั ทาน.) ๑...ฯลฯ...

พราหมณ! ในการบูชายัญญน้ัน โค แพะ แกะ ไก สุกร ไมได
ถูกฆา สัตวอื่น ๆ ก็ไมตองไดรับความวิบัติพลัดพราก ตนไมก็ไมถูกตัดมาเพ่ือ
หลักยัญญ, เช้ือเพลิงก็ไมถูกเก่ียวตัดมาเพ่ือการเบียดเบียนสัตวใดใหลําบาก.
พวกท่ีเปนทาส เปนคนใชและกรรมกร ก็ไมตองถูกคุกคามดวยอาชญา และ
ความกลัว, ไมตองรองไหนํ้าตานองหนาพลาง ทําการงานพลาง. ใครปรารถนา
จะทําก็ทํา, ไมปรารถนาก็ไมตองทํา, ปรารถนาทําสิ่งใด ก็ทําเฉพาะสิ่งนั้น
ไมปรารถนาทําสิ่งใด ก็ไมตองทําสิ่งนั้น. ยัญญนั้น สําเร็จไปแลวดวยเนยใส
นาํ้ มัน เนยขน นมสม น้าํ ผึ้งน้ําออ ย. ...ฯลฯ...

พราหมณ! เรารูชัดเจนอยู ซ่ึงหมูชนเหลาน้ัน ๆ ผูบูชายัญญอยางน้ี
แลว ภายหลังแตการตายเพราะกายแตก ยอมบังเกิด ณ สุคติโลกสวรรค.
พราหมณ! ในสมัยน้ัน เราเปนพราหมณผูปุโรหิต ผูสั่งงานบูชายัญญของพระเจา

wwwมหาวิชติ .ราbช น้นั .uddhadasa.info
คร้ังมีพระชาติเปนพระเจามฆเทวราช ๒
อานนท! ความคิดอาจมีแกเธอวา `ผูอื่นตางหากที่เปนพระเจา
มฆเทวราชในสมัยโนน'. อานนท! เธอไมควรเห็นเชนนั้น, เรานี่เองไดเปน
พระเจามฆเทวราชแลว ในสมัยนนั้ ...

๑. ผูปรารถนาทราบรายละเอยี ด พลิกดูทม่ี าเดิม, ๙/๑๗๓/๒๐๗.
๒. บาลี มฆเทวสตู ร ม.ม. ๑๓/๔๑๕/๔๕๓. ตรสั แกพระอานนท ทม่ี ฆเทวมั พวนั ใกลก รุงมถิ ิลา

๓๘๐ พุทธประวตั จิ ากพระโอษฐ - ภาค ๖

อานนท! เร่ืองดึกดําบรรพที่เมืองมิถิลาน้ี มีพระราชานามวา พระ-
เจามฆเทวะ เปนธรรมราชาผูตั้งอยูในธรรม ประพฤติราชธรรม ในพราหมณ
และคหบดี ทั้งในเมืองหลวงและชนบท, ยอมเขาอยูอุโบสถในวันท่ี ๑๔ หรือ ๑๕
และวันที่ ๘ แหงปกษ. พระเจามฆเทวะน้ัน เรียกชางกัลบกมาแลวส่ังวา ‘เพื่อน!
ทานเหน็ ผมหงอกเกดิ ขน้ึ ทศ่ี รษี ะเราเมื่อใดก็จงบอกเรานั้น'.

อานนท! ลวงมานับดวยปเปนอันมาก ชางกัลบกนั้นไดเห็นผมหงอก
แลวกราบทูลใหทรงทราบ. พระเจามฆเทวะรับสั่งใหถอนหงอกดวยแหนบ
แลววางใสฝาพระหัตถใหทอดพระเนตร. ครั้งทอดพระเนตรเห็นแลว พระ-
ราชทานบานสวนเปนบําเหน็จแกชางกัลบกนั้น. รับส่ังใหหาพระราชบุตรองคใหญ
มาเฝาแลวตรัสวา ‘แนะพอกุมาร! เทวทูตปรากฏแกเราแลว : หงอกเกิด
บนศรีษะแลว. กามอันเปนวิสัยของมนุษยเราไดบริโภคเสร็จแลว เดี๋ยวน้ี
ถึงสมัยอันควรเพ่ือการแสวงกามอันเปนทิพยสืบไป. มาเถอะพอผูกุมาร! เจาจง
ครองตําแหนงพระราชานี้. สวนเราจะปลงผมและหนวด นุงหมผายอมฝาด
ออกบวชจากเรือนไมเกี่ยวของดวยเรือนไป. อนึ่ง ถาเจาเห็นหงอกเกิดขึ้นที่
ศรีษะของเจาเมื่อใด, เมื่อน้ันจงประทานบานสวยเปนบําเหน็จแกชางกัลบกแลว
ชี้แจงมอบหมายตําแหนงพระราชาแกราชบุตรองคใหญใหดี, แลวจงปลงผม
และหนวด ครองผายอมฝาดออกบวชจากเรือน ไมเกี่ยวของดวยเรือนไปเถิด.

www.buddhadasa.infoเจาจงประพฤติตามกัลยาณวัตรอันน้ี ตามที่เราไดบัญญัติไวแลว, เจาอยาเปนบุรุษ

คนสุดทายของเรา. กัลยาณวัตรอันนี้ ขาดตอนลงในยุคของผูใด ผูนั้นชื่อวา
เปนคนสุดทาย แหงบุรุษทั้งหลาย ผูประพฤติตามกัลยาณวัตรของเรา. แนพอ
ผูกุมาร! เราขอกลาวถึงวัตรนั้น กะเจาในบัดนี้ อยางนี้วา เจาจงประพฤติ
ตามกัลยาณวัตรน้ีตามท่ีเราไดบัญญัติไวแลว ขอเจาจงอยาเปนบุรุษคนสุดทาย
ของเราเลย'.

การบําเพญ็ บารมใี นอดีตชาติ ๓๘๑

อานนท! ครั้นพระเจามฆเทวะ ประทานบานสวยแกชางกัลบก
มอบหมายรัชชสมบัติแกพระราชบุตรองคใหญเปนอยางดีแลว ก็ปลงผมและหนวด
ครองผายอมฝาด บวชแลวจากเรือน ไมเก่ียวของดวยเรือน ในปามฆเทวัมพวัน
นี้เอง. เธอผูบวชแลวนั้น แผความรูสึกดวยจิตอันประกอบดวยเมตตาไปยังทิศ
ที่หนึ่ง, และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ โดยอาการอยางเดียวกัน. ดวยเหตุน้ี
เปนอันวาเธอมีจิตประกอบดวยเมตตาอยางไพบูลยเย่ียมยอด หาท่ีเปรียบมิได
ปราศจากเวรและพยาบาท แผไปท่ัวโลกทั้งปวง เพราะแผทั่วไปท้ังในเบื้องบน
เบื้องลางและเบื้องขวางโดยรอบ. เธอนั้น มีจิตประกอบดวยกรุณา ...มุทิตา
...อุเบกขา ฯลฯ แผไปทั่งโลกทั้งปวง เพราะแผทั่วไปทั้งในเบื้องบน เบื้องลาง
และเบื้องขวางโดยรอบ แลวแลอยูแลว. ...เธอบวชแลวประพฤติพรหมจรรย
อยูในปามฆเทวัมพวันนี้เอง. ครั้นทําพรหมวิหารธรรมทั้งสี่ใหเจริญแลว ก็เขา
ถึงพรหมโลก ภายหลงั จากการตาย เพราะการทําลายแหงกาย. ...ฯลฯ...

อานนท! เราแล ไดเปนพระเจามฆเทวะแลวในสมัยนั้น. อนุชน
ท่ีเกิดในภายหลัง ไดประพฤติตามกัลยาณวัตร ท่ีเราตั้งไวแลว แตวากัลยาณวัตร

นั้นจะเปนไปพรอมเพื่อความหนาย ความคลายกําหนัด ความดับสนิท

www.buddhadasa.infoความรํางับ ความรูยิ่ง ความรูพรอม และนิพพาน ก็หาไม ; เปนไป
เพียงเพื่อเขา ถึงพรหมโลกเทา นน้ั .

อานนท! ก็แตวา กัลยาณวัตรที่เราบัญญัติไวแลวในกาล
นี้แล ยอมเปนไปพรอมเพื่อความหนาย ความคลายกําหนัด
ความดับสนิท ความรํางับ ความรูยิ่ง ความรูพรอม และ
นิพพาน ไดโดยทาเดียว. กัลยาณวัตรน้ันคือ อริยมรรคมีองคแปด

๓๘๒ พทุ ธประวตั ิจากพระโอษฐ - ภาค ๖

ไดแกความเห็นชอบ ดําริชอบ พูดชอบ การงานชอบ ดํารงชีพชอบ
เพยี รชอบ ระลึกชอบ ตงั้ ใจมัน่ ชอบ, ดงั นี้.

คร้ังมีพระชาติเปนมหาโควินทพราหมณ ๑

ปญจสิขะ! เราคงยังระลึกไดอยู, ในสมัยน้ัน เราไดเปนพราหมณ
ช่ือมหาโควินท เราไดแสดงทางปฏิบัติเพ่ือการเขาอยูรวมกับพวกพรหมท้ังหลาย
แกสาวกทั้งหลายเหลานั้น. แตพรหมจรรยนั้นหาไดเปนไปเพื่อความหนาย
ความคลายกําหนัด ความดับสนิท ความรํางับ ความรูยิ่ง ความรูพรอม
และนพิ พานไม, แตเปน ไปเพียงเพื่อเขาถงึ พรหมโลกเทานั้น.

(การแสดงทางปฏิบัติแกสาวกของมหาโควินทพราหมณนั้น ทราบไดจากคําของปญจสิขคัน-
ธัพพบุตรตอนหนึ่ง ดังตอไปนี้ : “มหาโควินทพราหมณ มีจิตประกอบดวยเมตตาแผจิตไปสูทิศที่หน่ึง,
และทิศที่สอง ท่ีสาม ที่สี่ ก็ดุจเดียวกัน. ดวยเหตุน้ีเปนวา มหาโควินทพราหมณ มีจิตประกอบดวย
เมตตาอยางไพบูลยเย่ียมยอดหาที่เปรียบมิได ปราศจากเวรและพยาบาทแผไปทั่วโลกทั้งปวง เพราะแผ
ทั่วไปทั้งในเบ้ืองบน เบ้ืองลาง และเบ้ืองขวางโดยรอบ. มหาโควินทพราหมณมีจิตประกอบดวยกรุณา
...มุทิตา ..อุเบกขา ฯลฯ แผไปทั่วโลกทั้งปวง เพราะแผท่ัวไปท้ังในเบ้ืองบน เบ้ืองลาง และเบ้ืองขวาง

www.buddhadasa.infoโดยรอบ, แลว และชที้ างเพอื่ เขา อยูร วมกบั ชาวพรหมโลก แกพวกสาวกท้ังหลายดวย”).
ปญจสิขะ! ก็แตวา พรหมจรรยของเราในบัดนี้แล ยอมเปนไปพรอม
เพื่อความหนาย ความคลายกําหนัด ความดับสนิท ความรํางับ ความรูยิ่ง
ความรูพรอม และนิพพานโดยทาเดียว. พรหมจรรยน้ันคือ อริยมรรคมีองคแปด
ไดแก ความเห็นชอบ ดําริชอบ พูดชอบ การงานชอบ ดํารงชีพชอบ
เพียรชอบ ระลึกชอบ ตง้ั ใจม่ันชอบ, ดงั น้ี.

๑. บาลี มหาโควินทสูตร มหา. ที. ๑๐/๒๘๕/๒๓๔. ตรัสแกปญจสิขคันธัพพบุตรที่ภูเขาคิชฌกูฏ
ใกลกรุงราชคฤห

การบําเพ็ญบารมีในอดตี ชาติ ๓๘๓

ครั้งมีพระชาติเปนรถการ ชางทาํ รถ ๑

ภิกษุ ท.! ในกาลดึกดําบรรพ ยังมีพระราชาทรงพระนามวาปเจตนะ.
ครั้งนั้น พระเจาปเจตนะตรัสเรียกชางทํารถมารับสั่งวา “นี่แนะสหายรถการ!
นับแตนี้ลวงไปอีก ๖ เดือน สงครามจักมีแกเรา.เจาอาจทําลอรถใหมคูหนึ่ง
ใหเราไดหรือไม?”

ชางทํารถทูลรับตอพระเจาปเจตนะวา “ขอเดชะฯ ขาพระองคอาจ
ทําได พระเจาขา!”คร้ังนั้นแล ชางทํารถ ทําลอไดขางเดียวส้ินเวลา ๖ เดือน
หยอนอยู ๖ วนั .

พระเจาปเจตนะ ตรัสเรียกชางทํารถมารับสั่งถามวา “แนสหายรถการ!
นับแตน ล้ี วงไป ๖ วัน สงครามจักเกดิ แลว ละ. ลอ รถคูใ หมส ําเร็จแลว หรือ?”

ชางทํารถทูลวา “ขอเดชะฯ โดยเวลา ๖ เดือน หยอนอยู ๖ วันน้ี
ลอสําเร็จไดข างเดียวพระเจาขา!”.

พระราชารับสั่งวา “แนะสหายรถการ! ก็เจาอาจจะทําลอขางที่ ๒
ใหสาํ เร็จโดยใชเวลาเพียง ๖ วนั นี้ ไดหรอื ไม?”

ชางทํารถทูลวา “ขอเดชะฯ ขาพระองค อาจทําได พระเจาขา!”.
ท่ีนั้นเอง ชางทํารถไดทําลอขางท่ี ๒ สําเร็จไดโดยใชเวลาเพียง ๖ วัน เขาจึง

www.buddhadasa.infoนําลอคูใหมไปเฝาพระเจาปเจตนะ ครั้นไปถึงแลวกราบทูลวา “ขอเดชะฯ นี่

พระเจาเขา ลอ รถคูใหมข องพระองคสาํ เรจ็ แลว”.
พระราชารับส่ังวา “สหายรถการ! ลอขางท่ีทําแลว ๖ เดือนหยอน

๖ วัน กับลอขางท่ีทําแลวใน ๖ วันนี้ ตางกันอยางไร, เราไมเห็นความตางกัน
ของมนั ที่ตรงไหน?”

๑. บาลี ติก. อํ. ๒๐/๑๔๐/๔๕๔. ตรสั แกภ กิ ษทุ ้ังหลาย ทป่ี า อสิ ปิ ตนมฤคทายวัน, ใกลเมืองพราราณส.ี

๓๘๔ พทุ ธประวตั จิ ากพระโอษฐ - ภาค ๖

ชางทํารถทูลวา “ความตางของลอท้ังสอง มีอยู พระเจาขา, ขอเชิญ
พระองคทอดพระเนตรความตางกันของลอเถิด”. วาแลว ชางทํารถก็หมุนลอ

ขางท่ีทําแลว ๖ วัน ใหกล้ิงไป. มันกลิ้งไปพอสุดกําลังหมุนแลวก็ตะแคงลม
ลงดิน. แลวเขาก็หมุนลอขางท่ีทํา ๖ เดือนหยอน ๖ วันใหกล้ิงไป, มันกลิ้งไป
สุดกําลงั หมนุ แลวก็ตัง้ ตรงอยูเองไดร าวกะตดิ อยูกบั เพลา.

พระเจาปเจตนะตรัสถามวา “สหายรถการ! เหตุอะไร ปจจัยอะไร
ลอขางที่ทําแลว ๖ วันน้ีจึงกลิ้งไปสุดกําลังหมุนแลวจึงตะแคงลมลงดิน, เหตุอะไร
ปจจัยอะไร ลอขางที่ทําแลว ๖ เดือนหยอน ๖วันน้ันจึงกล้ิงไปสุดกําลังหมุนแลว
ตงั้ ตรงอยูเ องไดร าวกะติดอยูก บั เพลา?”

ชางทํารถทูลชี้แจงวา “ขอเดชะฯ ลอขางท่ีทําแลว ๖ วันน้ี กงของมัน
ก็ประกอบดวยเนื้อไมที่คด ที่มีโทษ ที่เจือเนื้อผุและกระพี้. ถึงกําและดุมของ
มันก็เชนเดียวกัน ประกอบดวยเนื้อไมที่คด ที่มีโทษ ที่เจือเนื้อผุและกระพี้.
เพราะความที่กง, กํา, ดุมของมันประกอบดวยเนื้อไมที่คด ท่ีมีโทษ ท่ีเจือเนื้อผุ
และกระพี้, มันกลิ้งไปสุดกําลังหมุนแลวจึงตะแคงลมลงดิน. สวนลอขางท่ี
ทําแลว ๖ เดือนหยอน ๖ วัน กงของมันก็ไมมีเนื้อคด ไมมีโทษ เปนไมท่ี
หมดเน้ือผุและกระพี้. กําและดุมของมันก็เชนกัน ไมมีเน้ือคด ไมมีโทษ เปนไม

www.buddhadasa.infoที่หมดเนื้อผุและกะพ้ี. เพราะความท่ีกง, กํา, ดุมของมัน ไมมีเนื้อคด ไมมีโทษ
เปนไมที่หมดเน้ือผุและกระพ้ี, มันกลิ้งไปสุดกําลังหมุนแลวจึงต้ังตรงอยูเองได
ราวกะตดิ อยกู ับเพลา”.
ภิกษุ ท.! เธอทั้งหลาย อาจจะมีความคิดวา ชางทํารถคราวนั้น
เปนคนอื่นเปนแน แตเธอทั้งหลาย อยาเขาใจอยางนั้น. เราเองเปนชาง
ทํารถในกาลนั้น. ภิกษุ ท.! ในครั้งนั้น เราเปนผูฉลาดตอความคดของไม
โทษ (มีปมและตาเปนตน) ของไม และความมีเนอื้ ไมบ รสิ ุทธิ์ของมัน.

การบําเพญ็ บารมีในอดีตชาติ ๓๘๕

ภิกษุ ท.! แตกาลบัดนี้ เราเปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา เปนผู
ฉลาดตอความคดทางกายทางวาจา ทางใจ, ตอโทษทางกาย ทางวาจา ทางใจ,
ตอ กเิ ลสเพียงดังนา้ํ ฝาดทางกาย ทางวาจา ทางใจ.

ภิกษุ ท.! ความคดทางกาย ทางวาจา ทางใจ, โทษทางกาย
ทางวาจา ทางใจ, กิเลสเพียงดังนํ้าฝาดทางกาย ทางวาจา ทางใจ ของผูใด
ผูหนึ่ง จะเปนภิกษุก็ตาม ภิกษุณีก็ตาม ยังไมไดแลว, ภิกษุภิกษุณี
เหลาน้ันก็หลนไปจากธรรมวินัยน้ี เหมือนลอรถขางที่ทําแลว ๖ วัน ฉะน้ัน.
ความคดทางกายทางวาจา ทางใจ, โทษทางกาย ทางวาจา ทางใจ,
กิเลสเพียงดังน้ําฝาดทางกาย ทางวาจา ทางใจของผูใดผูหน่ึง จะเปนภิกษุ
ก็ตาม ภิกษุณีก็ตาม อันเธอละไดแลว; ภิกษุ ภิกษุณี เหลานั้นก็ต้ังมั่นอยู
ในธรรมวนิ ยั นไี้ ด เหมอื นลอรถขางท่ที ําแลว ๖ เดอื น หยอ น ๖ วัน ฉะนน้ั .

ภิกษุ ท.! เพราะฉะนั้น ในขอน้ี ทานท้ังหลาย พึงสําเหนียกใจไววา
“เราทั้งหลาย จักละความคดทางกาย, โทษทางกาย, กิเลสเพียงดังนํ้าฝาดทางกาย ;
จักละความคดทางวาจา, โทษทางวาจา, กิเลสเพียงดังน้ําฝาดทางวาจา ;

www.buddhadasa.infoจักละความคดทางใจ, โทษทางใจ, กิเลสเพียงดังนํ้าฝาดทางใจ”. ทานท้ังหลาย
พึงสําเหนียกใจไวอยางน้ีแล.

ครั้งมีพระชาติเปนอกิตติดาบส๑

บารมีใด ๆ อันเราประพฤติส่ังสมแลว ในระยะกาลนับไดสี่อสงขัยแสนกัลป
บารมีน้ันท้ังหมด เปนเคร่ืองบมโพธิญาณใหสุก, บารมีท่ีเราประพฤติแลว

๑. บาลี อกิตตจิ ริยา จริยา. ข.ุ ๓๓/๕๕๑/๑.

๓๘๖ พทุ ธประวัติจากพระโอษฐ - ภาค ๖

ในภพนอยใหญ ในกัลปกอน ๆ น้ัน จักงดไวกอน,จักกลาวเฉพาะบารมีท่ีเรา
ประพฤตใิ นกลั ปน ้ี ทานจงฟงคาํ ของเรา.

ในกาลใด, เราเปนดาบส นามวา อกิตติ อาศัยอยูในปาหลวงสงัดเงียบ
วางจากคนไปมา, ในกาลน้ัน ดวยอํานาจการบําเพ็ญตบะกรรมของเรา ทาวสักกะ
ผูเปนใหญยิ่งในไตรทิพย ไดรอนใจทนอยูไมไดแลว.๑ เธอแปลงเพศเปนพราหมณ
เขามาขออาหารกะเรา.

เราเห็นพราหมณน้ัน ยืนอยูแทบประตูของเรา จึงใหใบไม อันเรา
นํามาจากปา ไมมีมันและไมเค็ม๒ ไปทั้งหมด. ครั้นใหแลว ก็คว่ําภาชนะเก็บ
และไมออกแสวงหาใหม เขา สูบ รรณศาลาแลว .

ในวันที่สอง และที่สาม พราหมณนั้นไดมาขอกะเราอีก. เรามิไดมีจิต
หวั่นไหวไปจากเดิมไมไดออนอก ออนใจ ไดใหไปหมดทั้งภาชนะอยางเดียว
กับวันกอน. ความทรุดโทรมแหงผิวพรรณในสรีระของเรา จะมีเพราะเหตุอด
อาหารนั้น ก็หาไม, เราฆาเวลาเปนวัน ๆ นั้นไดดวยความยินดี โดยสุขอันเกิด
จากปต .ิ

หากวาเราไดปฏิคาหกอันประเสริฐ ตลอดเวลาต้ังเดือนหรือสองเดือน
เราก็จะคงเปนผูมีจิตไมหว่ันไหวไปจากเดิม ไมออนอก ออนใจ และใหทานอันสูงสุด
ไดสมํ่าเสมอ. เมื่อเราใหทานแกพราหมณนั้น เราจะไดปรารถนายศ หรือลาภ

www.buddhadasa.infoก็หามิได, เราปรารถนาอยูซึ่งสัพพัญุตญาณ (อันจะเกิดไดเพราะการถูกบม

โดยทานนัน้ ) จึงไดป ระพฤติแลวซง่ึ กรรมทั้งหลายเหลาน้ัน.

๑. นัยวา ขาวการบําเพ็ญตบะอยางสูงสุดของใครก็ตาม ยอมทราบถึงทาวสักกะผูมักระแวงอยูเสมอวา
จะมใี ครบาํ เพญ็ ตบะเพอ่ื หวงั แยง บลั ลังกของตน.
๒. ดาบสนี้ ฉันใบหมากเมา ตมเปลา ๆ เปน อาหาร เพอื่ ตดั ความกังวลในเร่ืองน้.ี

การบําเพญ็ บารมใี นอดีตชาติ ๓๘๗

คร้ังมีพระชาติเปนพระจันทกุมาร ๑

คร้ังอ่ืนอีก, เราเปนโอรสของพระราชาเอกในนครบุบผวดี มีนามอัน
เขาขนานใหวา จันทะ.ในกาลนั้น เรารอดพนไปไดจากการถูกฆาบูชายัญญ
(ซึ่งปุโรหิตผูอาฆาตทูลยุยงพระราชบิดาใหหลงเช่ือ),เกิดความสลดสังเวชข้ึน
ภายในใจ ไดบ าํ เพญ็ มหาทานแลว .

เมื่อไมไดทักขิเณยยบุคคลผูมารับทาน เราก็ยังไมด่ืม ไมเค้ียว ๒ ไม
บริโภคอาหารดวยตนเอง บางคราว ๖ วันบาง ๕ วันบาง. พาณิชสะสมสินคา
ไวนําไปขายในที่ที่จะมีกําไรมาก ยอมมีกําไรมากฉันใด การงดเวนสิ่งท่ีจะบริโภค
เองเพอ่ื บาํ เพ็ญทานแกผ ูอื่นก็ฉันนน้ั .

เพราะเหตุน้ัน ทุกคนพึงใหทานแกผูอ่ืน จักเปนความดีเกิดข้ึน ๑๐๐ เทา.
เราเองมองเห็นอํานาจแหงประโยชนอยางนี้นี่แลว จึงบําเพ็ญทานทุก ๆ ภพ.
เราไมกาวถอยกลับจากการใหทาน ก็เพื่อการลุถึงโดยลําดับซ่ึงปญญาเปนเคร่ือง
รูพรอ ม.

ครั้งมีพระชาติเปนสังขพราหมณ๓

www.buddhadasa.infoคร้ังอ่ืนอีก, เมื่อเราเปนพราหมณมีนามวา สังขะ ไดไปท่ีทาเรือเพื่อ
เดินทางขามสมุทร. ณ ที่นั้นเราไดเห็นทานผูชนะกิเลสไดโดยตนเอง เปน
ผูอันกิเลสจะทําใหกลับแพอีกมิได, ทานผูน้ันเดินทางกันดาร ไปในทามกลาง
พนื้ ทรายอันรอ นจดั .

๑. จนั ทกมุ ารจรยิ า จริยา. ขุ. ๓๓/๕๕๖/๗.
๒. เคย้ี ว คอื ของกินเลน หรืออาหารวาง.
๓. บาลี สังขจรยิ า จริยา. ข.ุ ๓๓/๕๕๒/๒.

๓๘๘ พทุ ธประวัติจากพระโอษฐ - ภาค ๖
เราเห็นทานสยัมภู ๑ ผูนั้น ในขณะท่ีทานเดินทางอยู, เกิดความคิด

ขึ้นภายในใจวา ‘นาบุญนี้ อันเราผูแสวงบุญมาถึงเขาแลวโดยลําดับ. ก็เมื่อ
ชาวนาไดเน้ือนา อยางดีแลว ยังไมหวานพืชลงในนาน้ัน ก็แปลวาเขามิไดเปนผู
มีความตองการดวยขาวเปลือก น่ีเปนฉันใด เราก็จะเปนฉันน้ัน ถาวาเราเปนผู
ตอ งการบญุ เห็นนาบญุ อนั สงู สุดแลว กห็ าลงมือประกอบกรรมนน้ั ไม ฯลฯ.

เราคิดด่ังน้ีแลว ลงถอดรองเทา กราบลงท่ีบาทของทานผูสยัมภูน้ัน
แลวถวายรมและรองเทาของเราแดทาน. เพราะกรรมนั้น (ในชาติน้ี) เราจึงได
เสวยสุข เปนสุขุมาลชาติยิ่งกวาต้ังรอยเทา, และทั้งเปนการทําทานบารมีของเรา
ใหเ ต็ม เราจึงใหท านแดท า นผเู ชน นั้น.

คร้ังมีพระชาติเปนเวลามพราหมณ ๒

คหบดี! ในกาลดึกดําบรรพ ไดมีพราหมณผูหนึ่ง ชื่อเวลามะ.
เวลามพราหมณนนั้ ไดบ รจิ าคทานอันเปน ทานอยางใหญหลวง เหน็ ปานนี้คอื :-

ไดใหถาดทองจํานวนแปดหมื่นส่ีพัน อันบรรจุเต็มดวยเงิน. ไดให
ถาดเงินจํานวนแปดหม่ืนสี่พันอันบรรจุเต็มดวยทอง. ไดใหถาดสําริดจํานวน
แปดหม่ืนสี่พัน อันบรรจุเต็มดวยเงิน. ไดใหชางจํานวนแปดหม่ืนส่ีพัน ประดับ

www.buddhadasa.infoแลวดวยเครื่องทอง ธง ก็ทําดวยทอง ตาขายเครื่องปด ก็ลวนทําดวยทอง.

ไดใหรถจํานวนแปดหมื่นสี่พัน หุมบุดวยหนังราชสีห ดวยหนังพยัคฆ
ดวยหนังเสือเหลือง ดวยผากัมพลเหลือง ประดับไปแลวดวยเครื่องทอง ธง
ก็ทําดวยทอง ตาขายเคร่ืองปด ก็ลวนทําดวยทอง . ไดใหแมโคนม

๑. พระปจเจกพุทธเจาองคหนง่ึ .
๒. บาลี นวก. อํ. ๒๓/๔๐๖/๒๒๔. ตรัสแกอ นาถปณฑิกคหบดี ท่อี ารามเชตวนั .

การบําเพ็ญบารมใี นอดตี ชาติ ๓๘๙

จํานวนแปดหมื่นสี่พัน ลวนกําลังมีนมไหลรูดรองได. ไดใหนางสาวนอย
จํานวนแปดหมื่นสี่พัน ซึ่งแตละนางมีตุมหูประดับมณี. ไดใหบัลลังกจํานวน
แปดหม่ืนส่ีพัน ซ่ึงลาดดวยขนเจียม ลาดดวยสักหลาด ลาดดวยผาปกลวดลาย
ลาดดวยเคร่ืองลาดท่ีทําดวยหนังชะมด มีเพดานแดง มีหมอนขางแดง. ไดใหผา
จํานวนแปดหม่ืนส่ีพัน คือผาทอดวยเปลือกไมอันละเอียดออน ผาไหมอัน
ละเอียดออน ผาฝายอันละเอียดออน. ฉะนั้น จึงไมตองกลาวถึงการใหขาว
ใหนํ้า ใหของเคี้ยวของบริโภค ใหเครื่องลูบไลเครื่องทา และใหเครื่องนอน
เวลามพราหมณนนั้ บรจิ าคใหไป ๆ เหมอื นแมนํา้ ไหลไมข าดสาย.

คหบดี! ก็ความคิดอาจมีแกทานวาผูอื่นตางหาก ท่ีเปนเวลามพราหมณ
ผูใหทานอันใหญหลวงในครั้งนั้น. คหบดี! ทานไมควรคิดไปอยางนั้น,
เราน่ีเองไดเปนเวลามพราหมณในสมัยนั้น เราเอง ไดบริจาคทานอันใหญหลวง
นั้น. คหบดี! ก็แตวา การใหทานในครั้งกระโนน ใคร ๆ ที่จะสมควร
รับทักษิณาทานมิไดมีเลย, ใคร ๆ ท่ีจะชวยใหการใหทักษิณาทานน้ันบริสุทธิ์ได
ก็ไมม ีเลย.

www.buddhadasa.infoครั้งมีพระชาติเปนพระเวสสันดร๑

กระษัตรียใดไดเปนมารดาของเรา มีนามวา ผุสดี กระษัตรียน้ันเปน
มเหษีของทา วสกั กะ มาแลว ในอดีตชาต.ิ ทา วสักกะผจู อมเพทราบอายุขยั ของ

๑. บาลี เวสสันตรจริยา จริยา. ขุ. ๓๓/๕๕๙/๙. ในคัมภีรจริยาปฎก ซึ่งเปนคัมภีรชั้นบาลี
มิไดเรียงเรื่องเวสสันดร ไวเปนเรื่องสุดทายแหงเรื่องทั้งหลาย เหมือนในคัมภีรชาดก; ฉะนั้น
ในท่ีน้ีขา พเจา จงึ ไมเรยี งเรือ่ งเวสสันดรไวเปน เร่ืองสุดทา ยเหมอื นทค่ี นทั้งหลายเชอ่ื กัน,

๓๙๐ พทุ ธประวตั ิจากพระโอษฐ - ภาค ๖

พระมเหษีองคน้ันแลว ไดตรัสกะเธอวา “เจาผูเลิศงาม เราใหพรแกเจาสิบประการ
ตามแตเ จา จะเลอื กเอา”๑.

พระเทวีน้ัน ไดรําพันถามทาวสักกะวา “หมอมฉันมีความผิดอยางไร
หรือหนอ, หมอมฉันเปนที่เกลียดชังของพระองคแลวหรือ จึงถูกบังคับให
ละโลกอันนา ร่นื รมยน ีไ้ ป ดจุ พฤกษชาตทิ ถี่ กู ลมพดั ถอนข้นึ ทงั้ รากฉะนั้น”.

ทาวสักกะผูอันพระเทวีรําพันเชนน้ันแลว ไดตรัสแกเธอวา “ใชวาเจา
จะทําบาปอันใดลงไปก็หามิได ใชวาเจาจะไมเปนที่รักของเราก็หามิได แตวาอายุ
ของเจามีเพียงเทาน้ี บัดนี้เปนเวลาที่เจาจะจุติ ฉะนั้น เจาจงรับเอาพรสิบประการ
อนั เราใหเ ถดิ ”.

พระเทวีนั้น จุติแลว บังเกิดในตระกูลกษัตริย นามวาผุสดี ไดสมรส
กับพระราชาสัญชัย ในนครเชตุตดร. ในกาลที่เรากาวลงสูพระครรภแหงพระ
มารดาอันเปนที่รักนั้น มารดาของเราไดเปนผูยินดีในทานตลอดเวลา เพราะ
เดชของเรา. ทานไดใหทานแกยาจกผูไรทรัพย อาดูร ครวญคร่ํา และแก
สมณพราหมณ อยา งไมย ง้ั มอื .

แมเจาผุสดีดํารงครรภครบสิบเดือน กําลังเที่ยวประพาสทั่วนคร
ไดประสูติเรา ณ ถนนแหงชาวราน เพราะกําเนิดที่ถนนแหงชาวราน นามของเรา
จึงไมเกี่ยวเนื่องดวยมารดาและบิดา, ไดชื่อวาเวสสันดร (แปลวา “ระหวาง

www.buddhadasa.infoชาวรา น”.)

เม่ือเราเปนทารกอายุแปดป นั่งอยูในปราสาท ก็รําพึงแตจะใหทาน ;
“เราจะใหทาน หัวใจดวงตา เนื้อ เลือด รางกาย ใหปรากฏ ถาวาจะมีผู
มาขอกะเรา”, เม่ือเรารําพึงแนใจ ไมหว่ันไหวเชนน้ัน แผนดินไดไหว ภูเขา
สิเนรุส่ันสะเทือน.

๑. คาํ พดู เชน น้ี นยั วาเปน ประเพณี พดู กับผูที่จะตอ งจุติจากสวรรค,

การบําเพ็ญบารมีในอดีตชาติ ๓๙๑

ในวันอุโบสถก่ึงเดือน และปลายเดือน เราข้ึนสูชางช่ือ ปจจยนาค
ไปใหทาน. พวกพราหมณชาวแวนแควนกาลิงค เขามาหาเรา และไดขอชาง
อันประเสริฐซึ่งสมมติกันวาเปนมงคลนั้น กะเรา เขากลาวกะเราวา “ที่ชนบท
ของขาพเจา ฝนไมมีตก เกิดทุพภิกขภัยอดอาหารอยางใหญหลวง ขอพระองค
จงประทานชา งอนั บวร เปนจอมชาง มอี วัยวะขาวหมด แกขาพเจาเถิด”.

เราตกลงใจวา เราให, เราไมมีหวั่นไหว. เราไมหวงแหนปกปด
ทานวัตถุที่เรามี เพราะใจของเรายินดีในทาน. การปฏิเสธตอยาจกที่มาถึง
เขาแลวนั้น ไมควรแกเรา, เราอยาทําลายการสมาทานของเราเสียเลย เราจักให
ชางอันวบิ ูลย บัดนล้ี ะ.

เราจับที่งวงชางมือหนึ่ง อีกมือหน่ึงหลอน้ําในเตาใสมือพราหมณ ให
ชางแกพราหมณไป.เมื่อเราใหทานชางเผือกสูงสุดนี้ แผนดินไดหว่ันไหว ภูเขา
สิเนรุสั่นสะเทอื นอีกคร้งั หนึง่ .

เม่ือเราใหชางตัวนั้น ชาวเมืองสีพีโกรธมาก มาประชุมกันใหเนรเทศ
เราจากนคร ไปอยูเขาวงก. เมื่อชนพวกนั้นพากันกําเริบ เราก็ยังมีความ
ไมหวั่นไหว, ขอรองกะเขาเพ่ือไดใหทานครั้งใหญอีกครั้งหนึ่ง ชาวสีพีถูกขอรอง
เขา แลว กย็ อมให.

เราใหปาวรองเอิกเกริกวาเราจะใหมหาทาน. มีเสียงเลาลืออยางใหญ

www.buddhadasa.infoหลวงเพราะเรื่องนี้วา “ถูกขับเพราะใหทาน ยังจะใหทานอีก!”. เราใหทาน

ชาง มา รถ ทาสี ทาส โค และทรัพย. ครั้นใหมหาทานแลว จึงออก
จากนครไป. ครั้นออกไปพนเขตนครแลว ไดกลับเหลียวดูเปนการลา แผนดิน
ไดไหว ภเู ขาสิเนรสุ ่นั สะเทอื นอีกในครง้ั น้ัน.

เม่ือถึงทางส่ีแพรง ไดใหทานรถเทียมดวยมาส่ีไป เราผูไรเพ่ือนบุรุษ
กลาวกับพระนางมัททรีวา “เจาจงอุมกัณหาลูกหญิงนอย คอยเบาหนอย
เราจักอมุ ชาลี พ่ชี ายหนง่ึ หนกั กวา”. เปนอันวาพระนางมทั ทรไี ดอ มุ กัณหาชินะ

๓๙๒ พทุ ธประวตั ิจากพระโอษฐ - ภาค ๖

อันงามเหมือนดอกบุฑริก และเราไดอุมชาลี ซึ่งงามเหมือนรูปทองหลอ
รวมเปนสกี่ ษัตรยิ ส ุขมุ าลชาติ ไดเหยยี บยํ่าไปตามหนทางตา่ํ ๆ สงู ๆ ไปสเู ขาวงก.

พบใครในระหวางทางก็ถามวา เขาวงกอยูทางไหน ชนเหลาน้ันสงสารเรา
และบอกวายังไกลมาก. เด็ก ๆ ไดเห็นผลไมในปา ก็รองไหอยากไดผลไมนั้น ๆ.
เห็นเด็ก ๆ รองได ตนไมก็นอมกิ่งมีลูกดกเขามาหาเด็กเอง. พระนางมัททรี
เห็นความอัศจรรยชวนสยองขนเชนนี้ ก็ออกอุทานสาธุการ “โอหนอ ของ
อัศจรรย ไมเคยมีในโลก นาขนพอง ตนไมนอมกิ่งลงมาเอง ดวยอํานาจแหง
พระเวสสันดร”.

พวกยักษ ชวยยนการเดินทาง เพ่ือความอนุเคราะหแกเด็ก ๆ, ในวันที่
ออกจากนครนั่นเองไดเดินทางถึงแวนแควนของเจตราช, ญาติในท่ีน้ันรองไห
ครํ่าครวญกลิ้งเกลือกทั้งผูใหญและเด็ก. ออกจากแวนแควนของญาติเหลานั้นแลว
กม็ งุ ไปเขาวงก.

จอมเทพ สั่งใหวิสสุกัมมผูมีฤทธ์ิ สรางบรรณศาลา ๑ เปนอาศรม
อันรมยร่ืน, วิสสุกัมมไดสรางแลวเปนอยางดี ตามดํารัสของทาวสักกะ. พวกเรา
สี่คนก็ลุถึงราวปาอันเงียงเหงา ไมมีวี่แววแหงมนุษย, ไดอาศัยอยูแลวใน
บรรณศาลานั้น ในระหวางภูเขา. บรรเทาความโศกของกันและกันไดแลว
ณ ที่นั้น. เราดูแลเด็ก ๆ ในอาศรม พระนางมัททรีไปเสาะหาผลไมในปามา

www.buddhadasa.infoเล้ียงกนั .

เมื่อเราอยูถึงในปาสูง ก็ยังมีนักขอไปหาเรา, ไดขอลูกของเรา คือ
ชาลีและกัณหาชินะ ทั้งสองคน. ความบันเทิงใจเกิดขึ้นแกเรา เพราะไดเห็น
ยาจกเขาไปหา เราไดย่ืนบุตรทั้งสองคนใหกะพราหมณผูมาขอนั้นไป. เม่ือเรา
สละบุตรใหแกพราหมณนามวาชูชกในกาลนั้น แผนดินไดไหว เขาสิเนรุ
ส่ันสะเทือนอกี .

๑. บรรณศาลา คือศาลามุง กั้นดวยใบไม ใบหญาชนดิ ใดชนิดหนึ่ง.

การบําเพ็ญบารมใี นอดีตชาติ ๓๙๓

ตอมา ทาวสักกะไดลงมาโดยเพศพราหมณ ขอพระนางมัททรีผูมีศีลและ
มีวัตรในสามี กะเราอีก. เราไดจับหัตถมอบหมายให และหล่ังนํ้าลงในฝามือ
พราหมณ มีจิตเบิกบานผองใส ใหพระนางมัททรีไป. ขณะที่เราให ทวยเทพ
ในนภากาศก็พลอยอนุโมทนา แผน ดินไดไ หว เขาสิเนรสุ ัน่ สะเทอื นอีก.

เราสละชาลีกัณหา และพระนางมัททรีผูมีวัตรในสามี, ไมมีความลังเลใจ
ก็เพราะเหตุแหงปญญาเคร่ืองตรัสรู (รูความดับทุกขของสัตวโลก). ลูกสองคนนั้น
จะเปนที่เกลียดชังของเราก็หาไม พระนางมัททรีจะเปนที่เกลียดชังก็หาไม.
สัพพญั ตุ ญาณเปน ทร่ี ักของเรา เราจงึ ใหของรกั (เพือ่ สง่ิ ทเี่ รารัก) ...ฯลฯ.

คร้ังมีพระชาติเปนมาตังคชฎิล ๑

ชาติอื่นอีก : เราเปนชฎิล บําเพ็ญตบะกลา นามวามาตังคะ มีศีล
มีสมาธิมั่น. เรากับพราหมณอีกผูหนึ่ง ตางอาศัยอยูริมฝงแมน้ําคงคาดวยกัน.
อาศรมของเราอยเู หนือน้ํา ของพราหมณอยูใตน าํ้ .

พราหมณนั้นเดินเลาะฝงข้ึนมา เห็นอาศรมของเราทางเหนือน้ํา มีความ

www.buddhadasa.infoรังเกียจ ดาวาเราแชงเราใหศรีษะแตก. ที่จริงถาเราโกรธพราหมณนั้นขึ้นมา

หรือศีลของเราไมควบคุมเราไวแลว เพียงแตเรามองดูเทาน้ัน ก็อาจทําพราหมณ
ใหกลายเปนดุจวาข้ีเถา ไป.

พราหมณน้ัน โกรธ คิดประทุษราย วาเราดวยคําสาปแชงอยางใด
อาการน้ันกลับเปนแกพราหมณน้ันเอง เราพนไปดวยอํานาจคุณของเรา.

๑. บาลี มาตงั คจรยิ า จรยิ า. ข.ุ ๓๓/๕๗๕/๑๗.

๓๙๔ พุทธประวัตจิ ากพระโอษฐ - ภาค ๖

เรารักษาศีลของเรา เราไมไดรักษาชีวิตของเรา(หมายถึงเกียรติยศ), ในกาลนั้น
เรารักษาศลี เพราะเหตแุ หง ปญญาเครื่องตรัสรเู ทานั้น.

คร้ังมีพระชาติเปนจูฬโพธิ ๑

ชาติอ่ืนอีก : เม่ือเราเปนพราหมณช่ือจูฬโพธิผูมีศีล, มองเห็นภพโดย
ความเปนของนากลัวจึงไดออกบวช. ภริยาเกาของเราเปนพราหมณีมีรูปดั่ง
ทําดวยทอง. แมเธอนั้น ก็ไมประสงคตอการเวียนวายในวัฏฏะ จึงออกบวช
เสียดวยกนั .

เราสองคน เปนผูไมมีที่อาลัย ตัดขาดจากพงศพันธุ ไมมีความ
มุงหมายอะไรในตระกูล และหมูชน เที่ยวไปตามหมูบานและจังหวัด ลุถึงเมือง
พาราณสีแลว. ณ ที่นั้น เราบําเพ็ญปญญา ไมระคนดวยหมูคณะ อยูใน
ราชอุทยานอนั ไมมผี คู นเกลอื่ นกลน และเงียบเสียง.

พระราชาเสด็จมาประพาสสวน ทอดพระเนตรเห็นนางพราหมณี ก็เขา
มาถามเราวา หญิงนั้นเปนภริยาของทาน หรือของใคร? เราทูลตอบวาไมใช
ภรยิ าของเรา เปน เพียงผปู ระพฤตธิ รรมรวมกันคือคาํ สอนอยางเดยี วกัน.

พระราชากําหนัดในนางพราหมณีน้ัน รับส่ังใหจับและฉุดครานางไป

www.buddhadasa.infoโดยพลการ สูภายในนคร.เมื่อฉุดครานํานางไป ความโกรธไดเกิดขึ้นแกเรา

แตพรอมกับความโกรธที่เกิดขึ้นนั้น เราระลึกข้ึนไดถึงศีลและวัตร. ในขณะน้ัน
เอง เราขม ความโกรธได และไมยอมใหเกิดขนึ้ มาไดอ ีก.

เรารูสึกตัวเราวา แมใครจะทํารายนางพราหมณีดวยหอกคมกลา เราก็
ไมทําลายศีลของเรา, เพราะเหตุเหน็ แกโ พธญิ าณ (มากกวา เห็นแกน างพราหมณ)ี .

๑. บาลี จูฬโพธิจริยา จริยา. ขุ. ๓๓/๕๗๑/๑๔.

การบําเพ็ญบารมใี นอดีตชาติ ๓๙๕

แตใชวา นางพราหมณีจะไมเปนที่รักของเราก็หาไม และใชวาเราจะไมมีกําลังวังชา
ก็หาไม. สัพพญั ุตญาณเปนทีร่ ักของเรา เราจงึ ตามประคองศลี ไว.

คร้ังมีพระชาติเปนเจาชายยุธัญชยะ ๑

เมื่อเรามีชาติเปนราชบุตรชื่อ ยุธัญชยะยิ่งดวยยศ ไดเกิดความรูสึกสลด
ตอชีวิต ในขณะที่มองเห็นหยาดน้ําคางในเวลาเชา เหือดแหงไปเพราะแสงแดด
เปนอุปมา. เรายึดเอาความรูสึกนั้นเปนอารมณอันแนวแน ก็ยิ่งสลดสังเวช
มากขนึ้ , เขาไปหาเจาแมและเจา พอ ขออนุญาตออกบวช.

เจาแมและเจาพอ พรอมดวยชาวนครและชาวแควน เขามาออนวอนเรา
ขอใหคงอยูครอบครองแผนดินอันมั่งค่ังรุงเรือง. เราไมเอาใจใสตอเจาแมเจาพอ
พระญาติวงศ พรอมทงั้ ชาวนครและชาวแควน , สลดั ทิง้ ไปแลว .

เราสลัดราชสมบัติ ญาติ ขาแผนดิน ยศ และส่ิงท้ังปวงไปอยางไมลังเล
เย่ือใย เพราะเหตุแหงปญญาเคร่ืองตรัสรู. ใชวาเจาแมเจาพอจะไมเปนท่ีรักของเรา
ก็หาไม เราจะเกลียดยศก็หาไม.สัพพัญุตญาณเปนที่รักยิ่งของเรา ฉะนั้น
เราจึงสลดั ราชสมบตั เิ สยี .

www.buddhadasa.info

ท่ีสุดแหงการทองเที่ยวของพระองค ๒

เราเมอ่ื ยงั คน ไมพบแสงสวา ง, มวั เสาะหานายชา งปลกู เรือน (คอื ตัณหา

๑. บาลี ยุธัญชยจรยิ า จริยา. ข.ุ ๓๓/๕๗๙/๒๑.
๒. พระวาจาเยยตัณหาซึ่งทรงเปลงขึ้นทันที ในขณะที่ทรงรูสึกพระองควาไดสิ้นตัณหาแลว.
บาลีธ. ข.ุ ๒๕/๓๕/๒๑.

เรื่องเพิ่มเติมใหม ๑ เร่ือง
______

การสนทนากับปริพพาชกชื่อมัณฑิกะ และชาลิกะ ๑

มหาลิ ! คร้ังหนึ่ง เราอยูท่ีโฆสิตาราม นอกเมืองโกสัมพี ครั้งน้ัน
ปริพพาชกช่ือมัณฑิกะ และชาลิยะ ผูทารุปตติกันเตวาสี ไดเขามาหาเราถึงที่อยู,
คร้ันเขามาแลว ไดกระทําสัมโมทนียกถา ยืนอยู ณ สวนขางหนึ่ง. บรรชิตทั้ง
สองนั้นยืนอยู ณ สวนขางหนึ่งแลว ไดกลาวกะเราวา “อาวุโส โคตมะ !
ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อัน นั้น; หรือวา ชีวะก็อันอื่น สรีระก็อันอื่น?” ดังนี้.
เราไดกลาวกะบรรพชิตทั้งสองวา :-

“ดูกอนอาวุโส ! ถาอยางนั้นทานจงฟง, จงกระทําในใจใหดี เรา
จักกลาว. ดูกอนอาวุโส ตถาคตเกิดขึ้นแลวในโลกนี้ เปนอรหันตตรัสรูชอบ
ดวยตนเอง ถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ ไปแลวดี รูแจงโลก เปนสารถีฝกบุรุษ
ไมมีสารถีอื่นยิ่งกวา เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษย เปนผูรูผูตื่นผูเบิกบาน
จําแนกธรรมสั่งสอนสัตว. ตถาคตนั้น กระทําใหแจงซึ่งโลกน้ี พรอมทั้งเทวโลก
มารโลก พรหมโลก หมูสัตวพรอมทั้งสมณพราหมณ พรอมทั้งเทวดาและมนุษย

www.buddhadasa.infoดวยปญญาอันยิ่งเองแลว ประกาศใหผูอื่นรู. ตถาคตนั้น แสดงธรรมไพเราะ
ในเบ้ืองตน ไพเราะในทามกลาง ไพเราะในท่ีสุด, ประกาศพรหมจรรยบริสุทธ์ิ
บริบูรณส้ินเชิง พรอมทั้งอรรถะ พรอมท้ังพยัญชนะ.

-----------------

๑. บาลี มหาลิสูตร สีล.ที. ๙/๒๐๐/๒๕๕ ขอความตอนน้ี ควรใสไวในหนังสือเลมนี้ ที่หนา ๓๐๕, ตอ
จากเรื่อง “การขมลิจฉวีบุตร ผูมัวเมาในปาฏิหาริย” แตไมอาจจะใสได เพราะจะจะทําใหหนา
หนังสือสบั สนไมต รงกนั ทกุ คราวทพ่ี ิมพ, จงึ นาํ มาตอ ทา ยไวเชนน.้ี

๓๙๖ ก.

๓๙๖ ข พทุ ธประวัติจากพระโอษฐ - เพิ่มเตมิ

คฤหบดี หรือวาคฤหบดีบุตร หรือบุคคลผูเกิดแลวในตระกูลใดตระกูล
หนึ่ง ในภายหลัง ยอมไดฟงธรรมนั้น. บุคคลนั้น ๆ ครั้นไดฟงแลวยอม
ไดซ่ึงสัทธาใน ตถาคต, มาตามพรอมแลวดวยการไดสัทธาในตถาคตแลว ยอม
พิจารณาเห็นอยางนี้วา “ฆราวาสเปนที่คับแคบ เปนทางมาแหงธุลี, บรรพชา
เปนโอกาสวาง ; มิใชเปนการงาย ที่จะอยูครองเรือนแลวประพฤติพรหมจรรย
ใหบริสุทธิ์โดยสวนเดียวดุจสังขอันขัดดีแลว, ถากระไร เราจะพึงปลงผมและ
หนวด นุงหมผากาสายะแลว ออกจากเรือนบวชสูความไมมีเรือนเถิด” ดังนี้.
บุคคลนั้น คร้ันถึงสมัยอ่ืน ละโภคะนอยใหญ ละวงศญาตินอยใหญ ปลงผมและ
หนวด นุงหมผา กาสายะแลว ออกบวชจากเรอื นสูค วามไมม เี รือน.

ภิกษุน้ัน ผูออกบวชแลวอยางน้ี สํารวมแลวดวยความสํารวมในปาฏิโมกข
ถึงพรอมดวยมรรยาทและโคจร, มีปรกติเห็นภัยในโทษแมมีประมาณนอย สมาทาน
ศึกษาในสิกขาบททั้งหลาย, มาตามพรอมแลวดวยกายกรรม วจีกรรมอันเปนกุศล,
มีอาชีวะบริสุทธ์ิ ถึงพรอมดวยศีล มีทวารอันคุมครองแลวในอินทรียทั้งหลาย
ประกอบสติสมั ปชญั ญะ มีความสนั โดษ.

ดูกอนอาวุโส! ภิกษุนั้น ละการทําสัตวมีชีวิตใหตกลวงไป เปนผู
งดขาดจากปาณาติบาต วางทอนไมและศาตราเสียแลว (…ขอความตอนตอไปนี้

เปนอยางเดียวกันกับขอความ ท่ีพระองคตรัสรูถึงพระองคเองในเรื่องสีลโดยพิสดาร ดังกลาวไวในหัวขอท่ีวา

www.buddhadasa.info“มนุษยบุถุชนรูจักพระองคนอยเกินไป” ดังที่ปรากฏอยูในหนังสือเลมนี้ หนา ๒๘๐

เริ่มต้ังแตบรรทัดที่ ๑๙, ไปจนถึงหนา ๒๘๖ บรรทัดท่ี ๗ แลวตรัสขอความตอไปดังน้ี :-)

ดูกอนอาวุโส ภิกษุน้ัน เปนผูมีสีลอยางน้ีแลว มีใจสงัดแลวจาก
กามและอกุศลทั้งหลาย, บรรลุปฐมฌาณอันมีวิตกวิจาร มีปติและสุขอัน
เกิดแตวิเวกแลวแลอยู; ดูกอนอาวุโส ! ภิกษุนั้น เปนผูรูอยูยางนี้ เห็นอยู
อยางนี้ เปนการควรหรือหนอ ที่ภิกษุนั้นจะพึงกลาวอยางนี้วา “ชีวะก็อันนั้น
สรรี ะกอ็ ันน้ัน” , หรือวา “ชีวะก็อนั อ่ืน สรีระกอ็ ันอน่ื ” ดังน.้ี

๓๙๖ ค พุทธประวตั ิจากพระโอษฐ - เพิ่มเตมิ

ดูกอนอาวุโส โคตมะ ! ภิกษุใดรูอยูอยางน้ี เห็นอยางนี้, ยอมไมเปนการสมควรที่
ภิกษุนั้นจะพงึ กลาววา “ชวี ะก็อนั น้ัน สรรี ะก็อันนนั้ ”, หรือวา “ชวี ะก็อันอื่น สรรี ะกอ็ นั อื่น”, ดงั นี้

ดูกอนอาวุโส ! แมเราตถาคตในบัดน้ี ยอมรูอยูอยางน้ี เห็นอยู
อยางนี้; และเรายอมไมหวั่นไหว วา “ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น”, หรือ
กลาววา “ชวี ะกอ็ นั อนื่ สรรี ะกอ็ นั อ่นื ” ดังนี้.

(ตอจากนี้ ไดตรัสถึงการท่ีภิกษุนั้น บรรลุทุติยฌาณ ตติยฌาณ จตุตถฌาณ, กระท่ังญาณ
ทัสสนะเปนลําดับไป จนถึงอาสวักขยญาณ มีพรหมจรรยอันอยูจบแลว, และไดตรัสถามใหปริพพาชก
น้ันตอบเอง ดวยคําถาม และคําตอบ อยางเดียวกัน ทุกประการ. มหาลิจฉวีผูปากแข็ง ไดชอบใจ
เพลิดเพลินในภาสิตน้อี ยางยง่ิ ) .

www.buddhadasa.info

๓๙๖ พุทธประวัติจากพระโอษฐ - ภาค ๖
ผูกอสรางเรือนคืออัตตภาพ) อยู, ไดทองเท่ียวไปในสังสารวัฏ กลาวคือ ความเกิด
แลวเกิดอกี เปน อเนกชาติ. ความเกิดเปน ทกุ ขร ่ําไปทกุ ชาติ.

แนะนายชางผูปลูกสรางเรือน! เรารูจักเจาเสียแลว,เจาจักสรางเรือน
ใหเราตอไปอีก ไมได, โครงเรือน (คือกิเลสที่เหลือเปนเชื้อเกิดใหม) ของเจา
เราหักเสียยับเยิน หมดแลว.ยอดเรือน (คืออวิชชา) เราขย้ีเสียแลว, จิตของเรา
ถึงความเปนธรรมชาติ ท่ีอารมณจะยุแหยย่ัวเยาไมไดเสียแลว มันไดลุถึงความ
หมดอยากทกุ อยาง.

จบภาค ๖

-------------------

www.buddhadasa.info

พุทธประวัติจากพระโอษฐ

จบ

ปทานุกรม

ของพุทธประวัติจากพระโอษฐ ๒,๑๙๙ คํา

(เรยี งลําดบั ตามหลกั อกั ษรไทย)

______________



กกุธนที (แมนาํ้ ) ๓๕๒ กระแสแหง มาร ๑๓

กกุธะ (อุบาสก)๓๔๕ กลองแหง อมตธรรม ๑๗๔

กกุสนั ธพุทธะ ๓๐๓ กลอนศาลาอันเกาครํ่าครา. ๕๘/๖๕

กฎเกณฑการศกึ ษาตามลําดับ ๒๐๒ กลางคืนแท ๆ เขาใจวากลางวัน ๑๐

กฎเกณฑก ารกระทําตามลําดับ ๒๐๒ กลางวันแท ๆ เขา ใจวากลางวัน ๑๐

กฎเกณฑก ารปฏบิ ัติตามลาํ ดบั ๒๐๒ กลา วตพู ระองคดวยคํากลา วเท็จ ๒๐๑

กฎธรรมชาติ ๒๘๗ กลาวธรรมไดเหมอื นกะทองไว ๕๐

กฎท่ยี กเวนแกบางคน ๒๕๙ กลา วอยา งใดทรงทาํ อยางนั้น ๒๐๑

กฏสิ สหะ(อบุ าสก) ๓๔๕ กลิ่นเหม็นคาว ๒๙๑

กบิลพสั ดุ ๑๔/๑๖/๔๒/๒๗๓/ กษตั รยิ  ๒๒๐

๒๔๐/๒๙๒/๒๙๓

www.buddhadasa.infoกมศรี ษะแลบล้ิน ๒๙๓
กษัตริยโ ดยชาติ ๑๕
กษัตริยไดม รุ ธาภเิ ษก ๓๓๑/๓๖๗

กรกัณฑุ (ราชกุมาร) ๑๙ กษตั รยิ บณั ฑติ ๒๑๖

กรรมทางกายบรสิ ทุ ธ์ิ ๘๗ กฬารมชั ฌกะ (อเุ จลกะ) ๓๐๓

กรรมทางกายไมบริสทุ ธิ์ ๘๗ กองวมิ ุตตชิ นั้ อเสขะ ๒๗๖

“กรรมไมม”ี ๒๖๓ กณั ณกถล (สวนปา) ๑๓๓/๒๑๔/

กระแส ๒๙๙ ๒๕๖/๒๕๗

กระแสนา้ํ ๑๙๕ กณั หา (ลูกหญงิ ) ๓๙๑

กนั ทรกะ (ปรพิ พาชก) ๑๙๕

กัมมาสธัมมะ (หมบู า น) ๔๐

๓๙๗

๓๙๘ พุทธประวัตจิ ากพระโอษฐ

กลั ยาณมิตร ๒๕๔ กายตรงดจุ กายพรหม ๓๐

กลั ยาณมิตรของเรา ๒๕๕ กายเมื่อยลา ๗๑

กลั ยาณวัตร ๓๘๐ กายยังไมห ลกี ออกจากวตั ถุกาม ๖๐

กัลยาณวัตรคอื มรรคมีองคแ ปด ๓๘๑ กายละจากวัตถุกามแลว-

กสั สปพุทธะ ๓๐๓/๓๗๒ -ทัง้ ใจไมระดมกิเลสกาม ๖๑

กัสสปะ (เถระ) ๒๓๓ กายสงั ขาร ๙๑

กัสสปะ (อเจลกะ) ๑๒๕/๑๓๓/๒๑๔/ กายหลีกจากวัตถกุ าม-

๒๕๖/๒๕๗/๒๕๙ -แตใ จยังระดมกิเลสกาม ๖๐

กามคณุ ๔๐ การกระทําของสตั วทอี่ ยูเปน คู ๆ ๑๙๓

กามคณุ ในอดีต ๗๘ การกระทําท่จี ะเหนอ่ื ยเปลา ๕๙

กามคุณในปจจุบนั ๗๘ การกระทําทส่ี มควรแกตน ๑๖๔

กามคณุ ในอนาคต ๗๘ การกลาวถอยคาํ แกง แยง กัน ๒๘๔

กามคณุ หา อนั เปนทิพย ๔๑ การกน้ั จิตจากกามคุณในอดตี ๗๗

กามทเี่ ปนทพิ ย ๔๑/๓๘๐ การกา วลงสูค รรภ อาศยั ธาตุ ๒๗๐

กามท่ีเปน วสิ ัยอยา งมนุษย ๔๑/๓๘๐ การกําหนดรูกามสัญญา ๑๙๓

กามวิตก ๖๙ การเกิดของพระองค ๒๘๗
กามสุข ๔๐

www.buddhadasa.infoกามาสวะ ๑๐๙
การเกิดคร้ังนีเ้ ปนครั้งสดุ ทา ย ๑๑๔
การเกิดแหงวงศส ากยะ ๑๙

กายกไ็ มล าํ บาก ตากไ็ มล าํ บาก ๙๓ การเกยี ดกั้นกเิ ลสดวยตบะ ๑๓๔

กายกระสบั กระสา ย ๖๑ การขอรองของทา วมหาราช ๓๐๒

กายกับวา เทา กนั ๓๐ การคอยควบคมุ วิตก ๖๙

กายของตถาคต ๓๕๘ การควบคุมกายวาจา-คุมทอ ง-

กายของพระสมณโคดม ๓๒๘ - ในเรือ่ งอาหาร ๒๕๑

กายขางหนา ดุจราชสหี  ๓๐ การงานที่ยอ หยอน ๒๙๙

ปทานกุ รม ๓๙๙

การจดั สรรี ะของเจา จักรพรรดิ ๓๕๕ การนวดฟน ทไ่ี ดรับจากมาตุคาม ๑๓๕

การจบั ตวั ความขลาดความกลัว ๘๘ การนอนบนทน่ี อนสูงใหญ ๒๘๓

การจตุ ิจากดสุ ติ ๒๒ การนอนอยางคนบรโิ ภคกาม ๒๔๓

การชาํ ระจิต ๒๐๔/๒๐๙ การนอนอยางเปรต ๒๔๓

การเช้อื เชิญของพรหม ๑๖๔ การนออยา งสหี ะ ๒๔๔

การไดตามใจตัว ๓๙ การนอนอยา งตถาคต ๒๔๔

การไดฟ งพระสัทธรรม ๓๒๐ การนอนอยางราชสีห ๒๐๔

การไดเ หน็ พระอรหนั ต ๓๑๐ การนอนหลบั ๓๔๒

การไดอปุ ฏฐากพระสงฆ ๓๒๐ การนอนหลับกลางวนั ๒๗๖

การตรัสรู ๑๐๖ การนริ มติ บนั ดาล ๒๖๑

การตอบคาํ ถามบริสุทธิ์ ๑๒๘ การบรรพชา ๑๑/๔๔

การตตู ถาคต ๑๕๘ การบรโิ ภคสะสม ๒๘๒

การโตต อบกับเทวดา ๘๕ การบนั ลือสีหนาทของตถาคต ๑๙๑

การไถนา ๒๕๑ การบําเพญ็ ตบะ ๒๕๗

การทองเทยี่ ว ๒๖๖ การบาํ เรอไฟ ๓๖๗

การทําการงานทถ่ี กู ตอ ง ๑๑๐ การบีบบงั คบั ใจ ๓๗๑
การทํากิเลสใหแ หงดว ยวิธกี ารตาง ๆ ๕๖

www.buddhadasa.infoการทําลายเปลอื กไขค รัง้ แรก ๑๑๘
การบูชายัญญ ๒๕๘
การบูชาสงู สุด ๓๕๔

การทําลายเปลอื กไขครั้งทสี่ อง ๑๑๘ การประกอบความเพยี รทรมานตน ๑๐๙

การทําลายเปลือกไขค รัง้ ทสี่ าม ๑๑๘ การประกอบตนพัวพนั อยูใ นกาม ๑๐๙

การทาํ สัตวอ นื่ ใหพ ลอยทกุ ข ๒๕๘ การประกาศพระศาสนา ๑๘๗

การเทศนดงั่ ชที้ างแกค นหลง ๓๑๑ การประดับตกแตง รางกาย ๒๘๓

การเทศนด่ังปด ของท่ีปดไว ๓๑๑ การประสูติ ๒๖

การแทงตลอดอเนกธาตุ ๑๘๓

๔๐๐ พทุ ธประวัติจากพระโอษฐ

การปรากฏการไหวของแผนดิน ๒๔/ การรับเน้อื ดิบ ๒๘๒

๒๘/๑๑๓/๑๗๙/๓๔๗/๓๕๘ การรับหญงิ และเดก็ หญงิ ๒๘๒

การปรากฏของผทู ่ไี มมใี ครซํ้าสอง การรวู าเทวดานีม้ าจากไหน ๘๕

๘/๑๖๐ การลงนํ้าเวลาเย็นเปน ครั้งทส่ี าม ๕๖

การปรากฏของพระองค ๑๘๒ การลงสูครรภ ๒๔

การปรากฏแหง จักรพรรดริ าช ๒๗๓ การละเลน ๒๘๓

การปรากฏแหงพระตถาคต ๒๗๔ การลา งผลาญพชื คามภตู คาม ๕๖

การปรากฏแหงพระรัตนะท้งั เจ็ด ๒๗๔ การเลนชนดิ เปนขา ศึกแกกุศล ๒๘๒

การปรากฏแหงโพชฌงค ๒๗๔ การเลนเปนท่ตี ั้งความประมาท ๒๘๓

การปรนิ พิ พาน ๓๕๓ การเล้ยี งชพี บรสิ ุทธิ์ ๑๓๙

การปรนิ พิ พานในภพนั้น ๆ ๒๙๓ การสงเคราะหท งั้ สี่ ๓๖๘

การเปน ไปตามทํานองแหง ธรรม ๓๔๓ การสํารวมระวัง ๓๗๑

การเปลง เสยี งตลอดทกุ โลกธาตุ ๑๕๒ การแสดงไตรลักษณ ๒๘๗

การฝกเปนลาํ ดบั ๆ ๒๐๖ การแสดงธรรมบริสทุ ธิ์ ๑๒๘

การฝก มา ๒๐๒ การแสดงแบบครองชวี ิตแกโ ลก ๑๑

การพนัน ๒๘๓ การแสดงปฐมเทศนา ๑๗๔
การพยายามในเนกขัมมจติ ๙๔

www.buddhadasa.infoการพจิ ารณาจนหายมัวเมา ๓๙
การเห็นพระผมู พี ระภาคเจา ๓๒๐
การเหน็ อานสิ งสออกจากกาม ๗๑/๙๕

การพดู คุย ๓๔๒ การให ๓๗๑

การพูดจาท่ถี กู ตอ ง ๑๑๐ การฬมิ ภะ (อุบาสก ) ๓๔๕

การมีธรรมอยใู นโลก ๙ การอดอาหาร ๖๔

การเดนิ การยนื บนหนาม ๕๕ การอนุเคราะหแกช นชนั้ ลาง ๒๔๐

การรับใชเ ปนทูต ๒๘๒/๒๘๕ การอยูของพระอรหนั ต ๖๔

การรบั ท่นี าที่สวน ๒๘๒ การอยูใ นครรภ ๒๔

ปทานุกรม ๔๐๑

การอยูใ นหมูเทพช้นั ดุสติ ๒๑ กฏุ ทันตพราหมณ ๓๗๗

การออกจากทกุ ข ๘๑ กุมภัณฑ ๓๐๑

การออกผนวช ๔๕ กมุ ารผูอาจหาญ ๒๐

การอาชพี ท่ีถูกตอ ง ๑๑๐ กุสาวดี (ราชธาน)ี ๓๕๕/๓๗๖

การอาพาธในทางจิต ๙๕/๙๖/๙๗/ กสุ ินารา ๒๕๓/๓๕๑/๓๗๖

๙๘/๑๐๐/๑๐๑/๑๐๒/๑๐๓ กฏู าคารศาลา ๓๔๘

การอปุ บัติ ๓๖๗ เกวฏั ฏคหบดี ๑๕๓/๒๙๗

กาลามโคตร ๔๙/๑๗๒/๒๕๓ เกสกมั พล ๒๖๒

กาลิงค(แควน ) ๓๙๑ เกสี (คนฝก มา ) ๒๑๖

กา วเทา ขวากอน ๓๒๕ เกิดขึน้ เพื่อเก้อื กูลปวงชน ๑๐

กา วไป ๗ กาว ๒๗ เกิดในโลกแตค รอบงาํ โลก ๑๔

กาสี (เมอื ง) ๓๙/๑๗๓ เกยี ดกันทาน ๒๗๕

กาฬการาม ๑๓๒ เกียดกันพระอรหนั ต ๓๐๕

กาฬสิลา ๒๙๓ เกยี รตยิ ศของพราหมณช น้ั สงู ๓๒๑

กาฬบรรพ ๕๘/๖๔ เกยี รตศิ พั ทอ ันงามของพระโคดม ๓๒๓

กําเนดิ เดรจั ฉาน ๑๔๒ แกว ๗ ประการ ๒๙
กําเนิดการเลิกทํานา ๒๕๑

www.buddhadasa.infoกิจที่เคยทาํ แกเจดีย ๒๘๙
แกวไพฑรู ย ๒๕
โกกนทุ ะ (ปราสาท ) ๑๔

กิจไมควรทาํ ๓๗๘ โกญจะ (ปราสาท) ๑๔

กนิ กะเบาตําผง ๕๘ โกฏคิ าม (หมบู า น) ๓๔๔/๓๖๖

กิมพีละ (ภิกษ)ุ ๗๓ โกนาคมนพุทธะ ๓๐๓

‘กริ ยิ าไมม ี’ ๒๖๓ โกลิตะ (อัครสาวก ) ๑๔

กิเสลกาม ๖๐ โกศล (แควน) ๒๑/๒๑๔/๒๔๗/๓๓๔/

กิเลสอันยอมใจดุจนํ้าฝาด ๒๑๐ ๓๗๒

๔๐๒ พทุ ธประวตั จิ ากพระโอษฐ

โกสัมพี ๑๙๙ ขอปฏบิ ตั ิไปสูนรก ๑๔๙

ไกสุกร ๔๓ ขอ ปฏบิ ัตไิ ปสูนิพพาน ๑๕๐

ข ขอ ปฏิบัติไปสูเปรตวสิ ัย ๑๔๙

ขนขมุ ละเสน ๓๐ ขอ ปฏิบตั ไิ ปสูมนุษยโลก ๑๕๐

ขนตกราบ ๒๒๕ ขอปฏิบัติเพอ่ื ความเจรญิ แหง -

ขนมีรากเนาหลดุ ออกจากกาย ๕๙ -อทิ ธิบาท ๗๘

ขนานนามพระองคเ อง ๑๓ ขอปฏิบัติอนั เปนเสมอื นหนทาง ๑๑๐

ขบฟนดว ยฟน ๖๑ ‘ขอแม ’ สําหรับธรรมราชา ๒๕๙

ขอนา อศั จรรย ๘/๒๒/๒๘ ขอ สังเกตในพระผูมพี ระภาค ๓๓๐

ของเนาพอง ๒๙๑ ขัตติยบรษิ ัท ๒๖๕/๒๖๖

ขอความใหส นใจพุทธประวตั ิ ๗ ขตั ตยิ บัณฑติ ๓๑๖/๓๓๒

ขอทจี่ ะทําใหจติ แลนไปสูเนกขมั มะ ๑๐๓ ขานมุ ัตร (หมูบ าน) ๓๗๗

ขอ ทจ่ี ะทําใหจติ เลอ่ื มใสเนกขมั มะ ๑๐๓ ขา วปลายเกรยี นกบั นาํ้ สม ๓๙

ขอ ทจ่ี ะทําใหจ ติ ต้งั อยใู นเนกขมั มะ ๑๐๓ ขาวสาลเี จือดวยเนื้อ ๓๙

ขอ ทีจ่ ะทําใหจิตหลุดออกสเู นกขมั มะ ๑๐๓ ขา ศกึ ตวั รา ย ของผทู เ่ี ปนโลกจดั ๑๓๐

ขอทถ่ี กู หาวาทรงหลง ๒๗๖ ขา ศกึ ภายใน-ภายนอก ๓๒
ขอ ท่มี ิใชฐ านะจะมไี ด ๗

www.buddhadasa.infoขอเทาอยูสูง ๓๐
ขีณาสพ ๑๒๑
เขมา (อคั รสาวิกา) ๑๕

ขอ นิว้ ยาว ๓๐ เขา กนั สนิทดังนํา้ เจือกบั นมสด ๓๓๐

ขอปฏิบัติทต่ี ถาคตไดตรสั รู ๑๐๙ เขาวงก ๓๙๒

ขอปฏิบตั ิทที่ าํ ใหพน วเิ ศษสิ้นตัณหา ๒๘๗ เขาสมาธนิ ิ่งไมไ หวติง เปนนิสยั ๙๐

ขอ ปฏิบัตไิ ปสกู าํ เนิดเดรจั ฉาน ๑๔๙ เขยี้ วสีขาวงาม ๓๐

ขอ ปฏิบตั ิไปสูเทวโลก ๑๕๐ แขงดจุ เนอ้ื ทราย ๓๐

ปทานุกรม ๔๐๓

ค คนพูดบา นาํ้ ลาย ๘๗

คงคา (แมน าํ ) ๑๒/๑๓๙/๒๒๘ คนมกั เกลยี ด ๒๗๙

คติ ๑๔๙ คนมักมาก ๖๗/๑๗๕

คณกโมคคลั ลานะพราหมณ ๒๐๒/ คนมุง รายที่เขา เฝา ๓๓๒

๒๐๘/๓๑๒/๓๓๔ คนไมเปนรส ๒๗๘

คณะสงฆทชี มุ ชน่ื ผอ งใส ๓๓๑ คนไมม ที ี่ผุดท่ีเกิด ๒๘๐

คณะสงฆที่ประพฤตพิ รหมจรรย- คนไมหลง ๒๗๗

-ตลอดชีวิต ๓๒๙ คนไรโภคะ ๒๗๘

คณะสงฆท่พี รอ มเพรียง ๓๓๐ คนเล้ียงโคเพียงแตก ําเนิดฝงู โค ๗๒

คณะสงฆส าวกซ่ึงมีปาฏิหารย ๒๒๙ คนเลี้ยงโคตตี อนโคจากขา วกลา ๗๑

คนกลาวแตก ารไมท ํา ๒๗๙ คนหลง ๒๗๗

คนกลา วแตขาดสูญ ๒๗๙ คยาสีสะ (ตาํ บล) ๘๔/๑๗๓

คนของพระองค ๒๒๔ ครรภสิบเดอื นเตม็ ๒๖

คนคอยกําจดคณุ ของคนอ่ืน ๓๑๓ ครรภบริสทุ ธเ์ิ จด็ ช่ัวบรรพบรุ ษุ ๓๒๑

คนคะนองวาจา ๓๑๓ ครองเรอื น ๒๙ ป ๑๔

คนจงู คนใหเ ดินผิดทาง ๒๐๑ ครอบครองโลกธรรม ๒๙
คนท่พี ระโคดมคนดว ย ๓๓๕

www.buddhadasa.infoคนทพี ระโคคบไมค บดวย ๓๓๕
คร้งั กอ นแตก ารตรัสรู ๔๒/๖๗/๖๙
๗๓/๗๗/๗๘/๗๙/๘๑

คนทีย่ งั จดั เปน สัตวเ ลวทรามอยู ๔๑ ๘๔/๘๖/๘๙/๙๓/๙๔

คนธรรพ ๑๔/๓๒/๓๐๑ คฤหัสถผนู งุ ขาว ๑๐๖

คนนําไปทําใหพ ินาศ ๒๗๙ คล่ืน ๑๙๕

คนผูฝกชาง ๒๐๙ คงแหง ไมอัสสัตถะ ๑๕

คนผูร ักตน ๑๖๔ ควา ชน้ิ ไมเ ศษกระเบ้อื งกลืน ๒๓๑

คนเผาผลาญ ๒๗๙ ความกระสนั อยาก ๗๕

๔๐๔ พุทธประวัตจิ ากพระโอษฐ

ความกลวั อยา งอกศุ ล ๘๗ ความดบั สนทิ แหงสกั กายะ ๑๓๐

ความกาํ หนดหมายในภาวะตาง ๆ ๙๙ ความดับแหงปญญา ๖๙

ความกําหนดหมายในรูป ๙๙ ความดางพรอยของพรหมจรรย ๑๓๕

ความกาํ หนดหมายอารมณท ่ีขดั ใจ ๙๙ ความดาํ รทิ ถ่ี กู ตอ ง ๑๑๐

ความเกิดขึน้ แหง กองทุกขท ั้งสนิ้ ๘๓ ความดเี กดิ ขน้ึ ๑๐๐ เทา ๓๘๗

ความเกื้อกลู แกชนเปน อันมาก ๙ ความตง้ั ใจมนั่ ท่ีถูกตอง ๑๑๐

ความขลาด ๘๖ ความตง้ั ม่ันแหงพระสทั ธรรม ๑๙๔

ความคงท่ตี อ วิสยั โลก ๑๓๒ ความต้ังอยตู ามธรรมดา ๒๘๘

ความครุน คิดไปทางเหยา เรอื น ๙๓ ความต้งั อยไู มไ ดแหงกาม ๔๐

ความคลุกคลกี นั เปนหมู ๓๔๒ ความตายตัวของธรรม ๒๘๘

ความเคล้ิมและงวนงุน ๗๓ ความตนื่ เตน ๗๔

ความคะนองหยาบ ๗๔ ความทกุ ขรอ นของมหาชน ๔๕๙

ความคิดทเี่ ปนอกศุ ลลามก ๒๙๑ ความบรสิ ุทธิ์มีเพราะทองเที่ยว ๓๖๖

ความงาม-ความไมงาม ความบริสุทธม์ิ เี พราะการอุปบัติ ๓๖๗

-ไมอ าจหย่ังลงในที่ใด ๒๙๘ ความบรสิ ุทธม์ิ เี พราะภพท่อี ยู ๓๖๗

ความจรงิ ใดเม่อื รแู ลว กป็ ฏิบัติ ๑๔๖ ความบริสุทธ์เิ พราะอาหาร ๕๗
ความจริงอนั ประเสริฐ ๑๑๐/๒๓๗

www.buddhadasa.infoความจาํ เปนของสตั วบางพวก ๑๗๐
ความบนั เทงิ ตอ กนั และกนั ๒๔๐
ความเบากายกระปรก้ี ระเปรา ๒๔๒

ความเจรญิ แหงปญญา ๗๑ ความปรากฏแสงสวางใหญหลวง ๑๘๓

ความซูบผอมอยางย่ิง ๕๘ ความเปน คนลวงโลก ๒๙๙

ความเฉยี บแหลมของพระโคดม ๓๑๕ ความเปนธรรมชาติทีอ่ ารมณ-

ความดบั ไมม เี หลือของโลก ๒๙๗ -จะยุแหยยัว่ เยา ไมไดอ ีก ๓๙๖

ความดับไมมีเหลอื แหงกองทุกข ๘๔ ความเปนผูฉนั นอย ๒๔๓

ความดบั สนิทของกองทกุ ข ๒๐๑ ความเปน ผมู เี พ่อื นดี ๒๕๕

ปทานกุ รม ๔๐๕

ความเปนผูม ีมติ รดี ๒๕๕ ความมวั เมาในความเปน หนมุ ๓๙

ความเปน ผมู ีสหายดี ๒๕๕ ความมวั เมาในความไมมโี รค ๓๙

ความเปน มหาบรุ ุษ ๑๕๘ ความมัวเมาในชีวติ ๔๐

ความเปนสมณะที่ลบู คลําอยา งเลว ๒๙๙ ความมขี นชูชัน ๓๒๖

ความเปนหวงของพระองค ๒๒๗ ความมีขนอันตกราบแลว ๘๗

ความเปน อยสู ว นพระองค ๒๓๘ ความมีอาหารนอย ๕๘/๖๕

ความเผาผลาญกเิ ลส ๒๕๑ ความมอี าํ นาจเหนือจิต-

ความฝน คร้ังสําคัญ ๑๐๔ - ในคลองแหง วิตกทั้งหลาย ๑๓๑

ความพนเพราะสนิ้ ตัณหา ๒๘๖ ความไมต าย ๒๕๑

ความพรอมเพรยี งกัน ๒๔๐ ความไมถอยในความเพยี ร ๑๐๔

ความพากเพยี รที่ถูกตอ ง ๑๑๐ ความไมท าํ ไวในใจ ๗๓

ความเพง รูปจนเกินไป ๗๔ ความไมประมาท ๑๐๔/๓๕๘

ความเพียร ๑๐๔/๒๕๑ ความไมประมาทและสติ ๗๘

ความเพียรทปี่ รารภจัดเกินไป ๗๔ ความไมร จู ักพอในกศุ ล ๑๐๔

ความเพียรทีย่ อหยอ นเกินไป ๗๕ ความยาว - ความสน้ั ไมอาจหยัง่

ความเพียรนานถึง ๖ ป ๑๔/๕๙ - ลงในทใ่ี ด ๒๙๘
ความเพียรมปี ระมาณโดยยิ่ง-

www.buddhadasa.info-เปนท่ีหา ๘๙
ความยนิ ดีในพระนพิ พาน ๒๕๑
ความรอนกลาขนึ้ ทวั่ กาย ๖๓

ความเพยี รไมถอยหลัง ๑๐๔ ความรอนรึงอนั เกิดจากราคะ ๒๔๖

‘ความเพยี รไมมคี วามหมาย’ ๒๖๓ ความระมัดระวงั อยางยง่ิ ๑๘๙

ความมัน่ หมายซ่งึ นพิ พาน ๑๓๒ ความรําลึกท่ีถูกตอง ๑๑๐

ความมน่ั หมายโดยความเปนนิพพาน๑๓๒ ความรุมรอ นในวตั ถุกาม ๖๐

ความม่นั หมายในนพิ พาน ๑๓๒ ความรสู กึ ทท่ี ําใหออกผนวช ๔๒

ความม่นั หมายวา นพิ พานของเรา ๑๓๒ ความลงั เล ๗๓

๔๐๖ พุทธประวตั จิ ากพระโอษฐ

ความเลก็ - ความใหญไ มอาจหย่งั คหบดีบณั ฑิต ๒๑๖/๓๑๖/๓๓๒

- ลงในท่ใี ด? ๒๙๘ คหปติรตั นะ ๓๗๖

ความสมบรู ณด ว ยวชิ ชาจรณะ ๓๒๓ คอ กลมเกลี้ยง ๓๐

ความสจั จ ๒๕๑ คอยชาํ ระจิตจากนวิ รณ ๒๐๙

ความสะดงุ หวาดเสียว ๗๔ คัคครา (สระบวั ) ๑๙๕/๓๒๔

ความสขุ ๔๕/๑๓๐ คันไถ ๒๕๑

ความสขุ ของชนเปนอันมาก ๑๐ คนั ธาระ (แควน ) ๑๕๔

ความสขุ ของโลก ๙ คางดุจราชสีห ๓๐

ความสขุ ที่เวน จากกามและอกศุ ล ๖๖ คาถานา อศั จรรย ๕๗

ความสุขยง่ิ กวา มหาราช ๒๔๑ คําถามของทัณฑปาณสิ กั กะ ๒๙๒

ความสุขอยางเดียว- คาํ แทนชอ่ื ตถาคต ๑๙๐

- ตลอด ๗ วัน ๗ คืน ๒๔๑ คาํ ‘บริภาส’ ของพระองค ๑๙๒

ความใสใ จไปในสิ่งตา ง ๆ ๗๕ คาํ วาอาวุโส ๓๕๗

ความหนาย ๔๐ คําสอนของนคิ รนถนาฏบุตร ๒๙๔

ความเหน็ ทถ่ี กู ตอ ง ๑๑๐ คําสอนทปี่ ราศจากกง่ิ และใบ ๓๑๒

ความหลีกออกจากกาม ๙๔ คาํ สอนทเ่ี ปน แกน แทล ว น ๓๑๑
ความหว่นั ไหวโยกโคลงของกาย ๙๐

www.buddhadasa.infoความหวั่นไหวโยกโคลงของจิต ๙๐
คําสอนเปน อยางเดียวกนั หมด ๒๐๑
คําสจั จ ๑๔๖

ความองอาจ ๒๖๕ คําสาํ หรบั พูดสรรเสรญิ ตถาคต ๒๘๖

ความอยูเปนสุขทันตาเห็น ๒๔๐ คิชฌกฏู (ภูเขา) ๑๒๖/๒๑๔/๒๗๕

ความอยเู ปน สุขในทิฏฐธรรม ๒๑๕ ๒๘๙/๒๙๓/๒๙๕/๓๐๑/๓๘๒

ความอยสู งัดจากกาม ๙๔ คณุ ของการฉันวนั ละหน ๒๔๒

ความอรอ ยแหง กาม ท. ๔๐ คุณธรรมของพระองค ๑๓๓

คหบดีบริษทั ๒๖๕/๒๖๖ คุณเบอื้ งสงู ๒๙๙

ปทานุกรม ๔๐๗

คณุ วิเศษอันโอฬารในศาสนา ฆฏิการะ (ชางหมอ ) ๓๗๒

๓๓๑/๓๓๔ ฆราวาสเปนท่ีคบั แคบ ๑๑/๔๔/๒๐๗

คณุ วุฒิทจี่ ะนําไปสรรเสริญ - ฆา เวลาเปนวัน ๆ –

- ตถาคตไดอ ยางถกู ตรง ๑๔๐ - ดว ยสขุ อันเกิดจากปต ิ ๓๘๖

เคยผนวชในสํานักกสั สปพุทธะ ๓๗๔ โฆสิตาราม ๑๒๘

เคร่ืองดักปลา ๒๖๓ ง

เครอ่ื งดับความระหายในกาม ๑๙๓ งอนไถ ๒๕๑

เคร่อื งถอนเสียซ่ึงกามวิตก ๑๙๓ งานแรกนา ๖๖

เคร่ืองบม โพธญิ าณใหส ุก ๓๘๕ เงอ่ื นตน แหง พรหมจรรย ๒๐๐/

เครื่องปอ งกนั จิต ๗๘ ๒๑๓/๓๐๐

เครอ่ื งผูกรดั ท่ีมกี ําลงั ๒๒๕ แงทีเ่ ขากลา วหาพระองค ๒๗๘

เครอื่ งยังปติใหเกิด ๓๐๐ แงส าํ หรบั ขมอยางเปน ธรรม ๒๖๑/๒๖๒

เครื่องยนื ยันคุณธรรมพระโคดม ๓๑๖ จ

เครื่องระงบั แผดเผาของกาม ๑๙๓ จงกรมแกค วามขลาด ๘๘

เคร่ืองละกาม ๑๙๓ จงแสดงธรรมใหงดงาม ๑๘๘

โคตมะ ๑๔ จดเขาขา งขวาที่พน้ื ดิน ๑๖๔
โคตมกเจดยี  ๑๘๙/๓๐๔

www.buddhadasa.infoโคตมโคตร ๑๔/๑๕
จบพรหมจรรย ๑๙๖
จอมเขาหิมวนั ตเปน หมอน ๑๐๕

โคนสะเดาช่อื นเฬรุ ๒๗๘ จกั ขทุ ิพย ๑๐๘/๑๗๒

โครงเรอื น ๓๙๖ จกั ขนุ อ ย ๗๖

โคอยูในโรงวา งเงยี บตัวเดียว ๓๑๕ จักรของพระองค ๑๘๐

ใครทีป่ รากฏมไี ดย ากในโลก ๘ จกั รโดยธรรม ๑๖๑

ใครมอิ าจทว งติงตถาคตได ๑๒๖ จกั รที่ใครตา นใหหมุนกลบั ไมไ ด

ฆ ๑๖๑/๑๘๒/๒๓๑

ฆฏายสกั กะ ๒๓๘

๔๐๘ พทุ ธประวตั จิ ากพระโอษฐ

จักรทีม่ ธี รรมราชาเปน เจาของ ๑๘๑ จติ ออนเพลยี ๗๑

จกั รพรรดิผูประกอบในธรรม ๒๙/๑๘๑ จติ อันประกอบดว ยเมตตา ๑๔๘/๒๔๘

จักรพรรดิราช ๑๘๐/๒๓๒ จติ อนั ประกอบดว ยกรณุ า ๑๔๙/๒๔๘

จักษุ ๑๑๑/๑๔๕ จติ อนั ประกอบดว ยมุทิตา ๑๔๙/๒๔๘

จันทกมุ าร ๓๘๗ จติ อันประกอบดว ยอเุ บกขา ๑๔๙/๒๔๘

จบั นกกระจาบหนักมอื เกนิ ๗๔ จติ อันยง่ิ ๒๕๐

จับนกกระจาบหลวมมอื เกิน ๗๕ จวี รท่คี ลุมกายพระสมณโคดม ๓๒๘

‘จบั นกตายในมอื ๗๔ จตุ ิจากหมูเทพชนั้ ดุสิต ๒๒

จมั ปา (เมอื ง) ๑๙๕/๓๒๑/๓๒๔ จุตูปปาตญาณ ๑๐๘

จาตมุ หาราช ๒๙๗ จุนทะกมั มารบุตร ๓๕๑/๓๕๒

จาตมุ หาราชกิ บรษิ ัท ๒๖๕/๒๖๖ จนุ ทะสามเณร ๓๔๐

จาํ เราไวว าเปนพทุ ธะ ๑๔ จุลศีล ๒๘๒

จําแสงสวางไดเห็นรปู ไดด วย ๘๕ จฬู โพธ์ิ (โพธิสตั ว) ๓๙๔

จําแสงสวางได แตไ มเห็นรูป ๗๖ เจดยี ในเมอื งเวสาลี ๓๐๕

จาํ แสงสวา งไดนดิ เดยี ว- เจดียสถาน ๓๖๑

- เห็นรูปกน็ ดิ เดียว ๗๖ เจโตวิมตุ -ิ ปญญาวมิ ุติ ๙๐/๑๒๐/๑๒๗
จําแสงสวา งมากไมมีประมาณ-

www.buddhadasa.info- เห็นรปู ก็มากไมมปี ระมาณ ๗๖
/๑๓๑/๑๕๐/๑๕๙/๒๗๓
/๓๑๙

จิตตะ ( อบุ าสก) ๑๕ เจโตวมิ ตุ อิ ันไมกาํ เริบ ๒๗๕

จิตตสงั ขาร ๙๑ เจโตสมาธิที่ไมมนี ิมติ ๓๔๖

จิตไมม เี วรไมม พี ยาบาท ๑๔๘ เจริญเมตตาภาวนาตลอด ๗ ป ๓๗๑

จติ เวยี นมาสูวเิ วก ๓๒๖ เจอะพระโคดมแลว ไมมที างรอด ๓๑๓

จติ หา งจากสมาธิ ๗๑ เจา วชั ชี ๒๘๙

จิตเหมือนเน้ือ ๒๒๕ เจาหนมี้ าทวงแตเชาตรู ๒๔๕

ใจ ๒๕๑

ปทานุกรม ๔๐๙

ใจเปน ดจุ มฤค ๓๓๑ ชา งตระกูลอโุ บสถ ๓๗๖

ใจยงั ระคนดว ยกิเลสกาม ๖๐ ชา งท่นี ําออกจากปา แลว ๒๐๗

ฉ ชางทาํ รถ ๓๘๓

ฉันนะ (ภิกษ)ุ ๓๕๗ ชา งผปู ลกู เรือน ๓๙๖

ฉันใบหมากเมาตมเปลา ๆ ๓๘๖ ชาณสุ โสณีพราหมณ ๑๐/๘๖/๑๓๔/

ฉันเพยี งเพื่อใหกายนี้ตง้ั อยไู ด ๒๐๓ ๒๓๙/๓๑๕/๓๓๒

ฉนั อาหารหมดบาตร ๒๔๒ ชาติ ๘๒/๘๓

ฉมั ภติ ัตตะ(สะดงุ หวาดเสียว) ๗๔ ชาตสิ นิ้ แลว ๒๑๐/๒๗๘

ช ชาตสิ ุดทา ย ๖๘/๖๙/๗๗/๘๖/

ชนทั้งหลายยอมพอใจกามคุณ ๘ ๑๓๘/๑๕๗/๑๗๔

ชนท้งั หลายยอ มยินดใี นการถอื ตัว ๘ ชาตอิ ันดที ้ังสองฝา ย ๓๒๑

ชนท้ังหลายยอมบนั เทงิ ในความวาวนุ ชาลี (ลูกชาย) ๓๙๑

ไมส งบ ๙ ชาวโกศล ๓๓๔

ชนทั้งหลายยอ มบอดมดื ดว ยอวิชชา ๙ ชาวนา ๒๕๑

ชนบทตรงขา มภูเขาหมิ พานต ๒๑ ชาวนิคมยอ มเวยี นติดตาม -

ชรามรณะ ๘๑/๘๓ - ผูท เ่ี สพเสนาสนะสงัด ๒๓๙
ชองทางทใ่ี ครจะขันสพู ระองค ๓๑๔

www.buddhadasa.infoชอบฟงเสยี งของมาตคุ าม ๑๓๖
ชนิ ะ ๑๔
ชีวกะ (หมอ) ๑๒/๒๗๗

ชอบระลกึ เร่ืองเกา เก่ียวกบั มาตคุ าม ๑๓๖ ชชู ก (พราหมณ) ๓๙๒

ชัฏปา นา พงึ กลวั ๕๗ เชคจุ ฉิวตั ร ๕๖

ชฏั ปาเยือกเยน็ ๕๓ เชด็ อจุ จาระของตนดวยมือ ๕๔

ชมั พุคาม (หมบู า น) ๓๕๐ เชตวัน ๘/๑๐/๑๑/๑๕/๒๙/๔๒/๖๙/

ชา งควรทรงสาํ หรบั พระราชา ๒๐๖ ๘๖/๙๐/๑๔๔/๑๖๓/๒๐๑/๒๑๑

ชา ง โค มา ฬา ๔๓ ๒๑๓/๒๒๐/๒๒๗/๒๓๓/๒๓๙/

๔๑๐ พทุ ธประวตั ิจากพระโอษฐ

๒๔๑/๒๔๒/๒๕๕/๒๗๖/๒๙๕/ ฐานะท่จี ะมีได ๗

๒๙๙/๓๐๐/๓๖๘/๓๘๘ ฐานะลําบาก ๑๒๓

เชตุตดร (นคร) ๓๙๐ ฐานะสบิ ๓๑

เชือกชกั ๒๕๑ ด

โชตปิ าลมาณพ ๓๗๒ ดนตรีลว นแตสตรไี มมบี ุรุษ ๔๐

ฌ ดวงใจในโลก ๓๕๔

ฌานทพี่ ระอรยิ เจาวาเปน สขุ ๙๖ ดวงตา ๘๓/๘๔

ฌานทห่ี นง่ึ ๙๕/๑๐๖/๒๐๕ ดวงตาอันใหญห ลวงของโลก ๑๘๒

ฌานทส่ี อง ๙๖/๑๐๗/๒๐๕ ดาวดงึ ส ๔๑/๒๙๗

ฌานท่สี าม ๙๗/๑๐๗/๒๐๕ ดาวดึงสบริษัท ๒๖๕/๒๖๖

ฌานทสี่ ่ี ๙๘/๑๐๗/๒๐๕ ดาวทป่ี รากฏเงาในบอลึก ๕๘/๖๕

ฌานแนวแนชน้ั พเิ ศษ ๒๕๓ ดาํ รงจิตใหหยดุ อยภู ายใน ๗๑

ฌานสเ่ี ครื่องอยูเปนสุขในปจ จุบนั ๑๕๙ ดํารงอยูใ นหมูเทพช้ันดุสิต ๒๒

ฌานเอาการไมห ายใจเปน อารมณ ๖๒ ดินน้ําไฟลมไมหย่งั ลงในที่ใด ๒๙๘

ญ ด่ืมน้ําคัน้ จากผลกระเบา ๕๘

ญาณ ๘๓/๘๔/๑๑๑ ดุสิต (สวรรค) ๒๑
ญาณทัสสนะทีบ่ ริสทุ ธิย์ งิ่ ขนึ้ ๘๕

www.buddhadasa.infoญาณทสั สนะท่ีเปน ไปทบั ซง่ึ เทวดา ๘๖
ดูการเลน ๒๘๓
เด็ก ๆ รุมกนั ตอยกา มปู ๓๑๔

ญาณทัสสนะทบ่ี รสิ ุทธ์ิ ๑๒๙ เดก็ เลี้ยงโคซดั ฝนุ ใส ๕๗

ญาณทัสสนะเปน ขัน้ ๆ ๘๔ เดก็ เลยี้ งโคถา ยมตู รด ๕๗

ญาณทสั สนะ มปี รวิ ฏั ฏส าม ๑๑๒/๑๕๗ เดก็ เล้ียงโคโหรองใสหู ๕๗

ญาณทัสสนะมอี าการสบิ สอง ๑๑๒/๑๕๗ เด็กเลย้ี งโคเอาไมทิม่ หู ๕๗

ญาณ และทสั สนะ ๑๓๘

ญาณ และเถรวาท ๕๐

ญาณธรรม ๒๐๙



ฐานะชนชาติพราหมณ ๑๔๘

ปทานกุ รม ๔๑๑

เดรจั ฉานกถา ๒๘๔ ตปสุ สะคหบดี ๙๔

เดรัจฉานวิชชา ๒๘๕ ตโปชิคุจฉาฉวาที ๑๓๔

เดนิ ไดเ หนอื นํา้ เหมอื นเดินบนดนิ ๘๙ ตรสั เลาโดยผา นพระอานนท ๒๑

เดินบนหนาม ๕๕ ตรึกตามตรองตามนานเกนิ ไปนัก ๗๑

เดนิ บนอุจจาระกองเทาภูเขา ๑๐๕ ตรึกเนกขมั มมาก-

เดียรถีย ๓๒๐ - ก็เปน อนั วา ละกามวิตก ๗๒

เดียรถยี อ ่นื ๒๕๖/๒๕๙ ตรกึ อพั ยาปาทมาก-

แดนสากยะ ๒๑ - เปนอันวาละพยาบาทวิตก ๗๒

แดนอนั เปนทเี่ กษมจากโยคะ ๒๕๑ ตรึกอวิหงิ สามาก

ต - ก็เปน อนั วา ละวิหงิ สาวิตก ๗๒

ตถาคต ๑๐/๑๕๕ ตรึกในการทําสตั วใ หล าํ บาก ๗๐

ตถาคตเกดิ ขึ้นแลว ในโลก ๑๑ ตลอดฤดูฝนไมล งจากปราสาท ๓๙

ตถาคตปรารถนากพ็ งึ อยไู ดกัปป ตลอดเวลาทไี่ มเชอื่ วา ไดต รัสรู ๖๗/๖๘/

หนึง่ ๑๕๒ ๘๐/๘๖/๑๑๒/๑๓๘/๑๕๖/๑๕๗

ตถาคตเปด ประตไู วเพ่ือสตั ว ๑๓ ตัณหา ๘๓/๘๓

ตถาคตพลญาณ ๑๑๙ ตวั เนาพองสง กล่ิน ๒๙๑
ตน งาในไรย ับเยนิ ๒๔๕

www.buddhadasa.infoตน ไทรท่พี กั รอ นของเด็กเลย้ี งแพะ-
ตัวอยางแหง ความสขุ ๒๔๔
ตาเขียวสนทิ ๓๑

๑๖๓/๑๖๕/๑๖๖/๑๗๑ ตาดจุ ตาวัว ๓๑

ตนโพธิ์ ๑๕ ตายนคาถา ๓๐๐

ตนสาละใหญ ๓๑๑ ตายนเทพบุตร ๒๙๙

ตนเหตทุ ่ใี หเกดิ ทฏิ ฐติ า ง ๆ ขน้ึ ๑๔๐ ตายเปลา ๒๑๑

ตปสลี วตั ร (วัตรยา งกิเลส) ๕๔ ตายไปอยา งไดรบั การฝก แลว ๒๑๑

ตปสสี ๒๘๐ ตายแลว ท้ังทย่ี ังฝก ไมเ สร็จ ๒๑๐

๔๑๒ พุทธประวัติจากพระโอษฐ

ตําหนิยญั ญ ๒๕๘ เถระผูแกจริง ๑๖๕

ตําแหนงจอมโลก ๑๑๙/๑๒๑ เถระผบู ัณฑติ ๑๖๖

ตเิ ตียนตบะ ๒๕๗ เถระผูพ าล ๑๖๕

ตสิ หัสสี มหาสหสั สีโลกธาตุ ๑๕๒ เถากาฬบรรพ ๕๘/๖๔

ตุฏฐะ (อุบาสก) ๓๔๕ เถาวัฏฏนาวฬี ๔๘/๖๔

เตียงปรนิ ิพพาน ๓๕๓ เถาวัลยอ าสตี ิกบรรพ ๕๘/๖๔

แตะหนาผากดว ยน้วิ สามนิ้ว ๒๙๓ ท

ไตรทพิ ย ๓๘๖ ทมะ ๓๗๑

ไตรลกั ษณ ๒๘๗ ทรงกลบั พระทยั ๖๕

โตวาทะกับเสา ๒๖๕ ทรงเคยประพฤตวิ ตั รสวนสุดขางตงึ ๕๙

ถ ทรงฉนั ภัตตาหารในหมูบาน ๓๒๖

ถาเปน ฆราวาสจะเปนจักพรรดิ ๒๙ ทรงไดร ับการบาํ เรอ ๓๗

ถามกลับ ๒๔๑ ทรงตริตรึกเพ่ือตรัสรู ๖๗

ถาออกบวชยอมเปนสัมมาสัมพุทธะ ๒๙ ทรงทอ พระทัยในการแสดงธรรม ๑๖๖

ถนี มิทธะ ๗๓/๒๐๔/๒๐๙ ทรงเทย่ี วแสวง ๖๘

ถอื บิณฑบาตเปนวตั ร ๒๓๕ ทรงสอนเฉพาะเรอื่ งทกุ ข ๒๐๑
ถอื ผา บังสกลุ เปนวัตร ๒๓๕

www.buddhadasa.infoถอื อยูโ คนไมเปนวตั ร ๒๓๕
ทรงเสพเสนาสนะปา เรอ่ื ยไป ๒๓๙
ทรงทรมานพระองค ๔๙

ถืออยปู าเปนวตั ร ๒๓๕ ทรวดทรงดุจตน ไทร ๓๐

ถอื เอาโดยนิมิต ๒๐๓/๒๐๗ ทรวดทรงเหมือนมหาพรหม ๓๒๒

ถอื เอาโดยอนพุ ยญั ชนะ ๒๐๓/๒๐๗ ทรัพยข องคน ๒๒๐

ถูกตณั หาในกามเคี้ยวกนิ อยู ๔๑ ทรพั ยข องตถาคต ๓๕

ถกู ทิฏฐคิ รอบทบั ดงั่ ปลาในอวน ๑๔๓ ทวิสหสั สมี ชั ฌมิ กิ าโลกธาตุ ๑๕๒

เถรวาท ๕๐ ทศพลญาณ ๑๑๙

ปทานกุ รม ๔๑๓

ทองและเงิน ๔๓ ทําท่ีแจง ใหเ ปนท่ีกาํ บงั ๘๙

ทอ ธารน้าํ สองทอ จากอากาศ ๒๗ ทาํ วิตกทั้งหลายใหเ ปน สองสวน ๖๙

ทกั ขิณาครี ีชนบท ๒๕๐ ทาํ ใหเ หมอื นตาลหนอ เนา ๒๘๐

ทกั ขเิ นยยบุคคล ๒๑๐ ทาํ อยา งไร กลาวอยางนนั้ ๒๐๑

ทณั ฑปานสิ ักกะ ๒๙๒ ทฏิ ฐิธัมมนพิ พานวาท ๑๔๓

ทางไปสกู ําเนิดเดรจั ฉาน ๑๔๙ ทฏิ ฐานุคติ ๓๖๘

ทางไปสเู ทวโลก ๑๕๐ ทฏิ ฐิทเี่ ปนเสย้ี นหนามยักไปยักมา ๓๑๔

ทางไปสนู รก ๑๔๙ ทฏิ ฐิลามก ๓๐๕

ทางไปสูนิพพาน ๑๕๐ ทิฏฐสิ บิ ประการ ๒๑๑

ทางไปสูเปรตวิสยั ๑๔๙ ทิฏฐิหกสบิ สอง ๑๔๐

ทางไปสูมนุษยโ ลก ๑๕๐ ทม่ิ แทงกันดว ยหอกปาก ๒๔๐

ทางเพอ่ื อยูรว มกับพรหม ท. ๑๔๙ ทิวาวหิ าร ๓๔๖

ทางมาแหงธุลี ๑๑/๔๔/๒๐๗ ทิศทผี่ าสุกแกพระองค ๒๔๐

ทางสายกลาง ๑๐๙ ทจี่ งกรมทิพย ๒๔๗

ทางแหงความสําเรจ็ ๙๔ ท่ีจงกรมพรหม ๒๔๘

ทางใหถงึ ความดับไมมเี หลอื ๒๙๗ ที่จงกรมอรยิ ะ ๒๔๙
ทานทเี่ คยให ๒๘๙

www.buddhadasa.infoทานท่ใี หแ กผ ทู ศุ ีล ๒๗๖
ทซี่ ึ่งไปถึงแลว ยอ มไมเ ศราโศก ๒๕๑
ที่ทม่ี ารไปไมถึง ๑๓๙

ทานทีใ่ หแกผ ูมีศลี ๒๗๖ ที่ทม่ี ฤตยูไปไมถึง ๑๓๙

ทานวบิ าก ๓๗๑ ท่ที ่ีสมควรตัง้ ความเพยี รของกลุ บตุ ร ๕๔

ทา วมหาพรหม ๒๙๗ ทีเ่ ทีย่ วของจติ ๒๗๐

ทาวสกั กะจอมเทพ ๒๘๖/๒๙๗ ท่ีนอกบรเิ วณชั่วแอกออกไป ๓๒๕

ทาสหญิง ทาสชาย ๔๓ ทน่ี อนเกล่ือนไปดวยตวั สัตวเ ล็ก ๆ ๒๔๕

ทําทก่ี าํ บงั ใหเปนทีแ่ จง ๘๙ ท่ีนอนทพิ ย ๒๔๗

๔๑๔ พทุ ธประวตั ิจากพระโอษฐ

ที่นอนพรหม ๒๔๘ เทวดาแลมนษุ ยมรี ูปเปนทย่ี นิ ดี ๑๒๙

ทนี่ อนอริยะ ๒๔๙ เทวดายอมเขา รับกอน ๒๖

ทน่ี ่งั นอนสงู ใหญอ นั เปนทพิ ย ๒๔๗ เทวทัต ๒๗๕/๒๙๒

ทน่ี ั่งนอนสูงใหญอนั เปน พรหม ๒๔๘ เทวทตู ๓๘๐

ที่นง่ั นอนสูงใหญอ นั เปน อรยิ ะ ๒๔๙ เทา อูฐ ๖๔

ท่ปี ระทับน่ังนอนของพระองค ๒๔๗ เที่ยวทาํ ลายความเห็นเขาอื่น -

ท่พี ึง่ สาํ หรับพระองคเ อง ๑๖๓ - ดวยปญ ญาตน ๒๕๗/๓๑๖/๓๓๒

ทีย่ ืนอนั เปน ทิพย ๒๔๗ โทณพราหมณ ๑๓

ท่ยี ืนพรหม ๒๔๘ โทมนสั ๒๐๓/๒๐๗

ทยี่ ืนอริยะ ๒๔๙ โทษการแสดงอาเทศนาปาฏหิ ารยิ  ๑๕๔

ที่สดุ โลก ๒๙๖/๒๙๗ โทษการแสดงอิทธิปาฏหิ าริย ๑๕๔

ท่ีสดุ แหง การทอ งเท่ียว ๓๙๕ โทษของรูป ๘๐/๘๑

ทุกข ๑๐๘ โทษของศลี วิบัติ ๓๔๓

ทุกขน ้ใี ครทําให ๒๙๐ โทษในโลก ๖๗/๖๘

ทุกขเวทนาอันกลา แข็งแสบเผ็ด ๖๕ โทษอนั ตาํ่ ทรามแหงกาม ท. ๔๐

ทุกขอาศยั เหตปุ จ จัยเกิดขึน้ ๒๙๑ โทสะ ๒๔๙
ทุกรกรยิ า ๖๑

www.buddhadasa.infoทุฏุลละ (คะนองหยาบ) ๗๔


ธรรมของตถาคตมลี กั ษณะสี่ ๘

ทมุ มขุ ลิจฉวี ๓๑๔ ธรรมของตถาคตไมใหข องเกยี่ วกบั กาม ๘

เทนา้ํ ลางหมอลงหลมุ นา้ํ ครํา ๒๗๖ ธรรมของตถาคตกําจัดการถือตัว ๘

เทพ ๑๔๙ ธรรมของตถาคตเปนไปเพ่อื สงบ ๙

เทพชนั้ ดุสิต ๒๑ ธรรมของตถาคตกําจดั อวชิ ชา ๙

เทพบตุ รผเู คยเปน เจา ลัทธเิ ดียรถยี  ๒๙๙ ธรรมของพวกสมณะสากยบุตร ๑๒๒

เทพพวกพรหมกายกิ า ๒๙๗

ปทานุกรม ๔๑๕

ธรรมเครือ่ งอยเู ปนสขุ - ธรรมท่แี สดงแลว-

- ในภพปจจบุ ัน ๓๑๙ ไมมีใครขม ขไี่ ด ๒๖๙/๒๗๒

ธรรมจกั ร ๑๔/๑๗๔/๑๗๘/๒๓๑ ธรรมเทศนาของพระผมู ีพระภาค ๓๐๒

ธรรมจักรไมม จี ักรอน่ื ย่งิ กวา ๑๖๒/๑๘๑ ธรรมเทศนาดจุ จดุ ไวใ นที่มืด ๓๑๑

ธรรมชาติทอ่ี ารมณย วั่ ไมไ ด ๓๙๖ ธรรมเทศนาดจุ บอกแกค นหลงทาง ๓๑๑

ธรรมดาของคนท่ไี มเ ชื่อไมเลือ่ มใส ๑๕๔ ธรรมเทศนาดุจเปดของทป่ี ดไว ๓๑๑

ธรรมดาของพระพทุ ธเจาทั้งหลาย ๑๖๔ ธรรมเทศนาดจุ หงายของทคี่ ว่ํา ๓๑๑

ธรรมทงั้ หลายทง้ั ปวงเปน อนัตตา ๒๘๘ ธรรมธาตุ ๒๑๖

ธรรมทายาท ๒๒๗ ธรรมบท ๒๖๗

ธรรมท่เี กษมจากเครอื่ งรอยรัด ๔๔ ธรรมประเทศ ๓๕๖

ธรรมท่ตี ถาคตแสดง ๑๒ ธรรมปราสาท ๓๗๖

ธรรมท่ที รงรบั รอง ๒๖๗ ธรรมเปนเคร่ืองตื่น ๒๐๓/๒๐๔

ธรรมที่ทรงแสดง ๒๖๙ ธรรมเปน ทีส่ งบระงับของสงั ขาร ๑๖๗

ธรรมทท่ี ําใหค นเปน เถระ ๑๖๕ ธรรมเปน ธงชยั ๑๖๒

ธรรมท่ปี ระกาศไวโ ดยพระสุคต ๑๒ ธรรมเปน ไปเพ่ือดับเย็นสนิท ๑๒

ธรรมทเ่ี ปนไปเพ่อื ความไมเ ลือ่ มใส ๒๘๙ ธรรมเปน ไปเพอ่ื สงบรํางบั ๙/๑๒
ธรรมที่มขี น้ึ มาเพราะตถาคต ๘

www.buddhadasa.infoธรรมทไ่ี มเกิด ๑๗๗
ธรรมเปน ไปเพอื่ รูครบถว น ๑๒
ธรรมเปน ไปในทางจติ ชน้ั สูง ๑๕๙/๓๑๙

ธรรมที่ไมม คี วามชรา ๑๗๗ ธรรมเพือ่ ความรํางบั , ดบั , รู ๑๒

ธรรมท่ีไมม คี วามเจ็บไข ๑๗๘ ธรรมท่ีไมท าํ ความคบั แคน ๑๔๔

ธรรมทีไ่ มต าย ๑๗๘ ธรรมไมท ําความแหงผากในใจ ๑๔๔

ธรรมท่ีไมมคี วามเศรา หมอง ๑๗๘ ธรรมไมบรสิ ทุ ธ์ิ ๑๖๘

ธรรมที่ลึก สัตวอ ืน่ เห็นไดยาก ๑๔๐ ธรรมไมเปนขา ศกึ ๑๔๔

ธรรมไมเ ปนที่เที่ยวของความตรกึ ๒๘๖

๔๑๖ พุทธประวตั ิจากพระโอษฐ

ธรรมไมม ัวหมอง ๒๖๙/๒๗๒ นอนในปา ชา ทบั กระดกู ทรากศพ ๕๗

ธรรมราชา ๑๖๑/๑๘๒/๒๓๑/๓๐๐ นอนบนท่นี อนทาํ ดวยหนาม ๕๖

ธรรมราชาทเี คารพธรรม ๑๖๒ นอนหงาย ๒๔๓

ธรรมละเอยี ด ๒๘๖ นฬกะ (หมูบาน) ๒๑๔

ธรรมวินยั เปนองคศ าสดาแทน ๓๕๖ นกั จาริกแสวงบุญ ๔๕

ธรรมสีหนาท ๑๒๕ นักบวชเปลอื ย ๓๐๓

ธรรมสหี นาททีท่ าํ เทวโลกสะเทือน ๑๒๔ นกั บวชอวดดี ๓๓๕

ธรรมอนั ยง่ิ ของมนุษย ๖๕ นักลา ชา งผูฉลาด ๓๑๖

ธรรมอันใหถ งึ ทีท่ วนกระแส ๑๖๗ น่งั แกค วามขลาด ๘๘

ธัมมจักกัปปวตั ตนสตู ร ๑๗๗ นันทมาตา(อัครอุปฏ ฐายิกา) ๑๕

ธาตุ ๒๖๙ นนั ทวนั (สวนสวรรค) ๔๑

ธุระในวิเวก ๓๓๕ นนั ทา(ภิกษุณี) ๓๔๔

ธลุ เี กรอะกรงั ทก่ี ายเปน ป ๆ ๕๖ นันทิยะ(ภกิ ษุ) ๗๓

น นา ๒๕๑

‘นกตายในมอื ’ ๗๗ นาค ๓๒/๓๐๑

นกทั้งหลายกลายเปน สขี าวหมด ๑๐๕ นางอัปสร ๔๑
นกสาํ หรับคนหาฝง ๒๙๘

www.buddhadasa.info‘นกหลุดมอื บินไป’ ๗๕
นาทกิ (หมูบา น) ๓๔๔
นาท่ีมีอมตะเปนผล ๒๕๐

นรก ๑๔๙ นานัตตสัญญา (ใสใจไปตา ง ๆ )

นวกรรม ๓๔๑ ๗๕/๙๙

นอนแกความขลาด ๘๘ นาบุญ ๒๑๐

นอนชบู ุตรใหฟ อนอยบู นอก ๓๗๘ นามพระองคเอง ๑๓

นอนตะแคงโดยขางขวา ๒๔๔ นามรปู ๘๑/๘๓/๒๗๐

นอนตะแคงโดยขา งซา ย ๒๔๓ นามรปู ดับสนิทในท่ใี ด? ๒๙๘

ปทานกุ รม ๔๑๗

นายชา งปลกู เรอื น ๓๙๕ เนกขมั มวติ ก ๗๑

นาลนั ทา (เมอื ง) ๒๘๐/๒๙๗ เนกขัมมะ (หลกี ออกจากกาม) ๙๔

/๓๔๒/๓๕๘ เนรัญชรา ๑๖๓/๑๖๕/๑๖๖/๑๗๐

นา้ํ กับนํา้ นม ๒๔๐ เนวสัญญานาสญั ญายตนะ ๕๒/๑๐๒

น้าํ ลางบาตร ๓๒๗ เนวสัญญานาสัญญายตนภพ ๕๓

นาํ้ วน ๑๙๕ เนวสญั ญนี าสญั ญีวาท ๑๔๒

น้ําอภิชฌาโทมนัสโลกออกได ๒๐๙ เนอ้ื ท่ีเขาทาํ อทุ ศิ เฉพาะ ๒๗๗

นกิ ฏะ (อบุ าสก) ๓๔๕ เน้ือท่ไี มควรบริโภค ๒๗๗

นคิ รนถ ๒๔๑ เนอื้ นนู หนาในที่ ๗ แหง ๓๐

นิครนถนาถบตุ ร ๒๙๓ แนวการสอนทเี่ ปนปาฏหิ าริย ๑๕๔

นิโครธะ (ปริพพาชก) ๑๒๖/๑๙๖/๒๑๔ บ

นโิ ครธาราม ๔๒/๒๓๘/๒๔๐/๒๙๒/๒๙๓ บรรพชาทร่ี บั ถือไวหลวม ๆ ๒๙๙

นจิ จทาน ๒๕๙ บรรพชาเปน ที่โปรง โลงอนั ย่ิง ๒๐๗

นปิ ปต กิ ฌาน (ฌานท่ี ๓) ๙๗ บรรลุ ณ ควงไมอสั สตั ถะ ๑๕

นิพพาน ๔๔/๑๓๑ บรรลยุ ามแรกแหง ราตรี ๑๐๗

นมิ ติ ทั้งส่ี ๑๔ บรรลุยามกลางแหง ราตรี ๑๐๘
นุง หม กะทดั รดั ๓๒๘

www.buddhadasa.infoนุงหมปกนกเคา ๕๕
บรรลุยามปลายแหง ราตรี ๑๐๙
บรโิ ภคดว ยความเห็นโทษ ๑๐๖

นงุ หมผากัมพลผมคน ๕๕ บริวารของตถาคต ๓๒

นุง หมแผน กระดานกรอง ๕๕ บริษัทนานาชนดิ ๓๑๙

นุงหมแผน ปอกรอง ๕๕ บริษัทสมาคมแปดชนิด ๒๖๕/๒๖๖

นงุ หมแผนหญา คากรอง ๕๕ บรสิ ุทธ์ิเพราะอาหาร ๕๘

นุงหม หนังเสือทัง้ เลบ็ ๕๕ บรสิ ทุ ธิ์เหมอื นสงั ขทข่ี ดั ดแี ลว ๑๑

บวงที่เปนของทิพย ๑๘๗

บว งที่เปน ของมนุษย ๑๘๗


Click to View FlipBook Version