The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sciencetech.pnu, 2024-04-30 02:26:02

รายงานประจำปี 2566

รายงานประจำปีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2566

KEEP DEVELOPING BE PATIENT AND HONEST


สารจาก คณบดีคณะวทยาศาสตริ และเทคโนโลย ์ ี มุง่สกู่ ารเป็นองค์กรแหง่เทคโนโลยแีละนวตักรรม เพื่อสังคมใน สามจังหวัดชายแดนใต้ คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร. มุ;งมั่นพัฒนาวิทยาศาสตร. เทคโนโลยี และนวัตกรรม จากความ หลากหลายของทรัพยากรในทEองถิ่น ดEวยปรัชญาการศึกษา ของคณะฯ คือ "ศึกษาวิจัย วิชาชีพดEานวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี นำองค.ความรูE เทคโนโลยีและนวัตกรรมไปใชEในการพัฒนาคน ชุมชน สังคม ประเทศชาติ ภายใตEพหุวัฒนธรรมใหEแข;งขันไดEในระดับสากล” ในปUที่ผ;านมา คณะไดEดำเนินงานตามพันธกิจมากมาย ทั้งการพัฒนา และปรับปรุงหลักสูตรเพื่อรองรับความตEองการของตลาดแรงงาน ส;งเสริมใหEนักศึกษาไดEพัฒนาทักษะที่จำเปXนผ;านโครงการพัฒนาผูEเรียน ต;าง ๆ ส;งเสริมใหEคณาจารย.และนักศึกษาทำการวิจัยอย;างต;อเนื่อง การ ตีพิมพ.ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการทั้งในและต;างประเทศ การจัด กิจกรรมบริการวิชาการเพื่อถ;ายทอดความรูEและเทคโนโลยีสู;ชุมชน คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร. มุ;งมั่นที่จะเปXนองค.กรแห;งเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสังคม เราจะ พัฒนาศักยภาพของนักศึกษาใหEพรEอมสำหรับการแข;งขันในระดับสากล และนำองค.ความรูEไปใชEประโยชน.ในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ ต;อไป ผชู้ ว่ยศาสตราจารย์ดร.กิติยา ถาวโรฤทธิ์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


สารบัญ บทนำ ประวัติความเปXนมา 1 โครงสรEางการบริหาร 3 คณะผูEบริหาร 4 คณะกรรมการประจำคณะ 5 ขEอมูลบุคลากร 6 แสดงความยินดี 7 ผลการดำเนินงาน ดEานการผลิตบัณฑิต 9 ขEอมูลนักศึกษา 10 การจัดการเรียนการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไป 11 กิจกรรมนักศึกษา 12 กิจกรรมพัฒนานักศึกษาดEานวิชาการ 20 กิจกรรมเสริมประสบการณ.นอกหEองเรียน 27 กิจกรรมเตรียมความพรEอมก;อนการฝeกงานและสหกิจ 28 แนะแนวการศึกษา 30 ดEานงานวิจัย 34 ดEานบริการวิชาการ 46 ดEานทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 57 ดEานบริหารจัดการ 62


1 ประวัติความเป็นมา การเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร.และ เทคโนโลยีในโลกเปXนไปอย;างรวดเร็วและกEาวหนEา สูงขึ้นตลอดเวลา ทำใหEแนวโนEมการแข;งขันในเวที โลกทวีความรุนแรงขึ้นตามลำดับ ขณะที่ขีด ความสามารถในการแข;งขันในเวทีโลกของไทยกลับ ลดต่ำอย;างต;อเนื่อง โดยเฉพาะอย;างยิ่งในภาคการ ผลิต เนื่องจากไม;สามารถใชEวิทยาศาสตร.และ เทคโนโลยีในการปรับปรุงโครงสรEางและเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตใหEเปXนผล อีกทั้งการพัฒนา วิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีในประเทศยังไม; เกื้อหนุนต;อภาคการผลิต โดยบุคลากรดEาน วิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีมีไม;เพียงพอทั้งในดEาน ปริมาณและคุณภาพ งานวิจัยไม;สอดคลEองกับ ความตEองการของภาคการผลิต ไม;สามารถสรEาง องค.ความรูEดEานวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีที่ นำไปใชEประโยชน.ไดE จึงตEองพึ่งพาเทคโนโลยีจาก ต;างประเทศมาโดยตลอด ดังนั้น ภายใตEกระแส โลกาภิวัตน. ประเทศไทยจำเปXนตEองพัฒนาความรูE ดEานวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข;งขันอย;างจริงจัง ใหE ประเทศสามารถพัฒนาไดEอย;างยั่งยืน ดEวยความตระหนักในแนวคิดดังกล;าว มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร. ซึ่งจัดตั้งขึ้น โดยการหลอมรวมสถาบันการศึกษาที่มีอยู;แลEวใน จังหวัดนราธิวาส และตามประกาศกิจจานุเบกษา เล;ม 123 ตอนที่ 118 ก หนEาที่ 6 วันที่ 27 พฤศจิกายน 2549 กำหนดใหEจัดตั้งคณะ วิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีขึ้น เปXนส;วนราชการใน มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร. และ นอกจากนี้แลEวยังเปkดโอกาสใหEเยาวชนในทEองถิ่น เขEาศึกษาในระดับอุดมศึกษามากขึ้น เพื่อเสริมสรEาง เอกภาพสันติสุขในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใตE และความมั่นคงของชาติ สถานท ี่ ตัง้ อาคารคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร. ศูนย.ราชการ ต.โคกเคียน อ.เมืองนราธิวาส จ.นราธิวาส 96000 โทรศัพท' 073 709030 ต;อ 3100 เว็บไซต' http://www.st.pnu.ac.th เฟสบุ2ก https://www.facebook.com/ScienceTech.PNU อีเมล [email protected]


2 วิสัยทัศน์ องค์กรแหงเท่ คโนโลยแลีะนวตกัรรมเพ่อสื งคมใ ันสามจงหวัดชัายแดนใต้ ปรัชญา การศึกษา และวจิยัดาน้วทิยาศาสตรแล์ะเทคโนโลยีเพ่อพืฒนัาวชิาการและนวตกัรรมที่ตอบสนอง ต่อสังคมต่อสังคม ปรัชญาการศึกษา ศึกษาวจิยัวชิาชพีดาน้วทิยาศาสตรแล์ะเทคโนโลยีนําองค์ความรูเท้ คโนโลยแลีะนวตกัรรมไปใชใ้น การพฒนัาคน ชุมชน สงคมั ประเทศชาติภายใต้พหวุฒนัธรรมใหแข้งข่นั ไดใ้นระดบสากัล อัตลักษณ์ สรางสร้รค์นวตกัรรม ทันเทคโนโลยีหมนั่พฒนัาตน อดทน ซ่อสืตยั ์ มจีตสาธาริณะและดารํงตนไดใ้นสงคมพัหวุฒนัธรรม เอกลักษณ์ เป็นคณะที่มุงพ่ฒนัาวทิยาศาสตร์เทคโนโลยแลีะนวตกัรรม จากความหลากหลายของทรพัยากรในท้องถิ่ น Our Mission พันธกิจ 1. ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ 2. ผลิตผลงานวิชาการ งานสรEางสรรค.และงานวิจัย 3. บริการวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนาศักยภาพทุกภาคส;วน 4. ทำนุบำรุงศาสนาและศิลปวัฒนธรรม 5. การบริหารและการจัดการ “ ” “ “ ” ” “ ” “ ”


3 โครงสร้างองค์กร คณบดี รองคณบดีฝ>ายวิชาการ และทะเบียน งานหลักสูตรและควบคุม มาตรฐานการเรียนการสอน งานพัฒนาสมรรถนะนักศึกษา งานบัณฑิตศึกษา งานทะเบียน งานฝDกงาน/สหกิจศึกษา งานแนะแนว และรับนักศึกษาใหมH รองคณบดี ฝ่ายพัฒนานักศึกษา งานอาจารยIที่ปรึกษา งานกิจกรรมนักศึกษา งานประชาสัมพันธI งานติดตามการไดPงานทำของ บัณฑิตและศิษยIเกHาสัมพันธI งานทุนนักศึกษา งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม รองคณบดี ฝ่ายแผนและพัฒนาคุณภาพ งานแผนและงบประมาณ งานบริหารความเสี่ยงและ ควบคุมภายใน งานสารสนเทศเพื่อการบริหาร จัดการ งานประกันคุณภาพบริหาร ความเสี่ยง งานวิเคราะหIขPอมูลทาง การศึกษา หัวหน้าสํานักงานคณบดี งานสารบรรณ งานบริหารทรัพยากรบุคคล งานการเงิน งานบัญชี งานอาคารสถานที่ งานพัสดุ งานการประชุม งานเลขานุการ รองคณบดี ฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ งานหPองสมุด งานบริการวิชาการ งานวิจัยและพัฒนานวัตกรรม งานโครงงานนักศึกษา งานวิเทศสัมพันธI งานวารสารวิทยาศาสตรI ปรีดียาธร


44 คณะผู้บริหาร ผชู้ วยศาสตราจารย่ ์ดร.กิติยา ถาวโรฤทธิ์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผชู้ วยศาสตราจารย่ ์ดร.นรารัตน์วัฒนาพันธ์ รองคณบดีฝ่ายแผนและพัฒนาคุณภาพ ผชู้ วยศาสตราจารย่ ์ดร.สุชาดา แสงวิมาน รองคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ ผชู้ วยศาสตราจารย่ ์ดร.วุฒชิยัศรชีวย่ รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา ผชู้ วยศาสตราจารย่ ์ดร.โรสนีจรยะมาการิ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและทะเบียน นางคอลีเยาะ ฮามิ หัวหน้าสํานักงานคณบดี


5 คณะกรรมการประจําคณะ ผศ. ดร.กิติยา ถาวโรฤทธิ์ ประธานกรรมการ ผศ. ดร.อัตชยัเอ้ืออนันตสนัต์ กรรมการ รศ. ดร.เอกรินทร์สังข์ทอง กรรมการ ผศ. ดร.สุชาดา แสงวิมาน กรรมการ ผศ. ดร.วุฒชิยัศรชีว่ย กรรมการ ผศ. ดร.นรารัตน์วัฒนาพันธ์ กรรมการ ผศ. ดร.โรสนีจรยิะมาการ กรรมการ ผศ. ดร.สาลูมา สมานหมาน กรรมการ อ. ดร.อิบรอฮีม ซาโยะ กรรมการ อ. พงษ์พันธ์สุขสุพันธ์ กรรมการ อ. ดร.จิตติมา มานะการ กรรมการ อ. สิรินาถ ชูประจง กรรมการ อ. มาดีนา น้อยทับทิม กรรมการ ผศ. ดร.กร ทักษพัฒนกุล กรรมการ อ. ดร.จารุวรรณ แดงโรจน์ กรรมการ นางคอลีเยาะ ฮามิ กรรมการและเลขานุการ นางสาวเสาวภา เพช็รศรี ผชู้ ว่ยเลขานุการ


6 6 ข้อมูลบุคลากร จํานวนบุคลากรจําแนกตามประเภท จํานวนบุคลากรสายสอนและวิจัยจาแนกตามคํณวุ ุฒิ


7 ขอแสดงความยนิด ี คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี ขอแสดงความยินดีกับบุคลากรของคณะที่ประสบความสำเร็จ มี ความกEาวหนEาในตำแหน;งหนEาที่การงาน และสรEางผลงานจนเปXนที่ประจักษ. โดยในปU 2566 บุคลากรคณะ วิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี มีทั้งผูEที่ไดEรับตำแหน;งทางบริหาร ตำแหน;งทางวิชาการ และผูEที่สำเร็จการศึกษา ในระดับปริญญาเอก ดังนี้ บุคลากรท ี่ได้รับตําแหน่งบริหาร ผชู้ ว่ยศาสตราจารย์ดร.กิติยา ถาวโรฤทธิ์ ไดEรับการแต;งตั้งใหEดำรงตำแหน;ง คณบดีคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี ผชู้ ว่ยศาสตราจารย์ดร.รักชนก ภูวพัฒน์ ไดEรับการแต;งตั้งใหEดำรงตำแหน;ง ผูEช;วยอธิการบดี บุคลากรท ี่ได้รบตั ําแหน่งวชาการิ อาจารย์ดร.นิกรือซง โต๊ะลือบาจิ ไดEรับการอนุมัติแต;งตั้งจากสภามหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร. ใหEดำรงตำแหน;ง ผูEช;วยศาสตราจารย. สาขาวิชาฟkสิกส.


8 บุคลากรท ี่ สาเรํจการศ็ ึกษา อาจารย์ดร.รวิวรรณ วัฑฒนายน สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาเคมี (PhD. In Chemistry) จาก University of Bath สหราชอาณาจักร บุคลากรท ี่ได้รับรางวัล คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย นราธิวาสราชนครินทร. ขอแสดงความยินดีกับอาจารย.วาริน นาราวิทย. ผูEช;วยอธิการบดีมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร. ที่ไดEรับรางวัลภัทรพัฒน. เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2566 ณ หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร.


99 ผลการดําเนินงาน ด้านการผลิตบัณฑิต เพมโ ิ่อกาสทางการศึกษา และการมงานีทําของนักเรยีนในพ้นืที่สามจงหวัดชัายแดนภาคใต้ คณะวิทยาศาสตร'และเทคโนโลยีมีการจัดการเรียน การสอนทั้งหมด 6 หลักสูตร ประกอบดEวยหลักสูตรระดับปริญญาโท 1 หลักสูตร หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 หลักสูตร และระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 1 หลักสูตร โดย ในแต;ละหลักสูตรไดEผ;านการปรับปรุงหลักสูตรใหEมี ความทันสมัยตอบสนองต;อการเปลี่ยนแปลงของโลก และความตEองการของตลาด ซึ่งหลักสูตรทั้งหมดนั้น เกิดจากการวิเคราะห.ศักยภาพของคณะ รวมถึง ความพรEอมของคณาจารย.ในสาขาวิชาต;าง ๆ ทั้ง ดEานความรูE ความเชี่ยวชาญ และจำนวนของ คณาจารย. เพื่อตอบสนองต;อความตEองการของคน ในพื้นที่ สถานประกอบการ และเปXนการเพิ่มโอกาส ทางการศึกษา และการมีงานทำของนักเรียนในพื้นที่ สามจังหวัดชายแดนภาคใตE หลักสตรทูี่เปิดสอน ชื่อหลักสูตร ชื่อยMอ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาชีววิทยาประยุกต. วท.ม. (ชีววิทยาประยุกต.) ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ป.บัณฑิต (วิชาชีพครู) วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร.ทั่วไป วท.บ. (วิทยาศาสตร.ทั่วไป) วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาชีววิทยาประยุกต. วท.บ. (ชีววิทยาประยุกต.) วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาฟkสิกส.ประยุกต. วท.บ. (ฟkสิกส.ประยุกต.) วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขานวัตกรรมและเทคโนโลยีการ ประกอบอาหาร วท.บ. (นวัตกรรมและเทคโนโลยีการ ประกอบอาหาร)


10 ข้อมูลนักศึกษา จํานวนนักศึกษาปัจจุบัน สาขา รหัส 66 รหัส 65 รหัส 64 รหัส 63 รวม วท.ม. สาขาชีววิทยาประยุกต. - - 4 - 4 วท.บ. สาขาวิทยาศาสตร.ทั่วไป 43 23 17 17 100 วท.บ. สาขาชีววิทยาประยุกต. - 9 14 14 37 วท.บ. สาขาฟkสิกส.ประยุกต. - - 7 15 22 วท.บ. สาขานวัตกรรม และเทคโนโบยีการประกอบอาหาร 17 - - - 17 ป.บัณฑิต สาขาวิชาชีพครู 60 16 - - 76 จำนวนนักศึกษารวม 120 48 42 46 256 จาํนวนบณัฑิตท ี่ สาํเรจ็การศึกษา สาขา ป[การศึกษา 2565 ป[การศึกษา 2564 ป[การศึกษา 2563 ป[การศึกษา 2562 รวม วท.ม. สาขาชีววิทยาประยุกต. - 1 3 1 5 วท.บ. สาขาวิทยาศาสตร.ทั่วไป 22 25 51 45 143 วท.บ. สาขาชีววิทยาประยุกต. 14 18 21 40 93 วท.บ. สาขาฟkสิกส.ประยุกต. - - 8 7 15 สาขาวิชาชีพครู 55 16 56 51 178 จำนวนบัณฑิตรวม 91 60 139 144 434


1111 การจัดการเรยนีการสอนรายวิชาศึกษาทัวไป ่ ในด_านการจัดการเรียนการสอนสำหรับหมวดวิชา ศึกษาทั่วไป คณะวิทยาศาสตร'และเทคโนโลยี ได_ เป`ดสอนให_กับคณะตMาง ๆ ตามที่กำหนดใน หลักสูตร โดยมอบหมายอาจารย.ประจำในสังกัด ภาควิชาของคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีใหE สอดคลEองกับคุณวุฒิและประสบการณ.ของอาจารย. เทียบตามลักษณะวิชาที่กำหนด และมอบหมายใหE ผูEรับผิดชอบ หัวหนEาภาควิชา และผูEร;วมสอน จัดทำ เอกสาร มคอ.3 นำเสนอเพื่อพิจารณาในที่ประชุม กรรมการวิชาการของคณะ และนำไปปรับปรุงแกEไข ก;อนนำไปใชEสอนทุกรายวิชา ภายหลังการจัดการ เรียนการสอนจะมีการประเมินผลทุกภาคการศึกษา ตามขEอบังคับการศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร. ว;าดEวยระเบียบ การวัดและประเมินผลการศึกษา ในปU 2566 คณะวิทยาศาสตร.และ เทคโนโลยีรับผิดชอบสอนในรายวิชาศึกษาทั่วไป ใหEกับนักศึกษาของสถาบัน วิทยาลัยและคณะต;าง ๆ ไดEแก; คณะพยาบาลศาสตร. คณะวิศวกรรมศาสตร. คณะวิทยาการจัดการ คณะศิลปศาสตร.คณะ เกษตรศาสตร.สถาบันอิสลามและอาหรับศึกษา วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส และวิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยี ในภาคการศึกษาที่ 1 และ 2 ประจำปU การศึกษา 2566 คณะไดEดำเนินการในการจัดการ เรียนการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไปใหEกับคณะต;าง ๆ ดังแผนภาพ


12 กิจกรรมนักศึกษา นอกจากการจัดการเรียนการสอน คณะ วิทยาศาสตร.และเทคโนโลยียังไดEดำเนินการจัด กิจกรรมที่เกี่ยวขEองกับการพัฒนานักศึกษาหลาย โครงการ โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี จัดการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม; ประจำปUการศึกษา 2566 ขึ้นใน วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2566 ณ หEองประชุมดร.สุพัฒน. ศรีสวัสดิ์ ชั้น 6 คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร. ประกอบดEวยกิจกรรมกล;าวตEอนรับจาก ผศ. ดร.กิติยา ถาวโรฤทธิ์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีการแนะนำการเรียนในระดับอุดมศึกษา โดย ผศ. ดร.โรสนี จริยะ มาการ รองคณบดีฝìายวิชาการและทะเบียน แนะนำการใชEชีวิตในมหาวิทยาลัย ทุนการศึกษา และสวัสดิการ ของนักศึกษา โดย ผศ. ดร.วุฒิชัย ศรีช;วย รองคณบดีฝìายพัฒนานักศึกษา เพื่อเปXนการเตรียมความพรEอมใน การกEาวเขEาสู;รั้วมหาวิทยาลัยของนักศึกษาใหม;


13 กีฬาพกิลุเกมส์ประจําปี2566 นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี ไดEเขEาร;วมการแข;งขันกีฬาพิกุลเกมส. มหาวิทยาลัย นราธิวาสราชนครินทร.ประจำปU 2566 ซึ่งจัดขึ้นเปXนประจำทุกปU ประกอบดEวยการแข;งขันกีฬาประเภทต;าง ๆ ทั้งประเภทลู; และประเภทลาน รวมถึงการแข;งขันขบวนพาเหรด ผูEนำเชียร. กองเชียร. และหลีดโจïก โดย จัดขึ้นระหว;างวันที่ 7 – 11 สิงหาคม 2566 เพื่อเปXนการสรEางความสามัคคี การทำงานร;วมกัน การแกEปóญหา และเสริมสรEางร;างกายใหEแข็งแรง


14 โครงการกีฬาเช่อืมมติรคณะวทิย์ฯ เช่อืมใจ การเล;นกีฬาเปXนส;วนสำคัญในการสรEางความสามัคคีและยังเปXนสื่อสัมพันธ.ที่จะช;วยใหEเกิดความรัก ความสามัคคี ความปรองดอง เสริมสรEางความมีระเบียบวินัย และน้ำใจเปXนนักกีฬา คณะวิทยาศาสตร.และ เทคโนโลยีคณะแพทยศาสตร. และคณะศิลปศาสตร. จึงไดEร;วมกันจัดโครงการกีฬาสานสัมพันธ.วิทย. แพทย. ศิลปòขึ้น ในวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2566 ณ โรงยิมเนเซียม มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร.โดยคณะ วิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีเปXนเจEาภาพในการจัดกีฬาในปUนี้ และไดEรับเกียรติจากผูEช;วยศาสตราจารย. ดร. สุพัฒน. ศรีสวัสดิ์ รองอธิการบดี เปXนประธานในพิธีเปkด ทั้งนี้กีฬาสานสัมพันธ.ฯ ไดEจัดขึ้นเพื่อส;งเสริมใหEเกิด ความสัมพันธ.อันดีระหว;างคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตร. และคณะแพทยศาสตร.ซึ่งเคย อยู;ร;วมในอาคารเดียวกันเสมือนเปXนคณะเดียวกัน


15 โครงการ Big Cleaning Day คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีจัดกิจกรรม Big Cleaning Day ในวันที่ 22 มิถุนายน 2566 ณ อาคารคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี เพื่อใหEเกิดความสะดวก เปXนระเบียบเรียบรEอย สะอาด และ ปลอดภัยภายในอาคารคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี และยังช;วยส;งเสริมลักษณะนิสัยตามหลัก 5ส ประกอบดEวย สะสาง สะดวก สะอาด สรEางมาตรฐาน และสรEางวินัย ใหEเกิดกับบุคลากร และนักศึกษาอีก ดEวย


16 พธิมีอบชุดปฏิบตั ิการ ผูEช;วยศาสตราจารย. ดร.กิติยา ถาวโรฤทธิ์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี เปXนประธานใน พิธีมอบชุดปฏิบัติการแก;นักศึกษาชั้นปUที่ 2 ปUการศึกษา 2566 ณ หEองประชุม ดร.สุพัฒน. ศรีสวัสดิ์ ชั้น 6 คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีในวันพุธที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2566 เพื่อเปXนการสรEางความภาคภูมิใจใหEแก; นักศึกษา


17 โครงการคืนบ้านสานใจเหลืองปรดี ียาธร ผูEช;วยศาสตราจารย. ดร.กิติยา ถาวโรฤทธิ์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี เปXนประธานใน พิธีเปkดโครงการ “คืนบEานสานใจเหลืองปรีดียาธร” ในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2566 ณ อาคารคณะ วิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีเพื่อแสดงความยินดีแก;บัณฑิตคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีที่สำเร็จ การศึกษา ปUการศึกษา 2565 และกำลังจะเขEารับพระราชทานปริญญาบัตร โดยมีผูEบริหาร อาจารย. เจEาหนEาที่ และบัณฑิต ร;วมรับประทานอาหารพรEอมกัน และไดEมีการมอบเกียรติบัตรใหEแก;บัณฑิตที่มีผลการ เรียนดีเพื่อเปXนเกียรติประวัติ


18 โครงการปัจฉิมนิเทศ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี ไดEดำเนินการจัดโครงการปóจฉิมนิเทศใหEกับนักศึกษาชั้นปUที่ 4 ที่ กำลังจะสำเร็จการศึกษา ในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2566 โดยมีวัตถุประสงค.เพื่อแสดงความยินดีกับ นักศึกษาที่กำลังจะจบการศึกษา และเปXนการเตรียมความพรEอมก;อนที่นักศึกษาจะไปทำงานในสถาน ประกอบการจริง โดยกิจกรรมภายในโครงการจะประกอบดEวยกิจกรรมการบรรยายแลกเปลี่ยนเรียนรูE แนวคิดในการทำงาน และกิจกรรมการเลี้ยงสังสรรค.ใหEกับนักศึกษาชั้นปUที่ 4 ณ ลานกิจกรรม คณะ วิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี


1919 คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีไดEจัดโครงการ “พิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก;ผูEสำเร็จการศึกษา ประจำปUการศึกษา 2565” เพื่อดำเนินการฝeกซEอมการเขEารับพระราชทานปริญญาบัตรของบัณฑิตคณะ วิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี เพื่อใหEเกิดความเขEาใจและสามารถปฏิบัติตนในการเขEารับพระราชทานปริญญา บัตรไดEอย;างถูกตEอง และเปXนการแสดงความยินดีใหEกับบัณฑิตผูEสำเร็จการศึกษา และสรEางความประทับใจ ใหEกับบัณฑิตที่เขEารับพระราชทานปริญญาบัตร ซึ่งในปU 2566 วันพระราชทานปริญญาบัตรตรงกับวันอังคาร ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2566 โดยมีบัณฑิตคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีเขEารับพระราชทานปริญญาบัตร ณ อาคารเฉลิมพระ เกียรติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร.จำนวน 91 คน


20 กิจกรรมพัฒนานักศึกษาด้านวิชาการ คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี ไดEจัด โครงการ และกิจกรรมต;าง ๆ เพื่อส;งเสริมการ พัฒนาสมรรถนะของนักศึกษา เพื่อใหEสอดคลEองกับ สมรรถนะตามที่หลักสูตรกำหนด และรวมถึง สมรรถนะที่จำเปXนอื่น ๆ ต;อการทำงานในปóจจุบัน โครงการการบ่มเพาะนักศึกษาเพื่อพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการและ ส่งเสริมนวัตกรรม วันอังคารที่ 15 สิงหาคม 2566 เวลา 13.30 น. ผศ.ดร.กิติยา ถาวโรฤทธิ์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร. และเทคโนโลยี เปXนประธานในพิธีเปkดโครงการการบ;มเพาะนักศึกษาเพื่อพัฒนาการเปXนผูEประกอบการและ ส;งเสริมนวัตกรรม โดยมี นายชารีฟ เด;นสุมิตร เปXนวิทยากรใหEการบรรยายในหัวขEอ "การสรEางแรงบันดาลใจ และจิตสำนึกในการเปXนผูEประกอบการ" ณ หEองประชุม ดร.สุพัฒน. ศรีสวัสดิ์ อาคารคณะวิทยาศาสตร.และ เทคโนโลยี


21 กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพทางด้านภาษาอังกฤษ สาํหรบันักศึกษาชนั้ปีที่ 4 คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี จัดกิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพทางดEานภาษาอังกฤษสำหรับ นักศึกษาชั้นปUที่ 4 ระหว;างวันที่ 11 – 12 ตุลาคม พ.ศ. 2566 เพื่อพัฒนาทักษะทางดEานไวยากรณ. (Grammar) คำศัพท. (Vocabulary) การอ;าน (Reading) และการเขียน (Writing) เพื่อเตรียมพรEอมสำหรับ การสอบวัดระดับภาษาอังกฤษ โดยมีผูEช;วยศาสตราจารย. ดร.สุพจนี แสนสุข และอาจารย. ดร.รวิวรรณ วัฑฒนายน เปXนวิทยากร ณ หEองประชุม ดร.สุพัฒน. ศรีสวัสดิ์ ชั้น 6 อาคารคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี


22 กิจกรรมพฒันาเสรมิสรา้งการเรยีนรู้ กิจกรรมพัฒนาเสริมสรEางการเรียนรูE ปUการศึกษา 2565 จัดโดยคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร. ประกอบดEวย 2 กิจกรรมย;อย สำหรับกิจกรรมแรก คณะวิทยาศาสตร. และเทคโนโลยี ร;วมกับ กองพิสูจน.หลักฐานกลาง จัดเสวนาในหัวขEอเรื่อง เสEนทางสู;การเปXนนายรEอยตำรวจ สายพิสูจน.หลักฐาน (วิทยาศาสตร.) โดย ร.ต.ท.หญิง เมธิภา ผลาการ กองพิสูจน.หลักฐานกลาง นักวิทยาศาสตร.กลุ;มงานตรวจทางเคมีฟkสิกส.ซึ่งเปXนส;วนหนึ่งในรายวิชา 10-044-293 การพิสูจน.หลักฐาน จัดขึ้นในวันพฤหัสบดี ที่ 16 กุมภาพันธ. พ.ศ. 2566 เวลา 8.30 – 11.30 น. ในรูปแบบออนไลน.ผ;าน โปรแกรม Zoom กิจกรรมที่ 2 จัดในหัวขEอ การพัฒนาบุคลิกภาพ โดยมี อาจารย. ดร.กนกวรรณ ภูมิวณิชกิจ และ อาจารย. ดร.รวิวรรณ วัฑฒนายน อาจารย.สาขาเคมี คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี เปXนวิทยากร จัดขึ้น ในวันอังคาร ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2566 ณ หEองประชุม ดร.สุพัฒน. ศรีสวัสดิ์ อาคารคณะวิทยาศาสตร.และ เทคโนโลยี


23 กิจกรรมค้นหาตัวตน สเู่ สน้ทางของอาชพีนักอัดคลิป ตัดต่อ นําเสนอผา่นส่อืเทคโนโลยี กิจกรรมคEนหาตัวตน สู;เสEนทางของอาชีพนักอัดคลิป ตัดต;อ นำเสนอผ;านสื่อเทคโนโลยี เปXน กิจกรรมย;อยในโครงการสนับสนุนเสริมสรEาง พัฒนานักศึกษาใหEเปXนไปตามคุณลักษณะพิเศษของหลักสูตร สำหรับนักศึกษาชั้นปUที่ 1 สาขาวิชาวิทยาศาสตร.ทั่วไป โดยมีนายซุลกีพลีเรïาะแลบา นักวิชาการโสตทัศน ศึกษา เปXนวิทยากร จัดขึ้นในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2566 ณ หEองปฏิบัติการคอมพิวเตอร. ชั้น 6 อาคาร คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี


24 กิจกรรมอบรมความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ กิจกรรมอบรมความปลอดภัยในหEองปฏิบัติการ เปXนกิจกรรมย;อยในโครงการสนับสนุนเสริมสรEาง พัฒนานักศึกษาใหEเปXนไปตามคุณลักษณะพิเศษของหลักสูตร สำหรับนักศึกษาชั้นปUที่ 3 คณะวิทยาศาสตร. และเทคโนโลยีโดยมี อาจารย. ดร.กนกวรรณ ภูมิวณิชกิจ และอาจารย. ดร.รวิวรรณ วัฑฒนายน อาจารย. สาขาเคมี คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี เปXนวิทยากร จัดขึ้นในวันจันทร. ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2566 เวลา 8.30 – 12.30 น.


25 กิจกรรมการอบรมพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ กิจกรรมการอบรมพื้นฐานทางคณิตศาสตร.เปXนกิจกรรมย;อยในโครงการสนับสนุนเสริมสรEาง พัฒนานักศึกษาใหEเปXนไปตามคุณลักษณะพิเศษของหลักสูตร สำหรับนักศึกษาชั้นปUที่ 1 คณะวิทยาศาสตร. และเทคโนโลยีโดยมี อาจารย.สุรีลักษณ. มะ อาจารย.สาขาคณิตศาสตร.คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี เปXนวิทยากร จัดขึ้นในวันพฤหัสบดีที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 เวลา 13.30 – 16.30 น. ณ หEอง ST513 อาคารคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี การประชุมชแ ี้ จงการดําเนินงานรายวชิาโครงงานทางวทิยาศาสตร์ ผศ. จารุวรรณ ประดับแสง ผูEรับผิดชอบรายวิชาโครงงานทางวิทยาศาสตร.ไดEจัดประชุมชี้แจง ขั้นตอนการดำเนินงานและเกณฑ.การใหEคะแนน ใหEแก;นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร.ทั่วไปชั้นปUที่ 4 เพื่อใหEการ ดำเนินงานของนักศึกษาเปXนไปดEวยความเรียบรEอย มีคุณภาพ และเสร็จทันตามกำหนดเวลา จัดขึ้น ณ หEอง ST209 อาคารคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีเมื่อวันศุกร.ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2566 เวลา 09.00 น.


26 กิจกรรมพฒันาภาษาอังกฤษและแลกเปล ี่ ยนวฒันธรรม นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี เขEาร;วมกิจกรรมพัฒนาภาษาอังกฤษและแลกเปลี่ยน วัฒนธรรมกับ University Technology Petronas ประเทศมาเลเซีย ณ คณะศิลปศาสตร. มหาวิทยาลัย นราธิวาสราชนครินทร.ระหว;างวันที่ 11 – 12 มีนาคม พ.ศ. 2566 กิจกรรมในงาน World HAPAX 2023 คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี นำนักศึกษาหลักสูตรสาขาวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการ ประกอบอาหาร ชั้นปUที่ 1 เขEาร;วมกิจกรรมในงาน World HAPAX 2023 ณ ศูนย.ประชุมนานาชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.วิทยาเขตสงขลา และ งานจัดแสดงสินคEา SMART SME’s OTOP ณ central festival อำเภอหาดใหญ; จังหวัดสงขลา ในวันศุกร. ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2566


27 กิจกรรมเสริมประสบการณ์นอกหองเร้ยนี ศึกษาดูงานห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์ วันศุกร.ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2566 อาจารย. ดร.อิบรอฮีม ซาโยะ อาจารย.ผูEสอนวิชาวิทยาศาสตร. สำหรับการวินิจฉัยเบื้องตEน นำนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร.ทั่วไป และ สาขาวิชาชีววิทยาประยุกต. เขEาเยี่ยมชม ศึกษาดูงานหEองปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย. โรงพยาบาล นราธิวาสราชนครินทร.ซึ่งเปXนกิจกรรมเสริมประสบการณ.ในรายวิชาวิทยาศาสตร.สำหรับการวินิจฉัยทาง การแพทย.เบื้องตEน เพื่อใหEนักศึกษาเขEาใจและประยุกต.ใชEความรูEในการทำงานจริงในสถานประกอบการ ศึกษาดูงานศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธร วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2566 ผูEช;วยศาสตราจารย. ดร.กิติยา ถาวโรฤทธิ์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร. และเทคโนโลยี นำนักศึกษาสาขาชีววิทยาประยุกต. ไปศึกษานอกหEองเรียนในรายวิชาปฏิบัติการนิเวศวิทยา ณ ศูนย.วิจัยและศึกษาธรรมชาติปìาพรุสิรินธร (ปìาพรุโตïะแดง) ซึ่งเปXนปìาพรุที่มีเนื้อที่และความอุดมสมบูรณ. มากที่สุดในประเทศไทย เพื่อศึกษาระบบนิเวศปìาพรุและความหลากหลายทางชีวภาพจากแหล;งเรียนรูEใน ทEองถิ่น


28 กิจกรรมเตรยมความพรีอม้ ก่อนการฝึกงานและสหกิจศึกษา อบรมเชงิปฏิบตั ิการการเตรยีมความพรอ้ม ก่อนออกฝึกงานและสหกิจศึกษา เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ. พ.ศ. 2566 เวลา 9.00 – 12.00 น. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร.ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี ไดEจัดอบรมเชิงปฏิบัติการการเตรียมความ พรEอมใหEนักศึกษาชั้นปUที่ 3 ก;อนออกฝeกงานและสหกิจศึกษา เพื่อใหEนักศึกษาไดEทบทวนความรูE และทักษะ ในการใชEเครื่องมือทางวิทยาศาสตร.ที่จำเปXนสำหรับการฝeกงานและสหกิจศึกษา โดยมี ผศ. ดร.สาลูมา สมานหมาน ประธานหลักสูตรสาขาวิชาวิทยาศาสตร.ทั่วไป เปXนวิทยากร การปฐมนิเทศก่อนการฝึกงาน คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี ไดEจัดการปฐมนิเทศก;อนการฝeกงาน ประจำปUการศึกษา 2565 ขึ้นในวันพฤหัสบดี ที่ 30 มีนาคม 2566 เวลา 08.30 น. – 10.00 น. ณ หEอง ST 207 เพื่อใหEนักศึกษาไดE เรียนรูEและรับทราบขEอมูลและการเตรียมความพรEอมก;อนที่จะออกไปปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ โดยมีอาจารย. ดร.อาสลัน หิเล คณบดีคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี ในขณะนั้น ร;วมพบปะพูดคุยกับ นักศึกษา


29 ปฐมนิเทศก่อนการฝึกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา วันพุธ ที่ 14 มิถุนายน 2566 เวลา 09.00 -11.30 น. ผศ. ดร.กิติยา ถาวโรฤทธิ์ คณบดีคณะ วิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี และอาจารย. ดร.อิรฟóน มะแซสาอิ เขEาร;วมพบปะและใหEคำแนะนำแก;นักศึกษา ในกิจกรรมปฐมนิเทศก;อนการฝeกปฏิบัติงานสหกิจศึกษาของนักศึกษา ประจำปUการศึกษา 2566 ณ หEอง ST 207 อาคารคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี


30 แนะแนวการศึกษา แนะแนวการศึกษาต่อ ปีการศึกษา 2567 คณาจารย. เจEาหนEาที่ และนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี ไดEเขEาแนะแนวการศึกษาต;อ สำหรับปUการศึกษา 2567 ในหลักสูตรที่คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีเปkดสอน เพื่อเปXนแนวทางใหE นักเรียนกลุ;มเป´าหมาย ไดEเห็นถึงความพรEอมของคณะ และแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต โดยใน ปU 2566 คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีไดEเขEาแนะแนวการศึกษาในโรงเรียนที่เปXนกลุ;มเป´าหมายในหลาย โรงเรียน ดังนี้ § โรงเรียนสมบูรณ-ศาสนเมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2566 § โรงเรียนอัตเตาฟ4กียะห-อิสลามียะหเมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2566 § โรงเรียนดีนนียะห-อิสลามียะหเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ; พ.ศ. 2566 § โรงเรียนอิบตีดาวิทยา เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2566


31 § โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร- บางปอประชารักษเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2566 § โรงเรียนราชประชานุเคราะห- 39 เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2566 § โรงเรียนดารุลฟุรกอน เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2566 § โรงเรียนแสงธรรมวิทยา เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 § โรงเรียนตากใบ เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 § โรงเรียนสมานมิตรวิทยา เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566


32 § โรงเรียนมัธยมสุไหงปาดี และโรงเรียนธัญธาร วิทยา เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 § โรงเรียนอิสลามบูรพา เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 § โรงเรียนอัลอิสลามียะห- และโรงเรียนบูกิตประ ชาอุปถัมภเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 § โรงเรียนสัมพันธ-วิทยา เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 § โรงเรียนรNมเกลOา เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566


33 PNU Roadshow 2024 คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี ร;วมกับมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร.ในกิจกรรมแนะแนว การศึกษาต;อในมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร. ประจำปUการศึกษา 2567 PNU ROAD SHOW 2024 The Creator : กEาวแรกสู;ฝóนที่ยิ่งใหญ; ทั้งโรงเรียนในจังหวัดปóตตานี และนราธิวาส ประกอบดEวย § โรงเรียนสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 § โรงเรียนนราธิวาส อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 § โรงเรียนนูรุดดิน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 § โรงเรียนรือเสาะชนูปถัมภอำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2566 § โรงเรียนเดชะปRตตนยานุกูล อำเภอเมือง จังหวัดปRตตานี เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2566


34 ผลการดําเนินงาน ด้านงานวิจัย คณะมีระบบและกลไกบริหารงานวิจัยหรืองาน สร_างสรรค' เพื่อให_บรรลุเปbาหมายตามแผนด_าน การวิจัยของคณะ โดยการแต;งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน วิจัยของคณะ และมีการติดตามผลการดำเนิน งานวิจัยพรEอมกับมหาวิทยาลัย อีกทั้งมหาวิทยาลัย นราธิวาสราชนครินทร.ไดEมีส;วนผลักดันในดEานการ ดำเนินการวิจัยของคณะ นอกจากนั้น คณะไดEมี การสนับสนุนพันธกิจดEานการวิจัยหรืองาน สรEางสรรค.ตามอัตลักษณ.โดยการสนับสนุนใหEมี หEองปฏิบัติการวิจัยฯ เช;น หEองปฏิบัติการเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อ หEองปฏิบัติการเคมี หEองปฏิบัติการฟkสิกส. และหEองปฏิบัติการชีววิทยา เปXนตEน สำหรับ ผลงานวิจัยของคณาจารย.คณะวิทยาศาสตร.และ เทคโนโลยี ในปU 2566 มีดังนี้ การเผยแพร่ผลงานวิจัยและวิชาการ ระดับนานาชาติ ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ ผู8วิจัย แหล;งที่เผยแพร; 1. Jutaporn Chanathaworn, Chokchai Yatongchai, Saluma Samanman. Leucaena– Derived Biochar for Biodiesel Production. Molekul, Vol. 17. No. 1, March 2022: 125 – 133. ผศ. ดร.สาลูมา สมานหมาน วารสาร Molekul 2. Saluma Samanman, Nuttaporn Tepprom, Inun Yipong, Yasmee Saleah, Kholeeyoh Navani , Nifanusi Samae, Amri Hj Mohammed , Azharin Shah Abd Aziz. Rubber (Hevea brasiliensis) Seed shell Activated Carbon Preparation, Characterization and Antibacterial Activity Studies. Molekul, Vol. 17. No. 1, March 2022: 134 – 144. ผศ. ดร.สาลูมา สมานหมาน วารสาร Molekul


35 ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ ผู8วิจัย แหล;งที่เผยแพร; 3. Tohluebaji, N.; Yuennan J.; Putson, C.; Muensit, N. Improved Electroactive β Phase Nucleation and Dielectric Properties of P(VDFHFP) Composite with Al(NO3)3·9H2O Fillers. Integrated Ferroelectrics 2022, 224:1, 181-191. (ISI Q3) (01 Apr 2022) อ. ดร.นิกรือซง โตòะลือบาจิ วารสาร Integrated Ferroelectrics ระดับชาติ ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ ผู8วิจัย แหล;งที่เผยแพร; 1. กร ทักษพัฒนกุล, ตุลยพงษI ตุลยพิทักษI, ปราณี ภิญโญชีพ, พลพัฒนI รวมเจริญ, จรีรัตนI รวมเจริญ และ Philippe Daniel.การพัฒนาน้ำยางธรรมชาติ เปöนผลิตภัณฑIทางการแพทยI:การศึกษาผลของ ปฏิกิริยาการเติม ไฮโดรเจนที่มีตHอสัณฐานวิทยาของ อนุภาคน้ำยางธรรมชาติในสถานะคอลลอยดI. (2565) วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทรI ปû ที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม –เมษายน 2565. ผศ. ดร.กร ทักษพัฒนกุล วารสารมหาวิทยาลัย นราธิวาสราชนครินทรI 2. ชนะถาวร จ. . และ ภูมิวณิชกิจ ก., “อิทธิพลของ อุณหภูมิในการไพโรไลซีสตHอคุณลักษณะของไบ โอชารIสำหรับใชPเปöนตัวเรHงปฏิกิริยาเปลี่ยนไตรกลี เซอไรดIเปöนเมทิลเอสเทอรIของกรดไขมัน”, J of Ind. Tech. UBRU, ปû 12, ฉบับที่ 2, น. 57–68, ก.ย. 2022. อ.ดร.กนกวรรณ ภูมิวณิชกิจ วารสาร Journal of Ind Tech UBRU 3. ไซหนับ มะเด็ง, ป§ทมาพร ราชสุวรรณ และกิติยา ถาวโรฤทธิ์. (2565). ความหลากหลายของตัวอHอน แมลงชีปะขาว แมลงเกาะหิน และแมลงหนอน ปลอกน้ำ ในน้ำตกศรีทักษิณและน้ำตกบาเละ เขต รักษาพันธุIสัตวIปßาฮาลาบาลา จังหวัดนราธิวาส. วารสารวิทยาศาสตรIปรีดียาธร. 1(2), 26-42. ผศ. ดร.กิติยา ถาวโรฤทธิ์ วารสารวิทยาศาสตรI ปรีดียาธร 4. ฟาตีเมาะ มะแซ, วาสนา มูดอ, ป©ยะวรรณ หลีชาติ และ มนทกานตIพิมเสน. (2565). ผลของน้ำมะพรPาว และBenzyladenine ตHอการชักนํายอดรวมของ ดาวเรือง. วารสารวิทยาศาสตรIปรีดียาธร ปûที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2565. อ. ดร.ป©ยะวรรณ หลีชาติ อ. ดร.มนทกานตI พิมเสน วารสารวิทยาศาสตรI ปรีดียาธร


36 ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ ผู8วิจัย แหล;งที่เผยแพร; 5. นิกรือซง โตòะลือบาจิ, สาฟ©ตรี นาแว และอัลอา ดีลòะหI เจะมะแซ. (2565). การศึกษาหาความ เหมาะสมของสารประกอบเคมีเพื่อตรวจหารอย ลายนิ้วมือแฝงบนดPานเหนียวของเทปกาว. วารสาร วิทยาศาสตรIปรีดียาธร ปûที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2565. อ. ดร.นิกรือซง โตòะลือบาจิ อ. ดร.สาฟ©ตรี นาแว วารสารวิทยาศาสตรI ปรีดียาธร 6. สาลูมา สมานหมาน, ฟาตีฮะหI ยานยา, สุพัฒนI ศรี สวัสดิ์ และสะเราะ นิยมเดชา. (2565). ปริมาณ แคดเมียมในหมึกกลPวย หอยแครงและหอยลายที่ ขายในตลาดเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส. วารสารวิทยาศาสตรIปรีดียาธร ปûที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2565. ผศ. ดร.สาลูมา สมานหมาน ผศ. ดร.สุพัฒนI ศรีสวัสดิ์ วารสารวิทยาศาสตรI ปรีดียาธร 7. สาลูมา สามานหมาน, บิสมี หะยียูโซะ, ดร.อิรฟ§น มะแซสาอิ, อนุสา สุวรรณวงศI, อาสลัน หิเล และ Amin Fatoni. (2565). การตรึงสารสกัดมันเทศสี มHวงในฟ©ลIมยางธรรมชาติ: ศักยภาพในการ ประยุกตIใชPตรวจวัดไอออนเหล็ก. วารสาร วิทยาศาสตรIปรีดียาธร ปûที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2565. ผศ.ดร.สาลูมา สามานหมาน ดร.อิรฟ§น มะแซสาอิ อ.อนุสา สุวรรณวงศI ดร.อาสลัน หิเล วารสารวิทยาศาสตรI ปรีดียาธร 8. นิกรือซง โตòะลือบาจิ, อิบรอฮีม ซาโยะ และนูรฟา ราฮีน ลาเตะ. (2565). การผลิตกระดาษจากเศษ กระจูดผสมกระดาษเหลือทิ้งจากสำนักงานเพื่อ พัฒนาผลิตภัณฑIชุมชน. วารสารวิทยาศาสตรIปรีดี ยาธร ปûที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2565. อ. ดร.นิกรือซง โตòะลือบาจิ อ. ดร.อิบรอฮีม ซาโยะ วารสารวิทยาศาสตรI ปรีดียาธร 9. นุรอามาลี ดีนามอ, นาริสา บินหะยีดิง, รอฮานี ยู โซะ, นูอัยนี ป©, ซูไรนี โตòะนาบอ และอภิชัย มาลีกัน. (2565). ผลของระยะเวลาในการชงชาสมุนไพรตHอ ปริมาณสารสำคัญในพืชสมุนไพร 3 ชนิด. วารสาร วิทยาศาสตรIปรีดียาธร ปûที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2565. อ. ดร.นุรอามาลี ดีนามอ อ. ดร.นาริสา บินหะยีดิง วารสารวิทยาศาสตรI ปรีดียาธร


37 ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ ผู8วิจัย แหล;งที่เผยแพร; 10. ไซดี บินดาโอòะ, จิตติมา มานะการ,จารุวรรณ แดง โรจนI, โรสนี จริยะมาการและนนทกร ประชุมกา เยาะมาต. (2565). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรI เรื่อง สมการกำลัง สองตัวแปรเดียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปûที่ 2 ที่ไดPรับการสอนโดยวิธีการสอนแบบซิปปากับการ สอนแบบปกติ. วารสารวิทยาศาสตรIปรีดียาธร ปûที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2565 ดร.จิตติมา มานะการ ดร.จารุวรรณ แดงโรจนI ผศ.ดร.โรสนี จริยะมาการ ดร.นนทกร ประชุมกาเยาะมาต วารสารวิทยาศาสตรI ปรีดียาธร บุคลากรท ี่ได้รบั อนุสิทธิบัตร ผูEช;วยศาสตราจารย.ดร.กร ทักษพัฒน กุล อาจารย.สาขาฟkสิกส. ไดEรับอนุสิทธิบัตร เรื่อง กรรมวิธีการเตรียมและผลิตยางแผ;นผึ่งแหEง (Air dried sheet , ADS) และ ยางแผ;นรมควัน (Ribbed Smoke Sheet ,RSS ) ความหนืดคงที่ ดEวยสารควบคุมความหนืดชนิดไฮดรอกซีลามีน ซัลเฟต (Hydroxylamine sulfate) เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2566


3838 บทความท ี่เผยแพร่ในวารสารการพัฒนาชายแดนใต้ บทความเรื่อง “Plant Based Food : อาหารจากพืชกับการสรEางรายไดEที่ยั่งยืน” เขียน โดย ดร.มนทกานต. พิมเสน อาจารย.วาริน นารา วิทย. และ ผศ.ดร.นรารัตน. วัฒนาพันธ. ในวารสาร การพัฒนาชายแดนใตE ปUที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนมกราคม - เดือนมิถุนายน 2565 บทความเรื่อง “วิทยาศาสตร.เทคโนโลยี กับการพัฒนาเยาวชนจังหวัดชายแดนภาคใตE ภายใตEพหุวัฒนธรรม” เขียนโดย ดร.อาสลัน หิเล และอาจารย.วาริน นาราวิทย. ในวารสารการ พัฒนาชายแดนใตE ปUที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือน กรกฎาคม - เดือนธันวาคม 2565 เพื่อ ประชาสัมพันธ.การทำงานร;วมกันระหว;าง มหาวิทยาลัยกับชุมชนในทEองถิ่น บทความเรื่อง “นวัตกรรมสบู;ฆ;าเชื้อผสม สารสกัดใบสาบเสือ และน้ำผึ้งชันโรง” เขียนโดย ผศ.ดร.รักชนก ภูวพัฒน. ผศ.ดร.ฤทธิวุธ ภูวพัฒน. นางสาวปุตตรี อาแด และนางสาวตอยยีบïะ เจïะโซïะ ในวารสารการพัฒนาชายแดนใตE ปUที่ 5 ฉบับที่ 2 เพื่อประชาสัมพันธ.การถ;ายทอด เทคโนโลยีและงานวิจัยสู;ชุมชน บทความเรื่อง กินอย;างเวียดแบบฉบับ บางนรา แปรรูปเห็ดนางฟ´าสู; “เห็ดยอ” อาหาร สุขภาพจากพืช 100 % เขียนโดย ดร.มนทกานต. พิมเสน และอาจารย.วาริน นาราวิทย. ในวารสาร การพัฒนาชายแดนใตE ปUที่ 5 ฉบับที่ 2 เพื่อ ประชาสัมพันธ.การถ;ายทอดเทคโนโลยีและ งานวิจัยสู;ชุมชน


39 กิจกรรมวิจัย โครงการอบรม"การใชง้านระบบ ThaiJO สําหรับผู้แต่งบทความวารสารฯ" วันพุธที่ 13 กันยายน 2566 เวลา 13.30-16.00 น. ผูEช;วยศาสตราจารย. ดร.กิติยา ถาวโรฤทธิ์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี เปXนประธานในโครงการอบรม"การใชEงานระบบ ThaiJO สำหรับผูE แต;งบทความวารสารฯ" โดยมีวิทยากรจากงานวารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร. คือ คุณซัมซียะห. เจïะสาเมïาะ นักวิชาการศึกษาปฎิบัติหนEาที่กองจัดการงานวารสารมหาลัยฯ และ คุณปkยนุช วัจนศิริ นักวิชาการศึกษา ปฎิบัติหนEาที่กองจัดการงานวารสารมหาวิทยาลัยฯ สาขามนุษยศาสตร.และสังคมศาสตร. ซึ่งในการอบรมในครั้งนี้มีคณาจารย.และบุคลากรคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีเขEาร;วมโครงการ ณ หEอง ประชุม ST510 ชั้น 5 คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร.


40 การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 5th International Malaysia-Indonesia-Thailand Symposium on Innovation and Creativity วันพฤหัสบดีที่ 24 สิงหาคม 2566 เวลา 08.30 น. คณาจารย.คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยีเขEา ร;วมการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ THE 5TH INTERNATIONAL MALAYSIA-INDONESIATHAILAND SYMPOSIUM ON INNOVATION & CREATIVITY - (IMITSIC 2023) "Embracing Innovation and Creativity in Industrial Revolutions" รูปแบบออนไลน. ณ หEองประชุมชั้น 5 ST510 อาคารคณะ วิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี


41 41 ยนดิ ีต้อนรับ Dr. Ari Asnani S.Si.,M.Sc.,Ph.D จาก University Jenderal Soedirman จากการลงนามความร;วมมือระหว;าง มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร. กับ University Jenderal Soedirman ประเทศอินโดนีเซีย คณะ วิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี จึงไดEร;วมตEอนรับ อาจารย. Dr. Ari Asnani S.Si.,M.Sc.,Ph.D ที่ เดินทางจากประเทศอินโดนีเซียเพื่อร;วมแลกเปลี่ยน เรียนรูEงานทางดEานวิชาการ และงานวิจัยที่เกี่ยวขEอง กับคณาจารย. และนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร.และ เทคโนโลยี ในระหว;างวันที่ 27 – 30 พฤศจิกายน 2566 โดยในการเดินทางมาในครั้งนี้Dr. Ari Asnani ไดEเขEาร;วมประชุมและหารือร;วมกับผูEช;วย ศาสตราจารย. ดร.จงรัก พลาศัย นายกสภา มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร.และผูEช;วย ศาสตราจารย. ดร.ปรีชา สะแลแม อธิการบดี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร.ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 เพื่อร;วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และร;วมหารือ เกี่ยวกับการพัฒนาการเรียนการสอน และการพัฒนาศักยภาพบุคลากร นักศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษาร;วมกัน หลังจากนั้นไดEเขEาเยี่ยมชมหEองปฏิบัติการ ทางวิทยาศาสตร. ณ คณะวิทยาศาสตร.และ เทคโนโลยีโดยมีผูEช;วยศาสตราจารย. ดร.กิติยา


4242 ถาวโรฤทธิ์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี พรEอมดEวยคณะผูEบริหาร และคณาจารย.คณะ วิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี ร;วมตEอนรับ ในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2566 ไดEร;วม บรรยายในวิชา ความกEาวหนEาทางวิทยาศาสตร.และ เทคโนโลยี ในหัวขEอ Systematic Screening of Marine Actinomyces from Segara Anakan Cilacap for Pharmaceutical Activities ร;วมกับ อาจารย. ดร. อิบรอฮิม ซาโยïะ ในหัวขEอ Isolation of microorganisms in Rhizomes of Krajood (Lepironia articulata) grown in natural water and domestic waste water โดยมีผูEรับผิดชอบ วิชาคืออาจารย. ดร.รวิวรรณ วัฑฒนายน และผศ. ดร.สุพจนี แสนสุข ณ หEองประชุมชั้น 5 ST510 คณะวิทยาศาสตร.และเทคโนโลยี วันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 ไดEนำเสนอ งานวิจัยในหัวขEอ Exploration of Indigenous Botanical Colours และอาจารย.คณะวิทยาศาสตร. และเทคโนโลยี นำเสนองานวิจัยของตนเอง โดยไดEมี การแลกเปลี่ยนความรูEร;วมกัน เพื่อการร;วมมือดEาน งานวิจัยระหว;างมหาวิทยาลัยในอนาคต จากนั้น ไดEเขEาสอนนักศึกษาสาขาชีววิทยา ประยุกต. ชั้นปUที่ 4 ในหัวขEอ Application of Natural Pigments from Indigenous Resources for Products Development (Course of Biology and Local Product Development) ณ หEองประชุมชั้น 5 ST510 และในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2566 ไดEเขEา สอนนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร.ทั่วไป ชั้นปUที่ 3 และ 4 ในหัวขEอ Production, Isolation, and Characterization of Bioactive Compounds from Marine Actinomycetes. (Course of Natural Products Chemistry (General Science student program)


Click to View FlipBook Version