The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Apiradee.choopon, 2021-03-26 03:40:32

งานวิจัย

งานวิจัย

การศึกษาแรงจูงใจและความพงึ พอใจของผู้รบั บรกิ ารทม่ี ีต่อ
อุทยานวทิ ยาศาสตร์พระจอมเกลา้ ณ หว้ากอ จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์

อภริ ดี ชผู ล

อทุ ยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกลา้ ณ หวา้ กอ จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ
พ.ศ. 2564

การศึกษาแรงจูงใจและความพงึ พอใจของผู้รบั บรกิ ารทม่ี ีต่อ
อุทยานวทิ ยาศาสตร์พระจอมเกลา้ ณ หว้ากอ จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์

อภริ ดี ชผู ล

อทุ ยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกลา้ ณ หวา้ กอ จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ
พ.ศ. 2564



หวั ข้อการค้นควา้ การศกึ ษาแรงจงู ใจและความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มตี ่อ
อทุ ยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกลา้ ณ หวา้ กอ จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์
ช่ือ – นามสกุล นางสาวอภริ ดี ชผู ล
สถานศึกษา อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หวา้ กอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
พ.ศ. 2564

บทคดั ย่อ

การศึกษาแรงจงู ใจและความพงึ พอใจของผู้รบั บริการท่มี ีต่ออุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ
หวา้ กอ จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ มวี ัตถุประสงค์เพ่ือ ศกึ ษาแรงจูงใจและความพึงพอใจของผูร้ ับบรกิ าร นา
ข้อมูลไปปรับใช้ในการบริหารจัดการอุทยานฯ และสร้างแรงจูงใจให้ผู้รับบริการได้มีความพึงพอใจต่อการ
รับบริการ โดยแบ่งเป็นด้านประชากรศาสตร์ ด้านพฤติกรรม ด้านแรงจูงใจ และด้านความพึงพอใจ
งานวจิ ัยน้เี กบ็ ข้อมูลโดยแจกแบบสอบถามแกผ่ ู้รับบรกิ ารจานวน 385 คน โดยการสุ่มแบบบังเอิญ และทา
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป SPSS 25.0 แบบ Frequency analysis ผลการวิจัยพบว่า
ผู้รับบริการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 -30 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาปริญญาตรี
ประกอบอาชีพ อิสระ - ค้าขาย - ธุรกิจส่วนตัว มีรายได้เฉล่ียต่อเดือน ต่ากว่า หรือ เท่ากับ 10,000 บาท
ผู้รับบริการส่วนใหญ่เดินทางมาคร้ังแรก รู้จักสถานท่ีจากการบอกต่อ มีจุดประสงค์เพ่ือความเพลิดเพลิน
พักผ่อนหย่อนใจ เดินทางมาโดยพาหนะส่วนตัวและเดินทางมากับครอบครัว ผู้รับบริการชอบบริเวณ
อาคารพิพิธภัณฑ์สัตวน์ ้า ผู้รับบริการมีแรงจงู ใจด้านปัจจัยผลักดัน ระดับมาก ได้แก่ สร้างความสมั พันธใ์ น
ครอบครัว หลีกหนีความจาเจในชีวิตประจาวัน และศึกษาสัตว์น้าและดวงดาว แรงจูงใจด้านปัจจัยดึงดดู
ระดับมาก ได้แก่ คุ้มค่าของค่าใช้จ่าย ความสวยงามของสถานที่ ชื่อเสียงของสถานที่ และอิทธิพลจากสื่อ
สงั คมออนไลน์ ผรู้ ับบรกิ ารมคี วามพึงพอใจด้านส่ิงดึงดูดใจ ระดบั มาก ไดแ้ ก่ ความนา่ สนใจและเอกลักษณ์
ของสถานท่ี ความหลากหลายของพันธุ์สตั ว์น้า มีนิทรรศการให้ความรู้ ความพึงพอใจด้านส่ิงอานวยความ
สะดวก ระดับมาก ได้แก่ ความสะดวกของทจ่ี อดรถ ความสวยงามของภมู ทิ ัศน์ ความสะอาดของห้องสุขา
ความพึงพอใจด้านบริหารจัดการคมนาคม ระดับมาก ได้แก่ ทางเดินท่ีเอื้ออานวยต่อผู้สูงอายุ ให้ข้อมูล
ทาเลที่ต้ังของสถานที่ ความหลากหลายของการเดินทาง และการดูแลจราจรของเจา้ หน้าท่ี ความพงึ พอใจ
ดา้ นการตอ้ นรบั ระดับมาก ได้แก่ มนุษยสัมพันธ์และมารยาทของเจ้าหนา้ ท่ี การตอบคาถามของเจ้าหน้าที่
ความกระตือรือร้นและแก้ปัญหาของเจ้าหนา้ ท่ี และจานวนเจ้าหน้าที่เพยี งพอต่อการให้บรกิ าร

ผลสรุป ผู้รับบริการจานวน 385 คน มีแรงจูงใจด้านปัจจัยผลักดันและด้านปัจจัยดึงดูด อยู่ใน
ระดับมาก ซึ่งสอดคล้องกับค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.00 และ 0.80 ตามลาดับ ส่วนความพึงพอใจ
ด้านสิ่งดึงดดู ใจ ด้านสิ่งอานวยความสะดวก ดา้ นบริหารจัดการคมนาคม และด้านการตอ้ นรับ อยูใ่ นระดับ
มาก ซึ่งสอดคล้องกับค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.83 0.82 0.81 และ 0.86 ตามลาดบั แสดงวา่ ข้อมูล
ดา้ นแรงจงู ใจและดา้ นความพงึ พอใจมีค่าเฉลย่ี นน้ั ใกลเ้ คียงกนั



กิตตกิ รรมประกาศ

งานวิจัยน้ีสาเร็จลุล่วงได้ด้วยความช่วยเหลืออย่างดีย่ิงจาก นายเบญจพล พาลี ท่านผู้อานวยการ
อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และนางวนิดา พิมอุบล
รองผู้อานวยการอุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่ให้คาแนะนา
ปรึกษา ช้ีแนะ ในการจัดทาวจิ ัยในคร้งั น้ี ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมาก ทาให้งานวิจยั ครั้งนส้ี าเรจ็ ไปได้ดว้ ยดี
ผู้วจิ ัยจงึ ขอกราบขอบพระคณุ เปน็ อยา่ งสงู มาไว้ ณ โอกาสน้ี

ขอขอบพระคุณ นางสาวธีธิมา โกณฑา หัวหน้างานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี เป็นท่ีปรึกษา
ในการเลือกหัวข้องานวิจัย อีกทั้งช้ีแนะในรายละเอียดของงานวิจัย เป็นการเติมเต็มความสมบูรณ์ให้แก่
รปู เลม่ รายงาน ผวู้ จิ ยั จึงขอกราบขอบพระคณุ เป็นอย่างสูง

ขอขอบพระคุณสถานท่ี อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ทอ่ี านวยความสะดวกในการแจกแบบความสอบถาม ซ่ึงเปน็ ประโยชนใ์ นการวจิ ยั คร้ังนี้

ขอขอบพระคุณผู้รับบริการทุกท่านที่กรุณาสละเวลามาตอบแบบสอบถาม ซึ่งเป็นประโยชน์ใน
การวจิ ยั คร้งั น้ี

ขอขอบพระคุณเพ่ือนร่วมงานทุกคนที่สละเวลา แรงกาย แรงใจ ในการมาช่วยแจกแบบสอบถาม
รวมถงึ ช่วยเป็นท่ปี รกึ ษาทีด่ ีเสมอมา

อภริ ดี ชผู ล



สารบญั หนา้

บทคดั ย่อ ข
กิตตกิ รรมประกาศ ค
สารบญั จ
สารบัญตาราง 1
บทท่ี 1 บทนา 1
4
1. ทีม่ าและความสาคญั 5
2. วัตถปุ ระสงค์ 5
3. ขอบเขตการศึกษา 5
4. คานยิ ามศัพท์เฉพาะ 6
5. กรอบแนวความคดิ 7
6. ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รับ 7
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วข้อง 8
1. ทฤษฎแี รงจงู ใจ 11
2. ทฤษฎีความพึงพอใจ 13
3. ขอ้ มูลทัว่ ไปของสถานศึกษา 13
4. สรปุ ผลการปฏิบัติงาน ด้านผรู้ ับบรกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 17
5. งานวิจัยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 17
บทที่ 3 วิธกี ารดาเนนิ งานวจิ ยั 17
1. ประเภทของงานวิจยั 18
2. กาหนดกลุม่ ประชากรและกาหนดกลมุ่ ตวั อย่าง 20
3. เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการศึกษา 22
4. สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล 22
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 25
1. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ด้านประชากรศาสตร์ 29
2. การวเิ คราะห์ข้อมูลดา้ นพฤติกรรม 31
3. การวิเคราะห์ข้อมลู ด้านแรงจงู ใจ 36
4. การวเิ คราะห์ข้อมลู ดา้ นความพึงพอใจ
5. ข้อเสนอแนะของผู้รบั บริการ

สารบัญ (ต่อ) ง

บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ หนา้
1. สรปุ ผล 37
2. อภปิ รายผล 37
3. ข้อเสนอแนะ 38
40
บรรณานกุ รม 41
ภาคผนวก 44
ประวัตผิ วู้ จิ ยั 50

สารบญั ตาราง จ

ตารางท่ี 1.1 แสดงจานวนความถแี่ ละคา่ ร้อยละ หนา้
ดา้ นประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามเพศ 22
23
ตารางที่ 1.2 แสดงจานวนความถแ่ี ละคา่ ร้อยละ 23
ดา้ นประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามอายุ 24
24
ตารางท่ี 1.3 แสดงจานวนความถี่และคา่ ร้อยละ 25
ดา้ นประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามสถานภาพสมรส 25
26
ตารางที่ 1.4 แสดงจานวนความถ่แี ละค่าร้อยละ 27
ดา้ นประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามระดับการศึกษา 27
28
ตารางท่ี 1.5 แสดงจานวนความถี่และค่าร้อยละ 29
ดา้ นประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามอาชพี 30
31
ตารางที่ 1.6 แสดงจานวนความถแ่ี ละคา่ ร้อยละ 32
ดา้ นประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามรายได้ต่อเดือน

ตารางที่ 2.1 แสดงจานวนความถแ่ี ละค่าร้อยละ
ดา้ นพฤติกรรม โดยจาแนกตามจานวนคร้งั ที่เคยมา

ตารางท่ี 2.2 แสดงจานวนความถี่และคา่ ร้อยละ
ดา้ นพฤติกรรม โดยจาแนกตามแหล่งทีท่ าให้รู้จัก

ตารางที่ 2.3 แสดงจานวนความถแ่ี ละคา่ ร้อยละ
ด้านพฤติกรรม โดยจาแนกตามจุดประสงค์หลัก

ตารางที่ 2.4 แสดงจานวนความถแ่ี ละค่าร้อยละ
ด้านพฤตกิ รรม โดยจาแนกตามวธิ เี ดนิ ทาง

ตารางท่ี 2.5 แสดงจานวนความถี่และคา่ ร้อยละ
ดา้ นพฤตกิ รรม โดยจาแนกตามคนร่วมเดนิ ทาง

ตารางที่ 2.6 แสดงจานวนความถีแ่ ละคา่ ร้อยละ
ด้านพฤตกิ รรม โดยจาแนกตามบรเิ วณที่ชอบมากท่ีสุด

ตารางที่ 3.1 แสดงจานวนคา่ เฉลี่ย ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน
แรงจูงใจ ดา้ นปัจจยั ผลกั ดนั

ตารางที่ 3.2 แสดงจานวนค่าเฉลยี่ คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน
แรงจูงใจ ดา้ นปจั จัยดึงดูด

ตารางที่ 4.1 แสดงจานวนคา่ เฉล่ีย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ความพึงพอใจ ด้านสง่ิ ดึงดูดใจ

สารบญั ตาราง (ต่อ) ฉ

ตารางท่ี 4.2 แสดงจานวนค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน หน้า
ความพงึ พอใจ ดา้ นสิ่งอานวยความสะดวก 33
34
ตารางที่ 4.3 แสดงจานวนค่าเฉลยี่ คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน 35
ความพึงพอใจ ดา้ นบรหิ ารจัดการคมนาคม

ตารางที่ 4.4 แสดงจานวนคา่ เฉล่ีย ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน
ความพงึ พอใจ ดา้ นการต้อนรบั

บทท่ี 1
บทนา

1. ทมี่ าและความสาคญั
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ

(ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 15 ระบุไว้ว่า การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาท่ีกาหนดจุดมุ่งหมาย
วิธีการศึกษา หลักสูตรระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซ่ึงเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จ
การศึกษาท่ีแน่นอน การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย
รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของ
การสาเร็จการศกึ ษา โดยเนอื้ หาและหลกั สูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความ
ต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตาม
ความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม
สื่อหรือแหล่งความรู้อ่ืน ๆ สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือท้ังสามรูปแบบก็ได้
มาตรา 22 ระบุไวว้ ่า การจัดการศกึ ษาตอ้ งยดึ หลักวา่ ผูเ้ รยี นทกุ คนมีความสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเอง
ได้ และถอื ว่าผเู้ รยี นมคี วามสาคัญทส่ี ดุ กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ และมาตรา 24 ระบุไว้ว่า การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและ
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องดาเนินการ ดังต่อไปนี้ จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและ
ความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ
การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็นทาเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่าง
ต่อเน่ือง จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ัง
ปลูกฝัง คุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอน
สามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่ือการเรียนและอานวยความสะดวกเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ท้ังน้ี ผู้สอนและผู้เรียน
อาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากส่ือการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ จัดการเรียนรู้ให้
เกิดขึน้ ไดท้ กุ เวลาทุกสถานท่ี มกี ารประสานความร่วมมือกบั บิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชมุ ชนทุก
ฝ่าย เพื่อรว่ มกนั พัฒนาผเู้ รยี นตามศักยภาพ (ราชกจิ จานเุ บกษา, 2542)

นโยบายรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) สาหรับภาพการศึกษาเพื่อ
อนาคตประเทศไทยม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืนนั้น ได้กาหนดนโยบายด้านการศึกษา ดังนี้ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
และส่งเสริมการเรียนรู้ ได้แก่ ปลูกฝังค่านิยม 12 ประการ บนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปลูกฝังให้เด็กรักและภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักประวัติศาสตร์ชาติไทย และหน้าที่ความเป็นพลเมืองท่ีดี
ยึดเด็กเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา มุ่งเน้นการอ่านออก เขียนได้คิดเป็น มองเห็นอนาคต ปรับหลักสูตร

2



ทุกระดับชั้นให้มีความต่อเน่ืองกัน มุ่งเน้นการศึกษาเพ่ือการมีงานทา ลดจานวนรายวิชาอย่างเหมาะสม
กับวัย ลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษาและยกระดับมาตรฐานการศึกษา ได้แก่ สร้างโอกาสให้เข้าถึง
บริการทางการเงินเพ่ือการศึกษาให้มากข้ึน สร้างคนเพื่อส่งเสริมระบบเศรษฐกิจในภูมิภาคและพื้นที่ของ
ตนเอง สร้างความทัดเทียมทางการศึกษา โดยจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม และสื่อดิจิทัล สร้าง
โอกาสให้เด็กด้อยโอกาสทุกกลุ่มเข้าถึงการจัดบริการการศึกษา ขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ
ได้แก่ แต่งต้ังคณะกรรมการนโยบายและพัฒนาการศึกษา เพื่อขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษา ยกระดับ
คุณภาพการศึกษา และวางรากฐานการปฏิรูปการศึกษาท้ังระบบ พัฒนาครู ได้แก่ สร้างกระบวนการ
เรียนรู้อย่างมีคุณค่าให้เกิดคุณภาพต่อตัวเด็กอย่างแท้จริง สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างครูผู้ปกครอง
และเด็ก เพ่ือให้เด็กเรียนรู้อย่างมีความสุข วางแผนผลิตและพัฒนาครูอย่างเป็นระบบ แก้ไขปัญหาหนี้สิน
ครู ผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ได้แก่ บูรณาการการศึกษาท้ังระบบให้เกิด
ประโยชน์สงู สุดในการผลิตและพัฒนากาลงั คน ผลิตกาลังคนสายอาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการของ
ตลาดแรงงาน สอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศและท้องถิ่น ปรับภาพลักษณ์อาชวี ศึกษาให้เปน็ ท่ีนิยม
ปฏิรูปการอุดมศึกษาในการวางแผนผลิตกาลังคน เน้นความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ ส่งเสริมการ
วิจัยและพัฒนานวัตกรรมในทุกระดับการศึกษา เตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ได้แก่ พัฒนา
กาลังคนให้เป็นแรงงานท่ีมีฝีมือ สามารถทางานได้ทั้งในและต่างประเทศ เพิ่มคุณวุฒิให้กับแรงงานไทย
พัฒนาความชานาญในการประกอบอาชีพ การใช้เทคโนโลยีและการใช้ทักษะภาษาต่างประเทศให้กับ
กาลังคน ส่งเสริมให้ประชาชนเรียนรู้ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณแี ละวฒั นธรรมของประเทศเพือ่ นบ้าน
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ได้แก่
ส่งเสรมิ ให้ทกุ ภาคส่วนของสังคมรวมตวั กนั เป็นเครือข่ายและมีส่วนรบั ผดิ ชอบในการจดั การศึกษา สง่ เสริม
แหล่งการเรียนรู้ผ่านแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ ส่งเสริมให้ปราชญ์ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมใน
การถ่ายทอดความรู้ ส่งเสริมระบบธรรมาภิบาลในวงการศึกษา ได้แก่ สร้างคน สร้างสังคม และสร้างชาติ
ให้ต่อต้านการทุจรติ คอรร์ ัปชน่ั (นิภา ตรงเทีย่ ง, 2562)

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาใน
ทศวรรษท่ีสองโดยมีเป้าหมายหลัก 3 ประการ คือ 1) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
2) การเรียนรู้ของคนไทย เพ่ิมโอกาสทางการศึกษาเรียนรู้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพและ 3) ส่งเสริมการมี
ส่วนร่วมของทุก ภาคส่วนของสังคมในการบริหารและจัดการศึกษาและมีกรอบ แนวทางการปฏิรูป
การศึกษา 4 ประการ คือ พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพ
สถานศึกษายุคใหม่และแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่และพัฒนาคุณภาพการบริหารการจัดการใหม่ ให้สังคมได้รับรู้
อย่างชัดเจนและมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เน้นให้ผู้เรียนมีทักษะในการคิดชั้นสูงมีทักษะ
ชีวิตในการแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยี การจัดการเรียนรู้การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การใช้
ภาษาต่างประเทศเพ่ือการส่ือสารอย่างสร้างสรรค์และยังมีความมุ่งมั่นต่อการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน
การศึกษา โดยยกระดับโรงเรียนช้ันนาที่มีความพร้อมสู่โรงเรียนมาตรฐานดีมาตรฐานสากล เพื่อให้เป็น
โรงเรียนระบบการพัฒนาผู้เรยี น สถานศึกษาแหล่งเรียนรู้ สภาพแวดล้อม หลักสูตรและการจัดการเรยี นรู้

3

ท่ีเอื้ออานวยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต มีนิสัยใฝ่รู้ มีความสามารถคิด
วิเคราะห์แก้ปัญหา มีความคิดสร้างสรรค์มีคุณธรรมนาความรู้ รักความเป็นไทยและมีความสามารถก้าว
ไกลระดับสากล ต่อมาได้มีคาส่ังให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมี
เหตุผลสาคัญประการ หนึ่งคือ นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่จะพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุค
ศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งเน้นส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์
สร้างสรรค์ มีทกั ษะด้านเทคโนโลยี สามารถทางานรว่ มกับผู้อ่นื และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมโลกได้
อยา่ งสันติ (สานักเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2561)

อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีบทบาทและหน้าท่ี
1) ปลูกฝังความสานึกในพระมหากรุณาธิคุณ และความภาคภูมิใจในพระอัจฉริยะภาพแห่งองค์
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย ที่ได้ทรงบุกเบิกงานด้านดารา
ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ไทย 2) จัดและบริการการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม
แก่นักเรียน นักศึกษาทั้งในและนอกระบบโรงเรยี นและประชาชนท่วั ประเทศ 3) ศึกษา ค้นคว้า วิจัย และ
พัฒนารูปแบบกิจกรรม หลักสูตร ส่ือ และกระบวนการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
ส่ิงแวดล้อม อาทิ วิทยาศาสตร์ทางทะเล ดาราศาสตร์ เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม 4) เผยแพร่และบริการ
รปู แบบกิจกรรม หลักสตู ร สอ่ื และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรดู้ ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
สิ่งแวดล้อม 5) พฒั นาครู อาจารย์ วิทยากร และบคุ ลากรทางการศึกษา ผู้รับผดิ ชอบการจดั กิจกรรมการ
เรียนรู้ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม 6) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานร่วมกับภาคี
เครือข่าย ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม 7) ส่งเสริมและ
พัฒนาอุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว
8) ปฏิบัติงานอ่ืนๆ ตามท่ีได้รับมอบหมาย วิสัยทัศน์ คือ อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นองค์กรช้ันนาในการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างระบบคิด ปลูกจิต
วิทยาศาสตร์ มีเทคโนโลยีหลากหลาย ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาเข้าสู่ประชาคมอาเซียน พันธกิจ
เพื่อให้การดาเนินงานบรรลุตามวิสัยทัศน์ท่ีกาหนดไว้ จึงกาหนดพันธกิจในด้านต่าง ๆ 1) จัดและส่งเสริม
กระบวนการเรยี นรู้ด้านวิทยาศาสตร์ทุกรูปแบบท้งั ในระบบ/นอกระบบ/อัธยาศัย สาหรบั เด็ก เยาวชนและ
ประชาชนทั่วไป 2) วิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้และการบริหารจัดการองค์การ
ด้านวิทยาศาสตร์ 3) ส่งเสริมพัฒนาบุคลากรท่ีเก่ียวข้องในการจัดการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์
อย่างต่อเนื่อง 4) นานวัตกรรมการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ในการบริหารงานของอุทยาน
วิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 5) จัด ขยายและแสวงหาเครือข่ายแหล่ง
การเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ 6) ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายในด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ และผลการปฏบิ ตั งิ าน ด้านผูร้ ับบริการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้แก่ กิจกรรมการ
เรยี นร้ผู ่านนทิ รรศการ จานวนครูในระบบโรงเรียน 5,533 คน นักเรยี น 78,020 คน จานวนครูนอกระบบ
โรงเรียน 111 คน นักเรียน 1,665 คน จานวนประชาชนทั่วไป 64,746 คน รวมจานวนท้ังหมด 150,075
คน ค่ายวิทยาศาสตร์ จานวนครูในระบบโรงเรียน 754 คน นักเรียน 7,324 คน จานวนครูนอกระบบ

4

โรงเรียน 18 คน นักเรียน 227 คน รวมจานวนท้ังหมด 8,323 คน กิจกรรมการศึกษา จานวนประชาชน
ทั่วไป 24,485 คน รวมจานวนทั้งหมด 24,485 คน บริการวิชาการ จานวนครูในระบบโรงเรยี น 641 คน
นักเรียน 613 คน จานวนครูนอกระบบโรงเรียน 734 คน นักเรียน 198 คน จานวนประชาชนท่ัวไป
506,704 คน รวมจานวนทั้งหมด 508,890 คน พิพิธภัณฑ์สัตว์น้า จานวนครูในระบบโรงเรียน 935 คน
นักเรียน 5,496 คน จานวนครูนอกระบบโรงเรียน 44 คน นักเรียน 490 คน จานวนประชาชนทั่วไป
153,133 คน รวมจานวนท้ังหมด 160,098 คน รวมท้ัง 5 กิจกรรม มีจานวนครูในระบบโรงเรียนทั้งหมด
7,863 คน นักเรียน 91,453 คน จานวนครูนอกระบบโรงเรียนท้ังหมด 907 คน นักเรียน 2,580 คน
จานวนประชาชนท่ัวไปท้ังหมด 749,068 คน รวมจานวนผู้รับบริการท้ังหมด 851,871 คน
สถิตผิ รู้ ับบริการ เดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2562 ถึง เดือนมนี าคม พ.ศ. 2563 การเรยี นรู้ผ่านนทิ รรศการ จานวน
217,281 คน คา่ ยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละส่งิ แวดล้อม จานวน 9,367 คน กจิ กรรมการศึกษา จานวน
67,089 คน บริการวิชาการ จานวน 98,797 คน และพิพิธภัณฑ์สัตว์น้าหว้ากอ จานวน 288,306 คน
รวมจานวนท้ังส้ิน 680,840 คน เดือนเมษายน พ.ศ. 2563 ถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2563 การเรียนรู้ผา่ น
นิทรรศการ จานวน 146,799 คน ค่ายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม จานวน 6,710 คน
กิจกรรมการศึกษา จานวน 24,485 คน บริการวิชาการ จานวน 497,414 คน และพิพิธภัณฑ์สัตว์น้า
หว้ากอ จานวน 144,623 คน รวมจานวนทั้งสิ้น 820,031 คน จานวนผู้รับบริการต้ังแต่เดือนตุลาคม
พ.ศ. 2562 ถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2563 มีผู้รับบริการท้ังหมด 1,500,871 คน (ฝ่ายการแผนงาน
โครงการ อทุ ยานวทิ ยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หวา้ กอ, 2563)

ดังน้ันผู้วิจัย จึงต้องการศึกษาแรงจูงใจและความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่ออุทยาน
วิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ศึกษาแรงจูงใจของผู้รับบริการที่มีต่อ
อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของ
ผรู้ ับบริการทม่ี ตี อ่ อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกลา้ ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบครี ีขันธ์ และเพ่ือนาข้อมูล
ไปปรับใช้ในการบริหารจัดการฯ และสร้างแรงจูงใจให้ผู้รับบริการได้มีความพึงพอใจต่อการรับบริการ
ซ่ึงจะนาผลวิจัยไปปรับปรุงการทางานในด้านการให้บริการแก่นักเรียน นักศึกษา ประชาชนท่ัวไปที่มาใช้
บริการท่ีอุทยานฯ ให้มีความพึงพอใจต่อการรับบริการ อีกทั้งได้นาไปปรับปรุงในด้านอาคารสถานที่
ความสะอาด แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ท่ีมีในอุทยานฯ ให้มีความทันสมัย ดึงดูดใจ และสร้างประโยชน์แก่
ผ้รู ับบรกิ ารตอ่ ไป

2. วัตถุประสงค์
2.1 เพ่ือศึกษาแรงจูงใจของผู้รับบริการที่มีต่ออุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ

จงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์
2.2 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการท่ีมีต่ออุทยานวทิ ยาศาสตร์พระจอมเกลา้ ณ หว้ากอ

จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์
2.3 เพ่ือนาข้อมูลไปปรับใช้ในการบริหารจัดการอุทยานฯ และสร้างแรงจูงใจให้ผู้รับบริการได้มี

ความพงึ พอใจตอ่ การรบั บริการ

5

3. ขอบเขตการศึกษา
นักเรียน นักศึกษา ครูหรืออาจารย์ และประชาชนท่ัวไปที่มารับบริการของอุทยานวิทยาศาสตร์

พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผู้วิจัยใช้กลุ่มตัวอย่างจานวน 385 ตัวอย่าง โดยแจก
แบบสอบถาม ณ อทุ ยานวทิ ยาศาสตรพ์ ระจอมเกล้า ณ หวา้ กอ จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์

4. คานยิ ามศัพท์เฉพาะ
ผู้รับบริการ หมายถึง นักเรียน ในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน ครู ในระบบโรงเรียน

และนอกระบบโรงเรียน และประชาชนทัว่ ไป
บริการ หมายถึง การกระทาหรือดาเนินการอย่างใดอย่างหน่ึงเพื่อตอบสนองความต้องการของ

บคุ คลหรือองค์กรให้ไดร้ บั ความพึงพอใจสมความมุ่งหมายทีบ่ ุคคลหรอื องคก์ รนั้นต้องการ
อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ หมายถึง สถานศึกษาใน

สังกัดสานักงาน กศน. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ เลขท่ี 181
หมู่ 4 ตาบล คลองวาฬ อาเภอ เมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ 77000 เปิดให้บริการแก่
นักเรียนในระบบและนอกระบบโรงเรียน ครูในระบบและนอกระบบโรงเรียน ตลอดจนประชาชนท่ัวไป
โดยไม่แบง่ เชื้อชาติ ศาสนา การศกึ ษา ชัน้ วรรณะ

แรงจูงใจ หมายถึง พลังผลักดันให้คนมีพฤติกรรม และยังกาหนดทิศทางและเป้าหมายของ
พฤตกิ รรมนั้นด้วย คนท่ีมีแรงจูงใจสงู จะใช้ความพยายามในการกระทาไปส่เู ปา้ หมายโดยไมล่ ดละ แต่คนท่ี
มแี รงจูงใจตา่ จะไม่แสดงพฤตกิ รรม หรอื ไมก่ ล็ ม้ เลิกการกระทากอ่ นบรรลุเปา้ หมาย

ความพึงพอใจ คือ สิ่งท่ีควรจะเป็นไปตามความต้องการ ความพึงพอใจเป็นผลของการแสดงออก
ของทัศนคติของบุคคลอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นความรู้สึกเอนเอียงของจิตใจที่มีประสบการณ์ที่มนุษย์เรา
ได้รับอาจจะมากหรือน้อยก็ได้และเป็นความรู้สึกที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหน่ึง ซ่ึงเป็นไปได้ท้ังทางบวกและทางลบ
แต่ก็เมื่อได้ส่ิงน้ันสามารถตอบสนองความต้องการ หรือทาให้บรรลจุ ุดมุ่งหมายได้ ก็จะเกิดความรู้สึกบวก
เป็นความรู้สึกท่ีพึงพอใจ แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าส่ิงน้ันสร้างความรู้สึกผิดหวัง ก็จะทาให้เกิดความรู้สึก
ทางลบเปน็ ความร้สู กึ ไมพ่ ึงพอใจ

5. กรอบแนวความคดิ ตวั แปรตาม
ตวั แปรต้น
แรงจูงใจและความพึงพอใจของ
5.1 เพศ ผู้รับบริการท่ีมีต่ออุทยานวิทยาศาสตร์
5.2 อายุ พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัด
5.3 สถานภาพสมรส ประจวบครี ีขันธ์
5.4 ระดับการศกึ ษา
5.5 อาชีพ
5.6 รายไดต้ ่อเดอื น

6

6. ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รบั
6.1 ทราบถึงแรงจูงใจของผู้รับบริการที่มีต่ออุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ

จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์
6.2 ทราบถึงความพึงพอใจของผู้รับบริการท่ีมีต่ออุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ

จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์
6.3 เพ่ือนาข้อมูลไปปรับใช้ในการบริหารจัดการอุทยานฯ และสร้างแรงจูงใจให้ผู้รับบริการได้มี

ความพงึ พอใจต่อการรบั บรกิ าร

บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง

ในการศึกษาวิจัยเร่ือง แรงจูงใจของผู้รับบริการที่มีต่ออุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ
หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ คร้ังน้ีผู้วิจัยได้รวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องโดยมีรายละเอียด
ตามลาดับหวั ข้อตอ่ ไปนี้

1. ทฤษฎีแรงจงู ใจ
2. ทฤษฎคี วามพึงพอใจ
3. ขอ้ มูลทัว่ ไปของสถานศกึ ษา
4. สรุปผลการปฏิบัตงิ าน ดา้ นผรู้ บั บรกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
5. งานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้อง

1. ทฤษฎีแรงจงู ใจ
เพลินพิศ วิบูลย์กุล (2558) ได้สรุปความหมายไว้ว่า แรงจูงใจ (motive) เป็นคาที่ได้

ความหมายมาจากคาภาษาละตินท่ีว่า movere ซึ่งหมายถึง "เคลื่อนไหว (move) " ดังน้ัน คาว่าแรงจูงใจ
จงึ มกี ารใหค้ วามหมายไว้ต่างๆ กัน ได้แก่ 1) แรงจงู ใจ หมายถงึ "บางสิ่งบางอยา่ งทอี่ ยู่ภายในตวั ของบุคคล
ท่ีมีผลทาให้บุคคลต้องกระทา หรือเคล่ือนไหว หรือมีพฤติกร รมในลักษณะที่มีเป้าหมาย"
แรงจูงใจเป็นเหตุผลของการกระทานั่นเอง 2) แรงจูงใจ หมายถึง "สภาวะที่อยู่ภายในตัวท่ีเป็นพลังทาให้
ร่างกายมีการเคลื่อนไหวไปในทิศทางท่ีมีเป้าหมาย ท่ีได้เลือกไว้แล้ว ซ่ึงมักจะเป็นเป้าหมายที่มีอยู่ในภาวะ
สิ่งแวดล้อม"

วาริน ศรีบุรี (2559) ได้สรุปความหมายไว้ว่า แรงจูงใจ (Motives) คือ แรงผลักดันท่ีเกิด
จากความตอ้ งการมากระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรม เพื่อไปยงั จดุ หมายปลายทางหรือเป้าหมายแรงจูงใจ

โนวาบิซส์ (2560) ได้กล่าวว่า แรงจูงใจ คือพลังผลักดันให้คนมีพฤติกรรม และยังกาหนด
ทิศทางและเป้าหมาย ของพฤติกรรมนั้นด้วย คนท่ีมีแรงจูงใจสูง จะใช้ความพยายามในการกระทาไปสู่
เป้าหมายโดยไมล่ ดละ แต่คนทมี่ ีแรงจูงใจตา่ จะไมแ่ สดงพฤตกิ รรม หรือไมก่ ็ลม้ เลกิ การกระทา ก่อนบรรลุ
เปา้ หมาย

ศรีสุพรรณ (2555) ได้จาแนกลักษณะของแรงจูงใจไว้ 2 ลักษณะ ได้แก่ 1) แรงจูงใจภายใน
(intrinsic motives) แรงจูงใจภายในเป็นสิ่งผลักดันจากภายในตัวบุคคลซึ่งอาจจะเป็นเจตคติ ความคิด
ความสนใจ ความตั้งใจ การมองเห็นคุณค่า ความพอใจ ความต้องการ ฯลฯ สิ่งต่างๆดังกล่าวนี้มีอิทธิพล
ต่อพฤติกรรมค่อนข้างถาวรเช่นคนงานท่ีเห็นองค์การคือสถานที่ให้ชีวิตแก่เขาและครอบครัวเขาก็จะ
จงรักภักดีต่อองค์การ และองค์การบางแห่งขาดทุนในการดาเนินการก็ไม่ได้จ่ายค่าตอบแทนท่ีดีแต่ด้วย
ความผกู พันพนักงานก็รว่ มกันลดค่าใชจ้ ่ายและช่วยกันทางานอย่างเต็มท่ี 2) แรงจูงใจภายนอก (extrinsic
motives) แรงจงู ใจภายนอกเป็นสง่ิ ผลกั ดนั ภายนอกตัวบุคคลที่มากระตุน้ ใหเ้ กดิ พฤติกรรมอาจจะเป็นการ

8

ได้รับรางวัล เกียรติยศชื่อเสียง คาชม หรือยกย่อง แรงจูงใจน้ีไม่คงทนถาวร บุคคลแสดงพฤติกรรมเพ่ือ
ตอบสนองสิ่งจงู ใจดงั กล่าวเฉพาะกรณที ี่ต้องการสิ่งตอบแทนเทา่ นนั้

ปรเมษฐ์ ศรีทาสังข์ และคณะ (2559) (อ้างถึงใน Abraham H.Maslow, ม.ป.ป.) และได้
ลาดับขั้นความต้องการของมนุษย์แบ่งออกเป็น 5 ลาดับ ได้แก่ 1) ความต้องการทางร่างกาย
(physiological needs) เป็นความต้องการข้ันพ้ืนฐานของมนุษย์เพ่ือความอยู่รอด เช่น อาหาร
เครอื่ งนงุ่ หม่ ที่อยู่อาศยั ยารักษาโรค อากาศ นา้ ด่ืม การพกั ผอ่ น เปน็ ต้น 2) ความตอ้ งการความปลอดภัย
และมั่นคง (security or safety needs) เมื่อมนุษย์สามารถตอบสนองความต้องการทางร่างกายได้แล้ว
มนษุ ยก์ จ็ ะเพม่ิ ความต้องการในระดบั ที่สูงขึ้นต่อไป เชน่ ความตอ้ งการความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพย์สิน
ความต้องการความม่ันคงในชีวิตและหน้าที่การงาน 3) ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ
(belongingness and love needs) ความต้องการน้ีจะเกิดข้ึนเมื่อความต้องการทางด้านร่างกาย และ
ความต้องการความปลอดภัยได้รับการตอบสนองแล้ว บุคคลต้องการได้รับความรักและความเป็นเจ้าของ
โดยการสร้างความสมั พันธ์กบั ผู้อืน่ เชน่ ความตอ้ งการไดร้ ับการยอมรับ การต้องการได้รบั ความช่นื ชมจาก
ผู้อ่ืน เป็นต้น 4) ความต้องการการยกย่อง (esteem needs) หรือ ความภาคภูมิใจในตนเอง เป็นความ
ต้องการการได้รับการยกย่อง นับถือ และสถานะจากสังคม เช่น ความต้องการได้รับความเคารพนับถือ
ความต้องการมีความรู้ความสามารถ เป็นต้น 5) ความต้องการความสาเร็จในชีวิต (self-actualization)
เป็นความต้องการสงู สุดของแต่ละบุคคล เช่น ความต้องการท่ีจะทาทุกส่ิงทุกอย่างไดส้ าเรจ็ ความตอ้ งการ
ทาทุกอยา่ งเพอ่ื ตอบสนองความต้องการของตนเอง เป็นตน้

สรุปได้ว่า แรงจูงใจ เป็นกระบวนการที่บุคคลถูกกระตุ้นจากสิ่งเร้าโดยจงใจ ให้กระทาหรือ
ดิ้นรนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์บางอย่าง ซ่ึงจะเห็นได้ว่า พฤติกรรมที่เกิดจากการจูงใจเป็นพฤติกรรมที่
มิใช่เป็นเพียงการตอบสนองสิ่งเร้าปกติธรรมดา แต่ต้องเป็นพฤติกรรมท่ีมีความเข้มข้นมีทิศทางจริงจัง
มีเป้าหมายชัดเจนว่าต้องการไปสู่จุดใด และพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเป็นผลสืบเน่ืองมาจากแรงผลักดัน
หรอื แรงกระตุ้นทีเ่ รยี กว่า แรงจงู ใจ ดว้ ย

2. ทฤษฎีความพึงพอใจ

อุทัย พรรณสุดใจ (2545) ได้กล่าวถึง ความพึงพอใจว่า เป็นความรู้สึกรักชอบยินดีเต็มใจ

หรือมีเจตคติท่ีดีของบุคคลต่อส่ิงใดสิ่งหน่ึง ความพอใจจะเกิดเม่ือได้รับตอบสนองความต้องการ ท้ังด้าน

วตั ถแุ ละด้านจิตใจ ความพึงพอใจเป็นเรื่องเกย่ี วกับอารมณ์ ความรู้สึก และทัศนะของบุคคล อนั

เนื่องมาจากส่ิงเร้าและส่ิงจูงใจ โดยอาจเป็นไปในเชิงประเมินค่า ว่าความรู้สึกหรือทัศนคติต่อสิ่งเหล่านั้น

เปน็ ไปในทางลบหรือบวก

ราชบัณฑิตสถาน (2546) ได้กล่าวถึง ความหมายของคาว่า ความพึงพอใจ ดังน้ี คาว่า “พึง”

เปน็ คากรยิ าอนื่ หมายความวา่ ยอมตาม เช่น พงึ ใจ และคาวา่ “พอใจ” หมายถงึ สมชอบ ชอบใจ

9

กชกร เป้าสุวรรณ และคณะ (2550) ไดก้ ล่าวถึง ความหมายของความพึงพอใจว่า ส่งทคี่ วร
จะเป็นไปตามความต้องการ ความพึงพอใจเป็นผลของการแสดงออกของทัศนคติของบุคคลอีกรูปแบบ
หนึ่ง ซ่ึงเป็นความรู้สึกเอนเอียงของจิตใจท่ีมีประสบการณ์ท่ีมนุษย์เราได้รับอาจจะมากหรือน้อยก็ได้
และเป็นความรู้สึกที่มีต่อสิ่งใดส่ิงหนึ่ง ซึ่งเป็นไปได้ท้ังทางบวกและทางลบ แต่ก็เม่ือได้ส่ิงน้ัน
สามารถตอบสนองความต้องการ หรือทาให้บรรลุจุดมุ่งหมายได้ ก็จะเกิดความรู้สึกบวก เป็นความรู้สึกที่
พึงพอใจ แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าส่ิงนั้นสร้างความรู้สึกผิดหวัง ก็จะทาให้เกิดความรู้สึกทางลบ เป็น
ความรสู้ กึ ไม่พึงพอใจ

Applewhite (1965) ได้กล่าวถึง ความพึงพอใจ เป็นความรู้สึกส่วนตัวของบุคคลในการ
ปฏิบัติงาน ซ่ึงรวมไปถึงความพึงพอใจเป็นความรู้สึกส่วนตัวของบุคคลในการปฏิบัติงาน ซึ่งรวมไป ถึง
ความพึงพอใจในสภาพแวดล้อมทางกายภาพด้วย การมีความสุขที่ทางานร่วมกับคนอื่นที่เข้ากัน ได้มี
ทัศนคติทดี่ ตี ่องานดว้ ย

Good (1973) ได้กล่าวถึง ความพึงพอใจ หมายถึงสภาพหรือระดับความพึงพอใจที่เป็น
ผลมา จากความสนใจ และเจตคติของบคุ คลท่มี ีตอ่ งาน

พรรณราย ทรัพย์ประภา (2529) ได้ให้ความหมายว่า ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานว่าเป็น
ผลมาจากทัศนคติต่างๆ ที่คนงานมีต่องานของตนหรือต่อองค์ประกอบอ่ืนๆ ที่มีความสัมพันธ์กับงานและ
สภาพชีวิตสว่ นตัวของตนเอง

อับราฮัม มาสโลว์ (อ้างถึงใน บุญธรรม ไวยมิตรา, 2553) มีความเชื่อเก่ียวกับความต้องการ
ของมนุษย์ว่า มนุษย์มีความต้องการไม่สิ้นสุดเพราะมนุษย์มีสัญชาตญาณโดยกาเนิดท่ีจะเสาะแสวงหาสิ่ง
แปลกๆ ใหม่ๆ อยู่เสมอและต้องการพัฒนาการต่อเน่ืองกันไปตลอดเวลาซ่ึงมนุษย์จะใช้ชีวิตส่วนใหญ่
ตอบสนองความต้องการด้านพ้ืนฐานจนเป็นที่เพียงพอแล้วจึงค่อยหาทางแสวงหาความต้องการทางจิตใจ
ต่อไปตลอดตราบเท่าท่ีชีวิตยังคงอยู่ ซ่ึง มาสโลว์ (Maslow) ได้จัดแบ่งลาดับความต้องการของมนุษย์
ออกเป็น 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ความต้องการทางด้านร่างกาย (Basic physiological needs) เป็นความ
ต้องการทางร่างกายที่จาเป็นของมนษุ ย์เชน่ อาหาร น้าดื่ม อากาศหายใจ ยารักษาโรคและ ความต้องการ
ทางเพศ ซึ่งความตอ้ งการในระดับน้ี เปน็ ความต้องการทข่ี าดไม่ได้ และจะตอ้ งไดร้ ับตลอดเวลา ซ่ึงองคก์ าร
สามารถสนองความต้องการให้กับสมาชิกได้ โดยจัดให้มีส่ิงอานวยความสะดวกสบายต่างๆ ภายใน
สานักงาน เพ่ือให้พนักงานได้ทางานอย่างสุขสบาย ภายใต้การให้บริการสวัสดิการขององค์การนั้นๆ
2) ความต้องการความปลอดภยั และม่นั คง (Safety and security needs) คือ ความต้องการความม่ันคง
และความปลอดภัย จัดเป็นความต้องการที่ปกป้องคุ้มครองรักษาคนท่ีตนรักและทรัพย์สินต่างๆ ที่มีอยู่
ไม่ให้ถูกทาลาย ฉะน้ันองค์การจึงไม่ควรบีบบังคับภาวะทางด้านร่างกาย และจิตใจแก่สมาชิก ในด้านนี้
องค์การควรจะตอบสนองดว้ ยการให้ความรู้สึกม่ันคงปลอดภยั และเป็นทพ่ี ึ่งแก่สมาชิกใหเ้ กดิ ความรู้สึกว่า
อยู่ภายใต้องค์การน้ีแล้วเกิดความอบอุ่นปราศจากภัยอันตราย องค์การพร้อมที่จะปกป้องและคุ้มครอง
สมาชิกทุกคนใหอ้ ยู่อย่างมีความสขุ ตลอดไป 3) ความต้องการทางสงั คมและความรักจากผู้อืน่ (Love and
belonging needs) เป็นความต้องการในการแสวงหาความรักความอบอุ่นทางด้านจิตใจจากคนที่ตนรัก

10

หรือต้องการเป็นที่พึ่งทางด้านจิตใจกับอีกฝ่ายหน่ึงได้เกิดความรักและความอบอุ่นเป็นกาลังใจท่ีดีต่อกัน
เป็นเจ้าของร่วมกัน เป็นความต้องการทางจิตใจและทางสังคมที่จะสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลอื่ น
โดยรวมถึงความตอ้ งการการยอมรับจากกลุ่มเพอื่ นๆ อกี ด้วย เช่น ความต้องการทจ่ี ะมีความสัมพนั ธ์ท่ีดีกับ
เพื่อนร่วมงาน และมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้างานเป็นตน้ 4) ความต้องการมี
ช่ือเสียงเกียรติยศ (Self – esteem needs) เป็นความต้องการท่ีจะได้รับการยกย่องชมเชยจากสังคม ซึ่ง
รวมถึงความต้องการในเกียรติยศชื่อเสียงศักดิ์ศรี ตาแหน่งหน้าที่การงาน และการเป็นส่วนหน่ึงของสังคม
มีภาพพจน์ที่ดีงามในสายตาของคนท่ัวไป ต้องการมีชื่อเสียงให้เป็นท่ีรู้จักแพร่หลาย และยอมรับแก่บุคคล
ทั่วไปในองค์การโดยจะสามารถมีความต้องการรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น และได้รับการไว้วางใจจากองค์การ
เพ่ิมข้ึน 5) ความต้องการความสาเร็จในชีวิต (Self – actualization needs) เป็นความต้องการท่ีแท้จริง
ของมนุษย์ในการที่จะแสวงหาความสุขความสมหวังในทุกสิ่งที่ตนปรารถนาซ่ึงเป็นความต้องการขั้นสูงสุด
ในชวี ติ ของมนษุ ย์ซึ่งบุคคลมุ่งมน่ั ทจ่ี ะเปน็ ในสิ่งที่เขาต้องการและวางเป้าหมายในชวี ติ เอาไว้และพร้อมที่จะ
กา้ วเดนิ ต่อไปสูค่ วามสาเรจ็ อยา่ งมน่ั ใจ

เฟดเดอริค เฮอร์ซเบอร์ก (อ้างถึงใน บุญธรรม ไวยมิตรา, 2553) ได้เสนอทฤษฎีท่ีมี
ความสาคัญต่อการทางานของมนุษย์คือทฤษฎี 2 องค์ประกอบ ได้แก่ Hygiene factors และ Satisfier
factors ซง่ึ เปน็ ปจั จยั ทไ่ี ด้กลา่ วถงึ ที่มาของถงึ ความพึงพอใจในงานโดยทบ่ี ุคคลในองค์การจะทางานได้ดีนั้น
จะต้องดูถึงปัจจัยท้ังสองดังกล่าวมาแล้วน้ันเป็นสาคัญและองค์การควรจะทาให้ปัจจัยทั้งสองในด้านความ
พึงพอใจในงานเป็นไปในแนวทางท่ีถูกต้องเพ่ือให้องค์การมีบุคคลากรท่ีจะทางานให้ได้ดีและมี
ประสิทธิภาพในงานท่ีทาอยู่เกิดประโยชน์แก่องค์การโดยมีรายละเอียดของทฤษฎี 2 องค์ประกอบ ได้แก่
1) คือ Hygiene factors เป็นแหล่งทีม่ าของความไม่พอใจในการทางานซึ่งเป็นลักษณะภายนอก งานหาก
องค์ประกอบน้ีได้รับการตอบสนองก็จะมีผลทาให้เพ่ิมความไม่พึงพอใจสูงขึ้นปัจจัย Hygiene factors
ประกอบด้วย ปัจจัยด้านต่างๆ เช่น ค่าจ้างเงินเดือน นโยบายและการบริหารขององค์การ การปกครอง
และควบคมุ ดแู ล ความสัมพนั ธ์กบั ผ้บู งั คบั บญั ชาและผใู้ ต้บงั คับบญั ชา สภาพการทางาน ความมัน่ คงในงาน
ความเป็นอยู่สว่ นตัว ความสัมพันธ์กับเพื่อนรว่ มงาน 2) คือ Satisfier factors เป็นแหล่งที่มาของความพึง
พอใจในการปฏิบัติงานเป็นลักษณะภายในงานหากองค์ประกอบนี้ได้รับการตอบสนองความพึงพอ ใจใน
การปฏิบัติงานก็จะสูงข้ึนและมีประสิทธิภาพในการทางานเพ่ิมมากขึ้นด้วยแต่หากปัจจัยน้ีไม่ได้รับการ
ตอบสนองความพึงพอใจในการปฏิบัติงานก็จะลดลงปัจจัย Satisfier factors ประกอบด้วย ความสาเร็จ
ในการทางาน การได้รับความยกย่องในผลงาน ลักษณะของงานท่ีทา ความรับผิดชอบในง านที่ทา
ความก้าวหน้าในอาชีพ โอกาสเจริญเติบโตในงานที่ทา การนาทฤษฎี 2 องค์ประกอบของ เฟดเดอริค
เฮอร์ซเบอร์ก (Frederick Herzberg) มาใช้ กระทาได้โดยสร้าง Satisfier factors ท่ีเป็นแหล่งท่ีมาของ
ความไม่พอใจในการทางานให้เกิดในการทางานท้ังน้ีเพื่อเสริมสร้างความพึงพ อใจในการปฏิบัติงานให้
เกิดข้ึนในองค์การขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุง Hygiene factors ท่ีเป็นแหล่งที่มาของความไม่พึงพอใจให้
เกิดขนึ้ นอ้ ยท่ีสุด เพื่อลดความไม่พึงพอใจกจ็ ะเป็นการเพม่ิ ประสิทธภิ าพของทรัพยากรบุคคลในองค์การซึ่ง

11

เป็นกาลังสาคัญในการปฏิบัติงานทาให้องค์การพัฒนาเจริญก้าวหน้าต่อไปในอนาคตเนื่องจากได้ป้องกัน
การเกิดความไม่พึงพอใจและขณะเดียวกันกเ็ รง่ สรา้ งความพึงพอใจใหเ้ กิดขน้ึ ในงานด้วย

เมอร์เรย์ (อ้างถึงใน ทรงศักด์ิ นิภรมาลากุล, 2545) นักจิตวิทยาท่ีได้ศึกษาความต้องการของ
มนุษย์อย่างจริงจังโดยจาแนกความต้องการของมนุษย์ ออกเป็นประเภทใหญ่ได้ 2 ประเภท ๆ ได้แก่
1) ความต้องการปฐมภูมิหรือความต้องการทางด้านร่างกาย (Primary or viscergerric needs) จัดเป็น
ความต้องการข้ันพ้ืนฐานของมนุษย์เช่นความต้องการอาหาร น้า อากาศ การพักผ่อนและความต้องการ
ทางเพศเป็นต้น 2) ความต้องการทุติยภมู ิหรือความต้องการทางด้านจติ ใจ (Secondary or psychogical
needs) เป็นความต้องการที่เกิดข้ึนจากการเรียนรู้เมื่อร่างกายไม่ได้รับความพึงพอใจหรือขบวนการ
อินทรยี ์ไม่สมดุลกัน

เออเนสท์ อาร์ ฮีลการ์ด (ม.ป.ป.) นักจิตวิทยาอีกผู้หนึ่งท่ีสนใจทางด้านความต้องการของ
มนุษย์เขาได้จาแนกความต้องการของมนุษย์ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1) ความต้องการท่ีจะมีชีวิตอยู่
เปน็ ความตอ้ งการที่มีอยู่ในตัวของมนุษย์ทุกคนเช่นความต้องการปจั จัย 4 ไดแ้ ก่ อาหาร เคร่อื งน่งุ ห่ม ท่ีอยู่
อาศัยและยารักษาโรค เป็นต้น 2) ความต้องการทางด้านสังคมเป็นความต้องการท่ีจะอยู่ในสังคมโดยมี
ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในรูปแบบตา่ งๆเช่นความรักมิตรภาพความต้องการทางเพศ ความต้องการที่จะ
ปกครองตนเอง การแข่งขันการเป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี เป็นต้น 3) ความต้องการความสัมพันธ์ส่วนตัวเป็น
ความต้องการทจ่ี ะสร้างคุณภาพแก่ตนเองในการที่จะดาเนินวิถีชวี ติ ท่จี ะสร้างความเชื่อม่ันในตนเองมีความ
สรา้ งสรรค์ท่ดี สี ร้างปรชั ญาและความเช่อื ใหก้ ับตนเองมจี ดุ มุ่งหมายในชีวติ อยา่ งแนน่ อน

สรุปได้ว่า ความพึงพอใจ คือความรู้สึกนึกคิด หรือ ทัศนคติของบุคคลที่มีต่อส่ิงใดส่ิงหน่ึง
สามารถเป็นไปในทางท่ีดีหรือไม่ดี หรือในด้านบวกและด้านลบ ซ่ึงจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อส่ิงนั้น สามารถ
ตอบสนองความตอ้ งการแกบ่ คุ คลนั้น

3. ข้อมูลท่วั ไปของสถานศึกษา
ดินแดนแห่งน้ีนับเป็นอนุสรณ์สถานที่ได้จารึกพระนาม คิงมงกุฎ ไว้ในหน้า ประวัติศาสตร์ให้

โด่งดังปรากฏไปท่ัวโลก และนาพระเกียรติยศเกียรติประวัติมาสู่ประเทศไทย นาความภาคภูมิใจมาสู่
ประชาชนชาวไทยตราบทุกวันนี้ โดยเป็นสถานท่ีที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4
เสด็จพระราชดาเนนิ โดยเรือพระท่ีน่ังอรรคราชวรเดช เพื่อทรงพิสูจน์การคานวณสถานที่และเวลาการเกดิ
สุริยุปราคาเต็มดวงได้อย่างถูกต้องชัดเจน ซึ่งคานวณล่วงหนา้ ไว้ถึง 2 ปีว่าจะเกิดสุริยุปราคาเต็มดวงในวนั
อังคาร ข้ึน 1 ค่า เดือน 10 ปีมะโรง จุลศักราช 1230 ตรงกับวันที่ 18 สิงหาคม 2411 โดยเส้นศูนย์ของ
อุปราคา จะผ่านมาใกล้ท่ีสุด ณ บ้านหว้ากอ แขวงเมืองประจวบคีรีขันธ์ ในพระราชอาณาจักรสยาม
ทางฝั่งทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ตรงเส้นวิตถันดร (แลตติดจูต) 11 องศา 38 ลิปดาทิศเหนือ และ
เส้นที รฆนั ดร (ลองติดจูต) 99 องศา 39 ลปิ ดาทิศตะวนั ออก โดยคราสเรมิ่ จบั เวลา 10 นาฬกิ า 4 นาที จบั
เต็มดวง เวลา 11 นาฬิกา 36 นาที 20 วินาที กินเวลานาน 6 นาที 45 วินาที คลายคราสออกเวลา
13 นาฬกิ า 37 นาที 45 วนิ าที ซ่งึ ไมป่ รากฏวา่ มีหลักฐานการคานวณจากประเทศตะวันตกมาก่อนหนา้ นี้

12

ในระหว่างน้ันประชาชนชาวไทยและชาวต่างประเทศต่างก็เฝ้ารอวันพิสูจน์การเกิด
สรุ ยิ ปุ ราคาที่หวา้ กอ เม่ือใกล้ถงึ วนั ทรงโปรดให้เจ้าพระยาศรีสรุ ยิ วงศ์มาสรา้ งค่ายไวล้ ว่ งหนา้ และพระองค์
ได้ใช้ค่ายน้ีเป็นห้องทดลองวิทยาศาสตร์กลางแจ้ง เพื่อเป็นท่ีชุมนุมของนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกและคณะ
ฑูตานุทูตประเทศต่างๆ แล้วก็เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงตามที่พระองค์ทรงคานวณ โดยไม่คลาดเคล่ือน
พระราชกรณียกิจในคร้ังน้ันทาให้พระเกียรติยศระบือไกล บรรดาแขกต่างประเทศจานวนมากได้รับทราบ
ถึงพระอัจฉรยิ ภาพของพระองคท์ ่ีมีไม่แพ้ชาติใด ทัง้ ๆทย่ี ังขาดเครื่องมือท่มี ีประสทิ ธภิ าพ พระเกียรติคุณใน
ด้านวิทยาศาสตร์เป็นที่ยอมรับและปรากฏเด่นชัดแก่บรรดานักปราชญ์ และนักวิทยาศาสตร์ท่ัวโลก
แต่ประชาชนชาวไทยก็ต้องประสบกับความสูญเสียครั้งใหญ่หลวง เมื่อพระองค์เสด็จกลับกรุงเทพได้เพียง
5 วัน ก็ทรงประชวรและเสด็จสวรรคตด้วยไข้มาเลเรีย ในวันที่ 1 ตุลาคม 2411 นั่นเอง เพื่อเป็นการน้อม
ราลึกถงึ พระองคแ์ ละวันสาคัญทางประวตั ิศาสตร์นนั้

ในวันที่ 16 พฤษภาคม 2532 คณะรัฐมนตรีจึงมีมติเห็นชอบในหลักการให้ดาเนินโครงการ
อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ และในวันท่ี 3 พฤษภาคม 2533 พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานนามสถานท่ีแห่งนี้ว่า "อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้า
กอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์" โดยกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งข้ึนเป็นสถานศึกษาเมื่อวันท่ี 16
มิถุนายน 2536 ปัจจุบันสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือ
เทิดพระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั "พระบิดาแหง่ วทิ ยาศาสตรไ์ ทย"

อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ต้ังอยู่ริมอ่าวหว้ากอ
ในตาบลคลองวาฬห่างจากตัวเมืองประจวบฯ ไปทางทศิ ใตร้ าว 12 กโิ ลเมตร มีอาณาเขตรวมเนอ้ื ท่ี 485
ไร่ 1 งาน 56.2 ตารางวา พื้นท่ีด้านตะวันออกถูกขนาบด้วยทะเลฝั่งอ่าวไทย มีทิวสนทะเลขึ้นตลอดแนว
ชายหาด สภาพพ้ืนที่โดยท่ัวไปเป็นท่ีราบ ดินร่วนปนทราย สภาพภูมิอากาศแบ่งเป็น 3 ฤดูกาลคือ
ฤดูร้อน ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ - เมษายน ฤดูฝน ระหว่างเดือนพฤษภาคม - พฤศจิกายน และฤดูหนาว
ระหว่างเดือนธันวาคม - มกราคม

ในอดีต หว้ากอ เป็นช่ือหมบู่ ้านเลก็ ๆ ในตาบลคลองวาฬซง่ึ เคยเปน็ สถานที่ทพ่ี ระบาทสมเดจ็
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ได้ทรงคานวณไว้ว่าจะเกิดสุริยุปราคาเต็มดวง สามารถมองเห็นได้
ชัดเจนท่ีนี่ ในวันท่ี 18 สิงหาคม 2411 ทั้งยังเสด็จพระราชดาเนินมาทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ ท่ีแห่งนี้
พร้อมพระราชโอรส พระราชธิดา ข้าราชบริพาร ตลอดจนทรงมีพระกรุณาโปรดเกล้าให้ชาวต่างประเทศ
ได้มีโอกาสร่วมชมปรากฏการณ์คร้ังนี้ด้วย ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประชวรดว้ ย
ไข้มาเลเรียและเสด็จสวรรคตอันเน่ืองมาจากเสด็จหว้ากอในคร้ังน้ัน และแล้วค่ายหลวงและพลับพลาท่ี
ประทับ ณ บ้านหวา้ กอ ก็ถูกลมื และท้ิงให้ปรักหกั พังไปตามสภาพ

ต่อมาในปี พ.ศ.2536 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งเป็นสถานศึกษา เพ่ือ
เทิดพระเกียรติองค์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสนองนโยบายการกระจายโอกาสในการ
เรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีดาราศาสตร์ อวกาศ และส่ิงแวดล้อม แก่นักเรียน นักศึกษา เยาวชน
และประชาชนทัว่ ประเทศ

13

4. สรปุ ผลการปฏบิ ัติงาน ด้านผูร้ บั บรกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการ จานวนครูในระบบโรงเรียน 5,533 คน นักเรียน 78,020 คน

จานวนครูนอกระบบโรงเรียน 111 คน นักเรียน 1,665 คน จานวนประชาชนทั่วไป 64,746 คน
รวมจานวนทง้ั หมด 150,075 คน

ค่ายวิทยาศาสตร์ จานวนครูในระบบโรงเรยี น 754 คน นกั เรียน 7,324 คน จานวนครนู อกระบบ
โรงเรียน 18 คน นกั เรยี น 227 คน รวมจานวนทั้งหมด 8,323 คน

กิจกรรมการศกึ ษา จานวนประชาชนท่วั ไป 24,485 คน รวมจานวนทั้งหมด 24,485 คน
บริการวิชาการ จานวนครูในระบบโรงเรียน 641 คน นักเรียน 613 คน จานวนครูนอกระบบ
โรงเรียน 734 คน นักเรียน 198 คน จานวนประชาชนทั่วไป 506,704 คน รวมจานวนทั้งหมด
508,890 คน
พิพิธภณั ฑส์ ัตวน์ า้ จานวนครใู นระบบโรงเรียน 935 คน นักเรียน 5,496 คน จานวนครูนอกระบบ
โรงเรียน 44 คน นักเรียน 490 คน จานวนประชาชนทั่วไป 153,133 คน รวมจานวนท้ังหมด
160,098 คน
รวมท้ัง 5 กจิ กรรม มจี านวนครูในระบบโรงเรยี นทงั้ หมด 7,863 คน นักเรยี น 91,453 คน จานวน
ครูนอกระบบโรงเรียนท้ังหมด 907 คน นักเรียน 2,580 คน จานวนประชาชนทั่วไปท้ังหมด 749,068 คน
รวมจานวนผรู้ บั บรกิ ารทัง้ หมด 851,871 คน

5. งานวิจัยทเ่ี กีย่ วข้อง
5.1 งานวจิ ัยในประเทศ
ศรินท์ทิพย์ คาวาโนเบะ (2554) ศึกษาแรงจูงใจและพฤติกรรมของนักท่องเท่ียวชาวไทย

กรณีศึกษา อาเภอเมือง จังหวัดน่าน ผลการศึกษาพบว่า นักท่องเท่ียวท่ีเดินทางเข้ามาในอาเภอเมือง
จังหวัดน่าน เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยส่วนใหญ่มีอายุ 26-30 ปี มีสถานภาพสมรส มีระดับ
การศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001-20,000 บาท
มีภูมิลาเนาอยู่ภาคกลาง นักท่องเที่ยวมีแรงจูงใจต่อสถานท่ีท่ีท่องเท่ียวในด้านสิ่งดึงดูดใจมากที่สุด
ซ่ึงประกอบด้วยด้านแหล่งท่องเที่ยวทางศาสนา ประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ด้านความ
น่าสนใจในเรื่องเอกลักษณ์ วัฒนธรรมและประเพณี ด้านความสวยงามของสถานท่ีท่องเที่ยว ด้านความ
หลากหลายของสถานท่ีท่องเท่ียว และด้านชื่อเสียงของแหล่งท่องเท่ียว พฤติกรรมการท่องเที่ยวของ
นักท่องเท่ียวชาวไทย สถานท่ีที่ดึงดูดให้นักท่องเท่ียวมีความต้องการเย่ียมคือ วัดภูมินทร์ ช่วงฤดูท่ีน่า
เดนิ ทางมาท่องเทยี่ ว คือ ช่วงฤดหู นาว มีระยะเวลาการเดินทางมาพักค้างคืน มากกว่า เดินทางมาเช้า-เย็น
กลับ สถานท่ีเลือกพัก คือ โรงแรม มีค่าใช้จ่ายในการท่องเท่ียว 3,001-7,000 บาท เลือกใช้บริการ
ร้านอาหารระหว่างทางทากิจกรรมไหว้พระระหว่างการท่องเที่ยว มีการเลือกซื้อสินค้าหรือของที่ระลึก
ประเภทผา้ ทอมอื

14

กิติยา มโนธรรมรักษา (2559) ศึกษาการศึกษาแรงจูงใจและความพึงพอใจที่มีผลต่อ
พฤติกรรมนักท่องเท่ียวชาวไทย กรณีศึกษา ตลาดน้าอโยธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท้ังในส่วนของ
แรงจูงใจโดยรวม รายด้านปัจจัยผลัก และปัจจัยดึงดูดซ่ึงอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน แต่งานวิจัยของ
กิติยาน้ันกลุ่มตัวอย่างให้ค่าเฉลี่ยระดับความสาคัญของแรงจูงใจด้านปัจจัยดึงดูดน้อยกว่าด้านปัจจัยผลัก
ซ่ึงในรายละเอียดของด้านปัจจัยผลัก พบว่าให้ค่าเฉล่ียด้านความตองการสถานท่ีทองเท่ียวภายในหนึ่งวัน
(เช้าไป - เย็นกลับ) สูงที่สุด รองลงมาคือความต้องการที่จะหลีกหนีความจาเจในชีวิตประจาวัน ถัดมาคือ
ความต้องการท่ีจะสัมผัสอารยธรรมกรุงเก่าและความต้องการท่ีจะหลีกหนีความจาเจในชีวิตประจาวัน
ซ่ึงให้ค่าเฉล่ียคะแนนเท่ากัน ทั้งน้ีแตกต่างจากบ้านบางเขนเล็กน้อยคือ 116 ปัจจัยผลัก (เหตุผล) ความ
ตอ้ งการในการสัมผสั บรรยากาศเก่า ๆ นั้น มคี ะแนนเปน็ อันดับท่ีสอง และอันดบั ท่ีสามคือการมาเพ่ือหลีก
หนคี วามจาเจในชีวติ ประจาวนั สาหรับด้านปัจจัยดงึ ดูด งานวจิ ยั ของกิตยิ าพบว่า ดา้ นการมาเพ่ือซื้อสินค้า
นานาชนิด เช่น กระเป๋าและรองเท้าท่ีเป็นสินค้าหน่ึงตาบลหน่ึงผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้ค่าเฉล่ียสูงท่ีสุด
รองลงมาคือด้านพบสิ่งแปลกใหม่ เช่น การน่ังเรือชมตลาดน้า ซึ่งให้ค่าเฉลี่ยต่างกันกับอันดับแรกเพียง
เล็กน้อย ท้ังนี้ที่ผลวิจัยต่างจากบา้ นบางเขนอาจนั้น อาจเป็นเพราะรูปแบบการท่องเท่ียวตลาดน้าอโยธยา
นั้นอยู่ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซ่ึงเป็นจังหวัดที่มีชื่อเสียงเร่ืองสินค้า OTOP และสินค้าจากศูนย์
ศิลปาชีพบางไทรอยู่ก่อนแล้ว จึงทาให้นักท่องเที่ยวต้ังใจที่จะไปเพื่อจับจ่ายใช้สอยซื้อสินค้าหัตถกรรม
ดงั กล่าว

ชฎาภรณ์ แซ่ต้ัง (2559) ศึกษาปัจจัยต่อการตัดสินใจใช้บริการท่องเท่ียว ณ อุทยาน
วิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผลการวิจัยพบว่า นักท่องเที่ยวชาวไทยให้
ความคิดเห็นกับปัจจัยต่อการตัดสินใจใช้บริการท่องเท่ียว ท้ัง 9 ด้านของอุทยานวิทยาศาสตร์พระจอม
เกล้าฯ พบว่า มีผลต่อการตัดสินใจในระดับมาก เรียงตามอันดับความสาคัญ ดังน้ี ด้านสถานที่ท่องเท่ียว
ด้านภาพลักษณ์ ด้านคมนาคม ด้านค่านิยมในการท่องเที่ยว ด้านสิ่งอานวยความสะดวก ด้านความ
ปลอดภัย ด้านภาวะเศรษฐกิจและการเมือง ด้านการโฆษณาเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ และด้านสินค้า
ของที่ระลึก ตามลาดับ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่าง เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และภูมิลาเนา
ที่แตกต่างกัน มีผลต่อการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาใช้บริการท่องเที่ยว ณ อุทยาน
วทิ ยาศาสตรพ์ ระจอมเกล้า ณ หวา้ กอ แตกต่างกันด้วยเช่นกัน

สิรัชญา วงษ์อาทิตย์ และยุพาวรรณ วรรณวาณิชย์ (2559) ศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อการ
ตัดสินใจท่องเท่ียวเชิงโหยหาอดีตของนักท่องเที่ยวชาวไทย โดยในการวิจัยน้ี มีพฤติกรรมของกลุ่ม
ตวั อย่างที่ตรงกบั กลุ่มที่มาเท่ียวบา้ นบางเขน คือ กลุ่มตัวอยา่ งมีจดุ ประสงค์ในการมาเท่ยี วเพ่ือการพักผ่อน
หย่อนใจ โดยเดินทางมาเท่ียวด้วยพาหนะส่วนตัว อย่างไรก็ตามมีความแตกต่างกันในเรื่องของกลุ่มผู้ร่วม
เดินทาง เพราะงานวิจัยน้ีเป็นการมากับกลุ่มครอบครัวหรือญาติและแตกต่างในเร่ืองของแหล่งข้อมูลที่ทา
ให้รู้จักสถานที่ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการบอกต่อจากเพ่ือนหรือครอบครวั ทั้งนี้น่าจะมาจากสาเหตุที่ว่างานวิจยั
ของสิรัชญา และยุพาวรรณ น้ันเป็นการเก็บข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงโหยหาอดีตท่ีตลาดย้อนยุคเพลินวาน
ตลาดน้าหัวหินสามพันนาม และรฤก หัวหิน 115 การเดินทางไปสถานท่ีเท่ียว ซึ่งอยู่ที่ต่างจังหวัดมี

15

ข้อจากัดมากกว่า เช่น ต้องมีการเดินทางหรืออาจมีการค้างแรม กลุ่มคนส่วนใหญ่จึงเป็นครอบครัวท่ีมา
เที่ยวด้วยกันมากกว่ากลุ่มเพื่อนท่ีนัดกันมาเท่ียวแบบเช้าไปเย็นกลับ ด้านการรับรู้ข้อมูลที่แตกต่างกันน้ัน
งานวิจัยนี้คนส่วนใหญ่รู้จักผ่านการบอกต่อต่างกับบ้านบางเขนซ่ึง คนส่วนใหญ่รู้จักผ่านทางส่ือสังคม
ออนไลน์เช่น เฟซบุ๊ก หรือ Pantip.com มากกว่าการบอกต่อ อาจสืบเนื่องมาจากการที่บ้านบางเขนเป็น
สถานท่ีท่องเท่ียวใหม่ท่ีเพิ่งเปิดให้บริการเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 ยังมีฐานนักท่องเท่ียวไม่มากนัก
จานวนการบอกต่อจึงยังไม่มากเท่ากับสถานท่ีท่องเที่ยวในอาเภอหัวหินซ่ึงได้เปิดให้บริการมานานกว่าทา
ใหม้ ฐี านนักทอ่ งเทย่ี วเยอะกว่า การบอกตอ่ จงึ มใี นวงท่ีกว้างกว่า บา้ นบางเขนได้ทาการประชาสัมพันธ์ผ่าน
สื่อสังคมออนไลน์มาก และก็เป็นช่องทางท่ีทาให้กลุ่มตัวอย่างรู้จักมากท่ีสุดเพราะที่แห่งน้ีเป็นสถานท่ีเปิด
ใหม่ ในขณะท่สี ถานทเี่ ทย่ี วในอาเภอหัวหนิ ปจั จุบันมกี ารประชาสัมพนั ธ์ผ่านโลกออนไลน์ไมม่ ากแล้วเพราะ
เป็นที่รู้จักของคนทั่วไปอยู่แล้ว ในอนาคตเป็นไปได้ว่าบ้านบางเขนจะเป็นที่รู้จักผ่านการบอกต่อมากขึ้น
เร่ือย ๆ สาหรับด้านจุดประสงค์ในการมาเที่ยวน้ัน ทั้งสองแห่งน้ีแม้จะมีจุดประสงค์เดียวกันคือเพ่ือให้เปน็
สถานท่ีเที่ยว สาหรับพักผ่อนหย่อนใจ มีอาหาร เครื่องดื่มและสินค้าจาหน่าย โดยนาเสนอในรูปแบบ
โบราณเชิง ถวิลหา ให้ผู้เข้าชมได้เรียนรู้เร่ืองราวของไทยในอดีต ผ่านบรรยากาศ สถานที่ก็สามารถหาที่
จอดรถได้ภายในท่ีน้ัน หรือบริเวณใกล้เคียงเช่นเดียวกัน ฉะน้ันผลของการเก็บแบบสอบถามกับกลุ่ม
ตัวอยา่ งในด้านจดุ ประสงคใ์ นการมาเทีย่ ว และพาหนะทใี่ ช้ในการเดนิ ทาง จึงมคี วามสอดคล้องกัน

เมลดา ธนิตนนท์ (2560) ศึกษาแรงจูงใจและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มา
เท่ียวบ้านบางเขน ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง อยู่ในช่วงอายุ
21-30 ปี สถานภาพโสด มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ส่วนมากเป็นนักเรียน - นิสิต - นักศึกษา และมี
รายได้ต่อเดือน ต่ากว่าหรือเท่ากับ 10,000 บาท เม่ือทาการวิเคราะห์เปรียบเทียบแล้วพบวา่ กลมุ่ ตัวอย่าง
มีแรงจูงใจและความพึงพอใจโดยรวมอย่ใู นระดับมาก ลักษณะทางประชากรศาสตร์ทแี่ ตกต่างกันด้านเพศ
อายุ และอาชีพ ให้ค่าเฉล่ียระดับความสาคัญของแรงจูงใจในการมาเท่ียวบ้านบางเขนแตกต่างกันอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 สาหรบั ด้านความพึงพอใจพบว่าลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันด้าน
อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ให้ค่าเฉล่ียระดับความพึงพอใจในการมาเที่ยวบ้าน
บางเขนแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการวิจัยสามารถนาไปช่วยปรับปรุงแหล่ง
ท่องเท่ียวเชิงถวิลหาให้สามารถนาเสนอรูปแบบการจัดแสดงและกิจกรรมให้แปลกใหม่น่าสนใจ รวมถึง
ปรบั เพิ่มด้านผลติ ภณั ฑ์ การบรกิ าร และการประชาสัมพนั ธ์ และยงั สามารถนาไปเสนอแก่หน่วยงานที่ดูแล
ด้านการท่องเที่ยว เป็นประโยชน์ต่อการจัดการแหล่งท่องเท่ียวเชิงถวิลหาท่ีอื่นๆ หรือที่ซ่ึงมีลักษณะ
ใกลเ้ คยี งกนั กบั บ้านบางเขน ใหส้ ามารถนาเสนอในรูปแบบท่ีสอดคล้องกับความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย
และนาไปสกู่ ารดึงดดู ใหม้ กี ารท่องเที่ยวรปู แบบดงั กล่าวเพิม่ มากขนึ้

16

5.2 งานวจิ ัยตา่ งประเทศ
ยุง และฟลาวเวอร์ (1978) (อ้างอิงใน ชุลีพร ไกรเวียง, 2531) ได้ศึกษาความพึงพอใจของ

นักท่องเท่ียวใน Cook Country Forest Preserve District (CC FPD) สหรัฐอเมริกา โดยสอบถาม
นักท่องเที่ยวจานวน 630 คน ใช้แบบสอบถามความคิดเห็นชนิดมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับของพึง
พอใจ เพ่ือใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาและป้องกันผลกระทบอันเกิดจากการท่องเท่ียว ทาการ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละพบว่านักท่องเที่ยวพึงพอใจต่อพื้นท่ีและลักษณะของป่าไม้ตามธรรมชาติ
เป็นอันดับหน่ึง ร้อยละ 80 สภาพโดยธรรมชาติเป็นอันดับสอง คิดเป็นร้อยละ 65 สาหรับด้านอุปกรณ์
เคร่ืองอานวยความสะดวกสถานท่ีพัก และการบริการ อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 50, 55 และ
53 ตามลาดับ

เฮนดี และคณะ (1984) ศึกษาวิจัยเร่ือง ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยว จานวน 140 คน
ท่ีไปท่องเท่ียวในพื้นท่ีป่าแถบตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา 3 แห่ง โดยการสอบและสัมภาษณ์
พบวา่ นักท่องเท่ียวรอ้ ยละ 40 เหน็ ด้วยกบั การจ่ายคา่ ธรรมเนยี มในการเขา้ ไปท่องเท่ียวป่า เพอ่ื จะได้มีเงิน
ใช้ในการพัฒนา บารุงรักษาแต่เรื่องการจากัดจานวนนักท่องเท่ียว และการส่งเสริมใหเ้ อกชนมาลงทุนเพ่อื
พัฒนา มีความเห็นด้วยประมาณร้อยละ 10 เท่านั้น และเห็นด้วยกับการลดผลกระทบในพ้ืนท่ี โดยวิธกี าร
กระจายกลุ่มนกั ทอ่ งเทยี่ วมากกว่า

วัตสัน (1997) ศึกษาเรื่องผลกระทบของทัศนคตแิ ละแรงจงู ใจของการใชเ้ วลาวา่ งท่ีมีตอ่ การ
เขา้ รว่ มกจิ กรรมนันทนาการ การออกกาลงั กายของนักศึกษาใน วิทยาลยั ผลการวจิ ยั พบวา่ นักศกึ ษาส่วน
ใหญ่ไดใ้ ชเ้ วลาว่างวนั ละ 2-3 ช่ัวโมง ในการดโู ทรทัศน์ หรือทากิจกรรมท่ีไม่มกี ารเคลื่อนไหว ซง่ึ เขาสรุปได้
ว่า นักศึกษามีเวลาว่าง แต่ไม่ได้ใช้เวลาว่างในการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ การออกกาลังกายขาด
ทัศนคติท่ีดี ขาดแรงจูงใจ ตลอดจนไม่เห็นความสาคัญของกิจกรรมนันทนาการออกกาลังกาย เพื่อ
นนั ทนาการ

ปารค์ เกอร์ (1999) ทาการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการท่องเทย่ี วของเยาวชนในเมืองยองเกอร์
มลรัฐนิวยอร์กท่ีมีต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในสถานที่ท่องเที่ยว โดยทาการสารวจกลุ่มตัวอย่างที่เป็น
เยาวชน อายุระหว่าง 12-20 ปี จานวน 480 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 12-20 ปี และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว โดยพิจารณาที่เกณฑ์ความเชื่อม่ัน 95
เปอร์เซ็นต์ ผลการสารวจ พบว่า กลุ่มตัวอย่างท่ีมีความรู้เก่ียวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับสูง มี
พฤติกรรมการท่องเที่ยวท่ีมีต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในสถานท่ีท่องเที่ยวถูกต้องมากท่ีสุด จากการ
ทดสอบทางสถิติ พบว่า ความรู้เก่ียวกับการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมแตกต่างกัน มีพฤติกรรมการท่องเท่ียวท่ีมี
ตอ่ การอนุรักษ์ส่งิ แวดลอ้ มในสถานทท่ี ่องเทยี่ วแตกต่างกนั มนี ยั สาคญั ทางสถติ ิท่รี ะดบั .05

บทท่ี 3
วธิ ีการดาเนินงานวจิ ัย

ในการศึกษาวิจัยเรื่อง แรงจูงใจและความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่ออุทยานวิทยาศาสตร์
พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ครั้งนี้ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยมีรายละเอียด
ตามลาดบั หวั ขอ้ ต่อไปน้ี

1. ประเภทของงานวจิ ัย
2. กาหนดกล่มุ ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง
3. เคร่อื งมือท่ใี ช้ในการศึกษา
4. สถติ ิทใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

1. ประเภทของงานวิจัย
การวิจัยคร้ังน้ีเป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยได้ทาการเก็บข้อมูลในรูปแบบเชิงสารวจ โดยแจก

แบบสอบถามจานวน 385 ชดุ โดยวเิ คราะห์ขอ้ มูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป SPSS 25.0

2. กาหนดกลุ่มประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
2.1 กลมุ่ ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา ครูหรืออาจารย์ และ

ประชาชนทัว่ ไป ที่มารับบรกิ ารของอุทยานวทิ ยาศาสตรพ์ ระจอมเกลา้ ณ หว้ากอ จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์

2.2 กลุ่มตวั อย่าง
ได้แก่ ประชากรที่มารับบริการที่อุทยานฯ ท่ีเป็นนักเรียน นักศึกษา ครูหรืออาจารย์ และ

ประชาชนทั่วไป จานวน 385 คน

2.3 การสมุ่ ตัวอย่างแบบบงั เอญิ

การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเท่าท่ีจะหาได้ จนครบจานวนที่ต้องการ โดยไม่มี

กฎเกณฑ์ทีแ่ น่นอน

โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างไม่ทราบขนาดของประชากร สูตรของคอแครน (Cochran) ใช้ในกรณีท่ี

ไม่ทราบขนาดของประชากรท่ีแน่นอน แต่ทราบว่ามีจานวนมากและต้องการประมาณค่าสัดส่วนของ

ประชากร มี 2 กรณีคอื

กรณีทราบค่าสดั ส่วนของประชากร ใชส้ ูตร n = (1− ) 2
2
2
กรณีไมท่ ราบคา่ สดั สว่ นของประชากรหรือ p = 0.5 ใช้สูตร n= 4 2

18

n = ขนาดของกลุม่ ตัวอย่างที่ตอ้ งการ

p = สัดสว่ นของลกั ษณะทีส่ นใจในประชากร

e = ระดบั ความคลาดเคล่อื นของการสมุ่ ตัวอยา่ งท่ยี อมใหเ้ กดิ ข้ึนได้

z = คา่ z ท่ีระดับความเชอื่ ม่ันหรือระดับนยั สาคัญ

- ถา้ ระดับความเช่ือมั่น 95% หรือนยั สาคญั 0.05 มีค่า z = 1.96

- ถ้าระดับความเช่ือมน่ั 99% หรอื นยั สาคญั 0.01 มีคา่ z = 2.58

การวิจยั ครง้ั นไ้ี ม่ทราบค่าสัดส่วนของประชากร ดงั นนั้ p = 0.5 ใช้สูตร n = 2
4 2
1.962
n = 4(0.05)2

n = 384.16

n ≈ 385

3. เครื่องมอื ท่ใี ชใ้ นการศึกษา
การวิจยั ครง้ั น้ี ใชเ้ ครือ่ งมอื ในการทาวจิ ัย คอื แบบสอบถาม โดยแบง่ ออกเป็น 4 สว่ น ดงั น้ี
ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ดา้ นประชากรศาสตร์ของผตู้ อบแบบสอบถาม เป็นแบบปลายปดิ มีคาถามทั้งหมด

6 ข้อ ซ่ึงเลอื กคาตอบเพยี งคาตอบเดียว

ประกอบด้วย วัดผลแบบมาตรานามบญั ญตั ิ
เพศ วัดผลแบบมาตราเรยี งอนั ดับ
อายุ วัดผลแบบมาตรานามบัญญัติ
สถานภาพ วัดผลแบบมาตราเรียงอนั ดบั
ระดบั การศึกษา วัดผลแบบมาตรานามบัญญตั ิ
อาชพี วดั ผลแบบมาตราเรียงอนั ดับ
รายได้ต่อเดอื น

ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านพฤติกรรม เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับพฤติกรรมของผู้รับบริการ เป็นแบบ
ปลายปิด มีคาตอบหลายตัวเลอื ก มคี าถามท้ังหมด 6 ขอ้

ประกอบด้วย วัดผลแบบมาตรานามบญั ญัติ
จานวนครงั้ ทเี่ คยมา วัดผลแบบมาตรานามบญั ญัติ
สอ่ื ที่ทาให้รจู้ ัก วัดผลแบบมาตรานามบัญญตั ิ
จุดประสงค์หลกั วดั ผลแบบมาตรานามบัญญัติ
วธิ ีการเดินทาง วดั ผลแบบมาตรานามบญั ญตั ิ
ผ้รู ว่ มเดินทาง วดั ผลแบบมาตรานามบญั ญตั ิ
บริเวณพ้ืนทที่ ชี่ อบ

19

ส่วนท่ี 3 ข้อมูลด้านแรงจูงใจท่ีมีต่ออุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัด
ประจวบคีรขี ันธ์ จานวนทงั้ หมด 8 ข้อ โดยแบง่ เปน็ 2 ดา้ น ดังน้ี

ดา้ นที่ 1 ปจั จยั ผลักดนั
ดา้ นท่ี 2 ปัจจยั ดึงดูด

โดยไดแ้ บง่ ระดบั ความสาคญั ของแรงจูงใจ เปน็ มาตราสว่ นประมาณคา่ 5 ระดับ คอื

ระดับความสาคญั มากที่สุด ให้คะแนนเท่ากับ 5

ระดับความสาคัญมาก ใหค้ ะแนนเท่ากบั 4

ระดบั ความสาคัญปานกลาง ให้คะแนนเท่ากับ 3

ระดับความสาคัญน้อย ให้คะแนนเท่ากบั 2

ระดบั ความสาคญั น้อยทส่ี ุด ให้คะแนนเทา่ กับ 1

แปลผลไดใ้ ชค้ า่ พิสัย โดยใชค้ า่ สงู สดุ ลบค่าต่าสุด หารจานวนชนั้ กจ็ ะได้เกณฑ์การแปล ดังนี้

= (5−1)

5

= 0.80

สาหรบั ค่าแปลความหมายการเฉลี่ย ผ้วู ิจยั ไดใ้ ชเ้ กณฑเ์ พ่อื แปลความหมาย
4.21 – 5.00 หมายถงึ มีระดับความสาคัญของแรงจูงใจในการมาเทย่ี วมากทสี่ ุด
3.41 – 4.20 หมายถงึ มรี ะดับความสาคญั ของแรงจงู ใจในการมาเท่ียวมาก
2.61 – 3.40 หมายถึง มีระดบั ความสาคญั ของแรงจงู ใจในการมาเทีย่ วปานกลาง
1.81 – 2.60 หมายถึง มรี ะดบั ความสาคญั ของแรงจูงใจในการมาเทย่ี วนอ้ ย
1.00 – 1.80 หมายถึง มีระดับความสาคัญของแรงจูงใจในการมาเทยี่ วนอ้ ยทส่ี ุด

ส่วนท่ี 4 ข้อมูลด้านความพึงพอใจที่ต่ออุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัด
ประจวบครี ีขันธ์ จานวนท้งั หมด 16 ขอ้ โดยแบง่ เปน็ ทั้งหมด 4 ด้าน ดงั นี้

ดา้ นที่ 1 ด้านสิง่ ดึงดูดใจ
ดา้ นที่ 2 ดา้ นส่ิงอานวยความสะดวก
ดา้ นที่ 3 ดา้ นการจัดการคมนาคม
ดา้ นท่ี 4 ด้านการตอ้ นรบั

20

โดยได้แบง่ ระดับความสาคัญของความพึงพอใจ เป็นมาตราสว่ นประมาณคา่ 5 ระดับ คอื

ระดบั ความสาคัญมากทส่ี ดุ ใหค้ ะแนนเทา่ กับ 5

ระดบั ความสาคัญมาก ให้คะแนนเท่ากับ 4

ระดบั ความสาคญั ปานกลาง ใหค้ ะแนนเท่ากับ 3

ระดบั ความสาคญั นอ้ ย ใหค้ ะแนนเทา่ กบั 2

ระดบั ความสาคญั นอ้ ยท่ีสดุ ใหค้ ะแนนเทา่ กับ 1

แปลผลได้ใช้คา่ พิสัย โดยใช้คา่ สูงสุดลบคา่ ตา่ สดุ หารจานวนช้นั ก็จะไดเ้ กณฑก์ ารแปล ดงั นี้

= (5−1)

5

= 0.80

สาหรบั คา่ แปลความหมายการเฉลย่ี ผูว้ ิจัยไดใ้ ชเ้ กณฑเ์ พ่ือแปลความหมาย
4.21 – 5.00 หมายถงึ มีระดับความสาคญั ของความพงึ พอใจ ในการมาเที่ยวมากทีส่ ุด
3.41 – 4.20 หมายถงึ มรี ะดับความสาคัญของความพึงพอใจ ในการมาเทย่ี วมาก
2.61 – 3.40 หมายถงึ มรี ะดบั ความสาคัญของความพึงพอใจ ในการมาเที่ยวปานกลาง
1.81 – 2.60 หมายถึง มีระดับความสาคัญของความพึงพอใจ ในการมาเที่ยวน้อย
1.00 – 1.80 หมายถงึ มีระดับความสาคัญของความพึงพอใจ ในการมาเที่ยวนอ้ ยทส่ี ุด

4. สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู
4.1 วิเคราะหข์ ้อมูลเชงิ พรรณนา
4.1.1 การวิเคราะห์ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ ส่วนที่ 1 ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ

ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน วัดผลแบบมาตรานามบัญญัติและวัดผลแบบมาตราเรียงอันดับ
โดยแสดงจานวนความถี่และคา่ ร้อยละ

4.1.2 การวิเคราะห์ขอ้ มูลดา้ นพฤติกรรม สว่ นท่ี 2 ได้แก่ จานวนคร้งั ที่เคยมา ส่ือท่ีทาใหร้ ู้จัก
จุดประสงค์หลัก วิธีการเดินทาง ผู้ร่วมเดินทาง บริเวณพื้นที่ท่ีชอบ วัดผลแบบมาตรานามบัญญัติ
โดยแสดงจานวนความถแ่ี ละค่าร้อยละ

4.1.3 การวิเคราะห์ข้อมูลด้านแรงจูงใจของผู้รับบริการที่มีอุทยานวิทยาศาสตร์พระจอม
เกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ส่วนที่ 3 ได้แก่ ปัจจัยผลักดัน และปัจจัยดึงดูด โดยแสดงสถิติ
ค่าเฉล่ยี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน

4.1.4 การวิเคราะห์ข้อมูลด้านความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีอุทยานวิทยาศาสตร์
พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ส่วนที่ 4 ได้แก่ ด้านสิ่งดึงดูดใจ ด้านส่ิงอานวย
ความสะดวก ด้านการจัดการคมนาคม และด้านการต้อนรับ โดยแสดงสถิติค่าเฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน

21

4.2 วเิ คราะหข์ อ้ มูลเชงิ อนุมาน
ค่าสถิติ Frequencies Analysis ให้ค่าจานวนและร้อยละของข้อมูลหนึ่งกลุ่ม หรือเป็นใช้

สร้างตารางแจกแจงความถ่ีทางเดียวของตัวแปรท่ีสนใจ โดยคาสั่งนี้ใช้ได้ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูล
เชิงคณุ ภาพ เพือ่ วเิ คราะห์ด้านแรงจูงใจและดา้ นความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ ารที่มีต่ออุทยานวิทยาศาสตร์
พระจอมเกลา้ ณ หว้ากอ จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ในการศึกษาวิจัยเรื่อง แรงจูงใจและความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่ออุทยานวิทยาศาสตร์
พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ครั้งนี้ผู้วิจัยทาการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม
ทาการวเิ คราะห์และดาเนนิ การ โดยมรี ายละเอียดตามลาดบั หัวข้อตอ่ ไปนี้

1. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ด้านประชากรศาสตร์
2. การวิเคราะห์ขอ้ มลู ดา้ นพฤติกรรม
3. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ดา้ นแรงจูงใจ
4. การวิเคราะห์ข้อมูลดา้ นความพงึ พอใจ
5. ขอ้ เสนอแนะของผรู้ บั บรกิ าร

1. การวเิ คราะห์ข้อมลู ดา้ นประชากรศาสตร์
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ของผู้รับบริการที่มีต่ออุทยานวิทยาศาสตร์

พระจอมเกลา้ ณ หวา้ กอ จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ มีดงั น้ี

ตารางที่ 1.1 แสดงจานวนความถแ่ี ละคา่ ร้อยละ ดา้ นประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามเพศ

เพศ จานวน (คน) ร้อยละ

ชาย 154 40.00

หญิง 231 60.00

รวม 385 100.00

จากตารางท่ี 1.1 แสดงจานวนความถี่และค่าร้อยละ ด้านประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามเพศ
พบว่า ผู้รับบริการ เพศชาย มีจานวน 154 คน คิดเป็นร้อยละ 40 และเพศหญิง จานวน 231 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 60 ผู้รับบริการเป็นเพศหญิงมากกวา่ เพศชาย

23

ตารางท่ี 1.2 แสดงจานวนความถ่แี ละคา่ ร้อยละ ดา้ นประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามอายุ

อายุ จานวน (คน) ร้อยละ
ตา่ กวา่ หรือเท่ากบั 20 ปี 56 14.50
21 – 30 ปี 105 27.30
31 – 40 ปี 81 21.00
41 – 50 ปี 62 16.10
51 – 60 ปี 33 8.60
มากกวา่ 60 ปี ขึ้นไป 48 12.50
รวม 385 100.00

จากตารางท่ี 1.2 แสดงจานวนความถี่และค่าร้อยละ ด้านประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามอายุ
พบวา่ ผรู้ บั บรกิ ารทม่ี ีอายุต่ากว่าหรือเท่ากับ 20 ปี จานวน 56 คน คดิ เป็นร้อยละ 14.50 อายุ 21 - 30 ปี
จานวน 105 คน คิดเป็นร้อยละ 27.30 อายุ 31 - 40 ปี จานวน 81 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 21 อายุ 41 - 50
ปี จานวน 62 คน คิดเป็นร้อยละ 16.10 อายุ 51 - 60 ปี จานวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 8.60 และอายุ
มากกว่า 60 ปี ขึ้นไป จานวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 12.50 ผู้รับบริการส่วนใหญ่มีอายุ 21 - 30 ปี
รองลงมาอายุ 31 - 40 ปี และอายุ 41 - 50 ปี ตามลาดับ

ตารางท่ี 1.3 แสดงจานวนความถ่ีและค่าร้อยละ ดา้ นประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามสถานภาพสมรส

สถานภาพสมรส จานวน (คน) ร้อยละ
โสด 198 51.40
สมรส – อย่ดู ว้ ยกนั 151 39.20
หยา่ ร้าง – หม้าย – แยกกันอยู่ 36 9.40
รวม 385 100.00

จากตารางท่ี 1.3 แสดงจานวนความถี่และค่าร้อยละ ด้านประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตาม
สถานภาพสมรส พบว่า ผู้รับบริการมีสถานภาพโสด จานวน 198 คน คิดเป็นร้อยละ 51.40 สถานภาพ
สมรส - อยู่ด้วยกัน จานวน 151 คน คิดเป็นร้อยละ 39.20 และสถานภาพหย่าร้าง - หม้าย - แยกกันอยู่
36 คน คิดเป็นร้อยละ 9.40 ผู้รับบริการส่วนใหญ่มีสถานภาพโสด รองลงมาคือ สถานภาพสมรส - อยู่
ด้วยกนั และสถานภาพหย่าร้าง - หมา้ ย - แยกกนั อยู่ ตามลาดบั

24

ตารางที่ 1.4 แสดงจานวนความถี่และคา่ ร้อยละ ด้านประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามระดับการศึกษา

ระดบั การศึกษา จานวน (คน) รอ้ ยละ
มัธยมศึกษาตอนปลาย หรอื ตา่ กว่า 98 25.50
ปวช. – ปวส. หรอื เทยี บเท่า 78 20.30
ปริญญาตรี 158 41.00
สงู กว่าปริญญาตรี 51 13.20
รวม 385 100.00

ตารางที่ 1.4 แสดงจานวนความถ่ีและค่าร้อยละ ด้านประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามระดับ
การศึกษา พบว่า ระดับการศึกษาของผรู้ ับบริการ คือ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หรอื ตา่ กวา่ จานวน 98 คน
คดิ เป็นร้อยละ 25.50 ระดับการศึกษา ปวช. - ปวส. หรือ เทียบเทา่ จานวน 78 คน คดิ เป็นร้อยละ 20.30
ระดับการศึกษาปริญญาตรี จานวน 158 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 41.00 และระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี
จานวน 51 คน คดิ เป็นร้อยละ 13.20 ผูร้ ับบรกิ ารส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาปรญิ ญาตรี รองลงมามีระดับ
การศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ ต่ากว่า และระดับการศึกษา ปวช. - ปวส. หรือ เทียบเท่า
ตามลาดับ

ตารางท่ี 1.5 แสดงจานวนความถ่แี ละค่าร้อยละ ด้านประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามอาชพี

อาชพี จานวน (คน) ร้อยละ
นกั เรียน – นิสติ – นักศึกษา 78 20.30
รับราชการ – รัฐวสิ าหกิจ 35 9.10
อาชีพอสิ ระ – คา้ ขาย – ธรุ กจิ ส่วนตัว 128 33.20
ทางานในบรษิ ทั เอกชน 99 25.70
เกษยี ณอายุ 30 7.80
อ่นื ๆ 15 3.90
รวม 385 100.00

จากตารางที่ 1.5 แสดงจานวนความถี่และคา่ ร้อยละ ด้านประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามอาชพี พบวา่
ผู้รับบริการมีอาชีพนักเรียน - นิสิต - นักศึกษา จานวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 20.30 อาชีพรับราชการ จานวน
35 คน คดิ เป็นร้อยละ 9.10 อาชีพอิสระ จานวน 128 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 33.20 อาชพี ทางานเอกชน จานวน 99
คน คิดเป็นรอ้ ยละ 25.70 อาชพี เกษยี ณอายุ จานวน 30 คน คิดเปน็ ร้อยละ 7.80 และอาชพี อ่นื ๆ จานวน 15 คน
คิดเป็นร้อยละ 3.90 ผู้รับบริการส่วนใหญ่มีอาชีพ อาชีพอิสระ - ค้าขาย - ธุรกิจส่วนตัว รองลงมาคือ อาชีพ
ทางานในบริษัทเอกชน และอาชีพนักเรยี น - นสิ ติ - นักศกึ ษา ตามลาดบั

25

ตารางท่ี 1.6 แสดงจานวนความถแี่ ละค่าร้อยละ ดา้ นประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามรายไดต้ อ่ เดอื น

รายได้ตอ่ เดอื น จานวน (คน) รอ้ ยละ
ต่ากว่า หรือ เท่ากบั 10,000 บาท 140 36.40
10,001 – 20,000 บาท 107 27.80
20,001 – 30,000 บาท 50 13.00
30,001 – 40,000 บาท 23 6.00
มากกว่า 40,000 บาท ขน้ึ ไป 65 16.90
รวม 385 100.00

จากตารางท่ี 1.6 แสดงจานวนความถ่ีและคา่ ร้อยละ ดา้ นประชากรศาสตร์ โดยจาแนกตามรายได้
ต่อเดือน พบว่า ผู้รับบริการมีรายได้ต่อเดือนต่ากว่า หรือ เท่ากับ 10,000 บาท จานวน 140 คน คิดเป็น
ร้อยละ 36.40 รายได้ต่อเดือน 10,001 - 20,000 บาท จานวน 107 คน คิดเป็นร้อยละ 27.80 รายได้ต่อ
เดือน 20,001 - 30,000 บาท จานวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 13.00 รายได้ต่อเดือน 30,001 - 40,000
บาท จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 6.00 และรายได้ต่อเดือน มากกว่า 40,000 บาท ข้ึนไป จานวน 65
คน คิดเป็นร้อยละ 16.90 ผู้รับบริการส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือน ต่ากว่า หรือ เท่ากับ 10,000 บาท
รองลงมา คือ รายได้ต่อเดือน 10,001 - 20,000 บาท และรายได้ต่อเดือน มากกว่า 40,000 บาท ข้ึนไป
ตามลาดบั

2. การวิเคราะหข์ อ้ มูลด้านพฤติกรรม
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านพฤติกรรมของผรู้ ับบริการที่มีต่ออุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ

หวา้ กอ จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์ มีดังน้ี

ตารางท่ี 2.1 แสดงจานวนความถ่แี ละค่ารอ้ ยละ ด้านพฤตกิ รรม โดยจาแนกตามจานวนครง้ั ท่ีเคยมา

จานวนคร้ังที่เคยมา จานวน (คน) ร้อยละ
คร้งั แรก 233 60.50
ครง้ั ท่ี 2 59 15.30
ครงั้ ท่ี 3 13 3.40
มากกวา่ 3 คร้ัง 80 20.80
รวม 385 100.00

26

จากตารางที่ 2.1 แสดงจานวนความถแี่ ละคา่ ร้อยละ ดา้ นพฤตกิ รรม โดยจาแนกตามจานวนครั้งท่ี
เคยมา พบวา่ ผู้รบั บริการท่ีเดนิ ทางมาคร้งั แรก จานวน 233 คน คิดเปน็ ร้อยละ 60.50 เดนิ ทางมาคร้งั ท่ี 2
จานวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 15.30 เดินทางมาครั้งท่ี 3 จานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 3.40 และ
เดนิ ทางมา มากกวา่ 3 คร้ัง จานวน 80 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 20.80 ผู้รบั บรกิ ารสว่ นใหญ่เดนิ ทางมาครงั้ แรก
รองลงมา คือ เดินทางมา มากกว่า 3 ครงั้ และเดินทางมา คร้งั ที่ 2 ตามลาดบั

ตารางท่ี 2.2 แสดงจานวนความถแ่ี ละค่ารอ้ ยละ ด้านพฤติกรรม โดยจาแนกตามแหลง่ ทที่ าให้รู้จกั

แหล่งท่ีทาให้รจู้ ัก จานวน (คน) รอ้ ยละ
เดินทางผา่ นมา 105 27.30
สื่อสังคมออนไลน์ 82 21.30
ป้ายโฆษณา 29 7.50
สื่อสงิ่ พิมพ์ 9 2.30
โทรทัศน์ 10 2.60
การบอกต่อ 111 28.80
อน่ื ๆ 39 10.10
รวม 385 100.00

จากตารางที่ 2.2 แสดงจานวนความถ่ีและคา่ รอ้ ยละ ด้านพฤตกิ รรม โดยจาแนกตามแหลง่ ทท่ี าให้
รู้จัก พบว่า ผู้รับบริการรู้จักเพราะเดินทางผ่านมา จานวน 105 คน คิดเป็นร้อยละ 27.30 รู้จักจากสังคม
ออนไลน์ จานวน 82 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 21.30 รูจ้ ักจากป้ายโฆษณา จานวน 29 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7.50
รู้จักจากส่ือสิ่งพิมพ์ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 2.30 รู้จักจากโทรทัศน์ จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ
2.60 รจู้ กั จากการบอกต่อ จานวน 111 คน และร้จู กั จากแหล่งอ่ืนๆ จานวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 10.10
ผู้รับบริการส่วนใหญ่รู้จักจากการบอกต่อ รองลงมา คือ รู้จักเพราะเดินทางผ่านมา และรู้จักจากส่ือสังคม
ออนไลน์ ตามลาดบั

27

ตารางที่ 2.3 แสดงจานวนความถีแ่ ละคา่ รอ้ ยละ ด้านพฤตกิ รรม โดยจาแนกตามจุดประสงคห์ ลกั

จุดประสงค์หลัก จานวน (คน) ร้อยละ
เพอื่ ความเพลดิ เพลนิ พักผอ่ นหยอ่ นใจ 262 68.10
เพอื่ คยุ ธรุ กิจ ประชมุ งาน 10 2.60
เพอ่ื ใช้ห้องอ่านหนงั สือ 0
เพ่ือรับประทานอาหาร – เคร่อื งดืม่ 0 0
สนใจศกึ ษาสตั ว์นา้ – ดวงดาว 94 0
สนใจกิจกรรมคา่ ย 4 24.40
อนื่ ๆ 15 1.00
รวม 385 3.90
100.00

จากตารางที่ 2.3 แสดงจานวนความถ่ีและค่าร้อยละ ด้านพฤติกรรม โดยจาแนกตามจุดประสงค์
หลัก พบว่า ผู้รับบริการมีจุดประสงค์เพื่อความเพลิดเพลิน พักผ่อนหย่อนใจ จานวน 262 คน คิดเป็น
ร้อยละ 68.10 จุดประสงค์เพื่อคุยธุรกิจ ประชุมงาน จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 2.60 จุดประสงค์
สนใจศึกษาสัตว์น้า - ดวงดาว จานวน 94 คน คิดเป็นร้อยละ 24.40 จุดประสงค์สนใจกิจกรรมค่าย
จานวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.00 และจุดประสงค์อน่ื ๆ จานวน 15 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.90 ผู้รับบริการ
ส่วนใหญ่มีจุดประสงค์เพ่ือความเพลิดเพลิน พกั ผอ่ นหยอ่ นใจ รองลงมา คือ สนใจศกึ ษาสัตวน์ ้า - ดวงดาว
และจดุ ประสงคอ์ น่ื ๆ ตามลาดบั

ตารางท่ี 2.4 แสดงจานวนความถี่และคา่ รอ้ ยละ ด้านพฤติกรรม โดยจาแนกตามวธิ เี ดนิ ทาง

วธิ ีเดินทาง จานวน (คน) ร้อยละ
พาหนะส่วนตวั 366 95.10
รถไฟ 0
รถจักรยานยนต์รับจา้ ง 0 0
รถแท็กซ่ี 0 0
รถขององคก์ ร 9 0
อื่นๆ 10 2.30
รวม 385 2.60
100.00

28

จากตารางที่ 2.4 แสดงจานวนความถ่ีและค่าร้อยละ ด้านพฤติกรรม โดยจาแนกตามวิธีเดินทาง
พบว่า ผู้รับบริการเดินทางมาโดยพาหนะส่วนตัว จานวน 366 คน คิดเป็นร้อยละ 95.10 เดินทางมาโดย
รถขององค์กร จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 2.30 และเดินทางมาโดยวิธีอื่นๆ จานวน 10 คน คิดเป็น
ร้อยละ 2.60 ผู้รับบริการส่วนใหญ่เดินทางโดยพาหนะส่วนตัว รองลงมา คือ เดินทางโดยวิธีอ่ืนๆ และ
เดินทางโดยรถขององคก์ ร ตามลาดบั

ตารางท่ี 2.5 แสดงจานวนความถ่ีและคา่ ร้อยละ ด้านพฤติกรรม โดยจาแนกตามคนร่วมเดินทาง

คนร่วมเดินทาง จานวน (คน) รอ้ ยละ
คนเดยี ว 6 1.60
ครู่ ัก 38 9.90
เพื่อน 118 30.60
ครอบครัว 195 50.60
เพือ่ นร่วมงาน 23 6.00
อืน่ ๆ 5 1.30
รวม 100.00
385

จากตารางท่ี 2.5 แสดงจานวนความถี่และค่าร้อยละ ด้านพฤติกรรม โดยจาแนกตามคนร่วม
เดินทาง พบว่า ผู้รับบริการเดินทางมาคนเดียว จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 1.60 เดินทางมากับคู่รัก
จานวน 38 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 9.90 เดินทางมากับเพื่อน จานวน 118 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 30.60 เดนิ ทาง
มากับครอบครัว จานวน 195 คน คิดเป็นร้อยละ 50.60 เดินทางมากับเพื่อนร่วมงาน จานวน 23 คน
คิดเป็นร้อยละ 6.00 และอื่นๆ จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.30 ผู้รับบริการส่วนใหญ่เดินทางมากับ
ครอบครวั รองลงมา คอื เดินทางมากับเพ่อื น และเดินทางมากบั ครู่ กั ตามลาดบั

29

ตารางที่ 2.6 แสดงจานวนความถี่และค่ารอ้ ยละ ดา้ นพฤตกิ รรม โดยจาแนกตามบรเิ วณท่ีชอบมากทสี่ ุด

บรเิ วณทช่ี อบมากทส่ี ุด จานวน (คน) ร้อยละ
อาคารพพิ ธิ ภัณฑส์ ัตว์นา้ 344 89.40
ศนู ย์อาหาร – รา้ นกาแฟ 0
ลานพระบรมราชานสุ าวรยี ์ ร.4 11 0
อาคารดาราศาสตร์ 0 4.20
ค่ายหว้ากอ 5 0
อนื่ ๆ 9 1.30
รวม 385 2.30
100.00

จากตารางที่ 2.6 แสดงจานวนความถ่ีและค่าร้อยละ ด้านพฤติกรรม โดยจาแนกตามบริเวณที่
ชอบมากที่สุด พบว่า ผู้รับบริการชอบบริเวณอาคารพิพิธภัณฑ์สัตว์น้า จานวน 344 คน คิดเป็นร้อยละ
89.40 ชอบบริเวณลานพระบรมราชานุสาวรีย์ ร.4 จานวน 11 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 4.20 ชอบบริเวณค่าย
หว้ากอ จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.30 และชอบบริเวณอื่นๆ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 2.30
ผู้รับบริการส่วนใหญ่ชอบบริเวณอาคารพิพิธภัณฑ์สัตว์น้า รองลงมา คือ ลานพระบรมราชานุสาวรีย์ ร.4
และบริเวณอ่ืนๆ ตามลาดับ

3. การวิเคราะหข์ ้อมูลดา้ นแรงจงู ใจ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านแรงจูงใจของผู้รับบริการท่ีมีต่ออุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ

หวา้ กอ จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ มีดังน้ี

30

ตารางที่ 3.1 แสดงจานวนค่าเฉลี่ย คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน แรงจูงใจ ด้านปจั จยั ผลักดนั

ระดบั แรงจูงใจ _

ปัจจัย มาก มาก ปาน น้อย น้อย S.D. แปลผล อนั ดับ
ผลักดัน ท่ีสดุ กลาง ท่ีสดุ

1. หลีกหนีความจาเจ

ในชวี ติ ประจาวนั 106 158 96 3 22 3.84 1.02 มาก 2

คดิ เปน็ ร้อยละ 27.50 41.00 24.90 0.80 5.70

2. ศึกษาสตั วน์ ้า

และดวงดาว 85 131 158 6 5 3.74 0.86 มาก 3

คิดเป็นรอ้ ยละ 22.10 34.00 41.00 1.60 1.30

3. สร้างความสัมพนั ธ์

ในครอบครวั ฯลฯ 146 133 94 7 5 4.06 0.90 มาก 1

คดิ เป็นรอ้ ยละ 37.90 34.50 24.40 1.80 1.30

4. คยุ งาน ทางาน ปาน

ประชุม ตดิ ต่อธุรกจิ 38 75 112 87 73 2.79 1.23 กลาง 4

คดิ เป็นร้อยละ 9.90 19.50 29.10 22.60 19.00

คา่ เฉล่ยี ในภาพรวม 3.60 1.00 มาก

จากตารางท่ี 3.1 แสดงจานวนค่าเฉลย่ี ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน แรงจูงใจ ดา้ นปัจจยั ผลักดนั พบวา่
ผู้รบั บรกิ ารมแี รงจงู ใจโดยรวมอยใู่ นระดับมาก มคี ่าเฉลย่ี โดยรวมเทา่ กับ 3.60 เมือ่ พจิ ารณารายข้อ พบว่า
ผู้รับบริการมีแรงจูงใจระดับมาก ได้แก่ สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว ฯลฯ หลีกหนีความจาเจใน
ชีวิตประจาวัน และศึกษาสัตว์น้าและดวงดาว โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.06 3.84 และ 3.74 ตามลาดับ
ผู้รับบริการมีแรงจูงใจระดับปานกลาง ได้แก่ คุยงาน ทางาน ประชุม ติดต่อธุรกิจ โดยมีค่าเฉล่ียเท่ากับ
2.79 ซง่ึ ขอ้ มูลทั้งหมดสอดคลอ้ งกับค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ท่ีมคี า่ เฉล่ยี เท่ากับ 1.00

31

ตารางท่ี 3.2 แสดงจานวนคา่ เฉลีย่ คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน แรงจูงใจ ดา้ นปัจจยั ดงึ ดดู

ระดับแรงจูงใจ _

ปจั จัยดึงดูด มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย S.D. แปลผล อันดบั

ที่สดุ กลาง ทีส่ ดุ

1. ชอ่ื เสียงของ

สถานท่ี 73 169 132 11 0 3.79 0.78 มาก 3

คิดเปน็ รอ้ ยละ 19.00 43.90 34.30 2.90 0

2. ความสวยงาม

ของสถานที่ 69 215 90 11 0 3.89 0.72 มาก 2

คิดเป็นรอ้ ยละ 17.90 55.80 23.40 2.90

3. คุ้มคา่ ของค่าใชจ้ า่ ย 87 196 96 6 0 3.95 0.73 มาก 1

คดิ เปน็ ร้อยละ 22.60 50.90 24.90 1.60

4. อทิ ธพิ ลจากสอ่ื

สังคมออนไลน์ 66 140 132 32 15 3.55 0.99 มาก 4

คิดเปน็ ร้อยละ 17.10 36.40 34.30 8.30 3.9

ค่าเฉลยี่ ในภาพรวม 3.80 0.80 มาก

จากตารางที่ 3.2 แสดงจานวนค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน แรงจูงใจ ด้านปัจจัยดึงดูด พบว่า
ผู้รับบรกิ ารมีแรงจงู ใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยโดยรวมเทา่ กับ 3.80 เมือ่ พจิ ารณารายข้อ พบวา่
ผ้รู บั บริการมีแรงจงู ใจระดบั มาก ไดแ้ ก่ คมุ้ คา่ ของค่าใช้จา่ ย ความสวยงามของสถานท่ี ช่อื เสียงของสถานท่ี
และอิทธิพลจากส่ือสังคมออนไลน์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.95 3.89 3.79 และ 3.55 ตามลาดับ
ซึ่งขอ้ มูลทั้งหมดสอดคล้องกับค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ทีม่ ีค่าเฉล่ียเท่ากบั 0.80

4. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลด้านความพงึ พอใจ
ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ด้ า น ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ท่ี มี ต่ อ อุ ท ย า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์

พระจอมเกล้า ณ หวา้ กอ จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ มดี ังน้ี

32

ตารางที่ 4.1 แสดงจานวนคา่ เฉลยี่ คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพงึ พอใจ ดา้ นสง่ิ ดึงดดู ใจ

ระดับความพึงพอใจ _

สิ่งดงึ ดดู ใจ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย S.D. แปลผล อนั ดับ

ที่สุด กลาง ท่ีสดุ

1. ความนา่ สนใจและ

เอกลักษณ์ 95 171 110 9 0 3.91 0.78 มาก 1

ของสถานท่ี

คดิ เปน็ ร้อยละ 24.70 44.40 28.60 2.30 0

2. สนิ ค้าและอาหาร

มีความหลากหลาย 36 159 147 32 11 3.46 0.88 มาก 3

คดิ เป็นร้อยละ 9.40 41.30 38.20 8.30 2.90

3. มีนทิ รรศการ

ให้ความรู้ 71 185 105 24 0 3.79 0.81 มาก 2

คิดเป็นร้อยละ 18.40 48.10 27.30 6.20 0

4. ความหลากหลาย

ของพันธุ์สัตว์นา้ 104 157 108 16 0 3.91 0.84 มาก 1

คดิ เป็นรอ้ ยละ 27.00 40.80 28.10 4.20 0

ค่าเฉลย่ี ในภาพรวม 3.77 0.83 มาก

ตารางที่ 4.1 แสดงจานวนค่าเฉล่ีย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจ ด้านส่ิงดึงดูดใจ พบว่า
ผู้รับบริการมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 3.77 เมื่อพิจารณารายข้อ
พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจระดับมาก ได้แก่ ความน่าสนใจและเอกลักษณ์ของสถานท่ี
ความหลากหลายของพันธุ์สัตว์น้า มีนิทรรศการให้ความรู้ และสินค้าและอาหารมีความหลากหลาย
โดยมีค่าเฉลย่ี เท่ากบั 3.91 3.91 3.79 และ 3.46 ตามลาดบั ซ่ึงข้อมูลท้งั หมดสอดคล้องกับค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D.) ที่มีคา่ เฉลยี่ เทา่ กับ 0.83

33

ตารางที่ 4.2 แสดงจานวนค่าเฉลย่ี ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน ความพงึ พอใจ ด้านส่ิงอานวยความสะดวก

สง่ิ อานวย ความพึงพอใจ _
มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย S.D. แปลผล อันดับ
ความสะดวก ท่ีสดุ กลาง ทส่ี ุด 3.79 0.84 มาก 3
1. ความสะอาด 3.98 0.77 มาก 1
ของห้องสุขา 84 155 133 9 4 3.74 0.85 มาก 4
คิดเป็นร้อยละ 21.80 40.30 34.50 2.30 1.00
2. ความสะดวก 3.95 0.80 มาก 2
ของทีจ่ ดรถ 101 188 85 11 0 3.87 0.82 มาก
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 26.20 48.80 22.10 2.90 0
3. ความเพยี งพอ
ของจดุ คัดแยกขยะ 79 152 130 24 0
คดิ เปน็ ร้อยละ 20.50 39.50 33.80 6.20 0
4. ความสวยงาม
ของภมู ทิ ัศน์ 99 179 98 6 3
คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.70 46.50 25.50 1.60 0.80
คา่ เฉลี่ยในภาพรวม

ตารางที่ 4.2 แสดงจานวนค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจ ด้านสิ่งอานวยความ
สะดวก พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียโดยรวมเท่ากับ 3.87
เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจระดับมาก ได้แก่ ความสะดวกของท่ีจดรถ
ความสวยงามของภูมิทัศน์ ความสะอาดของห้องสุขา และความเพียงพอของจุดคัดแยกขยะ โดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.98 3.95 3.79 และ 3.74 ตามลาดับ ซ่ึงข้อมูลทั้งหมดสอดคล้องกับค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.) ที่มีคา่ เฉลี่ยเท่ากบั 0.82

34

ตารางที่ 4.3 แสดงจานวนคา่ เฉลย่ี คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน ความพงึ พอใจ ดา้ นบรหิ ารจัดการคมนาคม

ความพงึ พอใจ _

บรหิ ารจดั มาก มาก ปาน น้อย น้อย S.D. แปลผล อนั ดับ
การคมนาคม ท่ีสุด กลาง ทีส่ ุด

1. ความหลากหลาย

ของการเดนิ ทาง 82 165 128 10 0 3.83 0.78 มาก 3

คิดเป็นรอ้ ยละ 21.30 42.90 33.20 2.60 0

2. การดแู ลจราจร

ของเจา้ หนา้ ที่ 83 148 140 14 0 3.78 0.82 มาก 4

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 21.60 38.40 36.40 3.60 0

3. ทางเดินทีเ่ อ้ือ

อานวยตอ่ ผูส้ ูงอายุ 104 170 100 11 0 3.95 0.80 มาก 1

คิดเปน็ ร้อยละ 27.0 44.20 26.00 2.90 0

4. ใหข้ อ้ มูลทาเล

ทีต่ ้งั ของสถานที่ 94 155 127 6 3 3.86 0.83 มาก 2

คิดเปน็ ร้อยละ 24.40 40.30 33.00 1.60 0.80

ค่าเฉล่ยี ในภาพรวม 3.86 0.81 มาก

ตารางท่ี 4.3 แสดงจานวนค่าเฉลี่ย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจ ด้านบริหารจัดการ
คมนาคม พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียโดยรวมเท่ากับ 3.86
เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจระดับมาก ได้แก่ ทางเดินที่เอื้ออานวยต่อผู้สูงอายุ
ให้ข้อมูลทาเลท่ีต้ังของสถานท่ี ความหลากหลายของการเดินทาง และการดูแลจราจรของเจ้าหน้าท่ี
โดยมคี า่ เฉล่ยี เท่ากบั 3.95 3.86 3.83 และ 3.78 ตามลาดบั ซ่ึงข้อมูลทง้ั หมดสอดคล้องกับคา่ เบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D.) ท่ีมีค่าเฉลยี่ เท่ากบั 0.81

35

ตารางท่ี 4.4 แสดงจานวนค่าเฉลี่ย คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน ความพงึ พอใจ ด้านการตอ้ นรบั

ความพึงพอใจ _

การต้อนรบั มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย S.D. แปลผล อนั ดับ

ท่ีสดุ กลาง ทีส่ ุด

1. การตอบคาถาม

ของเจ้าหน้าท่ี 116 135 123 8 3 3.92 0.88 มาก 2

คิดเป็นรอ้ ยละ 30.10 35.10 31.90 2.10 0.80

2. มนุษยสมั พนั ธ์

และมารยาท 114 149 108 14 0 3.94 0.85 มาก 1

ของเจ้าหน้าท่ี

คิดเป็นร้อยละ 29.60 38.70 28.10 3.60 0

3. ความกระตอื รอื รน้

และแกป้ ัญหาของ 110 144 120 8 3 3.91 0.86 มาก 3

เจา้ หนา้ ที่

คิดเปน็ รอ้ ยละ 28.60 37.40 31.20 2.10 0.80

4. จานวนเจา้ หน้าท่ี

เพียงพอต่อการให้ 106 148 117 14 0 3.90 0.84 มาก 4

บริการ

คิดเป็นร้อยละ 27.50 38.40 30.40 3.60 0

ค่าเฉลี่ยในภาพรวม 3.91 0.86 มาก

ตารางท่ี 4.4 แสดงจานวนค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจ ด้านการต้อนรับ พบวา่
ผู้รับบริการมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 3.91 เม่ือพิจารณารายข้อ
พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจระดับมาก ได้แก่ มนุษยสัมพันธ์และมารยาทของเจ้าหน้าที่ การตอบ
คาถามของเจ้าหน้าที่ ความกระตือรือร้นและแก้ปัญหาของเจ้าหน้าที่ และจานวนเจ้าหน้าท่ีเพียงพอต่อ
การให้บริการ โดยมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.94 3.92 3.91 และ 3.90 ตามลาดับ ซึ่งข้อมูลท้ังหมดสอดคล้อง
กับคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ท่ีมีคา่ เฉล่ยี เท่ากบั 0.86

36

5. ข้อเสนอแนะของผู้รบั บริการ
5.1 อยากใหม้ กี ารประชาสมั พนั ธม์ ากกว่าน้ี โดยเฉพาะทางสื่อออนไลน์ และปา้ ยขา้ งทางหลวง
5.2 สัตวบ์ างชนิดไม่มีในตู้ แต่มีปา้ ยปรากฏอยู่
5.3 อยากใหม้ ีสัตว์ทะเลหลากหลายกว่าน้ี
5.4 ความหลากหลายและการจัดสถานท่คี วรดีกวา่ นี้ และใหเ้ ด็กๆ ได้เรียนรู้ และควรมกี าร

แสดงต่างๆ เพื่อเป็นการดงึ ดดู ผู้รับบริการ
5.5 อยากใหป้ รบั ปรงุ ตัวอาคารใหใ้ หม่ขึน้

บทที่ 5
สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

งานวิจัยครั้งน้ีผู้วิจัยทาการศึกษาแรงจูงใจและความพึงพอใจของผู้รับบริการท่ีมีต่ออุทยาน
วทิ ยาศาสตร์พระจอมเกลา้ ณ หวา้ กอ จงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ์ โดยมรี ายละเอียดตามลาดับหัวข้อต่อไปนี้

1. สรุปผล
2. อภปิ รายผล
3. ข้อเสนอแนะ

1. สรปุ ผล
1.1 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู แบบสอบถามด้านแรงจงู ใจ
จานวนค่าเฉลย่ี ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแรงจงู ใจของผู้รับบรกิ ารดา้ นปจั จัยผลกั ดัน พบวา่

ผูร้ ับบริการมีแรงจงู ใจโดยรวมอยู่ในระดบั มาก มีค่าเฉล่ียโดยรวมเท่ากบั 3.60 เมอ่ื พจิ ารณารายข้อ พบว่า
ผู้รับบริการมีแรงจูงใจระดับมาก ได้แก่ สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว ฯลฯ หลีกหนีความจาเจใน
ชีวิตประจาวัน และศึกษาสัตว์น้าและดวงดาว โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.06 3.84 และ 3.74 ตามลาดับ
ผู้รับบริการมีแรงจูงใจระดับปานกลาง ได้แก่ คุยงาน ทางาน ประชุม ติดต่อธุรกิจ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
2.79 ซง่ึ สอดคล้องกับค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ที่มีคา่ เฉลี่ยเท่ากับ 1.00 แสดงวา่ ข้อมูลในค่าเฉลี่ยนั้น
ใกลเ้ คยี งกนั

จานวนค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแรงจูงใจของผู้รับบริการด้านปัจจัยดึงดูด พบว่า
ผู้รบั บริการมแี รงจงู ใจโดยรวมอยใู่ นระดับมาก มีคา่ เฉลย่ี โดยรวมเท่ากบั 3.80 เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า
ผู้รบั บรกิ ารมแี รงจูงใจระดับมาก ได้แก่ คุม้ ค่าของคา่ ใชจ้ ่าย ความสวยงามของสถานที่ ชือ่ เสยี งของสถานที่
และอิทธิพลจากสื่อสังคมออนไลน์ โดยมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.95 3.89 3.79 และ 3.55 ตามลาดับ
ซ่ึงสอดคล้องกับค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ท่ีมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 0.80 แสดงว่าข้อมูลในค่าเฉลี่ยน้ัน
ใกล้เคียงกนั

1.2 การวิเคราะหข์ ้อมลู แบบสอบถามดา้ นความพึงพอใจ
จานวนค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และความพึงพอใจของผู้รับบริการด้านส่ิงดึงดูดใจ

พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 3.77 เมื่อพิจารณา
รายข้อ พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจระดับมาก ได้แก่ ความน่าสนใจและเอกลักษณ์ของสถานท่ี
ความหลากหลายของพนั ธุ์สตั ว์น้า มนี ิทรรศการให้ความรู้ และสินค้าและอาหารมคี วามหลากหลาย โดย
มีค่าเฉลี่ยเท่ากบั 3.91 3.91 3.79 และ 3.46 ตามลาดับ ซึ่งสอดคลอ้ งกบั ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ที่
มีค่าเฉลย่ี เทา่ กบั 0.83 แสดงว่าขอ้ มูลในคา่ เฉลีย่ นัน้ ใกล้เคยี งกัน

38

จานวนค่าเฉลี่ย ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ ารดา้ นสงิ่ อานวยความ
สะดวก พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียโดยรวมเท่ากับ 3.87
เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจระดับมาก ได้แก่ ความสะดวกของท่ีจอดรถ ความ
สวยงามของภูมิทัศน์ ความสะอาดของห้องสุขา และความเพียงพอของจุดคัดแยกขยะ โดยมีค่าเฉลี่ย
เทา่ กบั 3.98 3.95 3.79 และ 3.74 ตามลาดับ ซึ่งสอดคลอ้ งกบั ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ทม่ี คี า่ เฉล่ีย
เท่ากบั 0.82 แสดงว่าข้อมลู ในคา่ เฉลีย่ น้นั ใกลเ้ คยี งกนั

จานวนค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และความพึงพอใจของผู้รับบริการด้านบริหารจดั การ
คมนาคม พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียโดยรวมเท่ากับ 3.86
เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจระดับมาก ได้แก่ ทางเดินท่ีเอื้ออานวยต่อผู้สูงอายุ
ใหข้ อ้ มลู ทาเลที่ตัง้ ของสถานท่ี ความหลากหลายของการเดนิ ทาง และการดูแลจราจรของเจา้ หน้าที่ โดย
มคี า่ เฉล่ียเท่ากับ 3.95 3.86 3.83 และ 3.78 ตามลาดับ ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ท่ี
มีคา่ เฉลยี่ เท่ากบั 0.81 แสดงว่าข้อมูลในค่าเฉลีย่ นน้ั ใกลเ้ คยี งกนั

จานวนค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และความพึงพอใจของผู้รับบริการด้านการต้อนรับ
พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียโดยรวมเท่ากับ 3.91 เม่ือพิจารณา
รายข้อ พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจระดับมาก ได้แก่ มนุษยสัมพันธ์และมารยาทของเจ้าหน้าที่
การตอบคาถามของเจ้าหน้าที่ ความกระตือรือร้นและแก้ปัญหาของเจ้าหน้าท่ี และจานวนเจ้าหน้าท่ี
เพยี งพอต่อการให้บริการ โดยมคี ่าเฉลยี่ เท่ากบั 3.94 3.92 3.91 และ 3.90 ตามลาดับ ซง่ึ สอดคล้องกับ
ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ทีม่ ีคา่ เฉลยี่ เทา่ กบั 0.86 แสดงวา่ ข้อมูลในค่าเฉลี่ยน้นั ใกลเ้ คียงกนั

2. อภิปรายผล
2.1 การวิเคราะหข์ อ้ มลู แบบสอบถามดา้ นแรงจงู ใจ
แรงจูงใจของผู้รับบริการด้านปัจจัยผลักดันระดับมาก ได้แก่ สร้างความสัมพันธ์ในครอบครวั

หลีกหนีความจาเจในชีวิตประจาวัน และศึกษาสัตว์น้าและดวงดาว เน่ืองจาก พยายามท่ีจะหลีกหนีจาก
สถานท่ีท่องเท่ียวท่ีมีคนมากๆ ไม่ต้องการความวนุ่ วาย อยู่ง่ายกินง่าย ต้องการทากิจกรรมร่วมกับคนใน
ครอบครัว เพ่ือสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้ดีข้ึน แรงจูงใจของผู้รับบริการด้านปัจจัยดึงดูดระดับ
มาก ได้แก่ คุ้มค่าของค่าใช้จ่าย ความสวยงามของสถานที่ ชื่อเสียงของสถานที่ และอิทธิพลจากสื่อสังคม
ออนไลน์ เนื่องจาก ราคาสมเหตุสมผล ทาเลท่ีตั้งสะดวกในการรับบริการ มีชื่อเสียงของสถานท่ีเป็นท่ี
เช่ือถือได้ ซ่ึงสอดคล้องกับ (กิติยา มโนธรรมรักษา, 2559) ศึกษาเร่ือง การศึกษาแรงจูงใจและความพึง
พอใจที่มีผลต่อพฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทย กรณีศึกษา ตลาดน้าอโยธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ท้ังในส่วนของแรงจูงใจโดยรวม รายด้านปัจจัยผลัก และปัจจัยดึงดูดซึ่งอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน
แต่งานวิจัยของ กิติยานั้นกลุ่มตัวอย่างให้ค่าเฉลี่ยระดับความสาคัญของแรงจูงใจด้านปัจจยั ดึงดูดน้อยกวา่
ดา้ นปัจจัยผลัก ซึง่ ในรายละเอียดของด้านปจั จัยผลัก พบว่าใหค้ ่าเฉลย่ี ดา้ นความตองการสถานท่ีทองเท่ียว
ภายในหนึ่งวัน (เช้าไป - เย็นกลับ) สูงท่ีสุด รองลงมาคือความต้องการท่ีจะหลีกหนีความจาเจใน

39

ชีวิตประจาวัน ถัดมาคือความต้องการที่จะสัมผัสอารยธรรมกรุงเก่าและความต้องการท่ีจะหลีกหนีความ
จาเจในชีวิตประจาวนั ซึ่งให้ค่าเฉลี่ยคะแนนเท่ากัน ท้ังนี้แตกต่างจากบ้านบางเขนเลก็ น้อยคือ 116 ปัจจัย
ผลักดัน ความต้องการในการสัมผัสบรรยากาศเก่า ๆ น้ัน มีคะแนนเป็นอันดับท่ีสอง และอันดับท่ีสามคือ
การมาเพอ่ื หลีกหนีความจาเจในชีวิตประจาวัน สาหรบั ดา้ นปจั จยั ดงึ ดูด งานวิจัยของกติ ิยาพบวา่ ดา้ นการ
มาเพื่อซื้อสินค้านานาชนิด เช่น กระเป๋าและรองเท้าท่ีเป็นสินค้าหน่ึงตาบลหน่ึงผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้
ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือด้านพบสิ่งแปลกใหม่ เช่น การน่ังเรือชมตลาดน้า ซ่ึงให้ค่าเฉลี่ยต่างกันกับ
อันดับแรกเพียงเล็กน้อย ท้ังนี้ท่ีผลวิจัยต่างจากบ้านบางเขนอาจน้ัน อาจเป็นเพราะรูปแบบการท่องเที่ยว
ตลาดน้าอโยธยาน้ันอยู่ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซ่ึงเป็นจังหวัดท่ีมีชื่อเสียงเร่ืองสินค้า OTOP และ
สนิ ค้าจากศนู ย์ศิลปาชีพบางไทรอยู่ก่อนแล้ว จงึ ทาให้นกั ท่องเท่ียวตัง้ ใจที่จะไปเพื่อจับจ่ายใชส้ อยซ้ือสินค้า
หตั ถกรรมดงั กลา่ ว

2.2 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลแบบสอบถามดา้ นความพึงพอใจ
ความพึงพอใจของผู้รบั บริการดา้ นส่งิ ดึงดูดใจระดับมาก ได้แก่ ความน่าสนใจและเอกลักษณ์

ของสถานที่ ความหลากหลายของพันธ์ุสัตว์น้า มีนิทรรศการให้ความรู้ เนื่องจาก ชอบท่องไปในสถานท่ีที่
แปลกใหม่ มีความเป็นเอกลักษณ์ ใช้ส่ิงอานวยความสะดวกเท่าท่ีมีในท้องถิ่น ความพึงพอใจของ
ผรู้ บั บริการด้านส่งิ อานวยความสะดวกระดับมาก ไดแ้ ก่ ความสะดวกของท่ีจอดรถ ความสวยงามของภูมิ
ทัศน์ ความสะอาดของห้องสุขา เน่ืองจาก ผู้รับบริการมีความต้องการ การบริการและสิ่งอานวยความ
สะดวกที่เพ่มิ มากขน้ึ ความพงึ พอใจของผ้รู บั บรกิ ารดา้ นบรหิ ารจัดการคมนาคม ระดับมาก ไดแ้ ก่ ทางเดิน
ท่ีเอ้ืออานวยต่อผู้สูงอายุ ให้ข้อมูลทาเลท่ีตั้งของสถานท่ี ความหลากหลายของการเดินทาง และการดูแล
จราจรของเจ้าหน้าที่ เนื่องจาก นิยมเดินทางด้วยยานพาหนะ มีส่ิงอานวยความสะดวกพื้นฐาน ความพึง
พอใจของผู้รับบริการด้านการต้อนรับ ระดับมาก ได้แก่ มนุษยสัมพันธ์และมารยาทของเจ้าหน้าที่
การตอบคาถามของเจ้าหน้าท่ี ความกระตือรือร้นและแก้ปัญหาของเจ้าหน้าที่ และจานวนเจ้าหน้าท่ี
เพียงพอต่อการให้บริการ เน่ืองจาก เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรมเก่ียวกับการให้บริการเป็นอย่างดี ซ่ึง
สอดคล้องกับ (ศรินท์ทิพย์ คาวาโนเบะ, 2554) ศึกษาเร่ือง แรงจูงใจและพฤติกรรมของนักท่องเท่ียวชาว
ไทย กรณศี กึ ษา อาเภอเมอื ง จงั หวดั นา่ น ผลการศกึ ษาพบว่า นักท่องเทย่ี วมีแรงจงู ใจต่อสถานทท่ี ่องเที่ยว
ในด้านส่ิงดึงดูดใจมากท่ีสุด ซ่ึงประกอบด้วยด้านแหล่งท่องเท่ียวทางศาสนา ประวัติศาสตร์ โบราณสถาน
โบราณวัตถุ ด้านความน่าสนใจในเร่อื งเอกลักษณ์ วัฒนธรรมและประเพณี ด้านความสวยงามของสถานท่ี
ท่องเที่ยว ด้านความหลากหลายของสถานท่ีท่องเที่ยว และด้านชื่อเสียงของแหล่งท่องเที่ยว พฤติกรรม
การท่องเทีย่ วของนักท่องเที่ยวชาวไทย สถานท่ที ีด่ ึงดูดให้นักทอ่ งเท่ียวมคี วามตอ้ งการเยี่ยมคือ วัดภมู ินทร์
ชว่ งฤดูทนี่ า่ เดินทางมาทอ่ งเทย่ี ว คือ ชว่ งฤดูหนาว มีระยะเวลาการเดินทางมาพักคา้ งคืน มากกว่า เดินทาง
มาเช้า-เย็นกลับ สถานที่เลือกพัก คือ โรงแรม มีค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยว 3,001-7,000 บาท เลือกใช้
บริการร้านอาหารระหวา่ งทาง ทากิจกรรมไหว้พระระหว่างการท่องเที่ยว มีการเลือกซ้ือสินค้าหรือของท่ี
ระลกึ ประเภทผ้าทอมอื

40

3. ขอ้ เสนอแนะ
3.1 ด้านแรงจูงใจ
3.1.1 สง่ เสรมิ ใหม้ กี จิ กรรมสร้างความสัมพนั ธ์ในครอบครัว
3.1.2 สง่ เสริมใหม้ กี จิ กรรมศกึ ษาสัตวน์ ้าและดวงดาว
3.1.3 มีความคุม้ ค่าของราคาเข้าชมพพิ ิธภัณฑ์ เนือ่ งจากผู้รับบรกิ ารส่วนใหญ่มรี ายได้เฉลยี่ นอ้ ย

3.2 ดา้ นความพึงพอใจ
3.2.1 ปรับภมู ิทัศน์และเปลยี่ นบรรยากาศเพ่อื หลีกหนีความจาเจในชีวิตประจาวนั ของ

ผ้รู บั บริการ
3.2.2 ส่งเสรมิ การจดั นทิ รรศการให้ความรทู้ ที่ ันสมัย
3.2.3 มกี ารปลูกฝังพนกั งานในเร่อื งหัวใจของการบริการ เพอื่ สรา้ งความประทับใจใหแ้ ก่

ผู้รับบริการ

3.3 ขอ้ เสนอแนะในการศกึ ษาครง้ั ตอ่ ไป
3.3.1 การศึกษาผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อมต่อ

สถานศึกษาและชมุ ชน
3.3.2 การศึกษาแนวทางการพัฒนาอุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัด

ประจวบคีรีขันธ์ ในดา้ นอาคารสถานที่ ความสะอาด และแหลง่ เรียนร้ตู ่างๆ

41

บรรณานกุ รม

กชกร เปา้ สุวรรณ และคณะ. (2550). ความหมายความพึงพอใจ. (ออนไลน์). เข้าถึง : https://sites.
google.com/site. วนั ท่สี ืบคน้ : 1 พฤศจกิ ายน 2563.

กติ ยิ า มโนธรรมรักษา. (2559). ศกึ ษาการศึกษาแรงจูงใจและความพึงพอใจที่มีผลต่อพฤตกิ รรม
นักท่องเที่ยวชาวไทย. (ออนไลน์). เข้าถงึ : http://dspace.bu.ac.th/bitstream/
123456789/2362.pdf. วนั ทสี่ ืบค้น : 1 พฤศจิกายน 2563.

ชฎาภรณ์ แซ่ตงั้ . (2559). ศกึ ษาปจั จยั ต่อการตัดสนิ ใจใช้บริการทอ่ งเท่ียว ณ อุทยานวทิ ยาศาสตร์
พระจอมเกล้า ณ หวา้ กอ จังหวัดประจวบครี ีขันธ์. (ออนไลน)์ . เขา้ ถงึ : file:///C:/Users/
Windows10/Downloads/82425-Article%20Text-199480.pdf. วันท่ีสืบค้น :
1 พฤศจิกายน 2563.

ชุลีพร ไกรเวียง. (2531). ปัจจยั ทม่ี ีความสัมพนั ธก์ ับการรับรเู้ กยี่ วกับการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรปา่ ไมข้ อง
นักทอ่ งเท่ียวในเขตอุทยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญ่. วทิ ยานิพนธ์ ศษ.ม. (สิง่ แวดล้อมศึกษา).
มหาวิทยาลัยมหดิ ล.

นิภา ตรงเทยี่ ง. (2562). นโยบายรัฐบาลของนายกรฐั มนตรี. (ออนไลน์). เขา้ ถงึ : https://www.thai
gov.go.th/uploads/document/66/2019/07/pdf/Doc_20190725085640000000.pdf
วันทส่ี บื คน้ : 8 กุมภาพนั ธ์ 2564.

โนวาบซิ ส.์ (2560). แรงจงู ใจ. (ออนไลน์). เขา้ ถึง : http://libdoc.dpu.ac.th/thesis/149668.pdf.
วันทสี่ ืบคน้ : 1 พฤศจกิ ายน 2563.

ปรเมษฐ์ ศรที าสงั ข์ และคณะ. (2559). ทฤษฎแี รงจงู ใจของ Abraham H.Maslow. (ออนไลน)์ .

เข้าถงึ : https://www.margetting.com/post/maslow-theory. วนั ทสี่ ืบค้น :

1 พฤศจิกายน 2563.
ฝ่ายการแผนงานโครงการ อุทยานวทิ ยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หวา้ กอ. (2563). ข้อมลู ทั่วไป.

(ออนไลน)์ . http://www.waghor.go.th/newweb/home/index.php. วันที่สบื ค้น :

วันทส่ี ืบคน้ : 8 กุมภาพนั ธ์ 2564.
พรรณราย ทรัพย์ประภา. (2529, หนา้ 6). จิตวิทยาอตุ สาหกรรม. พมิ พค์ ร้ังที่ 1. กรงุ เทพฯ :

โอ.เอส.พรน้ิ ต้งิ เฮ้าส.์
เพลนิ พศิ วิบูลยก์ ลุ . (2558). แรงจูงใจ. (ออนไลน์). เข้าถงึ : http://viphavee.blogspot.com/

2010/12.html. วนั ทีส่ บื ค้น : 1 พฤศจิกายน 2563.
เฟดเดอริค เฮอรซ์ เบอรก์ . (2540). ทฤษฎกี ารทางานของมนุษย์. (ออนไลน์). เข้าถึง :

http://www.sara-dd.com/index.php?option=com. วนั ที่สบื ค้น : 2 พฤศจกิ ายน 2563.

42

บรรณานกุ รม (ตอ่ )

เมลดา ธนิตนนท์. (2560). ศึกษาแรงจูงใจและความพงึ พอใจของนักท่องเทยี่ วชาวไทยท่ีมาเทย่ี วบา้ น
บางเขน. (ออนไลน์). เขา้ ถึง : http://libdoc.dpu.ac.th/thesis/149668.pdf
วันที่สืบคน้ : 2 พฤศจกิ ายน 2563

เมอรเ์ รย์ . (2559). ความต้องการของมนุษย์. (ออนไลน์). เข้าถึง : https://sites.google.com/
site/citwithyasahrabkhru1. วนั ท่ีสบื ค้น : 2 พฤศจกิ ายน 2563.

ราชกิจจานุเบกษา (2542). พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. (ออนไลน์). เข้าถงึ :
http://www.atg.go.th/law-03.html. วันที่สบื ค้น : วนั ทส่ี ืบคน้ : 8 กมุ ภาพันธ์ 2564.

ราชบณั ฑติ สถาน. (2546). ความหมายของคาวา่ ความพึงพอใจ. (ออนไลน)์ . เข้าถึง : http://digital_
collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920400/chapter2.pdf. วนั ทส่ี ืบค้น :
1 พฤศจิกายน 2563.

วารนิ ศรบี ุรี. (2559). แรงจงู ใจ. (ออนไลน์). เขา้ ถึง : https://tourismatbuu.wordpress.com.
วนั ที่สืบค้น : 1 พฤศจกิ ายน 2563.

ศรินทท์ ิพย์ คาวาโนเบะ. (2554). ศึกษาแรงจูงใจและพฤติกรรมของนกั ท่องเท่ียวชาวไทย กรณีศึกษา
อาเภอเมอื ง จังหวดั นา่ น. (ออนไลน์). เขา้ ถึง : http://libdoc.dpu.ac.th/thesis/144712.pdf
วันท่ีสืบค้น : 2 พฤศจิกายน 2563.

ศรสี ุพรรณ. (2555). แนวคิดและทฤษฎดี า้ นแรงจูงใจ. (ออนไลน์). เขา้ ถึง : http://motivatiionsri
Supan.blogpot.com/2012/07/.html. วนั ท่ีสืบคน้ : 2 พฤศจิกายน 2563.

สริ ชั ญา วงษอ์ าทิตย์ และยุพาวรรณ วรรณวาณิชย.์ (2559). ศึกษาปัจจยั ท่ีมผี ลต่อการตัดสนิ ใจทอ่ งเท่ยี ว
เชิงโหยหาอดีตของนกั ท่องเที่ยวชาวไทย. (ออนไลน์). เข้าถึง : www.tci-thaijo.org>journaldtc
> article > download. วนั ท่ีสืบคน้ : 2 พฤศจิกายน 2563.

สานักเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (ออนไลน)์ . เขา้ ถงึ :
https://www.moe.go.th. วันที่สืบคน้ : 8 กุมภาพันธ์ 2564.

อทุ ัย พรรณสุดใจ. (2545). ความพึงพอใจ. (ออนไลน์). เข้าถึง : https://sites.google.com/site/
423313researchsaeauideesorn. วันทีส่ บื ค้น : 2 พฤศจิกายน 2563.

เออเนสท์ อาร์ ฮีสการด์ . (ม.ป.ป.). ความตอ้ งการของมนุษย์. (ออนไลน์).เข้าถงึ : https://sites.
google.com/site/itlab748101/khwam วันที่สืบค้น : 2 พฤศจิกายน 2563

ฮบั ราฮัม มาสโลว์. (2553). ความต้องการของมนษุ ย์. (ออนไลน)์ . เขา้ ถึง : https://matbuu.
wordpress.com. วันท่ีสืบคน้ : 2 พฤศจิกายน 2563.

Applewhite. (2553). ความพึงพอใจ. (ออนไลน)์ . เข้าถึง : http://thesis.swu.ac.th/
swuthesis/Rec_Man/Vitan_J.pdf. วันที่สบื คน้ : 2 พฤศจกิ ายน 2563.


Click to View FlipBook Version