The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by marine.fgdr, 2021-04-03 07:29:20

คู่มือธนาคารไข่หมึก

ธนาคารไข่หมึก

สำ�นกั วิจยั และพัฒนาประมงทะเล กรมประมง
สิงหาคม 2555



คู่มือธนาคารไขห่ มกึ 3

บทนำ�

ปัจจุบันทรัพยากรสัตว์น้ำ�ในทะเลอยู่ในสภาวะท่ีมีความเส่ือมโทรม
และมจี ำ�นวนลดนอ้ ยลงอย่างเหน็ ไดช้ ดั เมือ่ เปรยี บเทยี บกบั ในอดีตทผี่ า่ นมา
เน่ืองจากมีการทำ�การประมงท่ีมากขึ้นท้ังในเรื่องของจำ�นวนเรือประมง
ประสิทธภิ าพของเครอ่ื งมือประมง และเครือ่ งมือประมงท่ีหลากหลายชนดิ
ทำ�ให้มีการนำ�ทรัพยากรมาใช้อย่างไม่คุ้มค่า รวมไปถึงความต้องการของ
ผบู้ ริโภคสตั ว์น้ำ�มมี ากขึน้ ด้วย

ปลาหมกึ จดั ไดว้ า่ เปน็ สตั วน์ ำ้ �อกี ประเภทหนง่ึ ทม่ี คี วามสำ�คญั ทางเศรษฐกจิ
และเป็นที่ต้องการสำ�หรับผู้บริโภคในปริมาณที่สูงอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่า
จะเปน็ หมึกกระดอง หมึกหอม หมกึ กล้วย และหมึกสาย และอาจมีแนวโนม้
ให้ปลาหมึกมีปริมาณลดลง ในการทำ�การประมงด้วยเครื่องมือประมง
หลายชนิดมักมีไข่หมึกติดมาด้วย เช่น อวนลาก อวนรุน ลอบ และ
อวนจมปู เป็นต้น สำ�หรับลอบและอวนจมปู ไขห่ มกึ ที่ตดิ มายงั คงมีชีวติ
และสามารถฟกั เป็นตัวได้ จงึ เกดิ แนวคดิ ในการเพ่ิมลูกพันธ์หุ มึกให้กลับคืน
สู่ธรรมชาติโดยการจัดทำ� “ธนาคารไข่หมึก” โดยการนำ�ไข่หมึกที่ติด
มากับเครือ่ งมอื ประมง ซึง่ ได้แก่ หมึกหอม หมกึ กระดองลายเสอื หรอื
หมกึ กระดองก้นไหม้มาใสถ่ ุงอวนแขวนไว้ในกระชงั เพื่อให้ลกู หมึกฟกั ออก
เป็นตัวและเติบโตตามธรรมชาติต่อไป หรือนำ�มาเลี้ยงในโรงเรือนที่อยู่
รมิ ฝัง่ ทะเลในหมู่บา้ นชาวประมงจนฟกั ออกเป็นตัวแลว้ จึงปลอ่ ยลงสู่ทะเล
ซ่ึงเปน็ วธิ ีหนง่ึ ที่ชว่ ยเพมิ่ ทรัพยากรหมกึ ใหแ้ ก่ท้องทะเล และลดการสญู เสยี
ของไข่หมกึ

คณะผูจ้ ัดทำ�

สิงหาคม 2555

4 คูม่ อื ธนาคารไข่หมึก

สารบญั หน้า

5
ข้อมลู เบื้องตน้ ที่ควรทราบ 6
ข้อมูลทั่วไปของหมึก 6
- หมกึ หอม 12
- หมกึ กระดองลายเสอื 15
- หมกึ กระดองก้นไหม ้ 17
การฟกั ของไข่หมกึ 18
การจัดทำ�ธนาคารไขห่ มกึ 18
การรวบรวมไขห่ มึก 20
รปู แบบการจดั ทำ�ธนาคารไขห่ มกึ 24
ตัวอย่างสถานทจ่ี ดั ทำ�ธนาคารไขห่ มกึ 26
ภาพกิจกรรมในระหวา่ งการจดั ทำ�ธนาคารไขห่ มึก 27
คำ�สง่ ทา้ ย 28
เอกสารอ้างอิง 30
คำ�ขอบคุณ 31
คณะทำ�งาน

คู่มอื ธนาคารไขห่ มึก 5

ขอ้ มลู เบ้อื งตน้ ท่ีควรทราบ

ธนาคารไขห่ มึก หมายถงึ การนำ�ไขห่ มกึ ที่ตดิ มากบั เครื่องมือประมง
มาอนุบาลไว้ในกระชังที่อยู่ในทะเล หรือถังน้ำ�ในโรงเรือนริมฝั่งทะเล
ในหมู่บ้านชาวประมง เมื่อลูกหมึกฟักออกเป็นตัวแล้วก็จะถูกปล่อยลงสู่
ธรรมชาติ และกินอาหารทมี่ ีอยู่ตามธรรมชาตจิ นเติบโตเป็นหมกึ ขนาดใหญ่
ตอ่ ไป

6 ค่มู ือธนาคารไข่หมกึ

ขอ้ มูลท่วั ไปของปลาหมึก

สำ�หรบั ปลาหมึกท่ีตดิ มากบั เครอ่ื งมอื ประมงที่พบโดยทวั่ ไป ได้แก่
หมกึ หอม หมกึ กระดองลายเสือ และหมึกกระดองกน้ ไหม้ เปน็ ตน้ โดยมี
ข้อมลู ทวั่ ไปของปลาหมึกแตล่ ะประเภท ดงั นี้
หมกึ หอม
เปน็ ปลาหมึกที่อาศยั อยูบ่ รเิ วณกลางนำ้ � ปลาหมึกในกลุ่มนี้ชอบอยู่
รวมกันเป็นฝูง จะว่ายน้ำ�หาอาหารอยู่ตลอดเวลา ว่องไว ปราดเปรียว
จงึ ตอ้ งกนิ อาหารมากเพอ่ื ใหม้ พี ลงั งานเพยี งพอ ซง่ึ อาหารกค็ อื กลมุ่ ปลากลางนำ้ �
ปลาหมึกกลุ่มนี้ชอบอยใู่ นน้ำ�ที่ใสสะอาด ซึ่งมรี ายละเอียด ดงั น้ี

หมึกหอมเพศผู้ หมกึ หอมเพศเมีย

คมู่ อื ธนาคารไขห่ มกึ 7

D ลกั ษณะไขข่ องหมกึ หอม มลี กั ษณะเปน็ ฝกั ยาวคลา้ ยนว้ิ มอื รวมกนั อยู่

เปน็ พวงตดิ กบั วสั ดุใตน้ ำ้ � โดยฝกั ไขแ่ ตล่ ะฝกั จะประกอบดว้ ยปลอ้ ง 2-7 ปลอ้ ง
แต่ละปลอ้ งมีไข่ 1 ฟอง (จรุง, 2541)
D จำ�นวนไข่ของหมกึ หอม หมกึ หอมที่มีขนาดความยาว 175-210
มลิ ลิเมตร มีปรมิ าณไข่เฉลย่ี 695 ฟอง (ทวิ า, 2523)
D ระยะไข่ของหมกึ หอม ตามปกติแลว้ ไข่หมึกหอมจะใช้เวลาในการ
ฟกั ประมาณ 2-3 สปั ดาห์ ระหวา่ งน้นั รูปร่างจะเปล่ยี นแปลงและขนาดของ
ไขจ่ ะเพ่มิ ข้ึน โดยสามารถแบ่งอยา่ งครา่ วๆ เพ่ือความสะดวกในการจัดการ
ออกเป็น 4 ระยะ แต่ละระยะใช้เวลา 3-5 วนั ดังน้ี

ระยะไข่ของหมกึ หอม

8 คูม่ อื ธนาคารไข่หมึก

(1) ไขใ่ หม่ สำ�หรับไข่หมกึ หอม ฝักไข่ในระยะน้ีมีขนาดเล็ก ยาว
เรยี ว สขี าว ไมแ่ บ่งเปน็ ปล้อง เม็ดไข่ภายในยังมขี นาดเล็ก ส่วนไข่หมกึ กระดอง
ยังมีสขี าวขนุ่
(2) ไขอ่ อ่ น เปลือกไข่เริ่มโปร่งแสงมองเห็นตัวอ่อนภายใน ไข่
ขยายขนาดออกทัง้ ความกวา้ งและความยาว ฝักไขข่ องหมกึ หอมในระยะนี้
จะเริม่ คอดเปน็ ปลอ้ ง
(3) ไขแ่ ก่ เปลอื กไขโ่ ปร่งแสงมองเห็นตัวอ่อนภายใน ตัวออ่ นมตี า
สแี ดง ส่วน yolk (ไขแ่ ดง) แบ่งแยกและมีขนาดใหญก่ ว่าส่วนหวั ของตัวอ่อน
ฝักไข่หมกึ หอมแบ่งเปน็ ปล้องชดั เจน
(4) ไขแ่ ก่จดั เปลอื กไขข่ ยายตวั เตม็ ทท่ี ำ�ใหเ้ ปลอื กไขโ่ ปรง่ ใส ตวั ออ่ น
มตี าสดี ำ� yolk (ไขแ่ ดง) มขี นาดเลก็ กวา่ สว่ นหวั ฝกั ไขข่ องหมกึ หอมแตล่ ะปลอ้ ง
จะขยายตวั จนเกอื บเปน็ ปลอ้ งสเี่ หล่ยี ม (จารวุ ฒั น,์ 2538)

ลูกหมกึ หอมระยะแรกฟัก

คู่มือธนาคารไขห่ มกึ 9

D การพัฒนาตัวอ่อนในไข่ของหมึกหอม แบ่งเป็นขั้นตอนง่ายๆ
ที่สามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่าออกเป็น 10 ขั้น โดยที่แต่ละขั้นใช้เวลา
ประมาณ 2 วัน ดงั นี้

ขน้ั ที่ 1 ไขย่ งั คงทบึ แสงหรือก่ึงทึบแสง

ขน้ั ท่ี 2 ไขเ่ ร่ิมโปร่งใส มกี ารแบง่ เซลล์
ของตัวอ่อนบนสว่ นยอดของไข่

ขน้ั ท่ี 3 การแบง่ เซลลค์ รอบคลมุ ครง่ึ หนง่ึ
ของเม็ดไข่

ขน้ั ท่ี 4 สว่ นหวั และส่วนตาเริ่มเจรญิ
แยกออกจาก yolk (ไขแ่ ดง)

10 คมู่ อื ธนาคารไข่หมึก

ขนั้ ท่ี 5 สว่ นหนวดเจรญิ แยกออกเปน็ เสน้
ข้นั ที่ 6 สว่ นตาของตวั ออ่ นในไข่เป็น
สแี ดง
ขั้นท่ี 7 ส่วนหวั และลำ�ตวั เจรญิ แยกจากกัน
เปลอื กภายในเร่ิมเจริญขนึ้
ข้ันท่ี 8 สว่ นตาเปลย่ี นเปน็ สดี ำ�
ขนั้ ท่ี 9 yolk (ไขแ่ ดง) ลดขนาดลงจนมีขนาด
ใกล้เคียงกบั ส่วนหัว
ข้ันท่ี 10 yolk (ไขแ่ ดง) ลดขนาดลงจนเลก็ กวา่ ส่วนหวั
ตัวอ่อนในไข่ เรม่ิ ขยับตวั ไข่เร่ิมฟักเปน็ ตัว

คมู่ อื ธนาคารไข่หมกึ 11

D ความเค็มที่มีผลต่อการฟักของไข่หมึกหอม ไข่หมึกหอมมี
อัตราการฟักสูงสุดที่ความเค็มน้ำ� 32 ส่วนในพันส่วน (95.48+4.90%)
ความเค็มที่เหมาะสมต่อการฟักของไข่ที่มีการฟักสูงกว่า 50% อยู่ในช่วง
21.8-36.6 สว่ นในพนั สว่ น ระดับความเคม็ ท่ตี ่ำ�หรอื สงู กว่านี้ จะมีผลต่อ
การตายและทำ�ให้การพฒั นาของตัวอ่อนในไข่ผดิ ปกติ และมีการฟกั ก่อน
กำ�หนด (จารวุ ฒั น์ และสะไบทพิ ย์, 2538)
D ความเค็มท่เี หมาะสมต่อการเลี้ยงตวั ของลูกหมกึ หอม ลกู หมึก
มอี ตั ราการรอดตายสงู สดุ ทร่ี ะดบั ความเคม็ 32 สว่ นในพนั สว่ น (92.22+6.67%)
รองลงมาคอื ทรี่ ะดบั ความเค็ม 28 สว่ นในพันส่วน (71.11+25.71%) ความเค็ม
ทีเ่ หมาะสมต่ออัตราการรอดตายที่ 50% ข้นึ ไปใน 24 ชั่วโมง อยใู่ นช่วง
23.2-35.5 ส่วนในพนั ส่วน (จารุวฒั น์ และสะไบทพิ ย์, 2538)

12 คูม่ อื ธนาคารไข่หมกึ

หมึกกระดองลายเสอื
หมึกชนดิ นเ้ี ป็นหมกึ ท่อี าศยั อยตู่ ามหนา้ ดนิ ปกตจิ ะนอนหรอื ฝังตวั
อยู่ตามหน้าดินเช่นเดยี วกบั สัตว์ในกลมุ่ กงุ้ ปู และปลาหนา้ ดนิ ชนิดตา่ งๆ
ซึง่ เป็นอาหารของปลาหมึกกลมุ่ นี้

หมึกกระดองลายเสือเพศผู้ หมกึ กระดองลายเสอื เพศเมยี

D ลักษณะไข่ของหมึกกระดองลายเสือ ไข่มีลักษณะเป็นเม็ด
กลมเดย่ี ว มจี กุ แหลมตรงยอด รวมกนั เปน็ พวงติดกบั วัสดุใตน้ ้ำ� โดยไข่
แตล่ ะฟองมีเปลือกหุ้มแยกออกจากกัน (จรุง, 2541)

D จำ�นวนไข่ของหมกึ กระดองลายเสอื หมึกกระดองลายเสอื เขา้ สู่
วัยเจรญิ พนั ธอุ์ ายตุ ั้งแต่ 90 วันข้นึ ไป วางไข่เมอ่ื อายุ 110 วนั เพศเมียจะมี
จำ�นวนไขต่ งั้ แต่ 50-3,000 ฟอง (Nabhitabhata and Nilaphat, 1999
อ้างตาม จริ าพร, 2546)

ค่มู ือธนาคารไขห่ มกึ 13

D ระยะไข่ของหมึกกระดองลายเสอื

ระยะไขข่ องหมึกกระดองลายเสือ

ลูกหมึกกระดองลายเสอื ระยะแรกฟกั

14 คมู่ ือธนาคารไข่หมกึ

D ความเค็มท่มี ีผลต่อการฟกั ของไขห่ มกึ กระดองลายเสือ ไขห่ มกึ
กระดองลายเสือมีอัตราการฟักสูงสุดที่ความเค็มน้ำ� 32 ส่วนในพันส่วน
(100%) ความเค็มที่เหมาะสมต่อการฟักของไข่ที่มีการฟักสูงกว่า 50%
อย่ใู นช่วง 22.5-37.5 สว่ นในพนั ส่วน (จารวุ ฒั น์ และสะไบทิพย,์ 2538)
D ความเค็มที่เหมาะสมต่อการเล้ียงตัวของลูกหมึกกระดอง
ลายเสือ ลูกหมึกกระดองลายเสือมอี ัตราการรอดตายสูงสุดทร่ี ะดับความเคม็
28 และ 32 สว่ นในพนั สว่ น (100%) ความเคม็ 36 สว่ นในพนั สว่ น (99.17+2.87%)
และอตั ราการฟกั ยงั สงู กวา่ 80% ทค่ี วามเคม็ 24 สว่ นในพนั สว่ น และความเคม็
ที่เหมาะสมต่ออัตราการรอดตายที่ 50% ขึ้นไปใน 24 ชั่วโมง อยู่ในช่วง
21.4-39.4 ส่วนในพนั ส่วน (จารวุ ัฒน์ และสะไบทิพย,์ 2538)

คู่มือธนาคารไข่หมึก 15

หมกึ กระดองกน้ ไหม้
เป็นปลาหมึกที่อาศัยอยู่ตามหน้าดิน ปกติจะนอนหรือฝังตัวอยู่
ตามหน้าดินเช่นเดียวกับสัตว์ในกลุ่มกุ้ง ปู และปลาหน้าดินชนิดต่างๆ
ซง่ึ เปน็ อาหารของปลาหมึกกล่มุ น้ี

หมึกกระดองก้นไหมเ้ พศผู้ หมึกกระดองกน้ ไหม้เพศเมยี

D ลักษณะไข่ของหมึกกระดองก้นไหม้ ไข่มีลักษณะเป็นเม็ด
กลมเดีย่ ว มจี กุ แหลมตรงยอด รวมกันเปน็ พวงติดกบั วัสดุใต้น้ำ� โดยไข่
แต่ละฟองมีเปลือกหุ้มแยกออกจากกัน (จรุง, 2541) โดยส่วนใหญ่
ไขห่ มึกกระดองก้นไหมจ้ ะมสี ดี ำ�

16 คู่มือธนาคารไข่หมกึ

D จำ�นวนไข่ของหมึกกระดองก้นไหม้ หมึกกระดองก้นไหม้มี
ปรมิ าณไข่เฉลย่ี 200-1,000 ฟอง และสามารถวางไข่ไดม้ ากกว่า 1 ครงั้ หมึก
กระดองตัวผูแ้ ละตวั เมีย เติบโตเป็นตัวเต็มวัยเมื่ออายุ 70 และ 80 วัน
ตามลำ�ดับ การจบั คผู่ สมพนั ธว์ุ างไขเ่ ริ่มเมอื่ อายปุ ระมาณ 99 วัน (พเยาว์
และคณะ, 2520)
D ระยะไข่ของหมึกกระดองก้นไหม้

ระยะไขข่ องหมึกกระดองก้นไหม้

ไขไ่ หม่ ไขอ่ อ่ น

ไขแ่ ก่ ไขแ่ กจ่ ัด

คู่มือธนาคารไขห่ มึก 17

D ความเค็มและอุณหภูมิที่มีผลต่อการฟักของไข่หมึกกระดอง
กน้ ไหม้ ไขข่ องหมึกกระดองก้นไหมม้ อี ัตราการฟกั รอ้ ยละ 48-100 (เฉลยี่
80.45+13.74) ระยะก่อนไขฟ่ กั ออกเป็นตวั 11-20 วนั (ความเคม็ น้ำ� 30+ 2 สว่ น
ในพันสว่ น อณุ หภูมิ 28+2 องศาเซลเซียส) (พเยาว์ และคณะ, 2520)
ไขห่ มึกกระดองก้นไหมท้ ่ีตดิ มากบั เครอ่ื งมอื อวนจมปู ไขจ่ ะมหี ลายระยะ
บางครง้ั 1-2 วัน ก็สามารถฟักออกเป็นตัวแล้ว ขึ้นอยู่กับระยะไขท่ ต่ี ดิ
มากับเครื่องมืออวนจมปู นอกจากนี้ความเค็มและอุณหภูมิก็มีผลต่อ
ระยะเวลากอ่ นไข่ฟักออกเป็นตวั ถา้ อุณหภมู สิ งู มากกวา่ 28 องศาเซลเซียส
ระยะเวลาก่อนไข่ฟกั ออกเปน็ ตัวก็จะสัน้ กว่านี้

ลกู หมกึ กระดองก้นไหม้ ระยะแรกฟกั

การฟักของไข่หมึก

ไข่หมึกมกั จะฟักในเวลากลางคนื และฟกั ออกไม่พรอ้ มกนั หมดทีเดยี ว
จะค่อยๆ ทยอยฟักออกเปน็ ตัว ซึง่ อาจกินเวลาถงึ 1 สปั ดาห์ จึงจะฟักหมด
เมื่อลกู หมกึ ฟกั ออกเป็นตวั ก็ควรทยอยปลอ่ ยลงสทู่ ะเล เพอื่ ใหล้ ูกหมกึ หากิน
และเจริญเติบโตเองตามธรรมชาติ

18 คู่มือธนาคารไขห่ มกึ

การจดั ทำ�ธนาคารไขห่ มกึ

การจัดทำ�ธนาคารไขห่ มกึ มีหลายวธิ ี ข้ึนอยกู่ ับความเหมาะสมในแตล่ ะ
พื้นที่จึงทำ�ให้มีรูปแบบธนาคารแตกต่างกันไป หากชาวประมงช่วยกัน
อนุรักษ์ปลาหมึก จะทำ�ให้ลดการสูญพันธุ์ของปลาหมึกบางชนิด และ
ชาวประมงสามารถจับปลาหมึกได้ตลอดไปอยา่ งยั่งยนื โดยมีการดำ�เนนิ การ
ดงั นี้

การรวบรวมไข่หมึก

ไข่หมึกหอมหรือไข่หมึกกระดองลายเสือส่วนใหญ่จะติดมากับเคร่อื งมือ
ลอบหมกึ สว่ นไขห่ มกึ กระดองกน้ ไหมส้ ว่ นใหญจ่ ะตดิ มากบั เครอ่ื งมอื อวนจมปู
อวนลากหรืออวนรุน นอกจากนย้ี ังมีไข่หมึกอกี หลายชนิดทต่ี ดิ มาดว้ ย เชน่
หมึกกระดองใหญ่ เปน็ ต้น การรวบรวมไขห่ มึก ชาวประมงควรรบี ปลดไข่หมกึ
ใสใ่ นถงั ทม่ี นี ำ้ �ทะเลและเพม่ิ เครอ่ื งใหอ้ ากาศหลงั จากกลู้ อบขน้ึ จากนำ้ � หรอื ถา้ เปน็
ไข่หมึกที่ติดมากับเครื่องมืออวนจมปู ชาวประมงส่วนใหญ่จะกู้อวนจมปู
มาแกะทฝ่ี ่งั ไข่หมึกท่ีติดมากบั อวนจมปจู ะยังมีชีวิตเนอ่ื งจากในกองอวน
มีความชื้น เมื่อถึงฝั่งควรรีบปลดไข่หมึกลงในถังที่เตรียมไว้ก่อนนำ�เข้า
ธนาคารไขห่ มกึ

ค่มู ือธนาคารไขห่ มกึ 19

ไข่หมกึ หอมที่ติดลอบหมึก
ไข่หมึกกระดองกน้ ไหม้ทต่ี ดิ อวนจมปู

20 คมู่ ือธนาคารไข่หมึก

รปู แบบการจดั ทำ�ธนาคารไข่หมึก

ธนาคารไข่หมึกสามารถจัดทำ�ได้โดยการผูกยึดกระชังไว้ในทะเล
เม่ือลูกหมึกฟักออกเป็นตัวแล้วก็จะสามารถหลุดรอดออกจากกระชังไป
เตบิ โตตามธรรมชาติ หรอื นำ�ไขห่ มกึ มาอนบุ าลในถงั หรอื ตกู้ ระจกในโรงเรอื นทอ่ี ยู่
รมิ ฝง่ั ทะเลในหมู่บ้านชาวประมง เมอ่ื ลูกหมกึ ฟกั ออกเป็นตัวก็ถกู ปลอ่ ยลงสู่
ธรรมชาติ นอกจากนี้การเพิ่มแหล่งอาศัยของสัตว์น้ำ� เช่น กร่ำ� หรือซั้ง
ยังเปน็ การช่วยเพม่ิ พืน้ ท่ีในการยดึ เกาะของไข่หมกึ อกี ด้วย เพราะโดยปกติ
ปลาหมึกเพศเมียจะวางไข่เปน็ พวงตดิ กบั วสั ดุใตน้ ำ้ �

D รูปแบบกระชังที่ยึดไว้ในทะเล รูปแบบกระชังลอยขนาด
3 x 2 x 2 เมตร ใช้อวนโพลีเอทธิลีนสีแดงขนาดตาอวน 0.5 เซนติเมตร
กั้นเป็นคอกสี่เหลี่ยมแล้วผูกยึดไว้ในทะเล แขวนถุงไข่หมึก ซึ่งเย็บด้วย
อวนโพลเี อทธิลีนสแี ดงขนาด 0.5 เซนติเมตร ไว้ในกระชงั โดยมรี ะยะหา่ ง
ระหวา่ งถงุ ประมาณ 30 เซนติเมตร

ค่มู ือธนาคารไขห่ มกึ 21

D รูปแบบกระชังที่ยึดไว้ในทะเล

22 คมู่ อื ธนาคารไขห่ มึก

D รูปแบบโรงเรอื น สามารถใชถ้ ังนำ้ �หรอื ต้กู ระจกใส่นำ้ �ทะเล
และเพิ่มเครื่องให้อากาศ นำ�ตะกร้าติดทนุ่ ลอยด้านขา้ ง เพอ่ื ให้ตะกรา้ ลอยนำ้ �
นำ�ไขห่ มกึ ใสต่ ะกรา้ แลว้ ลอยในถงั นำ้ �หรือตูก้ ระจก

ค่มู ือธนาคารไขห่ มกึ 23

D รปู แบบกร่ำ� หรือซ้ัง

24 คู่มือธนาคารไข่หมึก

ตัวอยา่ งสถานทจ่ี ดั ทำ�ธนาคารไขห่ มึก
D ธนาคารไขห่ มกึ หอมทบ่ี า้ นทะเลงาม หมทู่ ่ี 9 ต. สวนแตง อ. ละแม

จ. ชุมพร โครงการตามแผนแมบ่ ทการจดั การประมงทะเลไทย สำ�นกั วิจยั
และพฒั นาประมงทะเล กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยมี
คณุ สมชาย เซง่ ต้ี เปน็ ประธานกลมุ่ (โทร. 089-5896244 และมคี ณุ จนิ ดา เพชรกำ�เนดิ
นกั วิชาการประมงชำ�นาญการ ศูนย์วจิ ยั และพฒั นาประมงอา่ วไทยตอนกลาง
จ. ชมุ พร เป็นผปู้ ระสานงาน ( โทร. 0-8876-8349-9 และ 0-7752-2006-7)
D ธนาคารไขห่ มกึ ทบ่ี า้ นบางแกว้ ต. บางแกว้ อ. บา้ นแหลม จ. เพชรบรุ ี
เป็นการทำ�ธนาคารไข่หมึกกระดองก้นไหมร้ ว่ มกบั ธนาคารปูมา้ เนอ่ื งจาก
ในบางช่วงจะมีไข่หมึกกระดองก้นไหมต้ ิดมากบั อวนจมปูมาก ชาวประมงจงึ
นำ�ไขห่ มกึ กระดองกน้ ไหมม้ าอนบุ าลในถงั ทจ่ี ดั ทำ�ธนาคารปมู า้ เมอ่ื ลกู หมกึ ฟกั
ออกเปน็ ตวั กถ็ ูกปล่อยลงสูท่ ะเล

คู่มอื ธนาคารไขห่ มกึ 25

D ธนาคารไขห่ มกึ ท่ีโรงเรยี นบา้ นบางแกว้ ต. บางแกว้ อ. บา้ นแหลม
จ. เพชรบรุ ี เนื่องจากโรงเรยี นบา้ นบางแกว้ เป็นโรงเรียนท่ีอยู่ใกล้ชายทะเล
และอยู่ใกล้กับทา่ ข้นึ สัตวน์ ้ำ� เป็นโรงเรียนทีม่ ลี ูกหลานของชาวประมงศึกษาอยู่
ประกอบกับสำ�นกั วจิ ยั และพฒั นาประมงทะเล กรมประมง มหี ลักสตู ร
“นกั อนรุ กั ษร์ นุ่ เยาว”์ เพอื่ ใหค้ วามร้แู ก่เยาวชนในการอนรุ ักษท์ รพั ยากร และ
ได้จดั ใหม้ ีการดูงานธนาคารปูมา้ ทบี่ ้านบางแก้ว ต. บางแก้ว อ. บา้ นแหลม
จ. เพชรบุรี เนื่องจากในบางฤดกู าลมีไขห่ มึกกระดองกน้ ไหมต้ ดิ อวนจมปมู าก
จงึ นำ�มาเข้าธนาคารปมู า้ ท่ีบ้านบางแก้ว คณะอาจารยท์ ่ีโรงเรยี นบา้ นบางแก้ว
มคี วามสนใจ จงึ นำ�ไขห่ มึกที่นำ�มาจากทา่ ข้นึ สัตวน์ ำ้ �ทีบ่ ้านบางแกว้ โดยการ
จดั เตรยี มตกู้ ระจกทม่ี นี ำ้ �ทะเล และเพม่ิ เครอ่ื งใหอ้ ากาศ อาจารยจ์ ะจดั เวรใหเ้ ดก็
นำ�ไขห่ มกึ กระดองกน้ ไหมม้ าใส่ รอให้ไขฟ่ กั เปน็ ตวั จงึ นำ�ลกู หมกึ กระดองกน้ ไหม้
ไปปลอ่ ยทบ่ี รเิ วณชายฝง่ั กจิ กรรมนท้ี ำ�ได้ไมย่ าก และสามารถชว่ ยปลกุ จติ สำ�นกึ
ในการอนรุ กั ษ์สตั ว์นำ้ �แก่เยาวชน

26 ค่มู ือธนาคารไขห่ มึก

การเพม่ิ ผลผลติ ปลาหมกึ นอกจากการจดั ทำ�ธนาคารไขห่ มกึ แลว้ ศนู ยว์ จิ ยั
และพัฒนาประมงชายฝ่ังของกรมประมงได้มีการเพาะลูกหมึกหอมและ
หมกึ กระดองปล่อยลงส่ธู รรมชาติ เพอ่ื ฟืน้ ฟูและเพิม่ ความอดุ มสมบรู ณ์ใหก้ ับ
ท้องทะเล โดยสถานีเพาะเล้ียงสัตวน์ ้ำ�ชายฝ่งั จังหวดั ตรัง ไดร้ วบรวมไขห่ มึก
ทีช่ าวประมงทิง้ นำ�มาเขา้ สกู่ ระบวนการเพาะเลยี้ งท่เี ปน็ ระบบ สามารถปล่อย
หมกึ กระดองและหมกึ หอมคืนสูท่ ะเลได้แล้วกว่าปลี ะ 150,000 ตัว และ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝ่ังจังหวัดระยองได้รวบรวมไข่หมึกหอม
นำ�มาเข้าสรู่ ะบบโรงเพาะฟกั เมือ่ ลูกหมกึ แรกฟกั อายุ 1 วนั ก็ไดด้ ำ�เนินการ
ปลอ่ ยลงส่ทู ะเล

ภาพกจิ กรรมในระหว่างการจัดทำ�ธนาคารไข่หมกึ

คูม่ อื ธนาคารไข่หมกึ 27

คำ�สง่ ท้าย

เนื่องจากคู่มือฉบับนี้ ได้ให้ความรู้พ้ืนฐานที่จำ�เป็นต้องใช้ในการจัดทำ�
ธนาคารไขห่ มกึ และไดอ้ ธบิ ายถงึ วธิ กี ารเพม่ิ ผลผลติ ปลาหมกึ สธู่ รรมชาตหิ ลายๆ
วธิ ี ซง่ึ จะเปน็ ตน้ แบบสำ�หรบั ปรบั ใช้ในหมบู่ า้ นของชาวประมง จากหนงั สอื คมู่ อื น้ี
ชี้ให้เห็นว่าการจัดทำ�ธนาคารไขห่ มึกเปน็ เรื่องทที่ ำ�ได้ไมย่ าก และสามารถ
ช่วยเพิม่ ผลผลติ ปลาหมึกหลายชนิดคนื สู่ธรรมชาติได้ และจะทำ�ให้ชาวประมง
สามารถเก็บเก่ยี วผลผลิตปลาหมึกไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื ตลอดไป นอกจากนยี้ ังเป็น
การปลูกจิตสำ�นึกให้กับชาวประมงในการมีส่วนร่วมดูแลบริหารจัดการ
ทรัพยากรหนา้ บ้านตนเอง

28 ค่มู อื ธนาคารไขห่ มกึ

เอกสารอ้างอิง

จารวุ ัฒน์ นภีตะภฏั , สมนึก กบลิ รมั ย์ และยงยทุ ธ สดุ ม.ี 2534. ผลของ
ความเค็มตา่ งระดบั ตอ่ อตั ราการฟกั ไข่ปลาหมกึ หอม (Sepioteuthis
lessoniana Lesson). เอกสารวิชาการฉบบั ท่ี 16/2534.
สถานีเพาะเล้ียงสตั ว์นำ้ �ชายฝ่งั จังหวัดระยอง, กองเพาะเล้ยี งสัตว์นำ้ �
ชายฝง่ั , กรมประมง. 16 หน้า.
จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ, ยงยุทธ สุดมี และ เกสร เภตราเสถียร. 2535.
ผลของความเคม็ ตา่ งระดบั ตอ่ อตั ราการรอดตายของลกู ปลาหมกึ หอม
(Sepioteuthis lessoniana Lesson). เอกสารวชิ าการฉบบั ท่ี 3/2535.
สถานเี พาะเลย้ี งสตั ว์น้ำ�ชายฝ่งั จงั หวัดระยอง, กองเพาะเลี้ยงสตั วน์ ำ้ �
ชายฝั่ง, กรมประมง. 20 หนา้ .
จารุวัฒน์ นภีตะภฏั และสไบทิพย์ อมรจารชุ ิต. 2538. ผลของความเคม็
ตา่ งระดับตอ่ การฟักของไข่และอตั ราการรอดตายของปลาหมึกหอม
และปลาหมกึ กระดองลายเสอื . ศนู ย์พัฒนาการเพาะเลย้ี งสัตว์นำ้ �
ชายฝ่ังจงั หวดั ฉะเชิงเทรา, กองเพาะเลย้ี งสตั ว์นำ้ �ชายฝั่ง, กรมประมง.
25 หนา้ .
จารวุ ัฒน์ นภีตะภฏั . 2538. ชีววทิ ยาและพฤติกรรมของปลาหมึกจาก
การเพาะเล้ยี ง. ใน​​: สรุปผลการสัมมนาเชงิ ปฏิบตั ิการเรื่องชีววทิ ยา
และการเพาะเลี้ยงปลาหมึก (เอกสารเผยแพรฉ่ บบั ท่ี 18/2538).
วนั ที่ 12-16 กรกฎาคม 2536. ณ สถานีเพาะเล้ียงสัตว์น้ำ�ชายฝัง่
จงั หวดั ระยอง, กองเพาะเลย้ี งสตั วน์ ำ้ �ชายฝง่ั , กรมประมง : หนา้ 69-112.

คมู่ ือธนาคารไขห่ มึก 29

จริ าพร สุริยวรากลุ . 2546. ความสมั พันธข์ องอายหุ มกึ กระดองลาย
เสือ (Sepia pharaonis Ehrenberg, 1831) กับจำ�นวนลาย
บนกระดอง และสดั สว่ นของจะงอยปาก.วทิ ยานพิ นธป์ ริญญาโท
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์ กรงุ เทพฯ. 97 หนา้ .
จรุง ชมุ แดง. 2541. การพัฒนาของตัวอ่อนหมึกกระดองลายเสือ
(Sepia pharaonis Ehrenberg, 1831) และหมึกหอม
(Sepioteuthis lessoniana Lesson, 1830). ปรญิ ญา
วิทยาศาสตรม์ หาบณั ฑติ , สาขาวทิ ยาศาสตร์การประมง. 42 หนา้ .
ทวิ า รัตนอนันต์. 2523. การศกึ ษาชวี วิทยาของปลาหมึกหอม
(Sepioteuthis lessoniana Lesson) ในอา่ วไทย. รายงานประจำ�ปี
2523 สน./23/18. กองประมงทะเล, กรมประมง. 17 หน้า.
พเยาว์ บญุ ประกอบ, อรวรรณ สัตยาลยั , ไพศาล สทิ ธิกรกุล,
ประภา ศริ ปิ ุณย์ และอุษณีย์ ยศยงิ่ ยวด. 2520. การศกึ ษาชวี วทิ ยา
เบอ้ื งตน้ ของปลาหมกึ กระดองก้นไหม้ (Sepiella inermis).
เอกสารวิชาการ, จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย. 41 หน้า.
www.fisheries.go.th/cs-trang/
www.fisheries.go.th/cf-rayong/

30 ค่มู อื ธนาคารไข่หมกึ

คำ�ขอบคณุ

ขอขอบพระคณุ ดร.จารวุ ฒั น ์ นภตี ะภฏั ในการอนเุ คราะหร์ ปู ระยะไขข่ อง
หมึกหอมและหมึกกระดองลายเสือ ขอขอบคุณนางสาวฐติ ิพร ศุภนริ ันดร์
และนายชานนท์ นวลศรี ศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นาประมงทะเลอา่ วไทยตอนกลาง
(ชุมพร) และนางศรีประภา สิทธิโชคธนา นางสาวเพ็ญแข เนื่องสกุล
นายเรวตั แก้ววจิ ติ ร นายภาคย์ จนิ ดาโชติ และนายจริ วฒุ ิ คำ�วงค์
ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาประมงทะเลอ่าวไทยตอนบน (สมุทรปราการ) ที่ช่วย
สบื คน้ เอกสาร รวบรวมภาพถา่ ยในการจดั ทำ�หนังสือฉบบั น้ี ได้เปน็ อย่างดี

คมู่ อื ธนาคารไข่หมกึ 31

คณะทำ�งาน

มาโนช รุง่ ราตรี
ผอู้ ำ�นวยการสำ�นกั วจิ ยั และพัฒนาประมงทะเล
เพราลยั นุชหมอน
ผู้อำ�นวยการสถาบนั วจิ ยั และพัฒนาเทคโนโลยปี ระมงทะเล
จนิ ตนา จนิ ดาลิขิต
นกั วิชาการประมงชำ�นาญการพเิ ศษ
ศนู ย์วิจยั และพัฒนาประมงทะเลอา่ วไทยตอนบน (สมทุ รปราการ)
จินดา เพชรกำ�เนดิ
นกั วิชาการประมงชำ�นาญการ
ศูนยว์ จิ ัยและพฒั นาประมงทะเลอ่าวไทยตอนกลาง (ชมุ พร)
วนั ทนา เจนกจิ โกศล
นกั วิชาการประมงชำ�นาญการ
ศูนย์วิจยั และพัฒนาประมงทะเลอา่ วไทยตอนบน (สมทุ รปราการ)
เอมวลี แก้วพิลา
นกั วิชาการประมงปฏิบัติการ
ศนู ย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลอ่าวไทยตอนบน (สมุทรปราการ)




Click to View FlipBook Version