The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประเมินสัมฤทธิ์ผลตำแหน่งรองผู้อำนวยการปรเมศว์ นิ่มมา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Carbom Promrach, 2022-05-18 04:37:43

การประเมินสัมฤทธิ์ผลตำแหน่งรองผู้อำนวยการปรเมศว์ นิ่มมา

การประเมินสัมฤทธิ์ผลตำแหน่งรองผู้อำนวยการปรเมศว์ นิ่มมา

โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษำ ภำคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

www.tune.ac.th

การประเมินสมั ฤทธผิ ลการปฏิบตั หิ นา้ ที่
ตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา

นายปรเมศว์ นมิ่ มา
ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยกำรโรงเรยี น

โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษำ ภำคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

สำนกั งำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำสกลนคร
สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร



คำนำ

แบบรายงานผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ เพื่อประกอบการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานของผู้บริหาร
สถานศึกษา ในรอบ 6 เดือน เล่มนี้ เป็นรายงานการปฏิบัติงานของ นายปรเมศว์ นิ่มมา ตําแหน่ง
รองผู้อํานวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาสกลนคร ในเล่มรายงานประกอบด้วยตัวชี้วัดที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา คุณภาพครู
และบคุ ลากร คณุ ภาพผ้เู รยี น และงานด้านอ่ืน ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การประเมิน

ผู้รับการประเมินหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเล่มนี้จะอํานวยความสะดวกสําหรับคณะกรรมการประเมิน
ในครั้งนี้ และขอขอบคุณผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่ให้ความช่วยเหลือ แนะนํา สนับสนุนการปฏิบัติงานในตําแหน่ง
ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ซึ่งผู้รบั การประเมินจะนําความรู้ ประสบการณ์ในระยะของการปฏบิ ัติงานทผี่ ่านมา ไปพัฒนา
สถานศึกษา พัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาต่อไป

ปรเมศว์ นิม่ มา
รองผู้อํานวยการโรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

ผู้รับการประเมิน



สารบัญ

เร่อื ง หนา้

คำนำ............................................................................................................................. ............................................ก
สารบญั ......................................................................................................................................................................ข
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ส่วนตวั ............................................................................................................................. .................1
ส่วนที่ 2 สารสนเทศของสถานศกึ ษา........................................................................................................................ 2
ส่วนที่ 3 รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานเพื่อประเมนิ ตามองค์ประกอบ/ตัวช้วี ัด............................................................11

1. การบริหารจัดการสถานศกึ ษาท่ีมีประสทิ ธิภาพ..........................................................................................11
องคป์ ระกอบท่ี 1.1 การบริหารงานวิชาการ.............................................................................................11
ตวั ชวี้ ัดท่ี 1 มีการดำเนนิ กิจกรรมทางวิชาการ.............................................................................11
ตัวชว้ี ัดที่ 2 มีการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาทักษะด้านการอ่านและการเขยี นภาษาไทย...........19
องค์ประกอบที่ 1.2 การบรหิ ารงบประมาณ การระดมทรัพยากรและการลงทนุ เพ่อื การศึกษา................21
ตัวชวี้ ัดท่ี 1 มีการดำเนนิ กิจกรรมการบรหิ ารงบประมาณ...........................................................21
ตวั ชวี้ ัดท่ี 2 มีการดำเนินกิจกรรมการระดมทรพั ยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา...................24
องคป์ ระกอบท่ี 1.3 การบริหารงานบุคคล การสง่ เสรมิ วินัยการรักษาวินยั จรรยาบรรณวิชาชีพ
และการพฒั นาทางวิชาชีพ.......................................................................................26
ตวั ชวี้ ดั ท่ี 1 มกี ารดำเนินกิจกรรมการบรหิ ารงานบุคคล การส่งเสริมวนิ ยั และการรักษาวนิ ยั
จรรยาบรรณวชิ าชพี .................................................................................................26
ตวั ชว้ี ัดที่ 2 มกี ารดำเนินกิจกรรมการสง่ เสรมิ ใหค้ รู และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการ
พฒั นาทางวชิ าชีพ.....................................................................................................28
องค์ประกอบท่ี 1.4 การบริหารงานท่ัวไป และการมีสว่ นร่วมของสถานศึกษากบั ผู้ปกครองและชมุ ชน...30
ตัวชวี้ ัดที่ 1 มีการดำเนนิ กิจกรรมการบรหิ ารงานทัว่ ไป................................................................30
ตัวชวี้ ดั ที่ 2 มีการดำเนินการใหส้ ถานศึกษามสี ว่ นรว่ มกับผปู้ กครองและชมุ ชน............................33

2. ผลการดำเนินการตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ และหรือสำนกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน……………………………………………………………………………………………………………………..36

3. ผลงานทเ่ี กิดจากการบริหารจัดการของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา.......................................................................38

1

สว่ นที่ 1 ข้อมลู ส่วนตัว

1.1 ช่อื – สกลุ นายปรเมศว์ นม่ิ มา
1.2 เกิดวนั ที่ 30 เดือน เมษายน พ.ศ. 2530 อายุ 34 ปี
1.3 ทอ่ี ยปู่ จั จบุ นั บา้ นเลขที่ 99 หมทู่ ี่ 6 ตำบลกดุ เรือคำ อำเภอวานรนิวาส

จงั หวดั สกลนคร รหสั ไปรษณีย์ 47120 โทรศัพท์ 093-3659828
1.4 ตำแหน่งปจั จบุ นั รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

เลขท่ตี ำแหนง่ 62520
รับเงนิ เดอื น 23,210 บาท สังกัด สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร
1.5 เครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณท์ ่ไี ดร้ ับพระราชทาน
รองผอู้ ำนวยการ คศ. 1 (ยังไม่ได้เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ)์

1.6 ประวัตกิ ารศกึ ษา

วฒุ กิ ารศกึ ษา ช่อื เต็มวุฒกิ ารศกึ ษา ชื่อย่อ วุฒิ สาขาวชิ า สถาบันทสี่ ำเร็จ วัน เดือน ปี
การศึกษา สำเร็จการศึกษา
การศกึ ษา
มหาวิทยาลัย 2558
ปริญญาตรี ครศุ าสตรบัณฑิต ค.บ. ภาษาไทย ราชภัฏสกลนคร
2562
ปริญญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑิต ค.ม. การบรหิ าร มหาวทิ ยาลัย
การศึกษา ราชภฏั บุรรี มั ย์

1.7 ประวตั ิการรับราชการ

ตำแหนง่ สังกดั

22มกราคม 2559 บรรจคุ รผู ู้ชว่ ย สพป.สรุ ินทร์ เขต 1
1 พฤศจิกายน 2560 โรงเรยี นบ้านหนองหนิ ต.ตรึม อ.ศขี รภมู ิ สพป.บุรีรัมย์ เขต 1

จ.สรุ นิ ทร์

ครูผู้ช่วย โรงเรียนตลาดโพธ์ิ
ต.ตลาดโพธ์ิ อ.ลำปลายมาศ จ.บุรรี มั ย์

30 มีนาคม 2563 ครู โรงเรยี นบ้านบะนกทา ต.หนองสนม สพป.สกลนคร เขต 3
อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร สพม.สกลนคร
16 สิงหาคม
2564 รองผู้อำนวยการ
โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

2

ส่วนที่ ๒ สารสนเทศของสถานศกึ ษา

2.1 ประวัติสถานศึกษา

โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ตั้งอยู่ที่ 121 หมู่ 12 ตำบลสวา่ งแดนดนิ
อำเภอสวา่ งแดนดิน จงั หวดั สกลนคร รหัสไปรษณยี ์ 47110 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษาสกลนคร สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
โทรศพั ท์ : 042-721181 โทรสาร : 042-722123 E-mail : [email protected] website :
www.tune.ac.th ไดร้ ับอนญุ าตจดั ตั้งเม่ือ วันที่ 1 มถิ นุ ายน 2542 เปิดสอนระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษา
ปที ี่ 4 ถึงระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 มนี กั เรียน 2,183 คน (ข้อมูล ณ วันท่ี 7 ธันวาคม 2564)
มีบคุ ลากรของโรงเรียนจำนวน 137 คน

ปัจจุบันผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นคือ วา่ ท่ีร้อยตรี ดร.สกุ จิ ศรพี รหม
วสิ ยั ทศั น์ : องค์กรคณุ ภาพมาตรฐานสากล ผู้เรียนมคี วามเป็นเลิศทางวิชาการและคณุ ธรรม
น้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
พันธกิจ

1) มุ่งมั่นบรหิ ารจัดการอย่างเปน็ ระบบตามหลกั ธรรมภิบาลและนกั เรยี นมีส่วนร่วม
2) จัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นเลิศด้านวิชาการคุณธรรม
น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3) ส่งเสริมโรงเรยี นใหเ้ ปน็ องคก์ รแหง่ การเรียนรู้
4) ส่งเสริมบุคลากรให้รกั องค์กรจริยธรรมและเป็นบุคคลแหง่ การเรยี นรู้
เป้าประสงค์ (Goal)
1) ดา้ นนกั เรียน

(1) ผู้เรียนเปน็ บคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ มที กั ษะในการใช้เทคโนโลยี และภาษา
เพอ่ื การส่ือสาร

(2) ผเู้ รยี นมีคุณธรรม จริยธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และคา่ นิยมอันดีงาม
เขา้ ใจภูมิปัญญาไทยและท้องถน่ิ รักชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์

(3) ผเู้ รยี นมีความเป็นผ้นู ำ และผู้ตาม มีความเสียสละมีมนุษยสัมพันธแ์ ละความ
รับผิดชอบอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ มและธรรมชาติ

2) ดา้ นครู
(1) บคุ ลากรทุกฝา่ ยมคี ุณภาพ คุณธรรม จรยิ ธรรม มศี ักยภาพในหน้าท่ีของตน

ดว้ ยการอบรม สัมมนา นิเทศศกึ ษาตอ่ ทัศนศึกษา ดงู านท้ังในประเทศและต่างประเทศ ยกยอ่ งและ
เชิดชูเกียรติบคุ ลากรที่ปฏบิ ตั งิ านดมี ีจรรยาบรรณ

(2) ครแู ละนักเรยี นเปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ รกั การอ่าน รักการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต

3

มีความรู้เป็นสากล สามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม มีทักษะสื่อสารด้วยภาษาไทยและ
ภาษาต่างประเทศอย่างน้อย 1 ภาษา มีทักษะการทำงานและการบริหารจัดการ และโรงเรียนเป็น
องคก์ รแห่งการเรียนรู้

(3) มีการเตรยี มความพร้อมแกน่ ักเรยี นสำหรบั การแข่งขันโอลมิ ปิกวิชาการ
(4) มีการจดั จ้างบคุ ลากรเจ้าของภาษา เพ่ือสอนวิชาภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และจัดจ้าง
บุคลากรอนื่ ตามความจำเปน็
3) ดา้ นกิจกรรมการเรียนการสอน
(1) มีการเตรยี มความพร้อมสำหรับนักเรียนเพื่อการสอบเข้ามหาวิทยาลยั
การสอบแข่งขันชงิ ทนุ ศึกษาต่อในตา่ งประเทศและการแขง่ ขันดา้ นตา่ ง ๆ ในประเทศ
(2) นักเรียนมีคุณสมบตั ิตามมาตรฐานนกั เรียนเตรยี มอดุ มศึกษา ได้แก่ มีคณุ ธรรม
จริยธรรม มีความเป็นเลิศทางวิชาการ เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี
มีความสามารถในการสอ่ื สาร มบี ุคลิกภาพท่ดี ี
4) ดา้ นหลกั สูตร
(1) มีหลักสูตรการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ แบบสหศึกษา เพื่อมุ่ง
เตรียมผู้เรียนเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา โดยคัดเลือกจากนักเรียนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
และดำเนินงานตามแนวทางในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งพุทธศักราช 2542 และนโยบายของ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นักเรียนสามารถเลือกแผนการเรียนได้ตามความชอบ
ความรแู้ ละความสามารถของตน
(2) มีหลักสูตรตามมาตรฐานสากล เน้นกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้อง
กับความต้องการของผู้เรียนท้องถิ่นและประเทศชาติ เหมาะกับศักยภาพของผู้เรียน มีรายวิชา
การศึกษา และสร้างองค์ความรู้ (Research and knowledge Formation) และโลกศึกษา (Global
Education) รายวิชาการสื่อสารและนำเสนอ (Communication and Presentation IS 2) ซึ่งมี
เนื้อหาเกี่ยวกับการเขียนความเรียงชั้นสูง (Extended Essay, Academic Writing) และรายวิชา
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ (Social Service Activity IS 3) ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับ
กระบวนการสรา้ งสรรค์ (Creativity) กจิ กรรม (Activity) การรับใชส้ ่วนรวม (Service)
5) ด้านระบบ ICT และระบบฐานข้อมูล
โรงเรียนมีสื่อนวัตกรรม สื่อเทคโนโลยีอย่างเพียงพอ บุคลากรสามารถผลิต และใช้ส่ือ
นวัตกรรม สื่อเทคโนโลยี ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคโนโลยีในการพัฒนางานทุกระบบและมี
การบำรุงรกั ษาการใชส้ อ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยอี ย่างค้มุ ค่า
6) ด้านการพัฒนาเครอื ขา่ ย
โรงเรียนมีเครือข่ายร่วมพัฒนา สามารถช่วยเหลือด้านวิชาการและด้านทุนทรัพย์
โรงเรียนเครือข่ายเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนพี่/น้อง และโรงเรียนที่ขอความอนุเคราะห์และบริจาค
เพื่อสาธารณกศุ ลตามความเหมาะสม ต้อนรับ ให้ความรู้แก่คณะผู้มาศึกษาดูงานมีการประชาสัมพันธ์
ข่าวสารและข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียนแก่ผู้เกี่ยวข้องอย่างทั่วถึงสม่ำเสมอ ตลอดจนใช้ข้อมูล
สารสนเทศและงานวิจยั เพ่อื การพฒั นา

4

กลยทุ ธ์ (Strategy)
กลยทุ ธ์ท่ี 1 พัฒนาระบบบริหารจดั การสู่มาตรฐานสากล
กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจดั การเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความเปน็

เลศิ ดา้ นวิชาการ คณุ ธรรม น้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาโรงเรียนให้มีบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้และเป็นองค์กรแห่ง

การเรียนรดู้ ้วยนวตั กรรม
กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรให้มีจริยธรรมและเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้

ด้วยกระบวนการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21

2.2 ข้อมลู ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

ผู้บริหาร/กลุ่มสาระการเรียนรู/้ ชาย หญงิ รวม

กจิ กรรม

ผอู้ ำนวยการ 1-1

รองผูอ้ ำนวยการ 3-3

ข้าราชการครู 26 64 90

พนกั งานราชการ - 33

ลูกจ้างประจำ 2-2

เจ้าหนา้ ทส่ี ำนักงาน 257

ครูอัตราจา้ ง 5 9 14

ครูพิเศษ 213

ครูตา่ งชาติ 213

พนกั งานขบั รถ 2-2

แม่บา้ น / คนสวน 268

SP2 - 2 2

รวม 47 91 137

ข้อมลู ณ วนั ที่ 7 ธันวาคม 2564 (ปัจจุบนั )

5

2.3 ขอ้ มูลนกั เรียนปีการศึกษา 2564

ระดบั ช้ันเรียน จำนวนหอ้ ง เพศ รวม

ม.4 25 ชาย หญิง 876
ม.5 21 229 647 687
ม.6 19 620
รวมท้ังหมด 65 215 472 2,183

198 422

642 1,541

2.4 ผลการประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ดังนี้

มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ระดบั คณุ ภาพ

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของนกั เรยี น ดีเลศิ
1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของนักเรยี น ดีเลิศ
1.2 คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องนกั เรียน ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นนักเรียนเปน็ สำคญั ยอดเย่ยี ม

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของนกั เรียน : ระดบั คณุ ภาพดเี ลิศ
1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของนักเรียน
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีกระบวนการพัฒนานักเรียนให้มี

ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ โดยจัดทำโครงการการอ่าน
บันทึกการอ่าน จัดทำหนังสือเล่มเล็ก กิจกรรมค่าย English camp การจัดการเรียนการสอนวิชา
ภาษาจีน ภาษาเกาหลีและสอบแข่งขันคณิตคิดเร็ว ส่งเสริมนักเรียนให้มีความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ด้วยโครงการ
พฒั นาการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ท่เี น้นการจัดการเรียนรูแ้ บบ Active Learning จดั การเรยี นการสอบ
แบบสะเต็มศึกษา ส่งเสริมให้นักเรียนนำความรู้มาประยุกต์ใช้ด้วยการจัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์ โครงงานคอมพิวเตอร์ พัฒนานักเรียนให้มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน ส่งเสริมให้นักเรียนนำความรู้มาประยุกต์ใช้ด้วย
การประกวดสิ่งประดิษฐ์แนวสะเต็ม และการประกวดโครงงาน พัฒนาระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
และสัญญาณ WIFI ครอบคลุมทุกพื้นที่เพื่อให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลา จัดการเรียน
การสอนที่ส่งเสริมให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจาก Internet และสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริม

6

นักเรียนใหม้ คี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ท้ังยงั มีการจัดเรยี นการสอน
แบบออนไลน์ Online (เนื่องในมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019) โดยให้
นกั เรยี นไดเ้ ข้าชนั้ เรียนในรูปแบบของ Google classroom ในโปรแกรม Meet, Zoom, แอพพิเคช่ัน
Line และFacebook เปน็ ต้น

ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เป็นผู้เรียนเป็นสำคัญ วัดและประเมินผลตามสภาพจริงด้วย
เครื่องมือ และวิธีการหลากหลาย และนำผลมาพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา จัดกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการฝึกประสบการณ์ในหน่วยงานของรัฐ
เชน่ โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราชสวา่ งแดนดิน โรงพยาบาลวารชิ ภมู ิ โรงพยาบาลหนองหาน เพ่ือให้
นักเรียนได้วัดความถนัดของตนเองเป็นทางเลือกในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ อบรมให้ความรู้
การจัดทำ Portfolio เพ่ือใช้ประกอบการย่ืนสมัครเขา้ เรยี นในระดับสูงขน้ึ ไป

1.2 คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของนกั เรียน
ดำเนนิ การพฒั นาทักษะชีวติ ของผเู้ รยี นให้มีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามสถานศึกษากำหนด

โดยการพัฒนาดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ตามวัยของผ้เู รียน และตามวสิ ัยทัศน์ของโรงเรียน คือ “องค์กร
คุณภาพมาตรฐานสากล ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรม น้อมนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง” พัฒนาทกั ษะชีวิตของผู้เรียนให้อยู่ในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข เน้นการพัฒนาด้าน
คุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมกับวัยผู้เรียน กำหนดให้มีการอบรมค่ายคุณธรรม จริยธรรม สำหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และการอบรมนักเรียนประจำเดือน
เพื่อปลูกฝังและพัฒนาผู้เรียนให้มีอัตลักษณ์ที่โดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ตามจุดเน้นของโรงเรียนและ
พัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้มีความรู้คู่คุณธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ สำหรับการ
ดำรงชีวิตในสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย มีการส่งเสริมเอกลักษณ์ไทย และความ
ภมู ิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย ดว้ ยการปลูกฝังด้านมารยาทไทย เน้นกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน
ลงมอื ปฏบิ ตั จิ ริง ดงั นี้ กิจกรรม“ยม้ิ ไหว้ ทักทาย” ซงึ่ เปน็ คณุ ธรรมทีส่ ามารถนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน
ได้ กจิ กรรมบูรณาการทกั ษะชวี ิต ส่งเสรมิ กจิ กรรมวนั สำคัญทางศาสนา เช่น วนั มาฆบชู า วนั วิสาขบชู า
เป็นต้น กิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรมและประเพณีไทย เช่น พิธีไหว้ครู วันครูแห่งชาติ วันลอยกระทง
วันสงกรานต์ เป็นต้น กจิ กรรมเน่ืองในวันสำคัญตา่ ง ๆ เช่น วันพอ่ แห่งชาติ วนั แมแ่ ห่งชาติ วันเด็ก วัน
ปีใหม่ เป็นต้น การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย งานคณะกรรมการ
นักเรียน กลุม่ บรหิ ารงานกจิ การนักเรียน ได้ดำเนนิ การพฒั นาในรูปของกจิ กรรมตา่ ง ๆ ให้กับนักเรียน
เพื่อให้เกิดการยอมรับและอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ดังนี้ กิจกรรมเลือกตั้งสภา
นักเรียนกิจกรรม To Be Number One Idol กิจกรรมพัฒนาศักยภาพภาวะผู้นำกิจกรรม
ความสัมพันธ์ของผู้เรียน คือ กิจกรรมการรับน้องใหม่กิจกรรปฐมนิเทศผู้เรียน กิจกรรมสายสัมพันธ์
น้องพี่ กจิ กรรมปจั ฉิมนิเทศผู้เรียน กจิ กรรมส่งต้นกล้าสูแ่ ผน่ ดนิ

กิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนทำให้ผู้เรียนอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข ด้านสุขภาวะทางร่างกาย
และจติ สังคม งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและงานเสริมสรา้ งและรักษาวินัยนักเรียน งานส่งเสริม
สวัสดิการนักเรียน และงานกองทุนเพื่อการศึกษา กลุ่มบริหารงานกิจการนักเรียน
โรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ไดจ้ ดั ระบบดูแลชว่ ยเหลือผ้เู รยี นอย่างเป็นระบบ

7

และมีการคัดกรองพฤตกิ รรมเด็ก (SDQ) การประเมินความฉลาดทางอารมณ์ EQ จัดทำโครงการและ
กิจกรรมที่ทำใหผ้ ู้เรียนสามารถปฏิบัติตนตามระเบียบของสถานศึกษา มีการป้องกันตนเองจากยาเสพ
ตดิ เรยี นร้ทู ักษะชวี ิต โดยมกี ารจัดกิจกรรมการรณรงค์เยาวชนขบั ข่ีปลอดภยั ในสถานศึกษา ซึ่งกำหนด
นโยบายให้ทุกคนสวมหมวกนิรภัย เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทั้งจากในสถานศึกษาและนอก
สถานศึกษา กิจกรรมตามโครงการห้องเรียนสีขาว และเพื่อเป็นการดูแลผู้เรียนให้ได้รับโอกาสทาง
การศึกษา ยังมีกองทุนต่าง ๆ เพื่อช่วยเหลือผู้เรียน เช่น กองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา กลุ่มสาระ
การเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา กลุม่ บริหารงานวิชาการ และงานอนามัย กลุ่มบรหิ ารงานทวั่ ไป

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาวะทาง
ร่างกายและจิตสังคมของนักเรียน ได้จัดกิจกรรมการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง มีการประเมินผลตาม
เกณฑ์มาตรฐาน กิจกรรมอบรมแกนนำ อย. น้อย กิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายใน (กีฬาสี) ส่งเสริม
ผู้เรียนให้กล้าแสดงออกและมีส่วนร่วมในการแข่งขันกีฬาสู่ความเป็นเลิศในระดับต่าง ๆ (โดยเน้น
มาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม Social distancing ในสถานการณ์ป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019)
กิจกรรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพด้วยการเต้นแอโรบิค กิจกรรมห้องเรียนสีขาว กิจกรรมรู้เท่าทัน
ปัญหาทางเพศ กล่มุ สาระการงานอาชีพ กลุม่ บริหารงานวชิ าการ ส่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี นปฏิบตั ิกิจกรรมด้าน
ศิลปะ ดนตรี กีฬา และนาฏศิลป์ให้กับผู้เรียนทุกระดับชั้น เพื่อให้เกิดการใช้ทักษะและเวลาว่างได้
อยา่ งคมุ้ ค่า

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ : ระดบั คุณภาพยอดเย่ยี ม

กระบวนการบรหิ ารและการจัดการใช้หลักการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม ภายใตก้ ารบริหารจัดการ
ด้วยหลักธรรมาภิบาล โดยใช้หลักนิติธรรม หลักคุณธรรมในการบริหารจัดการ ยึดถือเชื่อมั่นใน
ความถูกต้อง โปร่งใส และตรวจสอบได้ แบ่งโครงสร้างการบริหารเป็น 4 กลุ่มบริหาร ได้แก่ กลุ่ม
บริหารงานวิชาการ กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน กลุ่มบริหารงานบุคคล และกลุ่ม
บริหารงานทั่วไป ทุกกลุ่มมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ
ประจำปี งบประมาณ โครงการ กิจกรรมให้สอดคล้องกับวิสั ยทัศน์ พันธกิจเป้าประสงค์
และยุทธศาสตร์ของโรงเรียนโดยผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา พัฒนาส่งเสริมครู
และบุคลากรทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้สู่ยุคศตวรรษที่ 21 มีความเป็นครู
มืออาชีพ (Professional) รักการทำงานเปน็ ทีม (Teamwork) และสามารถใช้สื่อเทคโนโลยีประกอบ
การสอน (Technology) มีทักษะแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนครูแลกเปลี่ยนในการประชุม
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวชิ าการ (Knowledge) การมสี ว่ นร่วม (Participation) การอบรม
สัมมนา ศึกษาต่อ ศึกษาดูงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ยกย่องและเชิดชูเกียรติบุคลากรที่
ปฏิบัติงานดีมีจรรยาบรรณ จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ตามโครงการโรงเรยี นมาตรฐานสากล
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรียนได้

8

ตอบสนองความต้องการของนักเรียนที่มีความสนใจในการเรียนรู้ที่แตกต่างและหลากหลาย
ใหน้ กั เรียนได้เลือกเรียนตามความสนใจเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล

โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญต่อการจัดการเรียนการสอนทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
การบรหิ ารจดั การด้านระบบ ICT และระบบฐานขอ้ มลู จดั หาส่ือนวตั กรรม สื่อเทคโนโลยีอย่างเพียงพอ
ใช้เทคโนโลยีในการพัฒนางานทุกระบบและมีการบำรุงรักษา การใช้สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี
อย่างคมุ้ ค่า มีโรงเรียนเครือข่ายเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนพ/่ี โรงเรียนน้อง สมาคมผู้ปกครองนักเรียน
สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนสว่างศึกษา-โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หน่วยงาน
องค์กรภายนอก และชมุ ชนให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการและด้านทนุ ทรัพย์ โรงเรยี นให้บรกิ ารชุมชน
หน่วยงานที่ขอความอนุเคราะห์และขอบริจาคเพื่อสาธารณกุศลตามความเหมาะสม ต้อนรับ
ให้ความรู้แก่คณะผู้มาศึกษาดูงานมีการประชาสัมพันธ์ข่าวสารและข้อมูลสารสนเทศของโรงเรี ยนแก่
ผูเ้ กย่ี วขอ้ งอยา่ งท่ัวถึงสม่ำเสมอ

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นนักเรียนเปน็ สำคญั : ระดบั คณุ ภาพยอดเย่ยี ม

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มุ่งมั่นพัฒนานักเรียนให้มีศักยภาพเป็น
พลโลกที่ดี มีทักษะในศตวรรษที่ 21 เพื่อขับเคลื่อนสถานศึกษาให้บรรจุตามวิสัยทัศน์ที่กำหนด
มีกระบวนการพัฒนาคุณภาพนักเรียนด้วยกระบวนการและวิธีการที่หลากหลาย เพื่อมุ่งเน้นให้
นักเรียนเกิดองค์ความรู้ด้วยตนเองตามศักยภาพของผู้เรียน อีกทั้งสามารถคิดวิเคราะห์ กลั่นกรอง
ข้อมูลที่ได้รับเพื่อนำมาอภิปราย พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ อีกทั้งสามารถเชื่อมโยง
สู่การแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตได้ เป้าหมายความสำเร็จที่สำคัญ คือครู ซึ่งเป็นกลไกหลักใน
การขับเคลื่อน โดยการวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อให้เหมาะสมกับความถนัด สอดคล้องต้องการของ
นักเรียน ผ่านกระบวนการ PLC ตามนวัตกรรม 5T model สร้างกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้น
กระบวนการคิด ปฏิบัติ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต และแก้ปัญหาการเรียนได้อย่าง
ยงั่ ยืน

กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดำเนินการตามผังกระบวนการ
โดยการวิเคราะห์หลักสูตรการเรียนใหส้ อดคล้องกับวสิ ัยทัศน์ของโรงเรียน ครูมีสว่ นร่วมในการจัดการ
หลักสูตรสถานศึกษา และครูใช้กระบวนการ PLC มาวิเคราะห์ สร้างแนวทางการจัดการเรียนรู้
นวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน จนได้หลักสูตรการเรียนรู้ที่หลากหลายให้นักเรียนเลือกเรียน
ตามความถนัด ส่งเสริมเติมเต็มทักษะการคิด เน้นการปฏิบัติตามกระบวนการเนื้อหารายวิชา ฝึกให้
นักเรียนมีทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ เก็บรวบรวมข้อมูล ตามแนวทางวิชาเพิ่มเติม
มาตรฐานสากล Independent Study (IS) ภายใต้กรอบความเชื่อว่า กระบวนการในวิชา IS จะช่วย
เสริมทักษะการคิด ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สามารถดึงเอาศักยภาพของผู้เรียนให้แสดงออกมาทาง
ความคิด การปฏิบัติได้อย่างแท้จริง ยั่งยืน ตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียนที่สร้างพลโลกท่ีดีในสังคม และ
ใช้กระบวนการนิเทศกำกับติดตามครูผู้สอน ให้เป็นไปตามกรอบ หลักสูตร ที่กำหนด เพิ่มความ
ยืดหยุ่นหลักสูตรโดยมีการประเมินการใช้หลักสูตร ปรับปรุงหลักสูตรให้มีความเหมาะสม สอดคล้อง
กับยคุ สมัยปัจจบุ ัน

9

ม่งุ ม่ันพฒั นาให้บคุ ลากร ครูและนักเรยี นใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศรวมทั้งแหลง่ เรยี นรูเ้ พ่ือเอ้ือ
ต่อการเรียนรู้ โดยวางแผนงานและจัดทำโครงการต่าง ๆ เพื่อรองรับการดำเนินงานนี้ อันได้แก่
งานไอซีที่โรงเรียนซึ่งดูแลโครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
วิทยาศาสตร์ กิจกรรมพัฒนาและปรับปรุงเครือข่ายอินเตอร์เน็ตภายในโรงเรียน และงานโครงการ
พฒั นาองคก์ รให้เอ้อื ต่อการเรียนรู้ เช่น กจิ กรรมจัดซ้อื คอมพิวเตอร์สำหรบั พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา
กิจกรรมพัฒนาห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ งานโครงการพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศตา
มาตรฐานสากล กิจกรรมจัดซื้อหรือทำสื่อวัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอน โรงเรียนได้นำโครงการ/
กิจกรรมดังกล่าวเบือ้ งต้น ลงสู่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บุคลากรในสำนักงานสามารถใช้เทคโนโลยี
ใหม่ ๆ ในการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนของครูให้มีประสิทธิภาพ และเพื่อให้ครูทุกกลุ่มสาระ
การเรียนรู้สามารถใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้
ร่วมกับ application ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และครูมีการใชห้ อ้ งปฏิบัติการในการจัดการเรยี น
การสอน เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้ง 5 สาขา คือ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา
โลก ดาราศาสตร์และคอมพิวเตอร์ ซึ่งห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ทุกห้องมีการติดตั้งโปรเจกเตอร์
ครบครนั และมคี อมพิวเตอรเ์ พยี งพอต่อความต้องการของนักเรียนทุกคน ห้องปฏบิ ตั ิการคณิตศาสตร์
สำหรับครูคณิตศาสตร์ นักเรียนสามารถเข้าถึงสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งแหล่งเรียนรู้
ท่คี รูแตล่ ะกล่มุ สาระการเรยี นรูจ้ ัดให้อยา่ งหลากหลาย

การบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ครูผู้สอนมีการวางแผนกระบวนการจัดการเรียนรู้
โดยจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ในรายวชิ าท่ีได้รบั ผิดชอบ ทางโรงเรียนจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพ
ครูด้วย กระบวนการนิเทศการเรียนการสอนของครูผู้สอนแบบกัลยาณมิตรทั้งระบบ เพื่อครูผู้สอน
จะไดพ้ ัฒนาการจดั การเรียนการสอนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ มีการจดั กิจกรรมการบริหารจดั การชั้นเรียน
โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก จัดกิจกรรมให้หลากหลายเลือกใช้เทคนิคการสอน การวัดและ
ประเมินผล ให้เหมาะสมกับผู้เรียนมีการสร้างบรรยากาศในห้องเรียน สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน
การเสริมแรงบวกให้กับผู้เรียน ตลอดจนเอื้ออำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้
ได้อย่างมคี วามสขุ กลา้ คดิ กลา้ ทำกล้าแสดงออก

ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
และนำผลมาพัฒนาผู้เรียนกำหนดให้ครูศึกษาวิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคลโดยใช้ข้อมูลอย่าง
หลากหลายและเป็นจริงและนำผลการศึกษามาพัฒนานักเรียนกำหนดให้จัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนโดยเน้นผ้เู รียนเป็นสำคญั เนน้ ใหน้ ักเรยี นได้คิดวเิ คราะหแ์ ละลงมือปฏบิ ัติจริง โดยใชแ้ หล่งเรียนรู้ที่
หลายหลาย รวมทั้งส่งเสริมให้มกี ารบูรณาการการเรียนรู้กับกลุ่มวิชาอื่นๆ และหรือภมู ิปัญญาท้องถนิ่
ตามสภาพแวดล้อม ส่งเสริมและสนบั สนนุ ใหค้ รทู กุ คนใชเ้ ทคโนโลยีในการพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ
และนำเทคโนโลยมี าช่วยสนับสนุนการจดั การเรียนการสอน และการพัฒนาการเรียนรขู้ องนกั เรยี น

กำหนดให้มีการวัดผลประเมินผลที่สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้นักเรียน โดยอ้างอิง
พฒั นาการของนักเรียน และนำผลการประเมินมาพัฒนานักเรยี นใหเ้ กิดการพัฒนาสูงสุดตามศักยภาพ
ของนักเรียนสนับสนุนให้มีการจัดสอนซ่อมเสริมให้แก่นักเรียนที่มีข้อบกพร่องทางการเรียน รวมท้ัง
ส่งเสริมให้มีการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน หรือแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ของ
นักเรียนรายกลุ่มหรือรายบุคคลส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกลุ่มสาร ะการเรียนรู้ดำเนินโครงการและ

10

กิจกรรม ต่าง ๆ เพื่อพัฒนานักเรียนอย่างสม่ำเสมอ ดำเนินการส่งเสริมให้ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
และให้ขอ้ มลู สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี น โดยการมีแลกเปล่ยี นเรียนรู้ร่วมกัน
ในระดับสถานศึกษา หรือระดับเครือข่าย หรือระดับชาติและแสดงบทบาทในชุมชนในชุมชนการ
เรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) ด้วยความสัมพันธแ์ บบกัลยาณมิตร
มีวิสัยทัศน์คุณค่าเป้าหมายและภารกิจร่วมกัน เพื่อให้เกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กรและการสร้าง
นวัตกรรมจากการเข้าร่วมชุมชนในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพโดยนำความรู้ความสามารถ ทักษะท่ี
ได้จากการพัฒนาวิชาชีพมาพัฒนา นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน โดยได้
ดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ดังน้ีโครงการ PLC สู่การเรียนการสอน กิจกรรม
ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพอยา่ งสร้างสรรค์ด้วยการพฒั นาส่ือนวัตกรรม เพอ่ื ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน “กิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพอย่างสร้างสรรค์ Logbook for Teacher
“CPLC L Teacher” ครั้งที่ 1 และ 2 และกิจกรรม การชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพอย่าง
สรา้ งสรรคด์ ้วยกระบวนการวจิ ยั เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ “CPLC Classroom Action Research”

11

ส่วนท่ี ๓ รายงานผลการปฏิบตั งิ านเพ่ือประเมินตามตวั ชวี้ ดั

1. การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ
องคป์ ระกอบที่ 1.1 การบริหารงานวิชาการ
ตัวชีว้ ัดท่ี 1 มีการดำเนนิ กิจกรรมทางวิชาการ
1) จดั ทำแผนการพัฒนาคณุ ภาพ และยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
ได้รับมอบหมายจากท่านผูอ้ ำนวยการโรงเรียนดำเนินการประชมุ คณะกรรมการบริหาร

หลกั สูตรและงานวชิ าการรว่ มศึกษาแนวนโยบายของหนว่ ยงานตน้ สังกัด นโยบายของโรงเรียนในส่วน
ที่เกี่ยวข้องกับ ในการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นในด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อรองรับ
การจัดการเรียนการสอนห้องเรียนคุณภาพ สสวท. โดยการวิเคราะห์ผลการดำเนินโครงการฯ ในปีท่ี
ผ่านมาแลว้ ดำเนินการแต่งตัง้ ครผู รู้ บั ผิดชอบโครงการ/กิจกรรม

2) ดำเนนิ การตามแผนการพัฒนาคุณภาพ และยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
ได้รับมอบหมายจากท่านผู้อำนวยการโรงเรียนประชุมครูแต่งตั้งคณะกรรมการ

ดำเนินการตามโครงการโดยครูผ้สู อนดำเนนิ การจัดกจิ กรรม ตามโครงการพัฒนาระบบการเรยี นรู้ เพ่ือ
ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ดงั น้ี

2.1) การจัดการเรยี นการสอนแบบออนไลน์
2.2) กิจกรรมการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรกุ (Active Learning)
2.3) กจิ กรรมยกระดับคณุ ภาพช้ันเรยี น เช่น ส่งเสริมครผู ู้สอนใหไ้ ด้รบั การพฒั นา
2.4) การจัดกิจกรรมสอนเสริมเติมเต็ม (ติวเข้ม O-net ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปที ่ี 6 และกำหนดปฏิทินในการจัดสอนเสริม/จดั สอนตามปฏิทินทกี่ ำหนดไว้ในแตล่ ะรายวิชา

12

3) จดั ทำฐานข้อมูลคุณภาพ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนเปน็ รายบุคคล
โดยมอบหมายครูประจำวิชาส่งคะแนนผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนเป็นรายบุคคลให้ครู

รับผิดชอบงานวัดผลและประเมินผลดำเนินการจัดเก็บข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อพัฒนา
จุดเด่น และปรับปรุงจุดด้อยของนักเรียน จัดทำฐานข้อมูลผลการเรียนของนักเรียนทุกระดับชั้นและ
จัดทำข้อมูลสารสนเทศในสถานศึกษา โดยใชโ้ ปรแกรมระบบสารสนเทศ เชน่ ระบบทะเบียนนักเรียน
รายบคุ คล (DMC) และระบบการทดสอบการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานระดับชาติ (O-NET)

ข้อมลู ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนระดบั สถานศึกษา
ร้อยละของนกั เรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 ทีม่ ีผลการเรียนระดับ 3 ขนึ้ ไป ปกี ารศกึ ษา 2563

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ระดบั ชน้ั เฉลี่ย

ม.4 ม.5 ม.6 ทงั้ 3 ระดับ

ภาษาไทย 84.04 81.94 77.95 81.31

คณิตศาสตร์ 64.94 70.94 70.11 68.66

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80.28 83.15 77.89 80.44

สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 97.84 92.45 96.24 95.51

สขุ ศึกษาและพลศึกษา 99.11 98.88 76.35 91.45

ศิลปะ 99.34 93.92 98.39 97.23

การงานอาชพี 95.85 89.71 - 92.78

ภาษาต่างประเทศ 67.96 70.14 64.11 67.40

เฉล่ยี 86.17 85.14 80.15 83.82

13

แผนภมู ิแสดงรอ้ ยละของนักเรยี นระดับมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 ทม่ี ผี ลการเรยี นระดบั 3 ขึ้นไป
ปีการศึกษา 2563

ร้อยละ นักเรียนทมี่ ผี ลการเรยี นร้อยละ 3 ขึ้นไป ปีการศึกษา 2563

120

100 97.8492.4596.24 99.1198.88 99.3493.9298.39 95.8589.71
80 76.35
84.0481.9477.95 64.9470.9470.11 80.2883.1577.89 67.9670.1464.11

60

40

20
0

0

ม.4 ม.5 ม.6

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ปกี ารศึกษา 2563

ระดับ/รายวชิ า ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมฯ ภาษาองั กฤษ เฉลย่ี

คา่ เฉลี่ยระดบั โรงเรียน 46.78 27.73 33.32 36.35 28.66 34.57
ค่าเฉลยี่ ระดบั จงั หวัด 41.90 22.63 30.52 35.35 26.13 31.31

ค่าเฉลี่ยระดับสังกัด 44.65 26.16 32.80 36.04 30.03 33.94

สพฐ.

ค่าเฉล่ียระดบั ประเทศ 44.36 26.04 32.68 35.93 29.94 33.79

14

นักเรยี นทมี่ ผี ลผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พืน้ ฐาน (O-NET)
คะแนนรวมมากกวา่ ร้อยละ 60 (เตม็ 500 คะแนน ได้ 300 คะแนน) จำนวน 9 คน ดงั นี้

อนั ดบั ชื่อ นามสกลุ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ภาษาองั กฤษ ผลรวมคะแนน
1 กิจจาภรณ์ กนกหงส์ 84.50 50.00 74.05 60.00 72.50 341.05
2 กัญญาณัฐ วฒุ ิสาร 72.00 75.00 67.60 48.00 53.75 316.35
3 สธุ ากร คณุ วงศ์ 76.50 53.13 69.80 48.00 63.75 311.18
4 ศภุ กร หลกั ทอง 70.00 81.25 58.95 60.00 40.00 310.20
5 คณภรณ์ ร่างกาย 79.50 75.00 60.85 42.00 50.00 307.35
6 กมลชนก คุณละ 70.50 56.25 61.00 57.00 62.50 307.25
7 ชลธชิ า วิปดั ทุม 76.50 53.13 72.15 48.00 55.00 304.78
8 พิชญาภา ฟา้ กระจ่างชยั สิน 67.00 68.75 67.45 51.00 50.00 304.20
9 ธีรภทั ร์ ม่นั คง 57.50 84.38 60.85 48.00 50.00 300.73

4) มีการพัฒนาครูด้วยกิจกรรมที่หลากหลายตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับ
ความต้องการ

โรงเรียนใหค้ ณะครูจดั ทำคำรับรอง MOU การปฏิบัติงานระหว่างครูกับผู้ริหารโรงเรียน
จัดประชุมคณะครูจัดทำโครงการพัฒนาบุคลากร จัดกิจกรรมที่พัฒนาครูที่หลากหลาย เช่น
จัดกิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนรู้สร้างทีมงาน PLC ที่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ด้วยชุมชน
ทางวิชาชีพ PLC มีการสอบถามข้อปัญหาที่เกิดจากการเรียนรู้ สู่กระบวนการแก้ปัญหาอย่างมีส่วน
รว่ ม สร้างสรรคส์ อ่ื การเรยี นรู้เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น

15

ส่งเสริมส่งครูเข้าร่วมกิจกรรมประชุม อบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน ของหน่วยงานต้น
สังกัด/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น การพัฒนาครูทำวิจัยในชั้นเรียน /พัฒนาครูจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ (Google Classroom /พฒั นาครูจดั ทำขอ้ มลู ระบบสารสนเทศ

5) มีการพัฒนานักเรียนด้วยกิจกรรมที่หลากหลายตามความเหมาะสม และสอดคล้องกับ
ความต้องการ

วางแผนจัดทำโครงการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ประชุมคณะครูที่เกี่ยวข้อง
วางแผน กำหนดปฏิทินงานในแต่ละกิจกรรม ดำเนินการตามแผนจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน
ด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย เช่นพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ความสามารถในการอ่าน เขียนและ
การสื่อสาร พัฒนานักเรียนให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ จัดการเรียนรู้ แบบ Active
Learning จัดการเรยี นรูว้ ชิ าคณิตศาสตร์แบบ Open Approach จัดการเรียนรู้วิชาวิทยาการคำนวณ
Coding พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาจีนในชีวิตประจำวัน
สง่ นักเรียนเขา้ แข่งขันในรายการต่างๆ ทห่ี นว่ ยงานต้นสังกัดและนอกสังกัดจัดข้ึนเพื่อหาประสบการณ์
ใหม่ให้กับผู้เรียน เช่น การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน การแข่งขันทักษะทางวิชาการ
ท่ีมหาวิทยาลัยจดั ข้นึ และการแข่งขันฟสิ กิ สส์ ปั ระยุทธ์ เป็นต้น

16

6) มแี หล่งเรยี นรู้ที่เหมาะสมและเอ้ือต่อการเรยี นร้ขู องผู้เรียน
ส่งเสริมปรับปรุงสภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายใน จัดแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อ

การแสวงหาความรู้ของนักเรียนและจูงใจให้นักเรียนมีความมั่นใจที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองอย่าง
มีศกั ยภาพสงู สดุ ได้แก่

6.1 ห้องสมุดกาญจนาภเิ ษก 50 พรรษา โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื เพ่ือใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้และจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น

6.2 ห้องเรียน Coding เพื่อใช้ส่งเสริมการพัฒนาทักษะด้านโคดดิ้งผ่านพื้นที่พัฒนา
นกั ประดิษฐด์ จิ ทิ ัล (หอ้ งคอมพิวเตอร)์

6.3 ห้องคอมพิวเตอร์/สืบค้นข้อมูล เพื่อนักเรียนได้มีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่
ทันสมัย

6.4 ห้องเรียนน่าอยู่น่าเรียน จัดป้ายนิเทศ ตกแต่งห้องเรียน ทั้งภายในและภายนอก
ให้มคี วามสะอาด สวยงาม บรรยากาศเออื้ ต่อการเรยี นรู้

17

6.5 จดั กิจกรรมทัศนศึกษาแหลง่ เรยี นรู้ นอกห้องเรยี น เช่น
- พพิ ธิ ภัณฑ์ภูพานและทอ้ งฟา้ จำลองสกลนคร
- สำนักวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
- แหล่งเรียนรู้ อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร

18

7) มีการทดสอบและประเมินผลการเรียนรู้ด้วยเครื่องมือที่มีมาตรฐานด้วยวิธี
และรูปแบบท่หี ลากหลาย

ประชุมคณะครู เพื่อสร้างความตระหนักในการวัดและประเมินผลการการเรียนรู้ของ
ผเู้ รียนด้วยเครอ่ื งมอื ท่ีมมี าตรฐานดว้ ยวิธีและรูปแบบทหี่ ลากหลาย ส่งเสรมิ ให้ครูผูส้ อนจดั ทำเคร่ืองมือ
วัดผล/ประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลายที่ครูผลิตขึ้นใช้เอง เช่น แบบทดสอบอัตนัย /ปรนัย/แบบ
ฝกึ ปฏบิ ัติ/ใบงาน/ สังเกต/ ประเมินชิน้ งาน/การประเมนิ ตามสภาพจริง สง่ เสรมิ ใหค้ รูนำเครื่องมือที่มี
มาตรฐานของสำนักงานทดสอบแห่งชาติ เช่น แบบทดสอบ Pre o-net และข้อสอบอ่าน- เขียน เพื่อ
ฝึกให้นักเรียนไดท้ ดสอบ

8) มีระบบนเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการ
ประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศกึ ษา เพื่อสร้างความตระหนักในการนเิ ทศ กำกับ

ติดตาม ประเมินและรายงานผล แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรียน ดำเนินการนิเทศภายใน
ติดตาม และประเมินผลและสรปุ รายงานผลการนิเทศ กำกบั ติดตามและประเมนิ ผล

19

ตวั ชว้ี ัดที่ 2 มีการดำเนนิ กิจกรรมการพัฒนาทกั ษะด้านการอ่านและการเขียนภาษาไทย
1) มกี ารส่งเสริม สนับสนุนในการสร้างความตระหนักและให้ความร้แู กค่ รู

กระบวนการดำเนนิ งาน
ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กำหนดจุดเน้นอ่านที่มีจุดหมาย และสร้าง

ความตระหนักพัฒนาเรื่องการอ่าน ให้กับครูผู้สอน แบ่งกลุ่มครูสอนวิชาภาษาไทยทุกระดับชั้น ใช้วิธี
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ร่วมกันสร้างนวัตกรรมพัฒนาทักษะด้านการอ่านและ
การเขียนภาษาไทย จัดหาสื่อการเรียนรู้ด้านการอ่าน-เขียนให้กับครูผู้สอนภาษาไทยนำไปพัฒนา
ทกั ษะการอ่านและการเขยี น พัฒนาครใู หท้ ำงานวจิ ยั ในช้นั เรยี น เพื่อนำข้อมูลมาพัฒนาทกั ษะการอ่าน
ออก-เขียนได้ และสรปุ รายงานผลการจดั กจิ กรรม

2) มกี ารส่งเสริม สนบั สนนุ การนำความรสู้ กู่ ารปฏิบัติ
ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการพัฒนา จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)

จัดการเรียนรู้ด้วยการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC ) ครูผู้สอนแลกเปลี่ยนเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ี่ท้าทาย ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนได้ใช้ทกั ษะ การพูดฟัง
อา่ น คิด และเขยี นและผ้บู รหิ าร กำกับ ตดิ ตาม นเิ ทศการสอนของครู

20

3) มกี ารสง่ เสริม สนับสนนุ ใหม้ กี ารจดั ทำส่ือ หรือนวตั กรรม
ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดทำสื่อและนวัตกรรมในการพัฒนาผู้เรียนอ่านออก

การเขียนอย่างมีเป้าหมาย โดยวิธีการ จัดสรรงบประมาณตามโครงการสนับสนุน ในการผลิตสื่อ/
นวัตกรรม พัฒนาทักษะการอ่านออก เขียนได้ ประชุมครูผู้สอน เพื่อร่วมกันเลือกและจัดทำแบบฝึก/
เอกสาร เพื่อใช้ในการพัฒนาการอ่านออก เขียนได้ ให้เหมาะสมกับงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมดำเนินการจัดซ้ือ/จัดหา วัสดุ อุปกรณ์ สำหรับใช้จัดทำสื่อการเรียนรู้ และครู
จัดทำเอกสารแบบฝึกทักษะต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับนักเรยี นในแต่ละชั้น ได้แก่ แบบฝึกทักษะการอ่าน
และเขียน ตามบัญชีคำพื้นฐาน แบบฝึกทักษะการเขียนเรื่องตามจินตนาการ และบัตรคำตามบัญชี
พื้นฐาน โดยมีผู้บริหาร นิทศการสอน กำกับติดตาม ครูนำแบบฝึกต่าง ๆ และสื่อการสอน ไปใช้ใน
การจดั การเรียนรู้ เพื่อพฒั นาการอ่าน เขียน อยา่ งสมำ่ เสมอ

4) มกี ารวางแผนนเิ ทศ และตดิ ตาม
ไดด้ ำเนนิ ประชมุ ครูนเิ ทศ ติดตาม แนวทางการนเิ ทศการสอนติดตามการอ่าน-เขียนของ

นักเรียน โดยการแตง่ ตั้งคณะกรรมการนิเทศภายในทกุ เดือน จัดทำปฏทิ ินการนิเทศภายใน/ การออก
นิเทศติดตาม รวมรวบข้อมูล ติดตามผลการอ่านเขียนของนักเรียน และสรุปผลการนิเทศ วางแผน
พัฒนาตอ่ ไป

21

5) มกี ารสรปุ ติดตาม รายงานผล และพฒั นาอย่างตอ่ เน่ือง
มีการติดตามโดยที่ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมรายงานผลการจัดกิจกรรมพัฒนาการอ่าน

ออก เขยี นได้ ผู้บรหิ าร/ครผู ู้สอนนำขอ้ มลู วางแผนพฒั นาการอ่าน เขยี น ในคร้งั ต่อไป

องคป์ ระกอบท่ี 1.2 การบรหิ ารงบประมาณ การระดมทรพั ยากรและการลงทนุ เพอ่ื การศึกษา
ตวั ชวี้ ัดท่ี 1 มกี ารดำเนนิ กิจกรรมการบรหิ ารงบประมาณ
1) จดั ทำแผนการบรหิ ารงบประมาณ
โรงเรยี นมกี ารจดั ทำแผนบริหารงบประมาณทีโ่ ปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยดำเนินการ ดงั นี้
1.1) ประชุมรองผู้อำนวยการ และหัวหน้ากลุ่มงาน 4 ฝ่ายและครูผู้รับผิดชอบโครงการ

จัดทำแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี 2564
1.2) คณะกรรมการจัดทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณ /จัดทำ แผนปฏิบัติการให้

สอดคลอ้ งกบั ภารกจิ นโยบาย ปญั หา ความตอ้ งการในการบรหิ าร และการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
1.3) นำเสนอคณะกรรมกาสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อขออนุมัติแผนปฏิบัติการเพื่อใช้

งบประมาณ
1.4) ครูผ้รู บั ผิดชอบโครงการดำเนินงานตามโครงการ/กจิ กรรม
1.5) จัดทำทะเบยี นควบคมุ การใชจ้ า่ ยเงนิ ตามแผนปฏบิ ัตกิ าร
1.6) ครผู ้รู ับผดิ ชอบโครงการรายงานผลการดำเนินงาน เม่อื สิ้นปีกาศกึ ษา

22

2) ดำเนนิ การตามแผนการบรหิ ารงบประมาณ
โรงเรยี นดำเนินการตามแผนการบริหารงานงบประมาณ ดงั น้ี
2.1) มแี ผนปฏบิ ัติการและปฏบิ ตั ติ ามแผน
- มกี ารดำเนนิ การตามแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี 2564
- จัดทำรายงาน/ทะเบยี นคมุ /รายงานปงี บประมาณ
- รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการเมื่อเสร็จสิ้นโครงการต่อผู้บริหาร

หนว่ ยงานตน้ สังกัดและผู้มีสว่ นไดเ้ สยี
2.2) บรหิ ารจดั การงบประมาณทีม่ ีประสิทธภิ าพ เกดิ ประโยชนส์ ูงสุดตอ่ สถานศึกษา
เมื่อได้รับงบประมาณจะมีการใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่า ตามความสำคัญและ

จำเป็น เพื่อให้เกดิ ประโยชน์สูงสุดตอ่ สถานศึกษา

3) มีการบริหารจัดการงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด
ตอ่ สถานศกึ ษา

โรงเรียนดำเนินการบริหารจัดการงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ จัดทำคำส่ัง
มอบหมายงานอย่างชัดเจน การใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับจัดสรรงบประมาณจากเงินงบประมาณ
เงินนอกงบประมาณ และเงินรายได้ของสถานศึกษา มุ่งสู่คุณภาพของผู้เรียนอย่างเสมอภาคทุกคน
และสร้างโอกาสทางการเรยี นรู้ของนักเรียนอยา่ งต่อเน่อื ง โดยการดำเนินการ ดงั น้ี

1. จดั ทำแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
2. จดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี
3. จัดทำรายงานประจำปขี องสถานศึกษา
4. จัดทำรายงานการสรปุ ผลตามโครงการ
5. จัดทำรายงานเงินคงเหลือประจำวัน บัญชีรายรับ -รายจ่าย ทะเบียนคุมงบประมาณ
ทุกประเภทของโรงเรยี น

23

4) จดั ทำรายงานทางการเงนิ ของสถานศกึ ษา
โรงเรียนจัดทำรายงานทางการเงินถูกต้องตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกำหนด

และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง จัดทำเป็นระบบต่อเน่ือง และเป็นปจั จุบัน สามารถตรวจสอบได้ ทุกขั้นตอน
โดยไดด้ ำเนินการ ดังน้ี

1. แต่งตั้งคณะครูจัดทำรายงานทางการของของสถานศึกษา เช่น การรายงานเงิน
คงเหลือประจำวนั , รายงานการเกบ็ รกั ษาเงิน

2. รายงานการควบคุมเงนิ นอกงบประมาณสิ้นปงี บประมาณ
3. รายงานข้อมูลด้านการเงิน ในระบบ e-budget

24

5) มีการดำเนินการตามระเบียบพัสดุ และการดำเนนิ การตรวจสอบภายในสถานศึกษา
5.1) ดำเนินการตามระเบียบพสั ดุ
โรงเรียนมกี ารดำเนนิ งานเก่ยี วกับงานพสั ดุ เอกสารการจัดซ้ือ จัดจ้างที่ถูกต้องตาม

ระเบยี บพระราชบัญญตั ิการจัดซอื้ จัดจ้างและการบริหารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. 2560
5.2) การดำเนนิ การตรวจสอบภายในสถานศึกษา
โรงเรียนมีการดำเนินการตรวจสอบภายในสถานศึกษาและการดำเนินงานว่าด้วย

พสั ดุ ถกู ต้องตามระเบียบ
5.3) มกี ารแตง่ ตง้ั คณะกรรมการตรวจรบั -จา่ ยพสั ดุ และตรวจสอบภายในทุก

งบประมาณ

ตัวช้ีวดั ท่ี 2 มกี ารดำเนนิ กจิ กรรมการระดมทรัพยากรและการลงทุนเพ่ือการศกึ ษา
1) จัดทำแนวทาง/แผน ในการระดมทรัพยากรจากภาคีเครือข่าย/ภาคประชาสังคมมา

ใชเ้ พือ่ ประโยชนท์ างการศึกษา
1.1) สำรวจความต้องการของคณะครู ผู้ปกครอง ในการพฒั นาสถานศึกษา
1.2) นำเสนอขอมตทิ ปี่ ระชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานของโรงเรยี น
1.3) แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดำเนินงานการระดมทรัพยากรและการลงทนุ เพอื่ การศึกษา
1.4) ดำเนินการจัดทำแนวทาง/แผน/ในการระดมทรัพยากรจากภาคีเครือข่าย/ภาค

ประชาสังคมมาใช้เพ่ือประโยชน์ทางการศึกษา
1.5) ดำเนนิ การระดมทรพั ยากรและการลงทุนเพอ่ื การศึกษา
1.6) สรปุ รายงานผล

25

2) ดำเนินการตามแนวทาง/แผน ในการระดมทรัพยากรจากภาคีเครือข่าย/ภาคประชา
สงั คม มาใชเ้ พ่อื ประโยชน์ทางการศกึ ษา

2.1) ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และคณะครู บุคลากร เพื่อสร้าง
ความเขา้ ใจรว่ มกนั ในการระดมทรพั ยากร

2.2) ดำเนินการระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาการศึกษา โดยการทอดผ้าป่าสามัคคีเพื่อ
พฒั นาการศึกษา

2.3) แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดำเนนิ การจัดงานทอดผ้าป่าสามัคคี
2.4) ดำเนนิ การรบั บริจาคจากผ้มู ีจติ ศรทั ธา
2.5) สรปุ รายงานผล

3) การระดมทรัพยากรจากภาคีเครือข่าย/ภาคประชาสังคม ส่งผลต่อการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ และความร่วมมือจากหลาย
ภาคส่วนเพม่ิ ขึ้น

โรงเรยี นได้ดำเนนิ การการระดมทรพั ยากรจากภาคเี ครือขา่ ย/ภาคประชาสงั คม ส่งผลต่อ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยได้รบั การสนบั สนนุ งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ และความรว่ มมือจาก
หลายภาคส่วน ได้แก่ การจัดกอล์ฟการกุศลครบรอบ 22 ปี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื เพอื่ จดั หนังสือ คู่มอื ประกอบการสอบเข้าระดบั มหาวทิ ยาลัย

26

องคป์ ระกอบที่ 1.3 การบริหารงานบุคคล การสง่ เสรมิ วินัยการรักษาวินยั จรรยาบรรณวชิ าชพี
และการพฒั นาทางวชิ าชีพ

ตวั ช้วี ดั ที่ 1 มีการดำเนินกิจกรรมการบรหิ ารงานบุคคล การส่งเสริมวินัยและการรักษาวินัย
จรรยาบรรณวชิ าชพี

1) จดั ทำแผนการบริหารงานบคุ คล
1.1) ประชุมร่วมกับคณะครู จัดทำแผนการบริหารงานบุคคล
1.2) จัดทำคำสง่ั แต่งต้งั ครูและบคุ ลากรรับผิดชอบปฏิบตั ิงาน

ในโครงสร้างการบริหารงานบคุ คล
1.3) จดั ทำคูม่ ือปฏบิ ตั ิงาน /ภาระงาน กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล

ใหค้ รแู ละบุคลากรปฏิบตั ิงาน
1.4) จัดทำโครงการพัฒนาบุคลากร เสนอผ้บู ริหารอนุมัติโครงการ
1.5) กำหนดครูผรู้ บั ผิดชอบโครงการ/กิจกรรม
1.6) ดำเนนิ การตามโครงการ/กจิ กรรม
1.7) สรุปรายงานโครงการ

2) ดำเนินการตามแผนการบรหิ ารงานบุคคล
2.1) ประชุมชี้แจงแนวทางการปฏิบัติให้ครูและบุคลากร ปฏิบัติงานตามแผนการ

บริหารงานบุคคล
2.2) มอบหมายครูผู้รับผิดชอบโครงการพัฒนาบุคลากร/ดำเนินการตามกิจกรรม ดังน้ี

ตามปฏิทนิ การปฏิบตั ิงาน ดงั น้ี
(1) กจิ กรรมพฒั นาการจัดการเรยี นรดู้ ว้ ย PLC
(2) กิจกรรมประชุมประจำเดอื น
(3) กิจกรรมประชมุ อบรม สมั มนา ศกึ ษาดงู าน
(4) กิจกรรมประเมนิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลการทำงาน

27

3) มีการบริหารจัดการบริหารงานบุคคลที่มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
สถานศึกษา

โรงเรียนมีการบริหารจัดการงานบุคคลเพื่อให้มีประสิทธิภาพโดยการส่งเสริมพัฒนาครู
และบุคลากรให้มีความรูค้ วามสามารถ ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญ/ด้านการจดั ประสบการณ์ เพื่อ
เกดิ ประโยชน์สูงสุดต่อสถานศึกษา ดังน้ี

3.1) งานวางแผนอตั รากำลงั
- จัดครเู ขา้ สอนตรงตามวิชาเอก/ความถนดั

3.2) การเสริมสรา้ งประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติราชการ
- ประชุมคณะครจู ดั ทำคำรบั รอง MOU การปฏบิ ัตงิ านระหว่างครกู ับผรู้ ิหารโรงเรียน

3.3) การเสรมิ แรงครู
- กำหนดหน้าที่และมอบหมายการปฏิบัติงานตามกรอบการปฏิบัติงานแก่ครูให้

ชัดเจน
- มอบของขวญั เป็นกำลังใจในวันสำคญั ต่าง ๆ ใหก้ ารยกยอ่ งชมเชย
- ให้โอกาสแสดงความคดิ เห็นในเร่ืองต่าง ๆ มีอิสระในการคดิ สร้างสรรค์ ปรับปรงุ งาน

3.4) กจิ กรรมประชุม อบรม สัมมนา ศกึ ษาดงู าน
- ส่งครูเข้ารว่ มกิจกรรมประชุม อบรม สัมมนา ของหน่วยงานต้นสังกัด/หน่วยงานที่

เกี่ยวขอ้ ง

28

4) จัดทำแผนการสง่ เสรมิ วินยั และการรกั ษาวนิ ยั จรรยาบรรณวชิ าชีพ
โรงเรียน มีการจัดทำแผนการส่งเสริมวินัยและการรักษาวินัย จรรยาบรรณวิชาชีพ สำหรับบุคลากร
ทกุ คน โดยดำเนินการ ดงั นี้

4.1) จดั ทำแผนการสง่ เสริมวนิ ัยและรกั ษาวินัยจรรยาบรรณวชิ าชพี
4.2) จัดทำคู่มือการปฏิบัติราชการข้าราชการครแู ละบุคลากร
4.3) ประชมุ ชแี้ จงคณะครูบุคลากร ปฏบิ ตั ิราชการตามแผนการส่งเสรมิ วินยั ฯ
4.4) ครูรายงานการปฏบิ ตั งิ านของตนเอง เมื่อสิน้ ปกี ารศกึ ษา
5) ดำเนินการตามแผนการสง่ เสริมวินยั และการรกั ษาวนิ ัย จรรยาบรรณวชิ าชีพ
ครูผู้รับผิดชอบงานดำเนินการตามแผนการส่งเสริมวินัย และรักษาวินัย และจรรยาบรรณ
วิชาชพี มกี จิ กรรมดังตอ่ ไปนี้
5.1) กิจกรรมภารกิจการปฏิบัตขิ องครแู ละบคุ ลากร เชน่
การมา–การกลับ ปฏิบัติราชการ/การแต่งกายประจำวัน/ ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการลา/การไปราชการ/
การออกนอกบริเวณโรงเรียนในเวลาราชการ/ การปฏบิ ตั หิ น้าท่ีเวรรกั ษาการณ์
5.2) กจิ กรรมการประเมนิ ประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลในการทำงาน

- ประกาศเกณฑ์การประเมินและแนวปฏิบัติในการพิจารณาความดีความชอบ ให้แก้
ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาในสถานศึกษาทราบโดยทว่ั กัน

- ประชุมคณะครูจดั ทำคำรับรอง MOU การปฏบิ ตั งิ านระหว่างครกู บั ผู้บริหารโรงเรียน
5.3) ส่งครูเข้ารับอบรม/สัมมนา ประชุมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้ ด้านวินัยการรักษาวินัย
และจรรยาบรรณวิชาชีพครู
5.4) เป็นแบบอย่างทีด่ ใี ห้กบั คณะครใู นโรงเรยี น

29

ตัวชี้วัดที่ 2 มีการดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมให้ครู และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนา
ทางวชิ าชพี

ดำเนินการแผนงาน โครงการหรือกิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาครูและบุคลากร
ทางการศึกษาด้วยวิธีการหลากหลาย สอดคล้องตามความต้องการจำเป็น มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ตดิ ตาม ประเมนิ ผล ผลการพัฒนา และนำความรมู้ าใช้ในการจดั การเรียนการสอน และการปฏิบัติงาน
ในหนา้ ที่

1) ดำเนินการตามแผนงานโครงการพัฒนาบุคลากร
ประกอบด้วยกจิ กรรม เช่น
กจิ กรรมพฒั นาการจดั การเรียนร้ดู ว้ ย PLC
(1) ประชมุ คณะครชู แ้ี จง สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางการปฏิบัติ กจิ กรรม

พัฒนาการจัดการเรยี นรู้สร้างชมุ ชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (PLC)
(2) สรา้ งทมี งาน PLC ที่สอดคล้องกับบรบิ ทของโรงเรยี น โดยแบง่ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้

ทางวิชาชพี (PLC) เปน็ 4 กลุ่ม
(3) แต่ละกลมุ่ PLC เลือกประธาน เลขากลุ่ม พร้อมตั้งชื่อกลมุ่ แลว้ ดำเนนิ การ

พฒั นาการจัดการเรียนรู้ รว่ มกนั สปั ดาห์ละ 2 ชั่วโมง ตามกระบวนการ ดังน้ี
(3.1) คน้ หาปัญหาความต้องการ
(3.2) รว่ มกนั หาแนวทางในการแก้ปญั หา
(3.3) ออกแบบกจิ กรรมการแกป้ ญั หารว่ มกัน

จดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้ ตามท่ีออกแบบกจิ กรรมตามวธิ กี ารท่ีกลุม่ เลือก
(3.4) แลกเปล่ยี นเสนอแนะ นำเสนอกิจกรรมการแก้ปัญหาให้ผ้ทู มี่ ีประสบการณ์ให้

ข้อเสนอแนะ
(3.5) นำสกู่ ารปฏบิ ตั /ิ สงั เกตการสอน
(3.6) สะท้อนผลสรุปผลการนำรปู แบบ/วิธกี าร

ในการนำไปแก้ปัญหา
(4) ครูสรุปรายงาน เผยแพร่ผลงาน/นวตั กรรม โดยการจัดป้ายนิเทศนำเสนอผลงาน

และการเปดิ ชัน้ เรยี นระดบั โรงเรยี น
จัดกจิ กรรมประชมุ อบรม สัมมนา ศึกษาดงู าน
(1) ส่งครทู ีเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรมประชุม อบรม สัมมนา ของหนว่ ยงานต้นสังกดั /หนว่ ยงานท่ี

เกยี่ วขอ้ ง
(2) ครรู ายงานสรปุ ผลการเขา้ ร่วมกจิ กรรมประชุม อบรม สัมมนา เสนอผบู้ รหิ าร

โรงเรียน

30

องค์ประกอบ ที่ 1.4 การบรหิ ารงานทัว่ ไป และการมีส่วนร่วมของสถานศึกษากบั ผ้ปู กครองและชุมชน
ตัวชวี้ ดั ที่ 1 มีการดำเนนิ กิจกรรมการบรหิ ารงานท่ัวไป
1) จัดทำแผนการบรหิ ารงานทว่ั ไป
1.1) ประชุมครูและบุคลากร/คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง สร้างความรู้ความเข้าใจใน

การพัฒนา
1.2) จัดทำแผนงานการบริหารงานทัว่ ไป/โดยจัดทำเป็นโครงการพัฒนาบริหารจดั การ/

จำนวน 10 กจิ กรรม ดังน้ี
- กิจกรรมการจัดระบบบรหิ ารจัดการ
- กจิ กรรมวางแผนการบรหิ ารจัดการ
- จัดทำคำรับรองการปฏบิ ตั ิราชการ
- กจิ กรรมประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาฯ
- กจิ กรรมประชาสัมพนั ธโ์ รงเรยี น
- กจิ กรรมพฒั นาระบบขอ้ มูลสารสนเทศ
- กจิ กรรมการประชุมผู้ปกครองนักเรียน
- การพฒั นางานอน่ื ๆ ตามนโยบายต้นสังกัด

1.3) นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนเพื่อขอความเห็นชอบ
และอนุมตั ิการใช้แผนฯ

1.4) นำแผนการบรหิ ารทัว่ ไปส่กู ารปฏิบตั ิในระดับสถานศึกษา
1.5) สรปุ รายงานผล

31

2) ดำเนินการตามแผนการบรหิ ารงานทัว่ ไป
2.1) ครูผู้รับผิดชอบปฏิบตั ิงานในแต่ละกิจกรรมตามรายละเอยี ดของกิจกรรมทั้งวิธีการ

ดำเนินงาน ระยะเวลา งบประมาณ ที่กำหนดไว้ในโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีการศึกษา
2563

2.2) ผู้บริหารสถานศึกษากำกับ ติดตาม ดูแล ให้คำปรึกษา สนับสนุน ให้กำลังใจใน
การปฏบิ ัตงิ าน
ในแตล่ ะกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้

2.3) ครูผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรมรายงานผลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่รับผิดชอบตาม
กำหนดเวลา

2.4) คณะกรรมการรายงานผลการดำเนินงานโครงการต่าง ๆ หลังสิ้นสดุ โครงการ
3) มีการบรหิ ารงานธรุ การสถานศึกษาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สงู สุดต่อ
สถานศกึ ษา

โรงเรียนได้มีการบริหารงานธุรการในสถานศึกษา โดยจัดทำคำสั่งมอบหมายเจ้าหน้าท่ี
ธรุ การ ดำเนนิ งานธรุ การดำเนนิ งาน ดงั น้ี

3.1) งานสารบรรณ
ดำเนินงานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำการรับ -ส่ง

การเก็บรกั ษา การยืม จนถงึ การทำลาย /เอกสารจดั เก็บใส่แฟ้ม แยกเป็นหมวดหมู่ ค้นหาไดง้ ่าย

3.2) งานธรุ การ
1. ร่างและพิมพ์หนังสือ โต้ตอบถึงส่วนราชการ พิมพ์เอกสารตามรูปแบบ

งานสารบรรณ
2. จัดทำแบบฟอร์มอมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารสถานศึกษา เพื่อบริการ

คณะครู จัดเก็บเป็นหมวดหมู่ เพือ่ อำนวยความสะดวกแกค่ ณะครแู ละบุคลากรในการนำไปใช้งาน

32

4) จดั ทำแผนการใชอ้ าคารสถานที่
4.1) ประชมุ ครูและบุคลากร สร้างความร้คู วามเขา้ ใจในการพฒั นาอาคารสถานท่ี
4.2) ครผู ู้รบั ผดิ ชอบจัดทำโครงการพฒั นาแหล่งเรียนรู้/ มีรายละเอยี ดการจดั กจิ กรรม

เพอ่ื พฒั นาอาคารสถานที่ ดงั น้ี
- กจิ กรรมการปรับปรงุ ภมู ทิ ัศน์
- กิจกรรมรักษาความปลอดภยั
- กิจกรรมจดั ห้องเรยี นนา่ อยู่น่าเรยี น
- กิจกรรมการปรับปรงุ ห้องคอมพิวเตอร์

4.3) ครูผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรมรายงานผลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่รับผิดชอบตาม
กำหนดเวลา

4.4) ผู้บริหารสถานศึกษากำกับ ติดตาม ดูแล ให้คำปรึกษา สนับสนุน ให้กำลังใจในการ
ปฏบิ ัตงิ าน
ในแต่ละกิจกรรมให้เปน็ ไปตามแผนทวี่ างไว้

4.5) คณะกรรมการรายงานผลการดำเนนิ งานโครงการตา่ ง ๆ หลงั สน้ิ สดุ โครงการ
5) ดำเนินการตามแผนการใชอ้ าคารสถานท่อี ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และเกิดประโยชนส์ งู สุด

5.1) ครูผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานในแต่ละกิจกรรมตามรายละเอียดของกิจกรรมทั้งวิธีการ
ดำเนินงาน ระยะเวลา งบประมาณ ที่กำหนดไว้ในโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีการศึกษา
2564

(1) กจิ กรรมการปรับปรงุ ภูมทิ ศั น์ ใหน้ า่ อยูแ่ ละสวยงามตามบรเิ วณหนา้ อาคารต่าง ๆ
(2) การจัดกิจกรรมรักษาความปลอดภัย เช่น แต่งตั้งเวรรักษาการณ์ประจำสถานที่
ราชการท้งั กลางวันและกลางคนื /ปรบั ปรงุ ระบบไฟฟ้าภายในอาคารเรียน

33

(3) การจัดกิจกรรมห้องเรียนน่าอยู่น่าเรียน ดำเนินการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในห้องเรียน
ปรับปรุง ตกแต่งห้องเรียน ทั้งภายในและภายนอกให้มีความสะอาด สวยงาม บรรยากาศเอื้อต่อ
การเรยี นรู้

5.2) ผู้บริหารสถานศึกษากำกับ ติดตาม ดูแล ให้คำปรึกษา สนับสนุน ให้กำลังใจใน
การปฏิบตั งิ านในแต่ละกิจกรรมให้เปน็ ไปตามแผนทว่ี างไว้

5.3) ครูผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรมรายงานผลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่รับผิดชอบตาม
กำหนดเวลา

5.4) คณะกรรมการรายงานผลการดำเนินงานโครงการต่าง ๆ หลังส้นิ สดุ โครงการ

ตัวชว้ี ัดท่ี 2 มกี ารดำเนินการให้สถานศึกษามสี ่วนรว่ มกับผู้ปกครองและชุมชน ดงั น้ี
1) สถานศึกษาประชุมวางแผนโครงการ หรือกิจกรรมที่ปฏิบัติงานร่วมกับผู้ปกครองและ

ชมุ ชน
โรงเรียนจัดทำโครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ/มีกิจกรรมที่ปฏิบัติงานร่วมกับ

ผ้ปู กครองและชมุ ชน ได้แก่ กิจกรรม
1.1) เชิญคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อขอมติอนุมัติการระดมทรัพยากร

เพื่อการศึกษา เพื่อปูกระเบื้องหอประชุมชมพูชานัย หรือการประเมินการแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 20019 ในสถานศึกษาเพื่อความปลอดภัยของนักเรียน ครู และบุคคลภายนอกที่ติดต่อ
ราชการ

1.2) ประชุมคณะกรรมการสมาคมศิษย์เก่าฯ เพื่อขอมติเห็นชอบขอใช้งบประมาณ
เพื่อพฒั นาหอ้ งสมุดโรงเรียน

1.3) ประชาสัมพันธ์โรงเรียน โดยการใช้ Application Line สำหรับการประชาสัมพันธ์
ตดิ ต่อประสานงานระหวา่ งผ้บู ริหาร ครู ผปู้ กครองนักเรียน และแจ้งเร่อื งการฉดี วคั ซนี ให้แก่นักเรยี น

34

2) สถานศึกษาจดั ทำแผนโครงการ หรอื กจิ กรรมทีป่ ฏิบตั ิงานร่วมกบั ผปู้ กครองและชมุ ชน
โรงเรียนจัดทำโครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ/มีกิจกรรมที่ปฏิบัติงานร่วมกับ

ผู้ปกครองและชุมชน ได้แก่ กิจกรรม
2.1) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
2.2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์โรงเรียน โดยการใช้ Application Line สำหรับติดต่อ

ประสานงานระหวา่ งผู้บรหิ าร ครู และผูป้ กครองนักเรียน
2.3) กิจกรรมประชุมผู้ปกครองนักเรียน เพื่อเปิดผู้ปกครองซักถาม เสนอแนะ เกี่ยวกับ

การจัดการศึกษาและเรื่องอื่น ๆเพื่อทางโรงเรียนจะได้นำไปพัฒนา เพื่อให้การจัดการศึกษา
มีประสทิ ธภิ าพดยี ง่ิ ข้ึน

3) สถานศึกษาดำเนินการตามแผนโครงการ หรือกิจกรรมที่ปฏิบัติงานร่วมกับผู้ปกครอง
และชุมชน

3.1) ครูผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานในแต่ละกิจกรรมตามรายละเอียดของกิจกรรม ทั้งวิธีการ
ดำเนินงาน ระยะเวลา งบประมาณ ที่กำหนดไว้ในโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีการศึกษา
2564

3.2) ผู้บริหารสถานศึกษากำกับ ติดตาม ดูแล ให้คำปรึกษา สนับสนุน ให้กำลังใจใน
การปฏบิ ัติงานในแต่ละกิจกรรมใหเ้ ปน็ ไปตามแผนทวี่ างไว้

3.3) การฉีดวัคซีนป้องกนั การแพร่ระบาดโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 โดย
รองผู้อำนวยการกล่มุ บรหิ ารทั่วไป ครผู รู้ ับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนแนวทาง และแผนเผชญิ
เหตุในการป้องกันในโรงเรียน ในการจัดเตรียมสถานท่ี และมาตรการการเฝา้ ระวังการปอ้ งกัน

3.4) คณะกรรมการรายงานผลการดำเนินงานโครงการต่าง ๆ หลังสน้ิ สดุ โครงการ

35

4) สถานศึกษาได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชนในการพัฒนาสถานศึกษา
มสี ่วนรว่ มในการส่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องผ้เู รียนตามศักยภาพ

โรงเรียนทำหนังสือถึงผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน /
กรรมการสถานศึกษา/ชุมชน /ในการจัดกิจกรรมเปิดบ้านวิชาการ ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ
และประเมินสถานศกึ ษาเพอ่ื รบั รางวลั พระราชทาน ปกี ารศกึ ษา 2564

5) จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน และมีการรายงานผลการดำเนนิ งานตอ่ ผ้เู ก่ียวขอ้ ง
5.1) ครผู ู้รบั ผดิ ชอบโครงการ/กิจกรรม
5.2) รายงานผลการจัดกิจกรรมให้ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต่าง ๆ ทำเป็นจดหมายข่าว/

เฟชบกุ๊ / ไลนผ์ ้ปู กครองทุกระดับชั้น

36

2. ผลการดำเนินการตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ และหรือสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

2.1 มีการวางแผนและกระบวนการทำงานที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องต่อการปฏิบตั ิงาน
ในหนา้ ที่

ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงาน วันที่ 16 สิงหาคม 2564 – 16 กุมภาพันธ์ 2565 เป็นระยะเวลา
6 เดือน ข้าพเจ้าได้ดำเนินการปฏิบัติงานในหน้าที่ ตามนโยบายที่ได้กำหนดกิจกรรมแผนปฏิบัติการ
ปีงบประมาณ 2564 ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตามโครงการ/กิจกรรม ที่ได้รับมอบหมาย ดำเนินการ
วางแผนกระบวนการทำงาน ดังน้ี

1. ขน้ั วางแผน (Plan : P)
1.1 ประชุมวางแผน ชี้แจงถึงเหตุผลและความจำเป็นในการจัดทำโครงการ/กิจกรรม

พัฒนาผู้เรยี น ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร/สพฐ ต่อที่ประชุมครูและคณะกรรมการสถานศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน

1.2 จัดทำโครงการพัฒนาผู้เรียนตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ/สพฐ. ที่สอดคล้อง
กบั แผนปฏบิ ตั ิงานประจำปแี ละแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา

1.3 กำหนดผู้รบั ผิดชอบโครงการ/กิจกรรมกำหนดเปา้ หมายรว่ มกัน
2. ขั้นดำเนินการ (DO : D)
ดำเนินการตามแผนงาน/โครงการการดำเนินการตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ/
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานในแตล่ ะกจิ กรรม ดงั นี้

ก. โครงการพฒั นาศกั ยภาพผเู้ รยี นในความเป็นทางวชิ าการ O-Net
1) กจิ กรรมพฒั นาการอา่ น-เขียน
2) กิจกรรมส่งเสริมรกั การอา่ น

ข. โครงการพฒั นาครแู ละบุคลากร
1) กิจกรรมชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ PLC
2) กจิ กรรม ประชมุ , อบรม,ศึกษาดูงาน
3) กิจกรรมประชมุ ประจำเดอื น

ค. โครงการพัฒนาระบบการเรียนรู้
1) กิจกรรมจดั การเรยี นร้เู ชงิ รุก (Active Learning)
2) กจิ กรรมยกระดับคณุ ภาพผ้เู รียน
3) กิจกรรมสอนเสรมิ เตมิ เต็ม
4) กจิ กรรมการวิจัยในชัน้ เรียน
5) กจิ กรรมนเิ ทศภายใน

3. ขั้นตดิ ตามประเมนิ ผล (CHECK : C)
3.1 มกี ารตรวจสอบการจัดกิจกรรมโดยผ้บู รหิ าร คณะกรรมการสถานศกึ ษา
3.2 การประเมนิ ความพึงพอใจจากสถานศึกษาและผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี

37

4. ขัน้ ปรับปรงุ แกไ้ ข (ACT : A)
4.1 สรุปผลการจัดกิจกรรมตามโครงการ นำผลมาวิเคราะห์และหาแนวทางใน

การขับเคลือ่ นนโยบายในปกี ารศกึ ษาต่อไป
4.2 ใหม้ ีการรายงานผลต่อหน่วยงานตน้ สงั กดั ผมู้ ีส่วนได้เสียและสาธารณชน

2.2 มีผลงานที่แสดงให้เห็นถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สะท้อนภาวะผู้นำ และเป็นประโยชน์ต่อ
การยกระดับคุณภาพการศึกษา

โรงเรียนจัดทำโครงการพัฒนาผู้เรยี น ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ/สพฐ ที่สอดคล้องกับ
แผนปฏิบัตงิ านประจำปีและแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา

ผลงานที่แสดงให้เห็นความคิดริเริ่มสร้างสรรคแ์ ละสะท้อนภาวะผู้นำและเป็นประโยชน์ต่อการ
ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา ดงั น้ี

- การจัดกิจกรรมสอนเสริมเติมเต็ม (ติวเข้ม O-net ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6)
ส่งผลใหม้ คี ะแนนเฉลยี่ O-Net สูงกวา่ ระดับชาติ 4 รายวชิ า

ระดับ/รายวชิ า ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมฯ ภาษาองั กฤษ เฉล่ยี

คา่ เฉล่ียระดบั โรงเรยี น 46.78 27.73 33.32 36.35 28.66 34.57
คา่ เฉลยี่ ระดับจงั หวดั 41.90 22.63 30.52 35.35 26.13 31.31

คา่ เฉลี่ยระดับสงั กัด สพฐ. 44.65 26.16 32.80 36.04 30.03 33.94
ค่าเฉลี่ยระดับประเทศ 44.36 26.04 32.68 35.93 29.94 33.79

- ดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ได้รับเกียรติบัตรแห่งความมุ่งมั่น อนุรักษ์สรรพส่ิง
สรรพชีวิต ดว้ ยไวพจน์แหง่ จติ สำนึกของเยาวชน

38

3. ผลงานที่เกิดจากการบรหิ ารจดั การของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา
3.1 การมีสว่ นร่วมจากการทำแผนหลายภาคส่วน
โรงเรียนมีการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจำปี

โดยความรว่ มมือจากหลายภาคสว่ น
1) ประชุมครูและบุคลากร เพื่อร่วมกันระดมความคิดใน การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ และ

แผนปฏบิ ัตกิ าร
2) ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อขอความคิดเห็นแนวทางในการพัฒนา

คณุ ภาพการศึกษา
3) ประชุมคณะกรรมการในการร่วมกันดำเนินงานวางแผนดำเนินงานจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของ

โรงเรียน
4) ประชมุ ผู้ปกครอง นกั เรียน เพื่อขอแสดงความคิดเหน็ ในการพฒั นาการศกึ ษา

3.2 มีแผนการปฏิบัตงิ านท่ถี กู ต้องชดั เจน
1) ศึกษามาตรฐานการศกึ ษา และประกาศใชม้ าตรฐานการศกึ ษา 3 มาตรฐาน
2) ศกึ ษานโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ และ สพฐ.
3) กำหนดนโยบายการบริหารงานของโรงเรียน
4) จัดทำรายงานประจำปขี องสถานศึกษา (SAR)
5) ประชุมจดั ทำแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี

3.3 ดำเนินการตามแผนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
1) จัดทำปฏทิ นิ การปฏิบัติงานตามแผนงาน//โครงการ
2) ดำเนนิ การจดั กจิ กรรมตามโครงการ

3.4 มกี ารกำกบั ติดตาม ตรวจสอบ
1) ประชมุ ติดตามผลการดำเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการ
2) สง่ เสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากร ไดร้ ับการพัฒนา เพื่อนำความรมู้ าพัฒนาในวชิ าชพี
3) นิเทศ ตดิ ตามการนำความรู้หรือประโยชน์จากผลงานทไ่ี ดม้ านำไปปฏบิ ตั ิสู่ห้องเรยี น

3.5 มีการรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน
โรงเรียนมีนโยบาย แจ้งให้ครูและบุคลากร ดำเนินการรายงานผลการปฏิบัติงาน เมื่อส้ิน

ปีการศกึ ษา เชน่
1) รายงานการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม ท่รี บั ผิดชอบ
2) รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านเพอื่ ประกอบการเลื่อนเงนิ เดือน
3) รายงานการประเมินประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล
4) รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR)
5) รายงานการเข้าอบรม/สมั มนา/ศึกษาดูงาน
6) รายงานการพฒั นาครสู ู่การพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น (PLC)

39

3.6 มีการปรับปรงุ แก้ไข และพัฒนา
1) ครูผรู้ บั ผิดชอบกจิ กรรม/โครงการ รายงานโครงงาน
2) ผู้บรหิ าร ร่วมกับครู ตรวจสอบรายละเอียดการจัดกจิ กรรม/โครงการ

3.7 มผี ลงานท่ีเปน็ แบบอยา่ งท่เี กดิ จากการบรหิ ารจดั การของผู้บริหารสถานศกึ ษา
ข้าพเจ้าได้เข้ารว่ มการอบรม/สมั มนา เพื่อพฒั นาตนเองอยูเ่ สมอ

3.8 มีการเผยแพร่ผลงาน
โรงเรียนได้มกี ารสื่อสารประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ผลงานให้ผู้ปกครอง ชุมชน ครู นักเรียน และ

ส่วนราชการไดท้ ราบ ดังน้ี
1) จัดทำจดหมายข่าวประชาสัมพนั ธ์
2) ประชาสัมพันธจ์ ดั ทำไวนิลติดหนา้ โรงเรียน
3) ประชาสมั พันธ์ในกลุ่ม Line คร,ู ผูป้ กครอง, นักเรียน,

กลมุ่ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ,กรรมการสถานศึกษา
4) ประชาสมั พันธ์ทาง Facebook โรงเรยี น

40

ภาพกิจกรรมการปฏบิ ัติงาน ระยะ 6 เดือน


Click to View FlipBook Version