The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบฟอร์มที่ ๖ ปกรายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ-ผสาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by จิตติพร ปรีชา, 2020-04-15 03:57:23

รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ

แบบฟอร์มที่ ๖ ปกรายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ-ผสาน

ฝศน.2.๖

รายงานผลการศกึ ษาคน้ ควา้ อิสระ
เรือ่ ง การศกึ ษาการจดั การเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
ของครผู ู้สอนคณติ ศาสตร์ โรงเรียนบา้ นดนิ แดงสามัคคี
ดว้ ยการใช้เทคนคิ การนเิ ทศแบบชี้แนะ(Coaching)

โดย
นางจิตตพิ ร ปรชี า
ผู้ฝึกประสบการณ์นิเทศการศกึ ษา

รายงานผลการศกึ ษาคน้ คว้าอิสระนี้ เปน็ ส่วนหนง่ึ ของการฝึกประสบการณน์ ิเทศการศึกษา
กอ่ นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ าษฎรธานี เขต ๓

กิตติกรรมประกาศ

การศกึ ษาค้นคว้าอิสระฉบับนส้ี ำเร็จลุล่วงไปได้ดว้ ยความกรุณาและความช่วยเหลือเป็นอย่าง
ดยี ิ่งจาก ดร.ชศู กั ด์ิ ชชู ่วย ผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฎร์ธานี เขต 1
นางอรุณศรี จงจิตต์ ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจั ดการศึกษา และ
ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 ทุกท่านท่ีให้คำแนะนำ
เก่ยี วกับรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อิสระเป็นอย่างดี

ขอขอบคุณ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดินแดงสามัคคี ตลอดจนคณะครู นักเรียน และ
บุคลากรทีเ่ กย่ี วข้อง ทีอ่ ำนวยความสะดวกในการจดั ทำการศกึ ษาค้นคว้าอิสระฉบบั น้ี,ให้สำเรจ็ ลุล่วงไป
ดว้ ยดี

คุณค่าและประโยชน์ของการศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้ ผู้ศึกษาขอมอบเป็นเครื่องบูชา
พระคุณ บิดา มารดา บูรพาคณาจารย์และผู้มีพระคุณทกุ ท่าน ที่มีส่วนสำคญั ในการวางรากฐานชีวิต
และการศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพ จนผศู้ ึกษาสำเรจ็ การศกึ ษาและมคี วามเจริญก้าวหน้าในหน้าท่กี ารงาน

จิตตพิ ร ปรชี า
ผฝู้ ึกประสบการณ์นิเทศการศกึ ษา



ชอ่ื เรีอ่ ง : การศกึ ษาการจดั การเรียนร้คู ณิตศาสตรข์ องครผู สู้ อนคณติ ศาสตร์
ผศู้ กึ ษา : โรงเรยี นบ้านดินแดงสามคั คี ด้วยการใชเ้ ทคนคิ การนเิ ทศแบบช้ีแนะ(Coaching)

จิตตพิ ร ปรชี า

บทคัดย่อ

การศึกษาค้นคว้าอิสระบี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของ
ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านดินแดงสามัคคีด้วยเทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching) 2)

เพื่อศึกษาความพงึ พอใจในการนิเทศการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ดว้ ยการใช้เทคนิคการนิเทศแบบ
ชี้แนะ(Coaching) ประชากร ได้แก่ ครูโรงเรียนบ้านดินแดงสามัคคี จำนวน 12 คน กลุ่มตัวอย่าง

ได้แก่ ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านดินแดงสามัคคี จำนวน 3 คน โดยเลือกแบบเจาะจง
(Purposive Sampling) เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ได้แก่ แบบบันทกึ การนิเทศ ติดตาม
การจัดการเรยี นการสอนคณิตศาสตร์ วิเคราะหข์ อ้ มูลด้วยสถิตพิ ืน้ ฐาน ได้แก่ คา่ เฉล่ยี

ผลการศกึ ษาพบว่า
๑. ผลการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านดินแดง

สามัคคีด้วยการใช้เทคนิคการนิเทศแบบชีแ้ นะ (Coaching ) ดังนี้ ด้านการเตรียมการจัดการเรียนรู้
มีค่าเฉลี่ย ๖๐.๐๐ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ย ๖๖.๖๗ ด้านการใช้สื่อเทคโนโลยีการ
จัดการเรียนรู้ มีค่าเฉลยี่ ๖๐.๐๐ และดา้ นการวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้ มคี า่ เฉลยี่ ๕๘.๓๔

๒. ผลการศึกษา๑. ความพึงพอใจในการนิเทศการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เม่ือ
พิจารณาโดยภาพรวมพบว่า มีคา่ เฉลี่ยอย่ใู นระดบั มาก ( X = 4.๒๒)

สารบัญ ค

กติ ตกิ รรมประกาศ หน้า
บทคดั ย่อ
สารบัญ ก
สารบัญภาพ ข
สารบัญตาราง ค
บทท่ี 1 บทนำ ง

ความเปน็ มาและความสำคญั
วตั ถุประสงค์ 1
ขอบเขตของการศกึ ษา 2
ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะๆไดร้ บั 2
บทที่ 2 ทฤษฎแี ละเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3
การจดั การเรียนร้คู ณิตศาสตร์
การนิเทศการศึกษาแบบ PDCA 4
การนเิ ทศการสอนแบบช้แี นะ (Coaching) 6
ทฤษฎีทเ่ี ก่ยี วข้องกับความพึงพอใจ 9
บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ การศึกษา 17
ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง 20
ตวั แปรทศี่ กึ ษา 20
เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการศึกษา 20
การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 20
บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา 20
ผลการศึกษา
บทท่ี 5 สรุปผลอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 23
สรปุ ผล 13
อภิปรายผล 27
ขอ้ เสนอแนะ 27
บรรณานกุ รม 27
ภาคผนวก 29
แบบบันทกึ การนเิ ทศ ติดตาม การจดั การเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ 31
32

สารบญั ภาพ ง

ภาพที่ หน้า
ภาพที่ ๑ กรอบแนวคดิ การวจิ ัย 3
ภาพที่ ๒ แผนภมู กิ ระบวนการ PDCA ๘



สารบัญตาราง

ตารางท่ี หน้า

ตาราง ๑ แสดงผลการจัดการเรียนรู้ของครูผสู้ อนคณติ ศาสตรด์ า้ นการเตรยี มการ ๒๓
จัดการเรยี นรู้ ๒๓
๒๔
ตาราง ๒ แสดงผลการจัดการเรยี นร้ขู องครูผสู้ อนคณติ ศาสตร์ ดา้ นการจัดกิจกรรม ๒๔
การเรียนรู้ ๒๕

ตาราง ๓ แสดงผลการจัดการเรยี นรู้ของครผู ู้สอนคณติ ศาสตร์
ดา้ นการใช้ส่อื เทคโนโลยีการจัดการเรยี นรู้
ตาราง ๔ แสดงผลการจัดการเรียนรู้ของครผู สู้ อนคณิตศาสตร์

ดา้ นการวดั และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ตาราง ๕ แสดงผลการศกึ ษาความพงึ พอใจในการนิเทศการจดั การเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์

1

บทที่ 1
บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญ
การศึกษามีบทบาทและมีความสำคญั อย่างย่ิงตอ่ การพฒั นาประเทศโดยเฉพาะในโลกยุคใหม่

นั้นทรัพยากรท่ีสำคญั ทีส่ ุดคอื ทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถและศักยภาพในการผลิตของ
แต่ละประเทศขนึ้ อยูก่ บั องค์ความรู้ของคนในชาตปิ ระเทศทพี่ ลเมืองมกี ารศึกษาดีย่อมได้เปรียบในการ
แข่งขันเสมอไม่วา่ จะเปน็ ดา้ นเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ดังนั้นแผนการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม
แห่งชาติจึงเน้นเร่ืองการพัฒนาคนหรือยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพฒั นาโดยมีความเชื่อว่าหากคน
ไดร้ บั การพัฒนาไดร้ บั การศึกษาที่ดีท่ีสุดควรจะเป็นปัจจัยชี้ขาดความสำเร็จของการพัฒนาประเทศทุก
ด้าน (อำรุง จันทวานิช และไพบูลย์ แจ่มพงษ์, 2542: 1 – 12) นอกจากนี้การศึกษายังเป็น
กระบวนการสำคัญในการพฒั นาคนทั้งในด้านความรู้ความคดิ ความสามารถ รวมทงั้ พฤตกิ รรมเจตคติ
ค่านิยมและคุณธรรมตั้งแต่รากฐานชีวิตและต่อเนื่องตลอดชีวิต (สำนักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). 2557: 3)

การนิเทศการศึกษาและการนิเทศการสอนเป็นเครื่องมือสำคัญที่ส่งเสริมและพัฒนาการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนและการปฏิบัติงานของครู ซึ่งจะช่วยให้การดำเนินการนิเทศบรรลุ
เปา้ หมายในการนิเทศ เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษานั้นผนู้ ิเทศหรือผู้ทำหน้าท่ีนิเทศจะต้องมีความรู้มี
ความเชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานร่วมกับครูและบุคลากรทางการศึกษา
เพื่อให้สามารถปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ การนิเทศ
การศึกษามีความซับซ้อนเพราะเป็นภารกิจที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ จะต้องพัฒนาบุคคลเพื่อให้มี
ประสิทธิภาพมศี กั ยภาพ สามารถดำรงชีวติ อยู่ในสังคมได้อย่างสนั ติสขุ การกำหนดจุดมุง่ หมายของการ
นิเทศที่ชัดเจนจะเป็นแนวทางในการปฏบิ ัติให้บรรลุจุดมุ่งหมายนัน้ ได้อย่างมีประสิทธิผล ยิ่งกำหนด
จุดมุ่งหมายได้ชัดเจนเท่าใด ยิ่งทำให้มองเห็นแนวทางการปฏิบัติและเป้าหมายได้ชัดเจนขึ้นเท่าน้ัน
กระบวนการนเิ ทศภายในโรงเรียนเปน็ การดำเนนิ การนิเทศท่ีมีการดำเนนิ การตามลำดบั ข้ันตอน โดย
แต่ละขั้นตอนของการปฏิบัติต้องกำหนดบุคลากรให้ชัดเจนเพือ่ เปน็ แนวทางการปฏิบตั ิ และสามารถ
ติดตามและประเมินผลได้ เพื่อการปรับปรุงให้เหมาะสมก่อนที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไป ซ่ึง
กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนจะยึดแนวทางของกระบวนการนิเทศการศึกษาทั่วไปเป็นหลัก
ร่วมกันกับกระบวนการนเิ ทศการสอนในชน้ั เรยี น การนเิ ทศจะเนน้ ความร่วมมือกนั ระหว่างผู้ทำหน้าที่
ช่วยเหลือและผู้รับการช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และไม่ได้เกี่ยวข้องกับการ
ประเมนิ ผลครแู ตเ่ นน้ คณุ ภาพของครูทั้งสองฝ่ายทง้ั ผู้ทำหน้าที่ชว่ ยเหลือแนะนำและผูร้ ับการช่วยเหลือ
แนะนำ (วชั รา เล่าเรยี นดี, 2553: 1 – 27)

สำหรบั วงการศกึ ษาไทยใหค้ วามสำคัญกบั การจดั การศกึ ษาที่เน้นการให้ความรู้โดยครูเป็นผู้รู้
และเด็กเป็นผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้มาเป็นระยะเวลายาวนาน มีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนการจดั
การศึกษาใหม่โดยให้มีจุดเน้นในการสร้างทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนทักษะการทำงานและสังคม
ควบคไู่ ปกบั การปลกู ฝงั อุปนิสัยท่ดี ี ครูจะตอ้ งเปล่ียนบทบาทจากครผู ู้สอนเป็นครูฝึกท่ีสามารถจัดการ
เรียนรเู้ พ่ือพัฒนาผเู้ รยี น (มลู นธิ ิสยามกัมมาจล, 2559) คุณภาพของผเู้ รียนข้ึนอยกู่ ับคุณภาพของครู

2

จากการศึกษาผลการทดสอบระดบั ชาติ O–NET ปีการศึกษา 2561 ของสำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธ์ านี เขต 1 ในภาพรวม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ผลการ
สอบกลมุ่ สาระคณติ ศาสตร์ มีคะแนนเฉลย่ี ตำ่ กว่าระดับชาติ (คลังขอ้ มลู ขนาดใหญ่ : 2563) และจาก
ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2561 ของนกั เรียนโรงเรยี น
บ้านดินแดงสามัคคี สูงกว่าคะแนนเฉลีย่ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับ
จังหวัด แต่ไม่มีการพัฒนาจากปีการศึกษา 2559 (รายงานการประเมินตนเองโรงเรยี นบ้านดินแดง
สามัคค,ี ๒๕๖๑)

เมื่อทำการวิเคราะห์สภาพปัญหาของการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนบ้านดินแดงสามัคคี
พบว่า ครใู ช้เทคนคิ การจดั การเรยี นรู้ที่ไม่หลากหลาย กิจกรรมแลกเปล่ยี นเรยี นร้รู ะหว่างครมู ีนอ้ ยและ
ไม่ต่อเนื่อง ดังน้นั หากครูไดม้ ีโอกาสแลกเปลยี่ นหรือแบง่ ปนั บทบาทของการเป็นพเ่ี ลี้ยง (Mentor) ท่ี
ปรึกษา (Advisor) หรือผู้เชี่ยวชาญ (Specialist) ซึ่งนำไปสู่การชี้แนะการปฏิบัตใิ ห้เกดิ การปรับปรงุ
พัฒนาการสอนและความสัมพันธ์ภายในโรงเรียน ครูมีโอกาสพูดคุยสนทนากันเพื่อสะท้อนการ
ปฏบิ ัตงิ านการสอนและการเรียนรู้ของนกั เรียน จะทำใหค้ รเู ขา้ ใจในกระบวนการเรียนรู้ และตรวจสอบ
คุณภาพการปฏิบัตงิ านของครแู ละการเรียนรู้ของนักเรยี นได้อย่างเปน็ รูปธรรม

ดังนั้น ผู้ศึกษาได้สนใจการศึกษาการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์
โรงเรียนบ้านดินแดงสามัคคีด้วยเทคนิคการนเิ ทศแบบชี้แนะ(Coaching) ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนสามารถ
เกิดองค์ความรู้และเกิดประโยชน์สูงสุดกับนักเรียนได้มีโอกาสเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ เพื่อพัฒนา
ศกั ยภาพของครผู ู้สอนคณิตศาสตร์ ตอ่ ไป

วัตถปุ ระสงค์
1. เพือ่ ศกึ ษาผลการจดั การเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ของครผู ู้สอนคณิตศาสตร์ โรงเรยี นบ้านดนิ แดง

สามัคคีด้วยเทคนคิ การนิเทศแบบช้แี นะ (Coaching)
๓. เพ่อื ศึกษาความพึงพอใจในการนิเทศการจดั การเรียนรู้คณิตศาสตร์ด้วยการใช้เทคนิคการ

นิเทศแบบช้ีแนะ(Coaching)

ขอบเขตของการศกึ ษา
๑. ขอบเขตด้านประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง ประชากร ไดแ้ ก่ ครโู รงเรยี นบ้านดนิ แดงสามคั คี จำนวน

1๒ คน กลุม่ ตัวอยา่ ง ได้แก่ ครูผ้สู อนคณติ ศาสตร์ โรงเรยี นบา้ นดนิ แดงสามคั คี จำนวน ๓ คน โดย
เลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling)

3

2. ขอบเขตตวั แปร
ตัวแปรต้น ได้แก่ เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ(Coaching) ตัวแปรตาม ได้แก่ การจัดการ

เรียนรู้คณิตศาสตร์ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านดนิ แดงสามัคคี และความพึงพอใจในการ
นิเทศการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์

3. ขอบเขตด้านระยะเวลา
ระยะในการศกึ ษาคน้ คว้าระหว่างวนั ที่ 20 มกราคม - ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓

กรอบแนวคดิ ในการศึกษา ตวั แปรตาม
ตัวแปรตน้

เทคนิคการนเิ ทศแบบช้แี นะ ๑. การจดั การเรียนรู้คณิตศาสตร์
(Coaching) ของครูผูส้ อนคณิตศาสตร์ โรงเรยี น

บ้านดินแดงสามคั คี
๒. ความพึงพอใจในการนเิ ทศการ

จัดการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์

ภาพท่ี ๑ กรอบแนวคิดในการศกึ ษา

ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั
๑. ไดแ้ นวทางในการศึกษาผลการจัดการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์

โรงเรียนบา้ นดนิ แดงสามคั คี ด้วยการใช้เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ(Coaching) อย่างมีคณุ ภาพ
2. ครูมคี วามพงึ พอใจในการจดั การเรยี นรู้คณิตศาสตร์ด้วยการใช้เทคนิคการนิเทศแบบช้ีแนะ

(Coaching)

4

บทที่ 2
ทฤษฎแี ละเอกสารทเี่ กีย่ วข้อง

การศึกษาในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ เพื่อผลการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของครูผู้สอน
คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านดินแดงสามัคคีด้วยเทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching) และศึกษา
ความพึงพอใจในการนิเทศการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ด้วยการใช้เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ
(Coaching) ผศู้ กึ ษาไดศ้ กึ ษาเอกสารตามหัวข้อตอ่ ไปน้ี

๑. การจดั การเรียนรู้คณิตศาสตร์
๒. กระบวนการนิเทศการศกึ ษาแบบ PDCA
๓. การนเิ ทศแบบให้คำช้แี นะ (Coaching)
๔. ทฤษฎีทีเ่ กีย่ วข้องกบั ความพึงพอใจ

การจดั การเรียนรู้คณติ ศาสตร์
ความหมายของคณติ ศาสตร์
พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.2542 ให้ความหมายไว้ว'าคณติ ศาสตร์ เปน็ วิชาว่า

ดว้ ยการคํานวณ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2546: 214)
ฉวีวรรณ เศวตมาลย์ (2545: 15-16) กล่าวไวว้ ่า Bertrund Russell (1872-1970) นัก

ปรัชญาทางคณติ ศาสตร์ชาวอังกฤษได้ใหค้ วามหมายของคณติ ศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1901 วา่ “เราอาจ
นิยามคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เราไม่เคยรู้ว่าเรากำลังพูดอะไรอยู่ หรือแม้กระทั่งไม่รู้ว่าสิ่งที่เรากำลัง
กล่าวอยู่น้ันเป็นจรงิ หรอื ไม่” สว่ นMorris Klins ศาสตราจารย์ทางคณติ ศาสตร์ ได้เขยี นไว้ เม่อื ปคี .ศ.
1953 ว่า “คณติ ศาสตร์เปน็ องค์ความรู้ท่ีไม่มีอะไรเป็นจรงิ ” ซึง่ ความคิดของ Klins ได้ก่อใหเ้ กิด
ปฏิกริ ยิ าโต้กลบั จาก Nicolas D. Goodman ซ่งึ เขียนไวใ้ นวารสารคณติ ศาสตร์อเมริกนั รายเดอื น เมือ่
ปี ค.ศ. 1979 ว่าความคิดดังกล่าวเปน็ ความคดิ ท่ผี ดิ ซ่งึ ถ้าแพร่หลายออกไปกจ็ ะไม่เกดิ ผลดีในแง่ของ
ความเคารพศรัทธาของเราเองและของบุคคลอ่ืนๆ ต่อวชิ าคณติ ศาสตร์ของเราในขณะท่ี Ernst
Snapper ได้เขยี นไว้ในหนังสือชอื่ What is Mathematics เม่ือปี ค.ศ. 1979 ว'า“คณิตศาสตร์
ประกอบด้วยทกุ สิ่งทุกอย่างท่สี ามารถสร้างหรอื กาํ หนดขนึ้ และพสิ ูจน์ได้โดยผ่านสอื่ ทางภาษาและ
สจั พจน์ของ ZF” นิยามน้ีได้ก่อใหเ้ กดิ ขอ้ สงสัยต่างๆ เช่น ZF คอื อะไร ทําไม ZF จึงมบี ทบาทใน
คณติ ศาสตร์และเป็นอสิ ระจากความขดั แย้งกัน ซ่ึงยังไม่มีผู้ใดพิสจู น์ความไม่ขัดแยง้ ของ ZF อยา่ งไรก็
ตาม อาจสรปุ ได้ว่า คณิตศาสตร์เป็น

1. วชิ าทเ่ี ก่ยี วกบั ความคดิ อย่างมีเหตุผล เราใช้คณติ ศาสตร์พสิ ูจน์สิง่ ต่างๆ อย่างมีเหตุผลว่า
ความคดิ อย่างมีเหตผุ ลว่าความคิด คณิตศาสตร์จะตอบคําถามว'า “ทาํ ไม” มากกว่า “อย่างไร” การ
คํานวณเป็นเพยี งรากฐานที่จะนําไปสู่การคดิ อย่างมเี หตผุ ลซ่ึงเป็นเน้ือแทข้ องคณิตศาสตร์

2. ภาษาอย่างหนึ่งทีก่ ําหนดคําศพั ท์ สญั ลกั ษณ์ท่ีรดั กุมและส่ือความหมายได้ตรงกันเพือ่ แทน
ความคดิ (ideograms) จงึ เป็นเคร่ืองมอื ที่ใช้ฝึกสมองในการคดิ คํานวณและแก้ป.ญหา ตลอดจนพสิ ูจน์
สง่ิ ทย่ี ุ่งยากและซบั ซัอน

3. การศกึ ษาท่เี ป็นระบบแบบแผน มีข้อมลู ปอ้ นเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์

5

4. โครงสร้างทีร่ วมความรู้เป็นเหตุผลเริ่มจากโลกทเี่ ป็นรปู ธรรมเข้าสู่โลกทเี่ ป็นนามธรรมโดย
กําหนด อนยิ าม นิยาม สัจพจน์ เพ่ือสร้างเป็นทฤษฎีหรือกฎเกณฑ์ใหมๆ่ แล้วนาํ ไปใช้ในธรรมชาติ

หลักการและขน้ั ตอนการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
หลกั การสอนคณิตศาสตร์ที่เป็นหลักการท่ีดี ดังนี้ (Rays และคณะ อ้างถึงใน สถาบันส่งเสริม

การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2554: 12-22)
หลักการที่ 1 การให้นักเรียนมีส่วนร่วมอย่างกระตือรอื ร้น การมีส่วนร่วมอย่างกระตือรือร้น

จะช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้ทั้งในด้านกว้างและด้านลึก สามารถมองเห็นความสมเหตุสมผลของสิ่งท่ี
กําลังศึกษา ซึ่งจะนําไปสู่การพัฒนาความเข้าใจทางคณิตศาสตร์ได้ในที่สุด การมีส่วนร่วมอย่าง
กระตือรือร้น อาจทําได้ด้วยการจัดกิจกรรมที่มีการลงมือปฏิบัติ แต่จะต้องเป็นการปฏิบัติที่มีการใช้
ความคดิ เข้ามาเก่ียวข้องในการลงมอื ทําด้วย ซง่ึ สามารถกระทําได้ในหลายรูปแบบ ไม่วา่ จะเป็นการมี
ปฏิสัมพันธ์กับครูหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน การมีประสบการณ์ตรงจากการใช้สื่อปฏิบัติหรือการใช้
อุปกรณ์การเรียนรู้ เช่น หนังสือเรียนหรือเทคโนโลยี ในการสอนประจําวันของครูสิ่งหนึ่งที่ท้าทาย
ความสามารถของครู ก็คือ การจัดเตรียมประสบการณ์ที่กระตุ้นและส่งเสริมนักเรียนให้มีส่วนร่วม
อย่างกระตือรอื ร้นน่ันเอง

หลักการที่ 2 การเรียนรู้คือการพัฒนา การเรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธิผลน้นั ไม่ได้เกิดขึ้นได้เอง นักเรยี นจะเรียนรู้ได้ดี เม่อื เน้ือหาทางคณติ ศาสตร์ที่เรียนนัน้ มีความ
เหมาะสมกับพัฒนาการของนักเรียนในรูปแบบที่ทําให้มีความสนุกสนานและน่าสนใจ กลุ่มที่มี
ทรรศนะเกี่ยวกับพัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียนที่มีส่วนใกล้เคียงกับการที่จะรับรู้หรือค้นพบ
ความรทู้ ่คี รสู อนให้ ได้เสนอแนะว่านกั เรยี นมคี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งมากในการพัฒนาและความพรอ้ ม
ที่จะเรียนรู้ ดังนั้นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 บางคนอาจสามารถเข้าใจการบวก และมีความรู้
เกี่ยวกับข้อเท็จจริงพื้นฐานต่างๆ ก่อนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 บางคน ในทํานองเดียวกัน
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นบางคน อาจจะพบความยากลําบากในการนึกสร้างภาพวัตถุในใจ
นักเรียนเหล่านั้นอาจต้องการที่จะจับต้องและมองเห็นวัตถุนั้นจริงๆ ก่อนที่จะสามารถสร้าง
ความหมายจากสิ่งเหล่านั้น ในขณะที่เพื่อนร่วมชั้นอีกหลายๆ คนสามารถนึกสร้างภาพวัตถุในใจได้
โดยง่ายครูมีบทบาทสําคัญอย่างยิ่งในการตัดสินเกี่ยวกับระดับพัฒนาการของนกั เรียน ตลอดจนการ
ตัดสนิ ใจเก่ียวกับส่วนท่ีใกล้เคียงกับการที่จะรับรู้หรอื คน้ พบตามท่ีครูสอนให้ การตัดสินใจดังกล่าวจะ
ส่งผลในการสร้างสภาพสิ่งแวดล้อมของห้องเรียน ให้มีความเหมาะสมกบั การที่จะกระทําการสํารวจ
ทางคณิตศาสตร์ที่เหมาะสมกับระดับของพัฒนาการของนักเรียน นอกจากนี้ครูยังจะต้องเป็นผู้ให้
คําแนะนําที่จําเป็นและช่วยให้นักเรียนมองเห็นความสัมพันธ์รู้จักสร้างการเชื่อมโยง ตลอดจนการ
พดู คยุ เกย่ี วกบั คณิตศาสตร์ไดด้ ีอกี ดว้ ย

หลักการที่ 3 การเรียนรู้เกิดจากความรู้ที่มีมาก่อนแล้ว ครูจะต้องจดั การเรียนรู้คณิตศาสตร์
อย่างเป็นระบบ มีความเหมาะสมและสามารถทําให้นักเรียนเข้าใจได้ เนื่องจากคณิตศาสตร์เป็นทั้ง
ความรู้ทเ่ี ป็นมโนทัศน์และความรู้ที่เปน็ วิธกี าร ซ่ึงความท้าทายท่ีเกิดขึ้นสําหรับนกั เรียนน้ันไม่ใช่เพียง
แค่การพัฒนาความรู้ทั้งสองอย่างดังกล่าว แต่หากเป็นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์
ระหว่างความรู้ทั้งสองอย่างนั้นด้วย ซึ่งความรู้ที่มีอยู่เดิมมีความสําคัญต่อกระบวนการเรียนรู้

6

คณิตศาสตร์มาก เช่น การพยายามประมาณระยะทางเป็นกโิ ลเมตรคงไร้ประโยชน์ หากนักเรยี นไม่มี
ความรู้เดิมว่ากิโลเมตรเป็นอะไร ตามหลักการเรียนรู้แบบบันไดเวียน (spiral approach) จะทําให้
นกั เรยี นมีโอกาสมากมายที่ จะพัฒนาและขยายมโนทัศน์ใหก้ ว้างหรือลึกข้ึนไปเรื่อย ๆ ตามช่วงเวลาท่ี
เหมาะสม โดยท่ีการเรยี นรู้ แบบนีจ้ ะมกี ารรวบรวมความรู้และการสร้างการเรียนรู้ใหม่จากการเรียนรู้
เดิม อันเป็นผลช่วยให้ นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โดยการเพิ่มระดบั ของความยุ่งยากและ
ซบั ซ้อนในสิ่งท่เี รยี นขนึ้ ไป ได้เรือ่ ย ๆ เช่น ในเรือ่ งการวดั มุม ซ่งึ เป็นเรือ่ งท่ีนกั เรียนชั้นประถมศึกษามี
ความคุ้นเคยและรู้จักมาแล้ว ในระดับหนึ่ง และเมื่อสอนเนื้อหาที่เกี่ยวกับ“มุม” ในระดับที่สูงข้ึน
เนื้อหามีความละเอยี ดและซับซ้อน มากขึ้น นักเรียนก็สามารถนํามโนทัศน"เกี่ยวกับการวัดมุมที่มีอยู่
เดมิ มาเป็นฐานในการเรียนรู้เนื้อหาที่ ซับซ้อนขึน้

หลักการที่ 4 การสื่อสารมีส่วนสําคัญในการสร้างความเข้าใจ การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข้อเท็จจริงต่างๆ โดยการปฏิบัติสามารถนําไปสู่โอกาสทีห่ ลากหลายในการคิด การพูดและการฟัง ใน
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ด้วยการพูด การอธิบายเก่ยี วกับคณิตศาสตร์ การคาดการณ์และการ อภิปราย
การแสดงความคิดของนักเรียนโดยใช้วาจาหรือการเขียน เป็นการกระตุ้นให้เกิดความเข้าใจ อย่าง
ลึกซึ้ง การสื่อสารโดยการปฏิบัติเช่นนี้ล้วนเป็นสิ่งที่จําเป็นที่ครูจะต้องจัดให้มี และครูจะต้อง
ระมดั ระวังเกยี่ วกับความเคร่งครัดในการใช้ภาษาคณิตศาสตร์อย่างถกู ต้องก่อนวัยอันควร นกั เรียนใน
ทุกระดับชั้นควรรู้จักสื่อสารด้วยการพูดเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ก่อนการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ด้วย
สัญลักษณ์หรือการเขียน สําหรับกระบวนการการเรียนรู้นั้น การติดต่อสื่อสารระหว่างนักเรียนกับ
นักเรียน และ ระหว่างครูกับนักเรียนล้วนมีความสําคัญทั้งส้ิน การพูดเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ระหว่าง
นักเรียนด้วย กันเอง ทําให้เกิดโอกาสมากมายในการอธิบาย การพิสูจน์ข้อเท็จจริง และการ
แลกเปลี่ยนวิธีการคิด ซึ่งบ่อยครั้งทีค่ รูได้มองขา้ มการสนทนาพูดคยุ ทางคณิตศาสตร์ระหว่างนักเรยี น
กับนักเรียน ในชั่วโมง เรียนคณิตศาสตร์ครูควรจะกระตุ้นและสนับสนุนให้นักเรียนได้สื่อสารกันเอง
มากข้นึ ไม่วา่ ด้วยการ พูดคยุ การเขยี นและการมีส่วนร่วมในกจิ กรรมของชัน้ เรียน

หลักการที่ 5 คําถามที่ดีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ ในชั้นเรียนคณิตศาสตร์ ครู นักเรียนและ
เพื่อนนักเรียนด้วยกัน ควรมีโอกาสที่จะถามคําถามซึ่งกันและกัน คําถามเป็นส่วนประกอบที่สําคัญ
มากในกระบวนการเรียนรู้ ครูจะต้องรู้ว่าเมื่อไรควรถามคําถาม และคําถามอะไรที่ควรถาม ครูยัง
จะต้องรู้อีกว่า เมอ่ื ไรจงึ จะต้องคําถาม และเม่ือไรจงึ จะถามคําถามได้อีก ซง่ึ คาํ ถามครั้งหลังนี้อาจเป็น
คาํ ถามเพ่ือช่วยใหส้ ามารถตอบคาํ ถามก่อนหน้าน้ไี ด้

กระบวนการนิเทศการศกึ ษาแบบ PDCA
การนิเทศการศึกษา เป็นงานทีเ่ กี่ยวข้องกับการให้คำแนะน า ปรับปรุง และพัฒนาบุคลากร

ใหม้ ีประสทิ ธิภาพในการปฏิบัตงิ าน ดังนน้ั การดำเนินการนิเทศการศกึ ษาหรือการนเิ ทศการสอน จึงมี
ความสำคญั ดังท่ีวชั รา เลา่ เรียนดี (๒๕๕๕ : ๓) ได้กลา่ วว่า การนเิ ทศการศึกษาต้องเปน็ ความร่วมมือ
กนั ของบคุ ลากรทกุ ฝา่ ยเพอื่ เปา้ หมายเดยี วกัน คือ คณุ ภาพการศกึ ษาและคณุ ภาพผเู้ รียน ซง่ึ ผ้ศู กึ ษาจะ
นำเสนอเน้อื หาสาระดงั น้ี

7

ความหมายการนิเทศการศกึ ษา
นักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายและเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษาไว้
ดังนี้
สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (๒๕๔๐ : ๑) ได้ให้ความหมายของการ
นิเทศการศึกษาไว้ว่า การนเิ ทศการศึกษา คือ การท่ผี นู้ เิ ทศใช้กระบวนการกระตุ้น ยั่วยุ ทา้ ทาย ริเร่มิ
รว่ มคิดร่วมทำ สนบั สนนุ ให้มกี ารพฒั นาคุณภาพของนกั เรยี นตามความจำเปน็ ของการพัฒนาโดยผ่าน
ครูและผูบ้ ริหารโรงเรียน
สมลกั ษณ์ พรหมมีเนตร ( ๒๕๔๔ : ๒๑) สรุปได้วา่ ความหมายของการนิเทศการศึกษาน้นั มิ
อาจจะกำหนดให้แนน่ อนตายตัวลงไปได้ เพราะมีความหมายหลายประการทงั้ ในวงกว้างและ
วงแคบ การที่จะกำหนดว่าการนิเทศการศึกษา คืออะไรนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับแนวความคิด ความรู้
ประสบการณ์ของแต่ละบุคคลซึ่งแตกต่างกัน อย่างไรก็ตามถ้าจะกล่าวโดยรวมการนิเทศการศึกษา
น่าจะหมายถึงการกระตุ้นให้การทำงานประสบผลสำเร็จโดยผ่านตัวกลาง เช่น สื่อการเรียนรู้
ระบบงาน ระยะเวลาการทำงานหรือบุคคลอื่น เช่น ครู ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์หรือผู้เกี่ยวข้องกับ
การศกึ ษาหรอื อาจกลา่ วได้อีกนัยหน่ึงเป็นกระบวนการทำงานและความรว่ มมือระหว่างผู้นเิ ทศกับผู้รับ
การนิเทศเพือ่ ประสทิ ธภิ าพสูงสดุ ในการสอนของครแู ละการเรียนของนกั เรียน
ชาญชัย อาจินสมาจาร (๒๕๔๗ : ๗) ได้สรุปความหมายของการนิเทศการเรียนรู้ว่า เป็น
กระบวนของการทำงานกับครูเพ่ือปรับปรุงการเรียนรู้ในชั้นเรียนเพื่อให้มีประสิทธิผล ผู้นิเทศต้องใช้
ความรู้ของการจัดองค์กร ภาวะผู้นำ การสื่อความหมายและหลักการสอน ในขณะที่เขาทำงานกบั ครู
ในชัน้ เรยี นและปรับปรงุ การเรยี นรู้โดยเพ่ิมผลสมั ฤทธข์ิ องนักเรยี น
ดิเรก ศรีวะโสภา (๒๕๔๘ : ๓) ได้ให้ความหมายการนิเทศการศึกษาหรือการนิเทศภายใน
โรงเรียน หมายถึง กระบวนการทำงานร่วมกันระหว่างผู้นิเทศและครูในการพัฒนาการเรียนรู้ให้เกิด
ประสิทธิภาพอันจะส่งผลตอ่ คุณภาพการศึกษา
วีระพันธ์ พูลพัฒน์ (๒๕๔๘ : ๗) กล่าวว่า การนิเทศการศึกษาที่เหมาะสมกับการบริหาร
การศึกษาในยุคปัจจุบันน่าจะหมายถึง ความพยายามของผู้เชี่ยวชาญในการที่จะเข้าไปช่วยเหลือให้
คำปรึกษาแนะนำครู อาจารย์เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในด้านการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตร โดยต้องได้รับความร่วมมือร่วมใจจาก
ผู้เกยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยบนพ้นื ฐานของความสมั พันธ์ท่ดี รี ะหว่างผใู้ ห้การนิเทศและ ผูร้ ับการนิเทศ
อัญชลี โพธิ์ทอง (๒๕๔๙ : ๖๖) ให้ความหมายของการนิเทศการศึกษา หมายถึง การชี้แจง
การแสดง หรอื การจำแนกเกยี่ วกับการเลา่ เรียน การฝกึ ฝน และการอบรม
วัชรา เล่าเรียนดี (๒๕๕๕ : ๓ ) ให้ความหมายของการนเิ ทศการศกึ ษาไวว้ ่า เปน็ กระบวนการ
ปฏิบัติงานร่วมกันระหวา่ งผู้ให้การนิเทศหรือผูน้ ิเทศและผู้รับการนิเทศ เพื่อที่จะพัฒนาหรือปรับปรุง
คุณภาพการจัดการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ของครูเพื่อให้ได้มาซึ่งประสิทธิผลในการเรียนของ
นกั เรียน
แฮร์ริส (๑๙๘๕ : ๑๐ -๑๒) ได้กล่าวว่าการนิเทศการศึกษา คือ การกระทำใด ๆ ที่บุคลากร
ในโรงเรียนกระทำต่อนักเรียนและสิ่งต่าง ๆ ในโรงเรียน เพื่อรักษามาตรฐานหรือเปลี่ยนแปลง

8

กระบวนการเรียนรู้ภายใต้ระเบยี บแบบแผน อำนวยความสะดวกแก่การสอนให้พัฒนายิ่งขึน้ และมุง่
ให้เกดิ ประสิทธผิ ลในด้านการสอนเป็นสำคัญ

กู๊ด (๑๙๗๓ : ๕๗๔) ได้ให้ความหมายว่าการนิเทศการศึกษา คือ ความพยายามทุกวิถีทาง
ของผทู้ ่ที ำหน้าที่นเิ ทศการศกึ ษาทจ่ี ะชว่ ยแนะนำใหแ้ กค่ รูและบุคลากรทางการศกึ ษาไดร้ จู้ กั ปรับปรงุ

การสอนจากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า การนิเทศการศึกษามีเป้าหมายหลักคือ คุณภาพ
การศึกษาที่มีตัวบ่งชี้ท่ีสำคัญ คือ ศักยภาพของนักเรยี นที่ไดร้ ับการพัฒนาอย่างเตม็ ศักยภาพ ซึ่งเป็น
การทำงานร่วมกันระหว่างครูและผู้ทำหน้าที่นิเทศ เช่น ผู้บริหาร ครูวิชาการ ศึกษานิเทศก์ และ
บุคลากรที่เกี่ยวข้อง มีการกำหนดวัตถุประสงค์และขั้นตอนการดำเนินงานที่ชัดเจน เพื่อนำไปสู่การ
ปรับปรุงและพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครู ที่ส่งผลถึงการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
เปน็ สำคญั

การนเิ ทศแบบ PDCA
กระบวนการนิเทศโดยใช้วงจรของเดมมิง (Circle Demming Cycle) การนำวงจรเดมมิง
(Deming circle) หรอื โดยทว่ั ไปนยิ มเรยี กกันว่า P-D-C-A มาใช้ในการดำเนนิ การนเิ ทศการศึกษา โดย
มีขน้ั ตอนท่ีสำคัญ ๔ ข้ันตอน คือ

๑. การวางแผน (P-Planning)
๒. การปฏิบตั ติ ามแผน (D-Do)
๓. การตรวจสอบ/ประเมินผล (C-Check)
๔. การปรับปรงุ แกไ้ ข (A-Act)
สรปุ เปน็ แผนภูมไิ ด้ ดังน้ี

ภาพที่ ๒ แผนภมู ิกระบวนการ PDCA
จากแผนภมู ิกระบวนการ PDCA แตล่ ะขั้นตอนมีกจิ กรรมสำคญั ดังนี้

๑. การวางแผน (P-Plan)
๑.๑ การจดั ระบบข้อมูลสารสนเทศ
๑.๒ การกำหนดจุดพฒั นาการนิเทศ
๑.๓ การจดั ทำแผนการนเิ ทศ
๑.๔ การจัดทำโครงการนิเทศ

๒. การปฏบิ ัติงานตามแผน (D-Do)
๒.๑ การปฏิบัติตามขนั้ ตอนตามแผน/โครงการ

9

๒.๒ การกำกับติดตาม
๒.๓ การควบคมุ คุณภาพ
๒.๔ การรายงานความก้าวหนา้
๒.๕ การประเมนิ ความสำเร็จเป็นระยะ ๆ
๓. การตรวจสอบและประเมินผล (C-Check)
๓.๑ กำหนดกรอบการประเมนิ
๓.๒ จัดหา/สรา้ งเครือ่ งมือประเมิน
๓.๓ เก็บรวบรวมข้อมูล
๓.๔ วเิ คราะห์ข้อมูล
๓.๕ สรปุ ผลการประเมนิ
๔. การนำผลการประเมินมาปรบั ปรงุ งาน (A-Act)
๔.๑ จัดทำรายงานผลการนเิ ทศ
๔.๒ นำเสนอผลการนิเทศและเผยแพร่
๔.๓ พฒั นาตอ่ เนอ่ื ง

การนเิ ทศแบบให้คำชี้แนะ (Coaching)
ในสว่ นนเี้ ป็นการนำเสนอความสำคัญของการนิเทศแบบใหค้ ำชี้แนะ (Coaching) ขนั้ ตอน

การนเิ ทศแบบใหค้ ำชแ้ี นะ (Coaching) คณุ ลักษณะของผชู้ แี้ นะ และเงือ่ นไขความสำเรจ็ ของการ
ใหค้ ำชี้แนะ รายละเอยี ดดงั ต่อไปนี้

ความสำคัญของการนิเทศแบบให้คำชแ้ี นะ (Coaching)
การนิเทศแบบให้คำชีแ้ นะ (Coaching) เป็นวธิ ีการพฒั นาสมรรถภาพการทำงานของครู โดย
เนน้ ไปทก่ี ารทำงานใหไ้ ด้ตามเปา้ หมายของงาน หรอื การช่วยใหส้ ามารถนำความรู้ความเขา้ ใจท่ีมีอยู่
และหรอื ได้รบั การอบรมมา ไปสู่การปฏิบตั ไิ ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ การให้คำชแี้ นะมีลักษณะเป็น
กระบวนการ มีเปา้ หมายท่ตี อ้ งการไปให้ถึง ๓ ประการ คอื การแก้ปญั หาในการทำงาน การพฒั นา
ความรู้ ทักษะ หรือความสามารถในการทำงาน และการประยกุ ตใ์ ชท้ ักษะหรอื ความรใู้ นการทำงาน
ทีต่ ้งั อยู่บนหลกั การของการเรียนรู้รว่ มกนั (Co-Construction) โดยยึดหลกั ว่าไม่มใี ครรมู้ ากกว่าใคร
จงึ ตอ้ งเรียนไปพรอ้ มกนั เพอื่ ใหค้ ้นพบวิธีการแก้ไขปัญหาดว้ ยตนเอง
ข้ันตอนการนเิ ทศแบบให้คำชีแ้ นะ (Coaching)
ขัน้ ตอนการนเิ ทศแบบให้คำช้แี นะเพ่อื เพ่มิ ศกั ยภาพครูและผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาใหส้ ามารถ
จัดการเรียนรแู้ ละยกระดับคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาใหส้ งู ขนึ้ มีขั้นตอนหลักสำคญั อยู่ ๓
ขัน้ ตอน ดงั น้คี ือ
ขัน้ ตอนที่ ๑ การเตรียมการกอ่ นการให้คำชแี้ นะ
ข้นั ตอนท่ี ๒ การดำเนินการให้คำชีแ้ นะ
ขน้ั ตอนที่ ๓ การสรุปผลการให้คำช้ีแนะ
รายละเอยี ดการดำเนินงานแต่ละขัน้ ตอน มดี งั น้ี

10

ขน้ั ตอนที่ ๑ การเตรยี มการกอ่ นการใหค้ ำช้ีแนะ
การเตรยี มการกอ่ นการให้คำชแ้ี นะ เปน็ การเตรียมองค์ความร้ใู นการนำไปใช้ในการชแ้ี นะ
โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ช่วยให้ครสู ามารถจดั กิจกรรมการเรียนรูใ้ หก้ บั ผู้เรียนอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
ซงึ่ ผนู้ เิ ทศจะคอยแนะนำ ให้คำปรกึ ษา ช่วยเหลือ ใหค้ รสู ามารถจดั กิจกรรมการเรียนรอู้ ย่างต่อเน่ือง
นอกจากผู้ชแ้ี นะจะเสนอแนะแลว้ ตอ้ งใหค้ รูไดว้ เิ คราะห์ตนเอง ให้สามารถจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
ไดอ้ ย่างมคี ุณภาพ ในสภาวะแวดลอ้ มตา่ ง ๆ และสามารถแก้ปญั หาอุปสรรคในการจัดกิจกรรม
การเรยี นรใู้ หห้ มดไป การใหค้ ำช้ีแนะจะชว่ ยใหค้ รูสามารถสะท้อนภาพการปฏบิ ตั งิ านของครู เพอ่ื ให้
ตระหนักวา่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรนู้ ้นั จะต้องใช้วธิ กี ารจัดการเรยี นรู้อยา่ งไร เพอื่ ที่จะให้ผูเ้ รยี น
ได้เรียนรูอ้ ยา่ งมคี ุณภาพจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู ขณะเดียวกนั ผูใ้ ห้คำชแี้ นะจะได้
ขอ้ มูล ความรู้ท่ีจำเป็น ซง่ึ ครยู ังขาดอยู่ ดงั น้นั การใหค้ ำชี้แนะทมี่ ีประสิทธภิ าพไมเ่ พยี งขนึ้ อยกู่ ับทักษะ
ของผูน้ เิ ทศ และความสามารถในการรบั การนเิ ทศ (Receptiveness) ของครูเทา่ น้ัน แตย่ ังข้ึนอย่กู บั
องคป์ ระกอบแวดล้อมหลายประการดว้ ยกัน ผ้ชู ้ีแนะควรจะต้องเปน็ ผรู้ กั การอ่าน รักการแสวงหา
ความรู้ และจะต้องมกี ารขวนขวายหาขอ้ มลู ความรู้ใหม่อยู่ตลอดเวลา รวมทั้งจำเปน็ อย่างยง่ิ
ที่ผูใ้ ห้คำชแ้ี นะ จะต้องมีความพร้อมกอ่ นการใหค้ ำชีแ้ นะดงั ต่อไปนี้
๑. การสรา้ งองคค์ วามรู้
ผทู้ ำหนา้ ท่ีให้คำช้แี นะ ตอ้ งมกี ารสร้างองค์ความรู้เรื่องตา่ ง ๆ ดงั น้ี

๑.๑ การจดั การเรยี นรู้แบบคละช้นั หลกั สูตรและการออกแบบการเรียนรู้
๑.๒ การวิจยั ในช้นั เรียน
๑.๓ การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชโ้ ครงงาน
๑.๔ การใช้สื่อเทคโนโลยีเพ่อื พฒั นาการเรียนรู้
๑.๕ เร่อื งอ่ืน ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง
๒. การสร้างทีมงาน
ปัจจยั ท่ีสำคัญในการทำงานให้ประสบผลสำเรจ็ คือ คน ซง่ึ มผี ลกระทบต่อบรรยากาศ
ในการทำงานของกลุ่ม วา่ จะราบรน่ื เป็นไปในทางสร้างสรรค์ มีการสนบั สนนุ เกือ้ กูลซ่ึงกันและกนั
การชว่ ยเหลอื กนั ในการแก้ไขปญั หา อุปสรรค และข้อยงุ่ ยากใหผ้ า่ นพ้นไปได้นน้ั ตอ้ งอาศัยการทำงาน
เปน็ ทมี ศักยภาพของคนในกลุ่ม เพอื่ การทำงานร่วมกนั คดิ รว่ มกัน วางแผนรว่ มกนั และแกป้ ญั หา
ร่วมกันนบั ว่าเป็นการรวมพลงั ของทมี งาน ซง่ึ จะสง่ ผลใหป้ ระสบผลสำเรจ็ ในการทำงานมากยิ่งขึ้น
ดงั น้นั การทำงานเป็นทีมจงึ เป็นวิธกี ารทไี่ ดผ้ ลมากท่ีสุด การมีสว่ นรว่ ม มีความผกู พนั และสรา้ ง
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสมาชกิ ในทมี งานเป็นอย่างดี การสร้างทมี งานที่ประสบผลสำเร็จ มีแนวทางการ
สร้างทมี งานตามแนวของ Katzenbach Hohn R. and Smith Doglas ดงั นี้
๒.๑ กำหนดทิศทางอย่างเรง่ ด่วน สมาชิกทีมตอ้ งการความแนน่ อนในการต้ัง
วัตถุประสงค์ และความคาดหวงั ของทีม ซ่ึงต้องมตี วั บง่ ชท้ี ่ชี ดั เจนที่จะเป็นแนวทางในการทำงานให้
บรรลุผลสำเรจ็
๒.๒ การเลอื กตั้งสมาชิกทีม ควรจัดให้อยู่บนพน้ื ฐานของทักษะและศักยภาพทมี่ อี ยู่
และทีมจำเป็นตอ้ งมีทักษะทจ่ี ะทำให้เกดิ ความสมบูรณข์ ึน้ ภายใน ๓ ประการ คอื ทักษะทางเทคนคิ
ในหน้าทีก่ ารงาน ทกั ษะในการแก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ และทกั ษะความสัมพันธร์ ะหว่างบุคคล

11

๒.๓ การประชมุ หรือพบปะกันครั้งแรก ตอ้ งทำด้วยความพถิ ีพถิ นั ตั้งใจ เพอื่ สร้าง
ความประทับใจให้เกิดขึน้ มีกำหนดระยะเวลาให้ทุกคนรู้แนน่ อน และมีการยำ้ เตอื นโดยผู้นำทีมหรือ
ผบู้ รหิ ารอาจใชอ้ ำนาจหนา้ ท่คี อยดแู ลภายในทีม

๒.๔ ตงั้ กฎในทีมปฏบิ ัตใิ ห้ชัดเจน การพฒั นาทมี ทแ่ี ทจ้ ริงโดยนำกฎเกณฑ์มาช่วยให้
พบกบั ความสำเรจ็ ในเรื่องวตั ถุประสงคแ์ ละจุดมุ่งหมายในการปฏิบตั ิงาน จดุ เน้นทคี่ วรสนบั สนนุ คือ
การเปดิ เผยจริงใจต่อกัน การสร้างใหเ้ กิดความไวว้ างใจกนั และกัน การมขี ้อตกลงรว่ มกนั อยา่ งมีความ
เหมาะสมตอ่ การปฏิบัติงาน

๒.๕จดุ ม่งุ หมายและความเหมาะสมในการปฏิบัติงานทต่ี ้งั ข้ึน จะไมย่ ึดติดกบั ผูบ้ ริหาร
แตจ่ ะตัง้ ขึ้นโดยสมาชิกมีสว่ นรว่ ม เพื่อให้เกิดความสำเร็จตามท่ีได้ตง้ั จุดมงุ่ หมาย

๒.๖ สรา้ งความท้าทายให้กับกลมุ่ ในการทำงาน ด้วยการนำขอ้ มลู ข่าวสารข้อเทจ็ จริง
ใหมๆ่ มาชว่ ยสนบั สนนุ การทำงานของสมาชิกในทีม

๒.๗ ใหเ้ วลาแกก่ ันและกนั ใหม้ ากท่ีสุด อาจเป็นเวลาตามทีน่ ดั หมายกันไวห้ รอื ไม่ได้
นัดหมายก็ได้

๒.๘ การใชอ้ ำนาจบารมใี หเ้ กดิ ประโยชน์ เชน่ การให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั ในทางบวก
ความเอาใจใส่ซึ่งกันและกนั การใหร้ างวัล เปน็ ต้น

๓. องค์ประกอบของทมี งานพัฒนาคุณภาพ
ทีมงานพฒั นาคณุ ภาพท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพควรมีลกั ษณะดังนี้ คือ เป็นทมี งานที่ทำงาน
เพือ่ เปา้ หมายร่วมกนั มีความขดั แยง้ ระหว่างสมาชกิ นอ้ ยมาก สมาชิกแตล่ ะคนมพี ฤตกิ รรมสนับสนนุ
ซ่ึงกนั และกนั การตดิ ตอ่ สอื่ สารเปน็ ไปโดยเปิดเผย และสมาชกิ ทำงานรว่ มกันอย่างมคี วามสขุ ดงั น้นั
การทำงานเป็นทีมจะสมบูรณ์ได้ จำเปน็ ตอ้ งใช้ความพยายามอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนือ่ งยาวนาน
เป็นที่พึงพอใจของสมาชิกทุกคน จะทำให้สมาชิกสามารถรักษาสถานภาพที่ดีของทีมไว้ เพื่อพัฒนา
งานให้เจริญก้าวหน้าต่อไป โดยการสร้างพลังความสำเร็จของทีมจะต้องสร้างความเชื่อมั่น สร้าง
เปา้ หมายรว่ มกัน สร้างความภมู ใิ จและความเป็นเจ้าของ และสรา้ งความศรทั ธาและความไว้วางใจ
ซ่งึ องค์ประกอบของทมี งานพัฒนาคณุ ภาพ ควรประกอบดว้ ย

๓.๑ ทีมนำ ประกอบดว้ ย ผ้เู ชีย่ วชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา รองผอู้ ำนวยการสำนักงาน
เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา ประธานเครอื ข่ายฯ ประธานศูนยว์ ิชาการ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

๓.๒ ทมี ทำ ประกอบดว้ ย ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครู ศึกษานิเทศก์
๔. การจดั ทำขอ้ มูลและสารสนเทศของสถานศึกษาเพอ่ื ใชใ้ นกระบวนการให้คำช้แี นะ
ปัจจุบนั ขอ้ มูลสารสนเทศมคี วามจำเปน็ อย่างย่ิง สำหรบั การบริหารการศึกษาโดยเฉพาะการ
บริหารสถานศึกษา การมีข้อมูลและระบบสารสนเทศที่ดี ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน จะทำให้ผู้บริหาร
สถานศึกษาตัดสินใจได้ถูกต้อง แม่นยำ ทันกาลมากขึ้น โดยเฉพาะในการวางแผนการศึกษาและการ
ยกระดับคุณภาพการศึกษา ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษานอกจากการปฏิบัติหน้าที่ในงานที่ต้องใช้ความรู้
ความสามารถแล้วยังต้องใช้ข้อมูลสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการโดยมีเป้าหมายการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน และสถานศึกษาขนาดเล็กให้มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ
ยิ่งขึ้น ข้อมูลและระบบสารสนเทศที่ดีควรครอบคลุมองคป์ ระกอบพื้นฐานของการจัดการศึกษา และ

12

ตอ้ งมกี ารจัดเกบ็ อย่างเป็นระบบง่ายต่อการนำไปใชอ้ นั จะส่งผลให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ ตามนโยบายการ
จดั การศึกษา ซึ่งอาจแบ่งได้ดังนี้

๔.๑ ข้อมูลและสารสนเทศพนื้ ฐานของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ ข้อมลู ท่วั ไปของ
สถานศึกษาและชมุ ชน อาคารเรยี น อาคารประกอบ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่มอี ยู่ในสถานศึกษา
เชน่ ห้องเรยี น หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร วัสดุ อุปกรณ์การเรียนรู้ หอ้ งสมุด ตลอดถงึ แหลง่ เรยี นรทู้ ้งั ในและนอก
สถานศึกษา เป็นตน้

๔.๒ ข้อมลู และสารสนเทศที่เกยี่ วกบั ผู้เรยี น ผ้เู รยี นเป็นองคป์ ระกอบทสี่ ำคัญของ
สถานศกึ ษา การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ของผ้เู รียนรายบุคคล เชน่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน คือ NT/O-NET
แลว้ ยังตอ้ งเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเก่ียวกับด้านภมู หิ ลงั ทางครอบครวั และชมุ ชนที่นักเรยี นอาศยั อยู่

๔.๓ ข้อมูลและสารสนเทศที่เกยี่ วกบั ครแู ละการจดั การเรียนรู้ เชน่ จำนวน
ครูคณุ วุฒกิ ารศกึ ษา ตำแหน่งหน้าท่ี วชิ าที่สอน ผลงานทางวชิ าการ การจดั แผนการเรยี น/ชน้ั เรยี น
อุปกรณก์ ารสอน แหลง่ ข้อมูลเรียนรู้ ระเบียนสะสม ตารางสอน และผลการปฏบิ ัตงิ านของครู รวมถึง
บคุ คลภายนอกทมี่ ีความรูค้ วามสามารถพเิ ศษในด้านตา่ ง ๆ สามารถเปน็ วทิ ยากร ผู้ทรงคณุ วฒุ หิ รือ
ครภู มู ิปัญญาไทย เป็นตน้ ข้อมูลในดา้ นกระบวนการเรยี นรู้ ได้แก่ ลักษณะของวิธีการสอน
ตารางสอน การมีส่วนร่วมของนกั เรยี น การใช้ตำราเรียน สื่อการสอน การประเมนิ ผลการเรยี นรู้การ
รายงานผลการเรยี น การสอนซ่อมเสริม วธิ แี ละการใช้เครื่องมือประเมนิ การวางแผนการวัดและ
ประเมนิ ผลการเรียนนำไปพัฒนาผเู้ รียน การพิจารณากจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน การ
วจิ ยั ในชั้นเรยี น เป็นตน้

๔.๔ ข้อมูลและสารสนเทศทเี่ กี่ยวกับการบรหิ ารงานวชิ าการ ซึง่ จัดเป็นหัวใจของ
งานดา้ นการศกึ ษา ผ้ปู กครอง ชุมชนและหนว่ ยงานต่างๆ ให้ความสนใจและตอ้ งการทราบขอ้ มูลท่ี
ถกู ตอ้ ง
รวดเร็ว เชอ่ื ถือได้ เชน่ หลกั สูตร แผนการสอน คู่มือ การพัฒนาหลักสูตรการสำรวจความต้องการของ
ชมุ ชน และการใช้ตำราเรียนของครแู ละนกั เรยี น การจดั ทำคลังข้อมลู คลงั ขอ้ สอบที่เป็นระบบและเป็น
ปจั จบุ นั เปน็ ตน้

๕. แผนการนิเทศและเครื่องมือการนิเทศ
การวางแผนเพื่อการให้คำชี้แนะ จะต้องกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดในการชี้แนะให้
ครอบคลุม ชัดเจน ตอ่ การยกระดับคุณภาพการศึกษา ใชก้ ระบวนการร่วมคิด รว่ มทำในการวางแผน
การชแ้ี นะหานวัตกรรมท่ีเก่ยี วข้องและสอดคล้องกับความต้องการของสถานศกึ ษา ซ่ึงทำให้สามารถ
รว่ มกนั กำหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และทกุ คนรสู้ ึกเปน็ เจ้าของท่จี ะพัฒนา และ
รว่ มกนั พฒั นาอยา่ งเต็มที่ ซง่ึ จะส่งผลให้การดำเนนิ การการยกระดับคุณภาพการศกึ ษาสูงขึน้ แผนการ
ใหค้ ำชแ้ี นะจะตอ้ งมงุ่ พัฒนาเจาะลกึ และเปน็ แผนให้คำชีแ้ นะที่สามารถในการนำไปใชใ้ นการยกระดับ
คุณภาพการศกึ ษา แผนและเคร่อื งมือการชแี้ นะสามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหา และพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ซง่ึ มีองคป์ ระกอบของแผนการให้คำชแ้ี นะ ดงั นี้

- วตั ถุประสงค์
- เปา้ หมาย

13

- ประเดน็ การใหค้ ำช้ีแนะ/กิจกรรม
- การจัดการเรยี นรู้แบบคละชั้น หลักสูตรและการออกแบบการเรยี นรู้
- การวิจยั ในชั้นเรียน
- การจัดการเรียนรูแ้ บบโครงงาน
- การใช้สื่อเทคโนโลยีเพือ่ พฒั นาการเรยี นรู้
- เร่อื งอื่น ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง
- ระยะเวลา
- ผู้ช้แี นะ/ผ้รู ับการให้คำชีแ้ นะ
- สื่อ/เครอ่ื งมอื
- สรปุ ประเมนิ ผล การนเิ ทศ
ขน้ั ตอนที่ ๒ การดำเนนิ การใหค้ ำชแี้ นะ
ขั้นตอนการดำเนินงานให้คำชี้แนะเป็นขั้นตอนที่ศึกษานิเทศก์หรือผู้ชี้แนะ ช่วยให้ครูนำ
ความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่ หรือที่ได้รับจากการอบรมไปปฏิบัติให้เกิดผลสำเร็จตามศักยภาพหรือ
ความสามารถของครูแตล่ ะคน เปน็ การพฒั นากลุ่มครจู ำนวนนอ้ ยหรอื รายบคุ คลอย่างเข้มขน้ ทำงาน
ร่วมกนั อยา่ งใกล้ชดิ เช่น การสงั เกตการสอนในชั้นเรยี น พจิ ารณาผลงานนกั เรียนรว่ มกันกับครู เปน็
การพฒั นาในบรบิ ทการทำงานในสถานศกึ ษา ขน้ั ตอนการใหค้ ำช้ีแนะประกอบด้วย ๓ ขั้นตอน ดงั น้ี

๒.๑ การศึกษาตน้ ทุนเดมิ เป็นขนั้ ทีศ่ ึกษานิเทศก์หรอื ผใู้ หค้ ำช้แี นะทำความเขา้ ใจวธิ ี
คดิ วิธีการทำงาน และผลที่เกิดขน้ึ จากการทำงานของคุณครูว่าอยู่ในระดบั ใด เพือ่ เปน็ ข้อมูลในการต่อ
ยอดประสบการณ์ในระดับที่เหมาะสมกับครูแต่ละคน ซึ่งในขั้นนี้อาจใช้วิธีการต่างๆ กันไปตาม
สถานการณ์ ได้แก่

๑) การใหค้ รบู อกเลา่ อธบิ ายวธิ กี ารทำงานและผลทเี่ กดิ ขึน้
๒) การพจิ ารณาร่องรอยการทำงานร่วมกนั เช่น แผนการสอน ชิ้นงานของ
นักเรียน
๓) การสังเกตการสอนในชน้ั เรยี น
๒.๒ การใหค้ รูประเมนิ การทำงานของตนเอง เป็นข้ันท่ีชว่ ยให้ครูได้ทบทวน
การทำงานที่ผ่านมาของตนเอง โดยใช้ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม ได้แก่ การสอนที่เพิ่งสอนจบไปแล้ว
ชิน้ งานทน่ี กั เรยี นทำเสรจ็ มาใชป้ ระกอบการประเมนิ จดั ให้ครมู โี อกาสได้ “นึกย้อนและสะทอ้ นผลการ
ทำงาน”ชว่ ยใหค้ รไู ด้ทบทวนและไตรต่ รองวา่ ตนเองได้ใช้ความรู้ ความเข้าใจไปสู่การปฏิบัตอิ ย่างไร มี
อปุ สรรคปญั หาใดเกิดขนึ้ บ้าง คำถามทมี่ กั ใช้กันในขัน้ นม้ี ี ๒ คำถามหลัก คอื “อะไรท่ที ำไดด้ ี..” “จะให้
ดกี วา่ น้ีถ้า...”
๒.๓ ขน้ั ตอ่ ยอดประสบการณ์ เปน็ ขนั้ ทศี่ ึกษานิเทศก์หรอื ผู้ให้คำช้ีแนะมีข้อมูลจาก
การสงั เกต การทำงานและฟงั ครูอธิบายความคิดของตนเอง แลว้ จงึ ลงมอื ต่อยอดประสบการณ์ในเรื่อง
เฉพาะนั้นเพิ่มเติม ซึ่งศึกษานิเทศก์หรือผู้ชี้แนะต้องอาศัยปฏิภาณในการวินิจฉัยให้ได้ว่าครูต้องการ
ความช่วยเหลือในเรื่องใด หากไม่แน่ใจก็อาจใช้วิธีการสอบถามขอข้อมูลเพิ่มเติม ในขั้นต่อยอด
ประสบการณม์ กั มีการดำเนนิ การใน ๒ ลกั ษณะ ดงั น้ี

14

๑) เมือ่ พบว่าคุณครูมีความเขา้ ใจทผี่ ิดพลาดบางประการ หรือมปี ัญหากจ็ ำเป็นต้องแก้ไข ปรบั
ความรู้ความเข้าใจให้ถกู ต้องและชว่ ยเหลือในการแกไ้ ขปญั หา

๒) เม่ือพบว่าคุณครเู ขา้ ใจหลกั การสอนดี แตย่ ังขาดประสบการณใ์ นการออกแบบ
การเรียนรู้ ก็จำเปน็ เพ่มิ เตมิ ความรู้ แบ่งปนั ประสบการณ์

ขนั้ ตอนที่ ๓ การสรุปผลการให้คำชีแ้ นะ
การสรปุ ผลการใหค้ ำช้แี นะเป็นขัน้ ตอนทศี่ กึ ษานเิ ทศก์ หรอื ผูใ้ หค้ ำช้แี นะเปดิ โอกาสให้
ครูได้สรปุ ผลการให้คำชี้แนะเพ่ือให้ไดห้ ลกั การสำคัญไปปรบั ปรงุ หรอื พัฒนาการเรยี นรู้ของตนเองตอ่ ไป
มีการวางแผนที่จะกลับมาชี้แนะร่วมกันอีกครั้งว่า ความรู้ความเข้าใจใหม่ที่ได้รับการชี้แนะครั้งนีจ้ ะ
เกดิ ผลในทางปฏิบัตเิ พียงใด รวมไปถึงการตกลงร่วมกันเร่ืองให้ความชว่ ยเหลืออ่ืนๆ เชน่
หาเอกสารมาให้ศึกษา ประสานงานกับบคุ คลอ่นื ๆ แนะนำแหลง่ เรียนรูเ้ พิ่มเตมิ เปน็ ต้น
การทำ AAR หรือการตรวจสอบผลหลังการปฏิบัติงาน AAR ย่อมาจากคำว่า After Action
Review ซึ่งเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ใช้ในการทบทวนความรู้ ที่ได้หลังจากการให้คำชี้แนะ
(Coaching) เสร็จสิ้นแต่ละครั้ง เน้นการแสดงความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระ ไม่มีถูก – ผิด เป็นการ
ทบทวนเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น หรือไม่ให้เกิดปัญหาขึ้นอีก ใน
ขณะเดียวกนั กค็ งไวซ้ ึง่ วธิ กี ารทด่ี ที ี่สุด โดยศกึ ษานิเทศกห์ รอื ผู้ให้คำช้แี นะ ควรกระตุ้นใหค้ รตู อบคำถาม
ใหก้ ับตวั เอง ดงั น้ี

๑. ส่งิ ที่คาดว่าจะได้รับจากการนิเทศ คอื อะไร
๒. ส่งิ ท่เี กดิ ขึน้ จริง คืออะไร
๓. ทำไมสงิ่ ทีค่ าดหวังกับสิง่ ทเ่ี กดิ ข้นึ จริงจงึ แตกต่างกนั เพราะเหตุใด
๔. ส่ิงทีไ่ ด้เรยี นรู้และวธิ ีการลดหรือแกไ้ ขความแตกตา่ ง คืออะไร
เมอ่ื ศึกษานิเทศก์หรอื ผู้ให้คำชี้แนะได้ทำการให้คำชแี้ นะใหก้ บั ครแู ละผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาใน
แตล่ ะเร่ืองเพอื่ ใหเ้ ห็นภาพของความสำเรจ็ ในการให้คำชแ้ี นะ จงึ มคี วามจำเปน็ ที่จะต้องทำ AAR
เพือ่ ใหไ้ ด้คำตอบตามข้อคำถามดงั กลา่ วข้างตน้ จะชว่ ยให้ครู ผูบ้ ริหารสถานศึกษาไดร้ ับรู้ว่าผลการ
ชแ้ี นะในคร้งั น้ีเป็นอย่างไร แต่ผลท่ไี ด้รบั นัน้ ไมใ่ ชค่ ำตอบสุดทา้ ย เพราะเม่ือเวลาผา่ นไปยอ่ มทำให้เกดิ
ปัญหาใหม่ได้ตลอดเวลา
การทำ AAR ควรคำนงึ ถงึ หลกั ในการดำเนนิ การดังน้ี
๑. ควรทำ AAR ทันทีหลังจากจบสน้ิ การให้คำช้แี นะไมม่ ีการกลา่ วโทษ ซ้ำเติม
ตอกย้ำซ่งึ กันและกัน โดยใหม้ ีบรรยากาศเปน็ กันเอง
๒. คอยอำนวยความสะดวก กระต้นุ ตั้งคำถามให้ครู ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาได้แสดง
ความคดิ เหน็ ขอ้ เสนอแนะของตน
๓. ควรถามตัวเองวา่ ส่ิงท่ีได้รบั คืออะไร
๔. หันกลับมาดูวา่ ส่งิ ทีเ่ กิดข้นึ จริงคืออะไร
๕. ความแตกต่างคอื อะไร ทำไมจงึ แตกตา่ งกัน
๖. จดบันทึกเพอื่ เตอื นความจำวา่ วิธีการใดบ้างที่ศึกษานิเทศก์หรือผใู้ หค้ ำชแี้ นะ
ไดเ้ คยนำมาแกป้ ัญหาแลว้

15

๓.๑ การสรปุ ผลการให้คำชี้แนะ
ข้นั ตอนตอ่ มาหลงั จากศึกษานเิ ทศก์หรอื ผู้ใหค้ ำชีแ้ นะได้ดำเนนิ การทำ AAR แล้ว คอื การ
สรุปผลการให้คำชแี้ นะทศี่ กึ ษานิเทศก์ และครผู ู้สอนหรือผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาได้มีการเรยี นรู้ร่วมกัน
เชน่ การจัดการเรยี นรู้แบบคละชั้น การจดั การเรยี นรูแ้ บบโครงงาน และการใชส้ ่อื เทคโนโลยเี พื่อ
พฒั นาศักยภาพการเรียนรู้ ตามแนวทางการยกระดับคณุ ภาพผูเ้ รียนของโครงการพฒั นาระบบการ
ประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาใหเ้ ข้มแข็ง โดยใชก้ ระบวนการวิจัยเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารในชั้นเรยี น
และควรสรปุ ผลการให้คำชีแ้ นะในประเดน็ ตา่ ง ๆ เชน่

๑. ระดบั การรับรู้ในเน้อื หา สาระ รายละเอียดของวธิ กี ารจัดการเรียนรู้
๒. ความสามารถในการจัดการเรยี นรู้
๓. การใช้สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้
๔. ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
๓.๒ การวางแผนการใหค้ ำชีแ้ นะครง้ั ตอ่ ไป
การใหค้ ำชีแ้ นะเปน็ กระบวนการท่ีช่วยให้ครไู ด้ค้นพบพลัง หรือวิธีการทำงาน สามารถพึ่งพา
ความสามารถของตนเองได้ เป้าหมายของการให้คำชแี้ นะ คือ การให้ครูสามารถพัฒนาการจัด
กระบวนการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ดงั น้ัน การให้คำช้แี นะของศึกษานเิ ทศกห์ รือผ้ใู ห้คำช้ีแนะเพียงครง้ั
เดยี วจงึ ไมส่ ามารถบรรลผุ ลได้ ศึกษานิเทศก์หรือผู้ใหค้ ำช้แี นะจำเปน็ ตอ้ งวางแผนการให้คำชี้แนะใน
ครัง้ ตอ่ ไปรว่ มกับครู ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา เพอื่ เชือ่ มโยงต่อยอดการจัดการเรียนรู้ในแตล่ ะเรื่อง
ตามบรบิ ทของสถานศึกษาเพ่ือใหเ้ กดิ ผลสำเรจ็ ที่เป็นรูปธรรม ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรอู้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ
และยกระดับคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาให้สงู ขน้ึ มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ซึง่ สถานศึกษาควรดำเนินการ ดังนี้
๓.๒.๑ วางแผนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา โดยผใู้ ห้คำช้ีแนะและสถานศึกษา
วางแผนการทำงานรว่ มกนั ดังน้ี

๑. การจัดทำแผนพฒั นาคุณภาพสถานศึกษาใหม้ องเห็นทิศทางในการ
พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาท่ชี ัดเจน สอดคล้องกบั สภาพปญั หาและความจำเป็นอยา่ งเปน็ ระบบ
มีแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี ทีม่ ีโครงการ กจิ กรรมรองรบั

๒. การกำหนดสภาพความสำเร็จของการพัฒนาไวอ้ ย่างต่อเนื่อง ชัดเจน
เป็นรูปธรรม

๓. การกำหนดวธิ กี ารดำเนินงานท่มี ีหลักการ มีผลการวจิ ยั หรอื ข้อมลู เชงิ
ประจักษ์ ทีอ่ ้างอิงได้ครอบคลุมการพัฒนาหลกั สูตร การจดั กระบวนการเรียนรู้ การสง่ เสรมิ การ
เรียนรู้ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ การพฒั นาบุคลากร และการบรหิ ารจดั การ

๔. ควรส่งเสรมิ ให้เกิดการมีส่วนรว่ มของครู ผ้บู ริหารสถานศึกษา บิดา
มารดา ผู้ปกครอง บุคลากรในชมุ ชน โดยเฉพาะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานของสถานศกึ ษาซง่ึ มี
บทบาทในการกำกับ ติดตาม และให้ความเห็นชอบต่อแผนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ซงึ่ จะช่วยให้
การคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาบรรลุผลตามเจตนารมณ์

16

๓.๒.๒ นำเสนอผลการปฏิบตั ิงานทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practices)
หลงั จากสถานศกึ ษาไดพ้ ัฒนาการจดั การเรียนรูท้ ่ีส่งผลให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรียนร้อู ยา่ ง
มคี ุณภาพ และทำให้สถานศกึ ษามีคุณภาพการศกึ ษาสูงขน้ึ เพ่อื ใหเ้ กิดความภูมใิ จในการปฏิบตั ิงาน
สถานศึกษาควรคัดเลอื กผลการปฏบิ ัตงิ านทเ่ี ป็นเลิศ นำเสนอและเผยแพร่ โดยมปี ระเดน็ ที่ควร
นำเสนอดงั นี้

๑. ชอื่ ผลงาน Best Practice
๒. หลักการ/ แนวคดิ /ทฤษฎี
๓. วัตถุประสงค์
๔. กลมุ่ เปา้ หมาย
๕. การดำเนนิ การ
๖. ปัจจัยสคู่ วามสำเร็จ
๗. ผลการดำเนินการ
๓.๓.๓ สรปุ รายงานผลการวิจยั
ครู และผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาที่ได้รับการพัฒนาศกั ยภาพในการจดั การเรยี นรู้จากการ
เข้าร่วมการอบรม และนำความรคู้ วามสามารถ ทักษะไปจดั การเรียนร้แู ละได้รบั การช้แี นะจาก
ศึกษานิเทศก์หรือผู้ช้แี นะ จนมีผลสำเร็จท่ีเกดิ ขน้ึ กับผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ รูปธรรม ครู ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
ควรสรปุ ผลการทำงานเป็นรายงานผลการวิจยั
๒.๓ คุณลกั ษณะของผชู้ แี้ นะ
การที่จะเปน็ ผชู้ แ้ี นะท่ดี ี ควรมคี ุณลกั ษณะดงั ต่อไปนี้
๒.๓.๑ เป็นบคุ คลทม่ี ตี น้ ทุนของความรู้ที่เกย่ี วขอ้ งกับเนื้อหา วธิ ีสอน รวมถงึ
มีบคุ ลกิ ภาพและเจตคตทิ ่ีดสี ม่ำเสมอ
๒.๓.๒ มีความยืดหยุ่น ไวตอ่ ความรู้สกึ และเปน็ กัลยาณมติ รกับทกุ คน
๒.๓.๓ มพี นื้ ฐานและประสบการณ์ที่เข้าใจธรรมชาติและวฒั นธรรมการทำงาน
๒.๓.๔ มกี ารพัฒนาทักษะ การฟงั การคิด การถาม และการเขยี นทีช่ ัดเจน
๒.๓.๕ มกี ระบวนการคดิ ทบทวน (Reflective Thinking)
๒.๓.๖ มพี ฤติกรรมการมองเชงิ บวก จับถูก คดิ ถงึ ปญั หาเรม่ิ จากตนเอง
๒.๓.๗ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พดู น้อย ฟังมาก ไม่ส่งั การใด ๆ
๒.๓.๘ ช่วยกำหนดจดุ พัฒนา เชื่อมโยงและสนับสนนุ ความเปลย่ี นแปลง
๒.๔ เง่ือนไขความสำเรจ็ ของการใหค้ ำช้ีแนะ
การให้คำช้ีแนะเปน็ วธิ ีการทม่ี ีส่วนชว่ ยให้ครแู ละผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาไดร้ บั การพฒั นา
สมรรถภาพการทำงานในหนา้ ที่ใหส้ ำเร็จตามเปา้ หมาย หรอื ชว่ ยให้ครู ผบู้ ริหารสถานศึกษา สามารถ
นำความรู้ ความเข้าใจทม่ี ีอยูแ่ ละหรือท่ไี ด้รับการอบรมมาสูก่ ารปฏบิ ัตไิ ด้ เพือ่ ให้การใหค้ ำชี้แนะ
ประสบผลสำเรจ็ ศึกษานเิ ทศก์หรอื ผทู้ ำหน้าท่ใี ห้คำชแ้ี นะ ควรมีหลกั การให้คำช้แี นะดังน้ี
๒.๔.๑ มคี วามรูใ้ นเน้อื หาสาระทจ่ี ะทำการใหค้ ำช้แี นะ การใหค้ ำชี้แนะในแต่ละครงั้
ผูใ้ หค้ ำช้ีแนะควรมกี ารศกึ ษาคน้ ควา้ และทำความเขา้ ใจในเน้อื หาสาระทจ่ี ะทำการชแ้ี นะ และเตมิ เต็ม
ความรู้ในสว่ นทยี่ ังขาดความรูค้ วามเข้าใจ เพ่อื พร้อมท่จี ะใหค้ ำชี้แนะแกค่ รแู ละผบู้ รหิ ารสถานศึกษาให้

17

ได้รบั ความรทู้ ถี่ ูกตอ้ ง สมบรู ณ์
๒.๔.๒ มขี ้อมูลเกย่ี วกบั ความร้คู วามเข้าใจของผรู้ บั การใหค้ ำชแ้ี นะ ผ้ใู ห้คำชแ้ี นะจะ

ชแี้ นะ และถ่ายทอดความรไู้ ปยังผู้รับการให้คำช้ีแนะได้ดี จะต้องมขี ้อมูลเก่ยี วกบั ผรู้ ับการให้คำชีแ้ นะ
วา่ ณ ขณะน้ีมีระดบั ความร้แู คไ่ หน จะไดส้ ามารถเติมเตม็ พฒั นาสมรรถภาพให้สามารถจดั การเรียนรู้
ไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ และยังชว่ ยให้การช้ีแนะดำเนินไปด้วยความราบรนื่ มีประสทิ ธภิ าพ

๒.๔.๓. ใหค้ ำชี้แนะแบบมีเปา้ หมายและมีจดุ เนน้ รว่ มกัน ผ้ใู ห้คำชแ้ี นะและผู้รบั การ
ให้คำชแ้ี นะควรมีการตกลงร่วมกนั วา่ เปา้ หมายสดุ ทา้ ยทีต่ อ้ งการให้เกดิ คืออะไร ช่วยกนั หายุทธวิธี
ตา่ ง ๆ เพือ่ จะนำไปสูเ่ ปา้ หมายน้นั

๒.๔.๔ มีระบบการติดตาม นิเทศ ประเมนิ ผลการทำ งานของครู ผู้บริหาร
สถานศึกษาควรมขี อ้ มลู ที่สะท้อนผลการทำงานเพอื่ จะได้นำไปคิดทบทวนการทำงานใหส้ ามารถพฒั นา
ให้ดขี ึน้ การติดตาม นเิ ทศ ประเมนิ ผลเป็นขัน้ ตอนสำคญั ที่ผู้ใหค้ ำชี้แนะหรอื เครอื ข่าย เข้ามาติดตาม
นิเทศ ประเมินผลผู้รับการชี้แนะอยา่ งต่อเน่ือง ยอ่ มส่งผลให้การจดั การเรยี นรู้ของครู และผู้บริหาร
สถานศึกษามีประสิทธภิ าพ

จากที่กล่าวมาสามารถสรุปได้ว่า การนเิ ทศแบบให้คำชแี้ นะ (Coaching) เปน็ วิธีการพัฒนา
สมรรถภาพการทำงานของครู โดยเน้นไปที่การทำงานให้ได้ตามเป้าหมายของงาน หรือการช่วยให้
สามารถนำความรู้ความเข้าใจทม่ี ีอย่แู ละหรือได้รบั การอบรมมา ไปสู่การปฏบิ ตั ิไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
การให้คำชี้แนะมีลักษณะเป็นกระบวนการ มีเป้าหมายที่ต้องการไปให้ถึง ๓ ประการ คือ การ
แก้ปัญหาในการทำงาน การพัฒนาความรู้ ทักษะ หรือความสามารถในการทำงาน และการ
ประยุกต์ใช้ทักษะหรือความรู้ในการทำงาน ที่ตั้งอยู่บนหลักการของการเรียนรู้ร่วมกัน (Co-
Construction) โดยยึดหลักว่าไม่มีใครรู้มากกว่าใคร จึงต้องเรียนไปพร้อมกันเพื่อให้ค้นพบวิธีการ
แกไ้ ขปัญหาดว้ ยตนเอง ดว้ ยเหตนุ ีผ้ ศู้ ึกษาจงึ สนใจนำการนิเทศแบบให้คำช้ีแนะ (Coaching) มาใช้ใน
การศึกษาผลการเรียนรู้คณติ ศาสตรด์ ้วยการใช้เทคนิคการนิเทศแบบช้แี นะ(Coaching)

ทฤษฎที ี่เกี่ยวขอ้ งกบั ความพึงพอใจ
สุนทร หลักคำ (2547 : 44 ; อ้างอิงมาจาก Maslow. 1970 : 69 68) ได้เสนอทฤษฎี

ลำดบั ความตอ้ งการ (Hierarchy of Needs) ดังต่อไปน้ี
1. ความต้องการด้านร่างกาย (Physiological Need) เป็นความต้องการพ้ืนฐานของมนุษย์

เปน็ ส่ิงจำเปน็ สำหรับการดำรงชวี ิต ไดแ้ ก่ อาหาร อากาศ ท่ีอยู่อาศัย เครือ่ งนุ่งหม่ ยารักษาโรค ความ
ตอ้ งการทางเพศ

2. ความต้องการความปลอดภัย (Safety Need) เป็นความต้องการความมั่นคงในชีวิตที่
เปน็ อยู่ในปจั จบุ นั และอนาคต ความเจริญกา้ วหนา้ ความอบอุน่ ใจ

3. ความตอ้ งการทางสังคม (Social Need) เป็นส่งิ จูงใจทมี่ คี วามสำคญั ต่อการเกิดพฤติกรรม
ตอ้ งการให้สงั คมยอมรับเข้าเปน็ สมาชิก ตอ้ งการความเปน็ มิตร ความรกั จากเพ่ือนรว่ มงาน

4. ความต้องการมฐี านะ (Esteem Need) มีความอยากเด่นในสังคม มีช่ือเสียงต้องการการ
ยกย่องสรรเสริญ อยากมคี วามเปน็ อิสระมเี สรีภาพ

18

5. ความต้องการท่ีจะประสบความสำเร็จในชีวิต (Self–Actualization Need) เป็นความ
ต้องการระดับสูงสดุ อยากให้ตนประสบความสำเร็จทุกอยา่ งในชีวิต

การวัดความพึงพอใจ
เนื่องจากความพึงพอใจเป็นทัศนคติในทางบวกของบุคคลที่มีต่อส่ิงใดสิ่งหนึ่ง การจะวัดว่า
บุคคลมีความรู้สึกพึงพอใจหรือไม่พึงพอใจ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องสร้างเครืองมือที่ช่วยในการวัด
ทัศนคติน้ัน นกั วิชาการหลายท่านได้กลา่ วถึงเครื่องมือวดั ความพงึ พอใจไว้ สรุปได้ดังน้ี
ประภาพันธ์ พลายจนั ทร์. (2546 : 6 ; อา้ งองิ มาจาก ภนิดา ชัยปญั ญา. 2541) ไดก้ ลา่ วไว้
วา่ การวัดความพึงพอใจนน้ั สามารถทำได้หลายวธิ ีดังต่อไปน้ี
1. วิธีการใช้แบบสอบถาม โดยผู้ออกแบบสอบถามถามเพื่อต้องการทราบความคิดเห็น ซ่ึง
สามารถกระทำได้ในลักษณะกำหนดคำตอบให้เลือก หรือตอบคำถามอิสระ คำถามดังกล่าวอาจจะ
ถามความพึงพอใจในดา้ นตา่ ง ๆ
2. วธิ ีการสมั ภาษณ์ เป็นวิธีการวดั ความพึงพอใจทางตรง จึงตอ้ งอาศยั เทคนิคและวิธีการที่ดี
จึงจะได้ขอ้ มูลทเี่ ปน็ จรงิ
3. วิธีการสังเกต เป็นวิธีการวัดความพึงพอใจโดยการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลเป้าหมาย
ไม่ว่าจะแสดงออกจากการพูด อิริยาท่าทาง วิธีนี้ต้องอาศัยการกระทำอย่างจรงิ จังและสังเกตอยา่ งมี
ระเบียบแบบแผน
เผชิญ อิจระการ (2542 : 7) ได้กล่าวถึงแนวคิดของแฮทฟิลด์ และฮิวแมน (Hayfild and
Human) ที่ได้พัฒนาแนวคิดของนักวิจัยต่าง ๆ มาเป็นเครื่องมือวัดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน
พบวา่ องคป์ ระกอบที่สง่ ผลกระทบตอ่ ความพงึ พอใจ ประกอบด้วยองคป์ ระกอบ 5 ประการ คือ
ตัวแปรท่ี 1 องค์ประกอบเกย่ี วกับงานที่ทำในปจั จุบัน แบ่งเปน็

1.1 ความต่ืนเตน้ / นา่ เบื่อ
1.2 ความสนุกสนาน / ความไมส่ นุกสนาน
1.3 ความโล่ง / ความสลัว
1.4 ความทา้ ทาย / ไม่ท้าทาย
1.5 มคี วามพอใจ / ไม่พอใจ
ตวั แปรที่ 2 องคป์ ระกอบด้านคา่ จา้ ง ประกอบดว้ ย
2.1 ถือเปน็ รางวลั /ไมเ่ ปน็ รางวัล
2.2 มาก / น้อย
2.3 ยุติธรรม / ไม่ยตุ ธิ รรม
2.4 เปน็ ทางบวก / เปน็ ทางลบ
ตวั แปรท่ี 3 องคป์ ระกอบดา้ นการเล่ือนตำแหน่ง ประกอบดว้ ย
3.1 ยตุ ธิ รรม/ไม่ยตุ ิธรรม
3.2 เชอื่ ถอื ได้ / เช่ือถอื ไม่ได้
3.3 เป็นเชิงบวก / เป็นเชิงลบ
3.4 เปน็ เหตุเปน็ ผล / ไมเ่ ป็นเหตุเปน็ ผล
ตัวแปรที่ 4 องคป์ ระกอบทางด้านผ้นู เิ ทศ / ผู้บงั คบั บญั ชา ประกอบด้วย

19

4.1 อยู่ใกล้ / อย่ไู กล
4.2 ยุติธรรมแบบจริงใจ / ยตุ ิธรรมแบบไม่จรงิ ใจ
4.3 เปน็ มติ ร / ค่อนข้างไมเ่ ปน็ มิตร
4.4 เหมาะสมทางคุณสมบตั ิ / ไม่เหมาะสมทางคุณสมบัติ
ตวั แปรท่ี 5 องค์ประกอบด้านเพือ่ นร่วมงาน ประกอบด้วย
5.1 เปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย /ไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย
5.2 จงรักภกั ดตี ่อสถานท่ีทำงาน / ไมจ่ งรกั ภกั ดีต่อสถานท่ที ำงานและเพือ่ นรว่ มงาน
5.3 สนุกสนานร่าเริง / ดไู มม่ ีชวี ติ ชวี า
5.4 ดนู ่าสนใจเอาจริงเอาจัง / ดเู หน่ือยหน่าย
บุญชม ศรีสะอาด (2543 : 163) กล่าวถึง แบบวัดความพึงพอใจโดยปกติควรมีลักษณะ
ดังนี้ คือ
1. ความถูกต้องในสิ่งที่ต้องการวัด หมายถึง แบบวัดที่มีข้อคำถามต่าง ๆ นั้น จะมี
ความสัมพนั ธก์ ันสูงมาก
2. ความเชอื่ ถือได้ คอื แบบวัดตอ้ งมีผลสัมฤทธิ์ท่ีแนน่ อนสามารกนำมาวิเคราะหไ์ ดง้ ่าย และ
จะมีคำถามหลายขอ้ ท่ีวดั แต่ละลกั ษณะของความพอใจในการทำงาน
3. ภาษา ข้อคำถามทถ่ี ามในแบบวดั ต้องใชภ้ าษาทีม่ ีความชัดเจน สน้ั กระชับและเขา้ ใจง่าย
4. เนื้อหา แบบวัดความพึงพอใจ ต้องมีคำถามครอบคลุมประเด็นของจุดมุ่งหมายของการ
วิจยั
สำหรับการวัดจะกำหนดค่าคะแนนเป็น 5 ระดับ ได้แก่ 5, 4, 3. 2 และ 1 ตามวิธีของ
ลิเคร์ท (Likert) โดยแปลผลเปน็ ความพึงพอใจในระดับ มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย และน้อยท่ีสุด
ตามลำดบั
สรุปได้ว่า การวัดความพึงพอใจเป็นการตรวจสอบทัศนคติของบุคคลท่ีมีต่อสิ่งหน่ึงสิ่งใด ซึ่ง
สามารถใช้เครื่องมือวัดได้หลายแบบ เช่น วิธีการสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม ซึ่งวิธีท่ี
นยิ มใชใ้ นปจั จบุ นั วธิ ีหนึ่ง คอื แบบลิเคร์ท (Likert Scale) ประกอบดว้ ยขอ้ ความทแี่ สดงถึงทัศนคตขิ อง
บุคคลที่มีตอ่ ส่ิงเร้าอย่างใดอย่างหน่ึง แลว้ มีคำตอบทแ่ี สดงถงึ ระดบั ความรู้สึก 5 คำตอบ เช่น มากที่สดุ
มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทสี่ ุด

20

บทที่ 3
วธิ ีดำเนินการศกึ ษา

การศึกษาผลการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านดิน
แดงสามัคคีด้วยการใช้เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ(Coaching ) มีวัตถุประสงค์ เพื่อผลการจัดการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านดินแดงสามัคคีด้วยเทคนคิ การนิเทศแบบ
ชี้แนะ (Coaching) และศึกษาความพึงพอใจในการนิเทศการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ด้วยการใช้
เทคนคิ การนิเทศแบบช้แี นะ(Coaching) มวี ธิ ีการดำเนนิ การศกึ ษา ดงั น้ี

1. ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง
2. ตัวแปรทศี่ ึกษา
3. เคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นการศึกษา
4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
ประชากร ได้แก่ ครโู รงเรยี นบา้ นดนิ แดงสามัคคี จำนวน 1๒ คน
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านดินแดงสามัคคี จำนวน ๓ คน โดย

เลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling)

ตัวแปรท่ีศกึ ษา
ตวั แปรตน้ ไดแ้ ก่ การนิเทศการสอนแบบใหค้ ำชแี้ นะ (Coaching) ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ ผลการ

จดั การเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ของครูผู้สอนคณติ ศาสตร์ และความพงึ พอใจในการนิเทศการจัดการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์

เครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการศึกษา
๑. แผนการนิเทศการศึกษา
๒. แบบนเิ ทศ ตดิ ตามการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ดว้ ยการนเิ ทศการสอนแบบให้คำชี้แนะ

(Coaching) แบ่งออกเป็น ๓ ตอน มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ตอนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน ตอนที่ ๒
การศึกษาการจดั การเรยี นรู้ของครูผสู้ อนคณติ ศาสตร์ ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจในการนเิ ทศการจัดการ
เรยี นรคู้ ณิตศาสตร์

การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
การดำเนินการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

ประถมศึกษาประถมศึกษา สุราษฎร์ธานี เขต 1 ได้ดำเนินงานโดยใช้กระบวนการนเิ ทศแบบ PDCA
ดังนี้

1. ขั้นวางแผนการนเิ ทศ (Plan : P)

21

เป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการนิเทศการศึกษา โดยการศึกษาสภาพปัญหาปัจจุบัน และ
ความตอ้ งการพฒั นาการดำเนนิ งานทม่ี ีเปา้ หมายโดยศกึ ษาปัญหา และความตอ้ งการในการนิเทศจาก
แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการนิเทศการศึกษา จากการวิเคราะห์เอกสาร และข้อมูลจาก Big data
ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จากนั้นวางแผนและกำหนดทางเลือก โดยการรวบรวมข้อมูล
โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายในการนเิ ทศ คือ โรงเรียนบ้านดินแดงสามัคคี จากนั้นผู้นิเทศศึกษาเอกสารท่ี
เกี่ยวข้องกับเรื่องการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยกระบวนการเทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ
(coaching) มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติการนิเทศ จากนั้น สร้างสื่อ เครื่องมือ และพัฒนาวิธีการ
นิเทศ ผู้นิเทศศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการจัดการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ โดยเทคนิคการนิเทศ
แบบชแ้ี นะ (coaching) มาประยุกตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ัติการนิเทศ จากนน้ั จดั ทำและจัดหาเคร่ืองมือการ
นเิ ทศ ได้แก่ แผนการนเิ ทศ

2. การปฏิบตั ิตามแผน (Do : D)
เป็นขนั้ ตอนท่ีผนู้ เิ ทศลงพื้นทโ่ี รงเรียนที่เปน็ หน่วยฝึกปฏบิ ัติการนเิ ทศ นำเครอ่ื งมือการนเิ ทศสู่
การปฏบิ ัติ ดำเนินการตามขัน้ ตอนที่กำหนดไว้ในแผนการนเิ ทศการศกึ ษาด้วยเทคนคิ การนเิ ทศแบบ
ชี้แนะด้วยวธิ กี ารดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการก่อนการให้คำชี้แนะ การเตรียมการก่อนการให้คำชี้แนะ เช่น
การสร้างองค์ความรู้ เกี่ยวกับเรื่องที่จะนิเทศ การสร้างทีมงาน การจัดทำข้อมูลสารสนเทศของ
สถานศึกษาเพื่อใช้ในกระบวนการชี้แนะ เช่นข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษา ข้อมูล
สารสนเทศที่เกี่ยวกับผู้เรียน ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ ข้อมูลสารสนเทศ
เกี่ยวกบั งานวชิ าการ การวางแผนการนิเทศและเครือ่ งมอื การนเิ ทศ
ขั้นตอนที่ 2 การดำเนินการให้คำชี้แนะ ขั้นตอนการดำเนินงานให้คำชี้แนะเป็นขั้นตอนท่ี
ศกึ ษานิเทศกห์ รือ ผชู้ ้ีแนะ ช่วยใหค้ รนู ำความรู้ความเข้าใจทม่ี อี ยู่ หรอื ท่ไี ดร้ ับจากการอบรมไปปฏิบัติ
ให้เกิดผลสำเร็จตามศักยภาพหรือความสามารถของครูแต่ละคน เป็นการพัฒนากลุ่มครูจำนวนนอ้ ย
หรือรายบุคคลอย่างเข้มข้น ทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิด เช่น พิจารณาผลงานนักเรียนร่วมกันกับครู
การพฒั นาในบริบทการทำงานในสถานศกึ ษา
ขั้นตอนที่ 3 การสรุปผลการให้คำชี้แนะ การสรุปผลการให้คำชี้แนะเป็นขั้นตอนที่
ศกึ ษานิเทศก์ หรือผ้ใู ห้คำชี้แนะเปิดโอกาสให้ครไู ด้สรุปผลการให้คำช้ีแนะเพอ่ื ให้ได้หลักการสำคัญไป
ปรับปรุงหรือพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองต่อไป มีการวางแผนที่จะกลับมาชี้แนะร่วมกันอีกครั้งว่า
ความรู้ความเข้าใจใหม่ที่ได้รับการชี้แนะครั้งนี้จะเกิดผลในทางปฏิบัติเพียงใด รวมไปถึงการตกลง
ร่วมกันเรอ่ื งให้ความช่วยเหลอื อื่น ๆ เช่น หาเอกสารมาใหศ้ ึกษา ประสานงานกับบคุ คลอื่น ๆ แนะนำ
แหลง่ เรียนร้เู พมิ่ เตมิ
3. การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการนเิ ทศ (Check : C)
เป็นขนั้ ตอนที่ม่งุ สะท้อนใหเ้ หน็ สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี น ตามขอบขา่ ยการนิเทศ
การศกึ ษาทก่ี ำหนดไว้ในแผน ความเหมาะสมของกระบวนการนิเทศการศกึ ษา จดุ เด่น จดุ ควรพัฒนา
วธิ ปี ฏิบตั ทิ ด่ี ี และความพึงพอใจของครทู ่ีมีต่อการนิเทศ เพื่อใช้เป็นข้อมูลการพฒั นาหรือแก้ไขปัญหา
ในการวางแผนการนเิ ทศครั้งต่อไป ผนู้ เิ ทศรายงานผลการนิเทศ เป็น 3 ระยะคอื กอ่ นการปฏบิ ัติการ
นิเทศ ระหว่างการนเิ ทศ และหลังการปฏบิ ตั กิ ารนเิ ทศ

22

4. การนำผลการประเมินไปใชป้ ระโยชน์ (Act : A)
ข้ันตอนนม้ี งุ่ เนน้ การนำขอ้ คน้ พบ จากข้ันตอนการตรวจสอบและประเมินผล มาใช้เปน็ ขอ้ มูลสำคัญ
ในกาพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ กระบวนการบรหิ าร และกระบวนการนเิ ทศ เพื่อใหเ้ กดิ ความต่อเน่ือง
ของการพฒั นางานและมีประสิทธภิ าพ

การวิเคราะหข์ ้อมลู
การวิเคราะหข์ อ้ มูล แบ่งออกเปน็ ๒ ส่วน ดังนี้
๑. ขอ้ มลู เชงิ ปริมาณ วิเคราะหโ์ ดยใช้สถิติพน้ื ฐาน คือ ค่าเฉลีย่ (X) นํามาเทียบกับเกณฑ์ การ

แปลความหมาย

23

บทท่ี 4
ผลการศกึ ษา

ผลการศึกษาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ผู้ศึกษาจะนำเสนอผลการ
ประเมนิ การจัดการเรียนรูข้ องครูผู้สอนคณิตศาสตร์ และความพงึ พอใจในการนเิ ทศการจัดการเรียนรู้

คณติ ศาสตร์ ดังนี้

ตาราง ๑ แสดงผลการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ด้านการเตรียมการจัดการเรียนรู้

(N= ๓)

ขอ้ รายการประเมิน จำนวนท่ีปฏบิ ัติ คิดเป็นรอ้ ยละ

๑ ครูจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้สาระท่ีสอน ๑ ๓๓.๓๓

๒ ครูกำหนดสาระการเรยี นรูส้ อดคล้องกบั ตวั ชีว้ ัด ๒ ๖๖.๖๗

๓ ครกู ำหนดกิจกรรมสอดคลอ้ งกับสาระการเรียนรู้ ๒ ๖๖.๖๗

๔ ครกู ำหนดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ หมาะสมกับเวลา ๒ ๖๖.๖๗

๕ ครกู ำหนดสื่อสอดคลอ้ งกับกิจกรรมการเรยี นรู้ ๒ ๖๖.๖๗

รวมเฉลย่ี ๖๐.๐๐

จากตาราง ๑ พบว่า ผลการจดั การเรยี นรู้ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ ดา้ นการเตรียมการ

จัดการเรยี นรู้ เมือ่ พจิ ารณาโดยภาพรวม มีคา่ เฉล่ีย ๖๐.๐๐ เม่อื พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผลการ

จัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ ด้านการเตรียมการจัดการเรียนรู้ที่ครูผู้สอนคณิตศาสตร์

ปฏิบตั ิน้อยท่ีสดุ คือ ครจู ดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้สาระทส่ี อน มีค่าเฉลย่ี ๓๓.๓๓

ตาราง ๒ แสดงผลการจัดการเรียนรู้ของครผู ู้สอนคณติ ศาสตร์ ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

(N= ๓)

ข้อ รายการประเมิน จำนวนท่ีปฏบิ ัติ คิดเป็นรอ้ ยละ

๑ ครูมีการนำเข้าสู่บทเรียน ๒ ๖๖.๖๗

๒ ครูจัดกิจกรรมสอดคลอ้ งกับตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้ ๒ ๖๖.๖๗

๓ ครูมกี ารเสรมิ แรงและสรา้ งบรรยากาศแกผ่ ู้เรยี นอยา่ ง ๓ ๑๐๐.๐๐

เหมาะสม

๔ ครูเปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนซักถามและแสดงความคดิ เหน็ และ ๒ ๖๖.๖๗

ไดล้ งมือทำด้วยตนเอง

๕ ครสู รุปบทเรยี นเมอื่ จบกระบวนการสอน ๑ ๓๓.๓๓

รวมเฉล่ยี ๖๖.๖๗

จากตาราง ๒ พบว่า ผลการจดั การเรยี นรขู้ องครูผู้สอนคณติ ศาสตร์ ด้านการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ เมอื่ พจิ ารณาโดยภาพรวม มีค่าเฉล่ยี ๖๖.๖๗ เมอื่ พิจารณาเปน็ รายข้อ พบว่า ผลการจัดการ

เรยี นรูข้ องครูผสู้ อนคณิตศาสตร์ ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ที่ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ปฏบิ ัตนิ ้อย

ที่สดุ คือ ครูสรปุ บทเรยี นเมื่อจบกระบวนการสอน มีคา่ เฉลีย่ ๓๓.๓๓

24

ตาราง ๓ แสดงผลการจดั การเรียนรขู้ องครผู ู้สอนคณิตศาสตร์ ดา้ นการใช้สือ่ เทคโนโลยกี าร

จดั การเรียนรู้ (N= ๓)

ข้อ รายการประเมนิ จำนวนทป่ี ฏบิ ตั ิ คดิ เป็นรอ้ ยละ

๑ ครใู ช้ส่อื สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ ๒ ๖๖.๖๗

๒ ครใู ช้ส่อื เรา้ ความสนใจผู้เรยี น ๑ ๓๓.๓๓

๓ ครใู ชส้ ่อื ไดเ้ หมาะสมกับผู้เรยี น ๒ ๖๗.๖๗

๔ ครูไดผ้ ลติ สอื่ การเรียนรู้ให้สอดคล้องกบั เนื้อหาของ ๒ ๖๖.๖๗

บทเรยี น

๕ ครูใชส้ ือ่ การเรียนรู้ท่หี ลากหลายเพื่อให้ผเู้ รียนบรรลุ ๒ ๖๖.๖๗

จุดมุ่งหมายของการเรยี น

รวมเฉลีย่ ๖๐.๐๐

จากตาราง ๓ พบว่า ผลการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ ด้านการใช้ส่ือ

เทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ เมื่อพิจารณาโดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ย ๖๐.๐๐ เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้

พบว่า ผลการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ ด้านการใช้สื่อเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ท่ี

ครผู ู้สอนคณติ ศาสตร์ปฏิบตั ินอ้ ยทีส่ ดุ คือ ครใู ช้สอ่ื เร้าความสนใจผู้เรยี น มคี า่ เฉลีย่ ๓๓.๓๓

ตาราง ๔ แสดงผลการจดั การเรียนรขู้ องครูผู้สอนคณติ ศาสตร์ด้านการวดั และการประเมนิ ผลการ

เรียนรู้ (N= ๓)

ขอ้ รายการประเมนิ จำนวนทีป่ ฏิบัติ คดิ เป็นร้อยละ

๑ ครูศกึ ษาและทำความเข้าใจระเบียบการวัดและ ๒ ๖๖.๖๗

ประเมนิ ผลการเรียนของสถานศึกษาและที่เกยี่ วข้องอยู่

เสมอ

๒ ครูไดจ้ ัดทำเครอื่ งมือวดั ผลการเรยี นได้ครอบคลมุ ตัวช้วี ัด ๒ ๖๖.๖๗

และมาตรฐานการเรียนรใู้ นเนอ้ื หาท่ีสอน

๓ ครูดำเนนิ การวดั ผลการเรียนร้กู ่อนเรียนระหวา่ งเรยี น ๑ ๓๓.๓๓

และหลังเรยี น

๔ ครไู ดน้ ำผลการวัดและประเมินผลการเรียนรูม้ าพฒั นา ๒ ๖๖.๖๗

ผู้เรียนอย่เู สมอ

รวมเฉลีย่ ๕๘.๓๔

จากตาราง ๔ พบว่า ผลการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ ด้านการวัดและ

การประเมินผลการเรียนรู้ เมื่อพิจารณาโดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ย ๕๘.๓๔ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ

พบว่า ผลการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ ด้านการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ ที่

ครูผ้สู อนคณติ ศาสตร์ปฏบิ ัติน้อยที่สุด คือ ครดู ำเนนิ การวดั ผลการเรยี นร้กู อ่ นเรยี น ระหวา่ งเรยี น และ

หลังเรยี น มีคา่ เฉลยี่ ๓๓.๓๓

25

๒. ความพงึ พอใจในการนิเทศการจัดการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
ผลการศึกษาความพึงพอใจในการนิเทศการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ดังนี้

ตาราง ๕ แสดงผลการศึกษาความพงึ พอใจในการนเิ ทศการจัดการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์

ข้อ รายการ ระดบั ความคดิ เห็น
คา่ เฉลี่ย แปลผล
ความพงึ พอใจตอ่ การดำเนินการนเิ ทศ
1 วิธีการกำหนดกลุม่ เปา้ หมายและกล่มุ ตัวอย่างในการนเิ ทศ 3.4 ปานกลาง
2 การกำหนดหลักสตู ร เนื้อหาสาระและกจิ กรรมการนเิ ทศ 4.3 มาก
3 การกำหนดวนั เวลาและสถานท่ี ที่ใชใ้ นการนเิ ทศ 4.2 มาก
4 การกำหนดใหศ้ ึกษานเิ ทศก์ทำหน้าทเ่ี ป็นผู้นิเทศ 4.3 มาก
5 การจัดบคุ ลากรทเี่ ก่ยี วขอ้ งมาช่วยปฏิบัตงิ าน 3.3 ปานกลาง
6 การนำสอ่ื และเครื่องมอื นเิ ทศ มาใชจ้ รงิ ในการนิเทศ 4.3 มาก
7 การปฏิบัตกิ ารนเิ ทศโดยใชก้ จิ กรรมและวธิ กี ารที่กำหนดไว้ในแผน 4.1 มาก

นเิ ทศ 4.6 มากทส่ี ดุ
8 ความเปน็ กนั เองระหวา่ งผู้นเิ ทศกับผู้รับการนิเทศ 4.1 มาก
9 การใหค้ ำปรกึ ษาแนะนำเปน็ รายบุคคลท่ีมุ่งเจาะลึกถึงปัญหาและ
4.2 มาก
ความต้องการของผูร้ บั การนเิ ทศแตล่ ะคน
10 ความเชย่ี วชาญและความมนั่ ใจในเทคนิควธิ ีการนเิ ทศและเร่ืองท่ี 4.1 มาก

นิเทศของผ้นู เิ ทศ 4.6 มากทส่ี ดุ
11 การแกป้ ัญหาทีเ่ กดิ ขนึ้ จากการนเิ ทศใหส้ ำเรจ็ ลุลว่ งดว้ ยดี
ความพงึ พอใจต่อการดำเนนิ การนเิ ทศ 4.2 มาก
12 การให้ผูร้ ับการนิเทศเปน็ ผู้ประเมินผลการนเิ ทศหลังเสร็จส้ินการ
4.6 มากท่สี ุด
นิเทศ
13 การจดั ทำรายงานการนิเทศเพ่ือสรปุ ผลการนิเทศ 4.3 มาก
ความพึงพอใจต่อผลการนเิ ทศทเ่ี กดิ ข้นึ กับผรู้ ับการนิเทศ
14 การเสริมแรงให้ผู้รับการนิเทศมีขวัญกำลังใจในการมุมานะ 4.7 มากท่สี ดุ

ปฏบิ ตั ิงานทรี่ บั การนิเทศให้สำเร็จ
15 ผลสำเร็จจากการจัดการเรียนรู้ของครู โดยใช้เทคนิคชุมชนการ

เรียนรู้ทางวิชาชีพ และได้รับการนิเทศแบบให้คำชี้แนะ
Coaching ดำเนนิ การไปดว้ ยดตี ามแนวทางท่ีไดร้ บั การนเิ ทศหลัง
เสร็จสิน้ การรับการนิเทศ
16 ความประทับใจที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมการนิเทศตลอด
ระยะเวลาของการเข้ารบั การนิเทศ

26

ข้อ รายการ ระดบั ความคดิ เหน็
คา่ เฉลีย่ แปลผล

17 ความร,ู้ ทักษะและประสบการณห์ ลงั พฒั นาตนเอง โดยใชเ้ ทคนิค 4.5 มากทส่ี ุด

ชุมชน การเรยี นรูท้ างวชิ าชพี ทไ่ี ด้รบั จากการเข้ารบั การนเิ ทศ

18 รปู แบบและแนวทางการศึกษาด้วยตนเองทไ่ี ด้รับจากการนิเทศ 4.2 มาก

ความพงึ พอใจต่อผลการนเิ ทศทส่ี ่งผลตอ่ นักเรยี น

19 ความรู้ที่ได้รับนำไปใช้แก้ปัญหาและพัฒนาการเรียนการสอนได้ 4.2 มาก

ตรงจดุ

20 นกั เรียนสนใจเรียนมากขนึ้ 4.3 มาก

เฉลยี่ รวม 4.22 มาก

จากตาราง ๕ พบวา่ ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจในการนเิ ทศการจัดการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์

เมอื่ พจิ ารณาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มคี า่ เฉล่ีย ๔.๒๒ เมอื่ พิจารณาเปน็ รายข้อ พบวา่ ครูมี

ในการนิเทศการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน ๕ ข้อ ได้แก่ ๑) ความเป็น

กันเองระหวา่ งผู้นเิ ทศกับผรู้ บั การนิเทศ ๒) การให้ผู้รับการนิเทศเป็นผ้ปู ระเมนิ ผลการนิเทศหลังเสร็จ

ส้ินการนเิ ทศ ๓) การเสริมแรงให้ผู้รับการนิเทศมีขวัญกำลงั ใจในการมมุ านะปฏิบตั ิงานที่รับการนิเทศ

ใหส้ ำเรจ็ ๔) ความประทับใจท่ไี ดร้ ับจากการปฏิบตั ิกิจกรรมการนิเทศตลอดระยะเวลาของการเข้ารับ

การนิเทศ ๕) ความรู้, ทกั ษะและประสบการณ์หลงั พฒั นาตนเอง โดยใช้เทคนิคชุมชน การเรียนรู้ทาง

วชิ าชีพ ท่ไี ดร้ ับจากการเข้ารบั การนเิ ทศ

การนำไปพัฒนางาน/เชอื่ มโยงประยุกตใ์ ช้
๑. สามารถใชป้ รับปรุงและพัฒนาระบบการจดั การเรยี นรู้ของครใู หม้ ีประสทิ ธิภาพมากย่ิงขนึ้

๒. สามารถนำไปช่วยเหลือครใู นการสะท้อนปญั หาการจดั กิจกรรมการเรียนรู้และครู
สามารถนำข้อมูลต่าง ๆ จากผู้นิเทศไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มี

คณุ ภาพ
๓. สามารถรับรู้สภาพปัญหา อุปสรรคในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งจะนำไปสู่ข้อมูล

เกยี่ วกบั ความต้องการในการนิเทศอย่างแทจ้ รงิ

๔. เปน็ การสร้างสมั พันธภาพที่ดใี นการทำงานระหว่างนเิ ทศและรับรูก้ ารนิเทศ

27

บทท่ี 5
สรุปอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ

สรุปผล
การศึกษาผลการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของครูผสู้ อนคณิตศาสตร์ โรงเรียนบา้ นดินแดง

สามคั คีด้วยการใช้เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching ) สรุปไดด้ ังนี้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านดินแดง

สามัคคีด้วยการใช้เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching ) ดังนี้ ด้านการเตรียมการจัดการเรียนรู้
มีค่าเฉลี่ย ๖๐.๐๐ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ย ๖๖.๖๗ ด้านการใช้สื่อเทคโนโลยีการ
จัดการเรียนรู้ มคี ่าเฉล่ีย ๖๐.๐๐ และด้านการวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ มีค่าเฉล่ยี ๕๘.๓๔

๒. ผลการศกึ ษา๑. ความพึงพอใจในการนิเทศการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เม่ือ
พจิ ารณาโดยภาพรวมพบว่า มีคา่ เฉลีย่ อยู่ในระดบั มาก ( X = 4.๒๒)

อภิปรายผล
จากการดำเนนิ การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ โรงเรยี นบ้านดินแดง

สามคั คีด้วยการใช้เทคนิคการนเิ ทศแบบชแ้ี นะ(Coaching ) พบว่า แนวการจดั การเรียนรู้คณิตศาสตร์
ครผู สู้ อน การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นจดั การเรียนรู้โดยจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ กำหนดสาระการ
จัดการเรียนรู้ กำหนดกจิ กรรม และมีส่ือการเรียนรู้ท่หี ลากหลายสอดคล้องกบั เนื้อหาบทเรยี น

ขนั้ ตอนการจดั การเรียนรู้ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ ครผู สู้ อนมคี วามรู้การนำเข้าสู่บทเรียนมี
การเสริมแรงสร้างบรรยากาศแก่ผู้เรียนอย่างเหมาะสม เปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามและแสดงความ
คดิ เห็นและลงมอื ทำด้วยตนเอง

การสะท้อนผลการนิเทศระหว่างผู้บริหาร ครู ผู้นเิ ทศ พบวา่ จุดแขง็ ของโรงเรยี นบ้านดินแดง

สามัคคี คือ ครูผู้สอนจบตรงสาขาวิชาเอก ครูมีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความตั้งใจมุ่งมั่นในการ
ปฏิบัติหน้าที่อยา่ งเต็มเวลา เต็มความสามารถ ทำงานเป็นทีม มีความรักสามคั คี มีน้ำใจช่วยเหลือซึ่ง

กันและกนั มคี รจู ัดกจิ กรรมสง่ เสริมให้นักเรียนกล้าแสดงออกสร้างความม่ันใจในตนเอง ครสู ่งเสริมให้
นกั เรียนเรยี นรู้จากการปฏิบัตจิ ริง ส่งเสรมิ ให้นกั เรียนมสี ว่ นรว่ มในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มที่

เอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นแบบอย่างทีด่ ีของศิษย์ เข้ากับผู้ปกครองและชุมชนได้ดีผู้บรหิ ารสนบั สนุนการ

จดั กระบวนการเรยี นรูเ้ พ่อื ใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุดตอ่ ผเู้ รยี น จุดอ่อน ครูควรนำภูมิปัญญาท้องถ่ินให้เข้า
มามีส่วนรว่ มในการจดั กิจกรรมให้นักเรียนได้เรยี นรู้

ขอ้ เสนอแนะ
1. ควรศกึ ษาพฒั นาการนเิ ทศการจดั การเรยี นรู้คณติ ศาสตรด์ ว้ ยนักเรยี นในระดับชั้นอืน่ ๆ

เนื้อรายวิชาอ่ืนๆ และกลุม่ สาระการเรยี นรู้อ่นื ๆ เพือ่ ศึกษาผลทเ่ี กดิ ขึ้นกับ นกั เรยี น
2. ควรมีการศึกษาการจดั การเรียนรู้คณิตศาสตร์ซงึ่ เกีย่ วของกับภูมิปญั ญาท้องถ่นิ

28

3. ควรมีการบูรณาการกับรายวชิ าอื่น ๆ
4. การสรา้ งขวัญและกำลงั ใจแกค่ รูผู้สอน เพื่อสร้างแรงจงู ใจ สามารถเปน็ แนวทาง

ความก้าวหน้าในวิชาชีพได้

29

บรรณานกุ รม

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2539). ผลการประเมินความสำเร็จในการจัดการเรยี นร.ู้ กรุงเทพฯ : สำนัก
การศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร.

ฉววี รรณ เศวตมาลย.์ (2545). การพัฒนาหลกั สูตรคณติ ศาสตร.์ กรุงเทพฯ: สุวีรยิ าสาส์น.

ชาญชยั อาจนิ สมาจาร. 2547. การนเิ ทศการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพเคแอนดพบี คุ ส.

วชั รา เล่าเรียนดี. (2553). การนิเทศการสอน. นครปฐม: โรงพิมพม์ หาวทิ ยาลยั ศิลปากร.

ราชบัณฑติ ยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ:

นานมบี ุคสพบั ลิเคชั่นส์.

โรงเรยี นบา้ นดินแดงสามคั ค.ี 2562. รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาโรงเรียน

บ้านดนิ แดงสามัคคี. สรุ าษฎรธานี : โรงเรยี นบ้านดนิ แดงสามคั ค.ี

มลู นิธิสยามกัมมาจล. (๒๕๕๙). เกี่ยวกบั เรา(มลู นิธิสยามกัมมาจล).(ออนไลน์). สบื คน้ เมือ่
วันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๕๙ จากhttps://www.scbfoundation.com/about/about.php

ดเิ รก ศรีวะโสภา. (254๘). ศกึ ษาวิธีการแก้ไขความขดั แยง้ ตามแบบของโธมัส คิลแมนนข์ อง
ผ้บู รหิ ารโรงเรยี นมธั ยมศึกษาสังกดั กรมสามญั ศึกษาเขตการศกึ ษา 9.
วทิ ยานิพนธ์ครศุ าสตร์มหาบณั ฑิตสาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษาจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

สมลกั ษณ์ พรหมมีเนตร. คู่มอื การบริหารงานวชิ าการทเี่ น้นนักเรียนเปน็ ศูนยก์ ลางของผชู้ ว่ ย
ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา สงั กัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 7. พษิ ณโุ ลก : หน่วย
ศึกษานิเทศกก์ รมสามัญศึกษา, 2544.

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (25๕๔).การสอนที่เน้นนกั เรียนเปน็ ศูนยก์ ลาง.
กรงุ เทพฯ: สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี

สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาติ. (2540). การปฏริ ูปการเรียนรผู้ เู้ รยี นเปน็ สำคัญ
ท่ีสุด. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พค์ รุ สุ ภาลาดพรา้ ว.

สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแทง่ ชาติ. สำนักนายกรฐั มนตร.ี (2558).

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแท่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 พ.ศ.2560–2564.

สบื ค้นเมอ่ื วนั ที่ 5 เมษายน 2561 จาก http://wivw.nesdb.go.th

สุรทร หลักคำ. การพัฒนาแผนการเรียนรู้. วิทยานพิ นธ.์ มหาสารคาม, มหาสารคาม
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาขน). (2557). คูม่ ือ

การประเมนิ คณุ ภาพภายบอกรอบสาม. กรุงเทพฯ : สำนกั งานฯ

สำนักงานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาขน). (2557). คมู่ ือ

การประเมนิ คุณภาพภายบอกรอบสาม. กรุงเทพฯ : สำนกั งานฯ

อำรุง จนั ทวานิช และไพบลู ย์ แจม่ พงษ.์ (25๔๒). การศึกษาแนวทางการพฒั นาคณุ ภาพ.
วารสารวชิ าการ, ๒(๙), ๑-๑๒.

30

บรรณานกุ รม (ตอ่ )

เวบ็ ไซต์เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี เขต 1, สำนกั งาน. (2563). คลงั ขอ้ มลู ขนาด

ใหญ่ Big data. เข้าถึงข้อมูลได้จาก : https://www.surat1.go.th/. (สืบค้นเมื่อ 18
มกราคม 2563).

Bertrand Arthur William Russell, (1970),Theoretical Base of Communicative
Approaches to Second.

Good, C. V. (1973). Dictionary of Education. (3rd ed). New York: McGraw - Hill
book Go.
Harris, B.M. 1985. Supervisory Behavior in Education. 2d ed. Englewood Cliff,New

Jersy: Prentice-Hall,Inc.
Ray, D. S. (1987). A study of motivation factors of elementary school teacher in

metropolitan public school system. Dissertation Abstracts International, 4 8
(1), p. 24-A.

31

ภาคผนวก

32

แบบบนั ทกึ การนิเทศ ติดตาม การจัดการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์

33

แบบบนั ทึกการนเิ ทศ ตดิ ตาม การจัดการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์

คำช้ีแจง :
1. แบบบันทึกฉบับนีใ้ ชส้ ำหรบั นเิ ทศ ติดตาม การจัดการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
2. แบบบนั ทกึ นเิ ทศ ตดิ ตาม ฉบับนี้ ประกอบด้วย 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ตอนที่ 2 ผลการจดั การเรยี นรู้
ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจของผูร้ ับการนเิ ทศ
3. ให้ผู้นิเทศ สังเกต สอบถามและรวบรวมข้อมูล ตามแบบบันทึกนิเทศ ติดตามแล้วบันทึกผลการ

ปฏิบัตงิ านของผู้รับการนิเทศ รวมทง้ั ให้คำปรึกษา ชแ้ี นะ ชว่ ยเหลอื เก่ยี วกบั การจดั การเรียนรู้คณติ ศาสตร์

34

ตอนที่ 1 ข้อมูลพนื้ ฐาน

โรงเรยี น ........................................... อำเภอ.........................จงั หวดั ......................................................

ครผู สู้ อนกลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

 ตรงวชิ าเอก จำนวน...................คน

 ไมต่ รงวิชาเอก จำนวน...................คน

ประสบการณส์ อน

 0 - 5 ปี จำนวน...................คน

 6 – 10 ปี จำนวน...................คน

 10 ปี ข้ึนไป จำนวน...................คน

ด้านผ้บู ริหารสถานศกึ ษา

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ด้านครผู ู้สอน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

จดุ แขง็ ของครู

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

จดุ ทีค่ วรพฒั นา

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ความตอ้ งการการจัดการเรียนการร้ขู องครผู สู้ อนคณติ ศาสตร์

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

35

ตอนที่ ๒ ผลการศกึ ษาการจดั การเรียนรขู้ องครผู ูส้ อนคณติ ศาสตร์

คำชี้แจง ผู้นเิ ทศ สังเกต สอบถามและบันทึกข้อมลู ที่สะท้อนให้เห็นถงึ การปฏิบตั ิงานและหลกั ฐานหรอื รอ่ งรอยใน
การจดั การเรยี นรู้คณิตศาสตร์

ขอ้ รายการประเมิน จำนวนท่ปี ฏบิ ัติ คิดเปน็ ร้อยละ
(คน)
ดา้ นการเตรียมการจัดการเรยี นรู้
๑ ครูจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้สาระท่ีสอน
๒ ครกู ำหนดสาระการเรียนรสู้ อดคลอ้ งกับตัวช้วี ัด
๓ ครูกำหนดกิจกรรมสอดคล้องกบั สาระการเรียนรู้
๔ ครูกำหนดกิจกรรมการเรยี นรู้เหมาะสมกับเวลา
๕ ครูกำหนดสอื่ สอดคลอ้ งกับกจิ กรรมการเรยี นรู้

ด้านการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
6 ครูมกี ารนำเข้าสบู่ ทเรยี น
7 ครูจัดกจิ กรรมสอดคล้องกับตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรู้
๗ ครมู กี ารเสริมแรงและสรา้ งบรรยากาศแก่ผู้เรยี นอย่างเหมาะสม
๘ ครเู ปดิ โอกาสให้ผ้เู รยี นซักถามและแสดงความคดิ เห็นและไดล้ ง

มอื ทำดว้ ยตนเอง
๙ ครูสรุปบทเรียนเมื่อจบกระบวนการสอน

ด้านการใช้ส่ือเทคโนโลยกี ารจดั การเรียนรู้

๑๐ ครใู ชส้ ื่อสอดคลอ้ งกบั สาระการเรยี นรู้
๑๑ ครูใชส้ ื่อเร้าความสนใจผู้เรียน
๑๒ ครูใชส้ ือ่ ไดเ้ หมาะสมกบั ผู้เรียน
๑๓ ครูไดผ้ ลติ สอ่ื การเรียนรู้ใหส้ อดคล้องกบั เน้ือหาของบทเรียน
๑๔ ครใู ชส้ อ่ื การเรียนรู้ทีห่ ลากหลายเพ่อื ให้ผ้เู รียนบรรลจุ ดุ มุ่งหมาย

ของการเรียน
ดา้ นการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
๑๕ ครูศึกษาและทำความเขา้ ใจระเบยี บการวัดและประเมนิ ผลการ
เรยี นของสถานศึกษาและทีเ่ กยี่ วขอ้ งอยู่เสมอ
๑๖ ครูได้จัดทำเครือ่ งมอื วัดผลการเรียนได้ครอบคลมุ ตวั ชีว้ ัดและ
มาตรฐานการเรียนรูใ้ นเนื้อหาทีส่ อน
๑๗ ครูดำเนินการวดั ผลการเรียนรู้ก่อนเรียนระหวา่ งเรียน และหลงั
เรียน
๑๘ ครูไดน้ ำผลการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรมู้ าพฒั นาผูเ้ รยี นอยู่
เสมอ

รวมเฉล่ยี

36

ตอนที่ 3 ผลการศกึ ษาความพึงพอใจในการนเิ ทศการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์

เกณฑ์การพิจารณา

5 หมายถึง ระดับความคดิ เห็น มากทีส่ ดุ 4 หมายถงึ ระดบั ความคิดเห็น มาก

3 หมายถงึ ระดับความคดิ เหน็ ปานกลาง 2 หมายถงึ ระดับความคดิ เห็น น้อย

1 หมายถึง ระดับความคิดเหน็ น้อยท่ีสุด

ระดบั ความพึง

ขอ้ รายการ พอใจ

54321

ความพึงพอใจตอ่ การดำเนนิ การนเิ ทศ

1 วธิ ีการกำหนดกลุม่ เป้าหมายและกลมุ่ ตวั อย่างในการนเิ ทศ

2 การกำหนดหลักสูตร เนอ้ื หาสาระและกจิ กรรมการนิเทศ

3 การกำหนดวนั เวลาและสถานท่ี ที่ใชใ้ นการนเิ ทศ

4 การกำหนดให้ศกึ ษานเิ ทศกท์ ำหน้าที่เป็นผ้นู เิ ทศ

5 การจัดบคุ ลากรทเี่ กีย่ วขอ้ งมาชว่ ยปฏิบตั ิงาน

6 การนำสอื่ และเครื่องมอื นิเทศ มาใช้จรงิ ในการนิเทศ

7 การปฏบิ ัติการนเิ ทศโดยใช้กจิ กรรมและวธิ ีการท่ีกำหนดไว้ในแผนนิเทศ

8 ความเป็นกันเองระหวา่ งผู้นิเทศกบั ผูร้ บั การนิเทศ

9 การให้คำปรึกษาแนะนำเป็นรายบุคคลที่มุ่งเจาะลึกถึงปัญหาและความต้องการ

ของผูร้ ับการนิเทศแต่ละคน

10 ความเชยี่ วชาญและความม่ันใจในเทคนิควิธีการนเิ ทศและเรื่องทนี่ เิ ทศของผ้นู ิเทศ

11 การแกป้ ญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการนิเทศใหส้ ำเรจ็ ลลุ ว่ งดว้ ยดี

ความพงึ พอใจตอ่ การดำเนินการนเิ ทศ

12 การให้ผ้รู ับการนเิ ทศเปน็ ผู้ประเมินผลการนเิ ทศหลังเสรจ็ สิน้ การนิเทศ

13 การจัดทำรายงานการนเิ ทศเพ่ือสรุปผลการนเิ ทศ

ความพึงพอใจตอ่ ผลการนิเทศทีเ่ กดิ ขึ้นกบั ผูร้ บั การนเิ ทศ

14 การเสริมแรงให้ผู้รับการนิเทศมีขวัญกำลังใจในการมุมานะปฏิบัติงานที่รับการ

นเิ ทศให้สำเรจ็

15 ผลสำเร็จจากการจัดการเรียนรู้ของครู โดยใช้เทคนิคชุมชนการเรียนรูท้ างวชิ าชพี

และได้รับการนิเทศแบบให้คำชี้แนะ Coaching ดำเนินการไปด้วยดีตามแนวทางท่ี

ไดร้ ับการนิเทศหลังเสรจ็ สน้ิ การรับการนิเทศ

16 ความประทับใจทีไ่ ด้รับจากการปฏิบัตกิ จิ กรรมการนิเทศตลอดระยะเวลาของการ

เข้ารบั การนเิ ทศ

17 ความร,ู้ ทักษะและประสบการณห์ ลังพัฒนาตนเอง โดยใชเ้ ทคนิคชมุ ชน การเรียนรู้

ทางวชิ าชีพ ทไี่ ด้รบั จากการเข้ารบั การนิเทศ

18 รปู แบบและแนวทางการศกึ ษาด้วยตนเองทีไ่ ด้รบั จากการนิเทศ

ความพึงพอใจตอ่ ผลการนิเทศทสี่ ง่ ผลต่อนกั เรียน

19 ความรู้ท่ีไดร้ บั นำไปใช้แก้ปัญหาและพัฒนาการเรียนการสอนไดต้ รงจดุ

20 นกั เรยี นสนใจเรยี นมากขึน้

เฉล่ยี รวม

37


Click to View FlipBook Version