The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by marocktoktak29, 2022-04-12 04:11:21

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

นางสาวศศิรัศมิ์ สายราช

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เทคโนโลยี วทิ ยาการคำนวณ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 การใช้งานเทคโนโลยีอยา่ งปลอดภัย
จำนวน 4 ชั่วโมง
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 1 อุปกรณเ์ ทคโนโลยีในชีวิตประจำวนัเวลาเรยี น 2 ช่วั โมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาทีพ่ บในชวี ติ จริงอย่างเป็นขั้นตอน

และเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หา

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ รู้เทา่ ทนั และมีจริยธรรม

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
รูจ้ ักอุปกรณ์เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน และวิธีการใช้งาน เขา้ ใจข้อปฏิบัติในการใช้งานและการดแู ลรักษา

อุปกรณ์ การใช้งานเทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสม การใชเ้ ทคโนโลยี AI ในชวี ิตประจำวนั

3. ตัวช้ีวัด/จุดประสงค์การเรียนรู้
ตวั ชี้วัด
ว 4.2 ป.1/4 ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ขอ้ มูลตามวตั ถปุ ระสงค์
ว 4.2 ป.1/5 ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบตั ติ ามข้อตกลงในการใชค้ อมพิวเตอร์
ร่วมกันดูแลรกั ษาอปุ กรณ์เบ้ืองตน้ ใช้งานอย่างเหมาะสม
จดุ ประสงค์
1. อธบิ ายไดว้ า่ เทคโนโลยี AI คืออะไร (K)
2. ใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยใี นชวี ติ ประจำวันได้ (P)
3. เหน็ ประโยชนข์ องการใชง้ านอยา่ งเหมาะสม (A)

4. สาระการเรยี นรู้
1. การใชง้ านอปุ กรณ์เทคโนโลยีเบือ้ งตน้ เชน่ การใชเ้ มาส์ คีย์บอรด์ จอสัมผสั การเปดิ -ปิด

อุปกรณ์เทคโนโลยี
2. ขอ้ ปฏบิ ัตใิ นการใชง้ านและการดูแลรักษาอุปกรณ์ เชน่ ไมข่ ีดเขียนบนอุปกรณ์ ทำความสะอาด

อุปกรณ์ ใช้อปุ กรณอ์ ย่างถูกวิธี
3. การใช้งานอย่างเหมาะสม เช่น จดั ท่านง่ั ให้ถกู ต้อง การพักสายตาเมื่อใช้อปุ กรณ์เปน็ เวลานาน

ระมดั ระวงั อุบตั เิ หตุจากการใช้งาน

5. สมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
ทักษะการส่ือสาร
2.ความสามารถในการคิด
ทกั ษะความคดิ สร้างสรรค์
ทกั ษะการคดิ อย่างเปน็ ระบบ
ทกั ษะการคิดวิเคราะห์
3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
ทกั ษะการทำงานร่วมกัน

6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี ินยั
2. ใฝ่เรยี นรู้
3. ม่งุ มนั่ ในการทำงาน

7. ภาระงาน
ใบงานท่ี 1.1 อปุ กรณเ์ ทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 1.2 ลายนว้ิ มือ

8. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
1. วิธกี ารสอนแบบสรา้ งสรรค์เปน็ ฐาน (Creativity-Based Learning : CBL)
2. วิธกี ารสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5 ขนั้ ตอน (The 5 E’s of Inquiry-Based Learning)

ชั่วโมงท่ี 1

ข้นั นำเขา้ ส่บู ทเรียน

1. ผสู้ อนทบทวนความรูเ้ ดมิ ของผู้เรยี นด้วยการสอบถามคำถามชวนคดิ งา่ ยๆ เพือ่ เป็นการประเมินความรู้
เดมิ ของผูเ้ รยี น และเพื่อกระตุ้นใหผ้ เู้ รียนเกิดความอยากรู้ เชน่ “เดก็ ๆคดิ วา่ เทคโนโลยคี ืออะไร แล้วเด็กๆเคยใช้
เทคโนโลยอี ะไรในชวี ิตประจำวนั บ้าง?”

ขั้นสอน

2. ผสู้ อนตั้งปญั หาใหเ้ ด็กๆเชน่ “เดก็ ๆคิดว่า ในสมัยก่อนคนส่อื สารกนั อย่างไร ในปจั จุบันคนสอื่ สารกนั
อย่างไร และเดก็ ๆคิดวา่ ในอนาคตการสื่อสารถึงกนั จะเปน็ อย่างไร”

3. ผสู้ อนเปดิ คลิปวดี ีโอ เทคโนโลยีในชวี ิตประจำวนั
จากลิงค์ https://www.youtube.com/watch?v=ptRt1etCPSw&t=4s

4. ผสู้ อนกระตุ้นผเู้ รยี นดว้ ยคำถามหลงั จบคลิปวดี โี อ วา่ ในปจั จบุ นั เด็กๆใช้ในเทคโนโลยใี นชวี ิตประจำวัน
เช่น โทรศัพทม์ ือถือ หรือ สมาร์ทโฟน ให้เดก็ ๆลองสำรวจตัวเอง ว่าเดก็ ๆใชส้ มาร์ทโฟน เพือ่ การศึกษาหาความรู้
หรือ เพื่อความบันเทงิ ?

5. ผู้สอนแนะนำเพ่ิมเตมิ วา่ ปจั จบุ ันเด็กๆส่วนใหญ่ใช้สมารท์ โฟน เพื่อความบันเทงิ เชน่ เล่นเกม
ดูยทู ูป จากคลิปวีดโี อเด็กๆก็ได้รแู้ ลว้ ว่า นอกจากใชเ้ พ่ือความบนั เทิง ยังใชเ้ พอ่ื คน้ ควา้ หาความรไู้ ด้อีก
เดก็ ๆอยากร้เู ร่ืองอะไร? ลองกลับไปบอกให้ผ้ปู กครองเปิดให้ดู และนำกลับมาเล่าใหเ้ พื่อนๆฟงั

6. ผู้สอนอธบิ ายวิวัฒนาการ ของเทคโนโลยี วา่ มีวิวฒั นาการอย่างไร จากคลิปวีดีโอ เดก็ ๆจะเห็นวา่
การสอื่ สารมวี วิ ฒั นาการ จากคนในสมัยโบราณสือ่ สารกนั ด้วยนกพิราบ และพัฒนามาจนเป็นการสง่ จดหมาย
และ พฒั นาต่อมาจนเปน็ โทรศัพท์ และกลายมาเป็น สมาร์ทโฟนในทส่ี ุด

7. ผูส้ อนแจกใบงานที่ 1.1 อุปกรณ์เทคโนโลยใี นชวี ิตประจำวนั ใหผ้ เู้ รียนพรอ้ มอธบิ ายการทำใบงาน
คอื การให้ผู้เรียนวาดภาพววิ ฒั นาการของส่งิ ของตา่ งๆรอบตัวตามจนิ ตนาการ ยกตวั อย่างเชน่ ไม้กวาด ได้ถูก
พฒั นาจนมาเปน็ เครอ่ื งดูดฝนุ่ และพฒั นาต่อเน่ือง จนเป็นเครอื่ งดูดฝุ่นอัจฉรยิ ะ สามารถส่ังงานได้ด้วยเสียง

8. ผู้สอนสุ่มผเู้ รียนออกมานำเสนอใบงาน พร้อมให้ผู้เรียนคนอนื่ ๆร่วมกันแสดงความคิดเห็น

รว่ มกนั พฒั นาและเสนอแนวคิดความเป็นไปได้ ผสู้ อนเสนอแนะแนวทางการพฒั นา

ข้นั สรุป

9. ผู้สอนสรุปใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจว่า แมว้ า่ เทคโนโลยีจะมีการพัฒนาอยา่ งไม่มีที่ส้นิ สดุ เพ่ืออำนวยความสะดวก
ให้กับมนษุ ย์ แต่เทคโนโลยีก็มขี อ้ เสียตามทีเ่ ดก็ ๆได้ดจู ากคลิปวีดีโอ เชน่ สญู เสยี เวลา และความสัมพันธ์กับคน
รอบตัว เสยี สขุ ภาพ เพราะฉะนั้น การใช้เทคโนโลยีอย่างพอดีและใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยใี ห้ไดม้ ากท่ีสุด จึงเปน็
ส่งิ ทจี่ ะทำใหเ้ ด็กๆกับเทคโนโลยี อยูร่ ว่ มกันได้อยา่ งมคี ุณภาพ และใชเ้ ทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

10. ผสู้ อนเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดซ้ กั ถามเพ่มิ เติม

ช่ัวโมงท่ี 2

ขั้นนำเข้าสบู่ ทเรยี น

1. ผสู้ อนทบทวนความรเู้ ดมิ จากช่ัวโมงทแ่ี ลว้ ว่า “อปุ กรณ์เทคโนโลยีในชีวิตประวนั มีอะไรบ้าง? และเด็กๆ
ใชป้ ระโยชน์จากอุปกรณ์เทคโนโลยใี นชวี ิตประจำวนั อยา่ งไร?”

2. ผู้สอนถามนำเพ่ือเขา้ สูบ่ ทเรยี นว่า “เด็กๆคิดว่าโลกในวนั ขา้ งหน้าจะเปลี่ยนไปแบบไหน และเด็กๆใน
ฐานะท่เี ป็นคนของโลกในอนาคตเด็กๆจะมสี ว่ นชว่ ยโลกน้ไี ด้อยา่ งไรบ้าง”

3. ผสู้ อนแจกใบความรู้ท่ี 1 โลกอัจฉริยะแห่งอนาคต

ขั้นสอน

4. ผูส้ อนอธบิ ายใบความรู้ท่ี 1 โลกอัจฉรยิ ะแหง่ อนาคต
“เทคโนโลยี ไดม้ กี ารเปล่ียนแปลงและพฒั นาอยตู่ ลอดเวลา และได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชวี ติ เรา
ความก้าวหน้าทางดา้ นเทคโนโลยีไดเ้ ขา้ มาเสริมปจั จยั พ้ืนฐานในการดำรงชีวติ ของมนุษย์ไดเ้ ปน็ อย่างดี
เพราะมนษุ ย์ได้ใชเ้ ทคโนโลยีในการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมใหมๆ่ เพื่อรองรับวถิ ีชวี ิตของผคู้ นในสงั คม
และอำนวยความสะดวก ตลอดจนเสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชีวติ ให้ดขี น้ึ โดยมนุษย์ยังไดพ้ ฒั นาเทคโนโลยใี หมๆ่ ไปเร่ือยๆ
อย่างไมห่ ยดุ ยง้ั และในปัจจุบันได้มีการใชเ้ ทคโนโลยี AI ในการอำนวยความสะดวกให้กับมนษุ ย์

AI ยอ่ มาจาก Artificial Intelligence ปญั ญาประดษิ ฐ์ คือ ระบบประมวลผล ท่ีมีการวเิ คราะห์เชิงลึก
คลา้ ยความฉลาดของมนุษย์ สามารถก่อใหเ้ กดิ ผลลพั ธท์ ี่เป็นการกระทำได้ เช่น การแปลภาษา
เกิดจากการประมวลผล จากข้อความรับเข้า แล้วแปลงออกมาเปน็ อกี ภาษาหนึ่ง

ปจั จุบัน AI ซ่อนอยู่ในสงิ่ ของหรือบรกิ ารที่ใชก้ นั โดยทว่ั ไป และอย่รู ว่ มกบั ชีวติ ประจำวันของคนเรา
ได้อยา่ งกลมกลืน ไมว่ ่าจะเปน็ การที่เราคน้ หาข้อมูล ระบบ AI กจ็ ะจดจำข้อมูลของเราไว้ ทำให้ในครัง้ ตอ่ ๆ ไป
เราแค่พิมพ์ตัวอักษร 1-2 ตัว เราจะเจอประโยคท่ีเราเคยเสิร์ชทนั ที

การระบตุ ัวตนด้วยไบโอเมทริกซ์ มา่ นตา เสยี ง ลายน้ิวมอื หน้า ภาษากาย ถือเป็นสว่ นหนึง่ ของการนำ
เทคโนโลยี AI ท่ใี ช้ไบโอเมทริกซใ์ นการจดจำรูปแบบและแยกแยะ มาใช้เพื่อยนื ยันตวั ตนหรอื ระบุตัวตนได้

5. ผู้สอนแจกใบงานท่ี 1.2 ลายนิ้วมือ พร้อมถามผู้เรียนเพ่ือกระตุน้ ความสนใจ วา่ ลายน้วิ มือ
(Fingerprint) คืออะไร ทำไมลายน้วิ มอื คนเราแตกตา่ งกนั ?

6. ผู้สอนอธบิ ายเพิม่ เติมวา่ ลายนิว้ มอื ของมนุษย์เป็นส่งิ ท่ีติดตัวมาต้ังแต่กำเนดิ เปน็ เอกลักษณ์เฉพาะบุคคล
ทไ่ี ม่มกี ารเปลีย่ นแปลงไปตามกาลเวลา

7. ผสู้ อนเตรยี มแทน่ หมึก สำหรบั ให้เด็กๆปั๊มลายนวิ้ มือลงบนใบงาน
8. ผูส้ อนสมุ่ ผู้เรียนออกมาเป็นคู่ แล้วใหผ้ ้เู รียนคนอนื่ ๆช่วยกนั ดวู ่า ลายมือ ของแต่ละคนเปน็ อยา่ งไร
เหมือน หรือแตกต่างกนั อยา่ งไร

ข้ันสรปุ

9. ผสู้ อนสรุปวา่ เทคโนโลยี ชว่ ยใหม้ นษุ ย์สะดวกสบายมากขึ้น และเทคโนโลยอี ยูร่ ว่ มกับมนุษย์
ในยคุ ปจั จบุ นั อย่างกลมกลนื AI คอื ระบบประมวลผล ทม่ี ีการวเิ คราะหเ์ ชงิ ลึก คลา้ ยความฉลาดของมนุษย์ การนว้ิ
มือสแกนเพ่ือระบุตัวตนในการปลดลอ็ คหนา้ จอสมารท์ โฟนถอื เปน็ เทคโนลยี AI ใช้ไบโอเมทริกซ์ในการจดจำ
รปู แบบและแยกแยะ

10. ผสู้ อนเปิดโอกาสให้ผ้เู รียนได้ซักถามเพิ่มเติม

9. สื่อการเรยี นรู้
1. https://www.youtube.com/watch?v=ptRt1etCPSw&t=4s
2. ใบงานท่ี 1.1 อุปกรณ์เทคโนโลยีในชีวิตประจำวนั
3. ใบงานท่ี 1.2 ลายน้วิ มือ
4. ใบความรูท้ ่ี 1 โลกอจั ฉรยิ ะแหง่ อนาคต

10. การวดั และประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื เกณฑ์
วธิ กี าร

ตรวจ ใบงานท่ี 1.1 อุปกรณ์ แบบประเมนิ ผลงาน คณุ ภาพอยู่ในระดับ ดี ผ่านเกณฑ์
เทคโนโลยใี นชีวิตประจำวนั แบบประเมนิ ผลงาน คุณภาพอยูใ่ นระดบั ดี ผา่ นเกณฑ์

ตรวจ ใบงานท่ี 1.2 ลายนิว้ มอื

แบบบนั ทกึ หลังแผนการสอน ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1
เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ จำนวน 4 ชั่วโมง
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 การใช้งานเทคโนโลยีอยา่ งปลอดภยั
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 อุปกรณ์เทคโนโลยใี นชีวิตประจำวัน เวลาเรยี น 2 ชั่วโมง

ผลการเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปญั หาอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะแนวทางแกไ้ ข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื …………………….…………….ผู้สอน
(…………………………………)

ตำแหนง่ ………………………………………
………………/…………....../……………
ความคดิ เห็นของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………………….ผู้บริหารสถานศกึ ษา
(…………………..…………………………)
ตำแหนง่ ………………………………………
………………/…………....../……………


Click to View FlipBook Version