The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanthicha2545, 2021-03-31 03:42:59

pdf24_merged

pdf24_merged

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล

จากการดำเนนิ โครงการได้มกี ารตดิ ตามประเมนิ ผล ผ้ปู ระเมินผลดำเนนิ การวิเคราะห์ขอ้ มลู
และแปรความตามลำดับดังนี้

4.1 ผลการดำเนินงาน
ผลดำเนินงานโครงการ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยใช้โปรแกรมเว็บ

Dialogflowจากการวิเคราะห์ทั่วไปจากผู้ตอบแบบประเมินท้ังหมด จำนวน 210 คน จำแนกตามเพศ
และระดับชั้นแสดงจำนวนผูต้ อบแบบสอบถาม
ตารางที่ 4.1 แสดงจำนวนของผูต้ อบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ

กลุ่มท่ี เพศ จำนวน รอ้ ยละ
1 ชาย 96 45.70
2 หญงิ 114 54.30
รวม 210 100

จากตารางที่ 4.1 พบว่าจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ ได้แก่ เพศชาย
จำนวน 96 คน คิดเป็นร้อยละ 45.70 ของประชากรทั้งหมด และเพศหญิง จำนวน 114 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 54.30 ของประชากรท้งั หมด

แผนภูมิแสดงจํานวนของผ้ตู อบแบบสอบถามจาํ แนกตามเพศ

54% 46%

ชาย หญิง
ภาพที่ 4.1 แสดงแผนภมู ิเพศของผ้ตู อบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ

36

ตารางท่ี 4.2 แสดงจำนวนของผตู้ อบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ

กลมุ่ ที่ อายุ (ป)ี จำนวน ร้อยละ
1 15-16 22 10.50
2 17-18 146 69.50
3 19-20 42 20.00
รวม 210 100

จากตารางที่ 4.2 พบว่าจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ 15-16 ปี
จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ10.50 อายุ 17-18 จำนวน 146 คน คิดเป็นร้อยละ 69.50 ปี
และอายุ 19-20 ปี จำนวน 42 คน คิดเปน็ ร้อยละ 20.00

แผนภูมแิ สดงจาํ นวนของผ้ตู อบแบบสอบถามจาํ แนกตามอายุ

20% 10%

70%

15-16 17-18 19-20

ภาพท่ี 4.2 แสดงแผนภูมิอายุของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ

37

ตารางที่ 4.3 แสดงจำนวนของผตู้ อบแบบสอบถามจำแนกตามระดับช้ัน

กลุ่มที่ ระดับช้นั จำนวน ร้อยละ
1 ปวช. 167 79.50
2 ปวส. 43 20.50
รวม 210
100

จากตารางที่ 4.3 พบว่าจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามระดับช้นั ปวช.จำนวน
167 คน คดิ เป็นร้อยละ 79.50 และปวส. จำนวน 43 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20.50

แผนภมู แิ สดงจํานวนของผ้ตู อบแบบสอบถามจําแนกตามระดบั ชน้ั

20%

80%

ปวช. ปวส.
ภาพที่ 4.3 แสดงแผนภมู ิระดับชั้นของผ้ตู อบแบบสอบถามจำแนกตามระดับชน้ั

38

ตารางที่ 4.4 แสดงความพึงพอใจดา้ นการนำไปใชป้ ระโยชน์

เรอ่ื งการประเมิน คา่ เฉลย่ี สว่ นเบี่ยงเบน ระดบั ความพึง
̅ มาตราฐาน พอใจ
มาก
1.1 สามารถตอบคำถามไดด้ ี 4.35 (S.D) มาก
4.32 0.76
1.2 ให้ผลลพั ธ์ถูกต้องตามความ มาก
ต้องการ 4.32 0.80 มาก
1.3 สามารถอำนวยความสะดวกแก่ 4.33
ผ้ใู ช้งานได้ 0.87
0.66
รวมทั้งส้ิน

จากตารางท่ี 4.4 พบวา่ ความพงึ พอใจดา้ นการนำไปใช้ประโยชน์ภาพรวมอยู่ในระดับมาก
( ̅=4.33, S.D.=0.66) เมื่อพิจารณาจากความพึงพอใจด้านการ นำไปใช้ประโยชน์ พบว่า
สามารถตอบคำถามได้ดีอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.35, S.D.=0.76), ให้ผลลัพธ์ถูกต้องตามความต้องการ
อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.32, S.D.=0.80) และสามารถอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานได้
อยู่ในระดบั มาก ( ̅=4.32, S.D.=0.87) ตามลำดับ

แผนภมู ิแสดงความพึงพอใจด้านการนำไปใช้ประโยชน์

10
8
6
4
2
0

ขอ้ 1.1 ขอ้ 1.2 ข้อ1.3
ค่าเฉลย่ี ส่วนเบีย่ งเบนมาตราฐาน

ภาพที่ 4.4 แสดงแผนภมู คิ วามพึงพอใจด้านการนำไปใชป้ ระโยชน์

39

ตารางท่ี 4.5 แสดงความพึงพอใจด้านข้อมลู

เร่ืองการประเมิน ค่าเฉลย่ี สว่ นเบีย่ งเบน ระดับความพึง
̅ มาตราฐาน พอใจ
2.1 มีการจัดหมวดหมู่ให้ง่าย 4.31
ต่อการค้นหา (S.D)
2.2 ขอ้ ความถูกต้องตามหลัก 4.45
ภาษาและไวยากรณ์ 0.77 มาก
2.3 ความถกู ต้องของข้อมลู 4.46
4.40 0.71 มาก
รวมทั้งส้ิน
0.72 มาก
0.61 มาก

จากตารางท่ี 4.5 พบวา่ ความพงึ พอใจด้านขอ้ มูลของโครงการ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยี
ธุรกิจดิจิทัลโดยโปรแกรมเว็บ Dialogflow ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.40, S.D.=0.61)
เ ม ื ่ อ พ ิ จ า ร ณ า จ า ก ค ว า ม พ ึ ง พ อ ใ จ ด ้ า น ข ้ อ ม ู ล พ บ ว ่ า ค ว า ม ถ ู ก ต ้ อ ง ข อ ง ข ้ อ ม ู ล อ ยู่ ใ น ร ะ ด ั บ ม า ก
( ̅=4.46, S.D.=0.72 ),ข้อความถูกต้องตามหลักภาษาและไวยากรณ์ อยู่ในระดั บมา ก
( ̅ =4.45, S.D.=0.71) และมกี ารจดั หมวดหมู่ใหง้ ่ายต่อการคน้ หาในระดับมาก( ̅=4.31, S.D.=0.77)
ตามลำดับ

แผนภูมแิ สดงความพึงพอใจด้านขอ้ มลู

8

6

4

2

0
ข้อ2.1 ขอ้ 2.2 ขอ้ 2.3

ค่าเฉล่ีย สว่ นเบ่ียงเบนมาตราฐาน

ภาพที่ 4.5 แสดงแผนภูมคิ วามพึงพอใจดา้ นข้อมลู

40

ตารางที่ 4.6 แสดงความพึงพอใจดา้ นการใชง้ าน

เรอ่ื งการประเมิน คา่ เฉลยี่ สว่ นเบ่ียงเบน ระดับความพึง
( ̅) มาตราฐาน พอใจ
3.1 สามารถใชง้ านไดง้ า่ ยโดยไม่มี
ผู้ใหค้ ำแนะนำ 4.22 (S.D) มาก
3.2 ระยะเวลาในการตอบสนองต่อ
ขอ้ คำถาม 4.33 0.91
3.3 ปุ่มเมนตู ่างๆใช้งานได้งา่ ยและ
เหมาะสม 4.31 0.79 มาก
3.4 ความเหมาะสมของพืน้ หลงั กับ
ตัวอกั ษร 4.45 0.82 มาก
4.33
รวมท้ังสิ้น 0.81 มาก
0.66 มาก

จากตารางที่ 4.6 พบว่าความพึงพอใจด้านการใช้งานของโครงการ Chatbot สาขาวิชา
เทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจิทัลโดยโปรแกรมเวบ็ Dialogflow ภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก ( ̅=4.33, S.D.=0.66)
เมื่อพิจารณาจากความพึงพอใจด้านการใช้งานพบว่าความเหมาะสมของพื้นหลังกับตัวอักษรอยู่ใน
ระดับมาก ( ̅ =4.45, S.D.=0.81), ระยะเวลาในการตอบสนองต่อข้อคำถามอยู่ในระดับมาก
( ̅=4.33, S.D.=0.79), ปุ่มเมนูต่างๆใช้งานได้ง่ายและเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.31,
S.D.=0.81) และสามารถใช้งานได้ง่ายโดยไม่มีผู้ให้คำแนะนำอยู่ในระดับมาก ( ̅ =4.22, S.D.=0.91)
ตามลำดับ

แผนภมู ิแสดงความพึงพอใจด้านการใช้งาน

10

5

0
ข้อ3.1 ขอ้ 3.2 ขอ้ 3.3 ข้อ3.4

คา่ เฉล่ีย ส่วนเบยี่ งเบนมาตราฐาน

ภาพที่ 4.6 แสดงแผนภูมคิ วามพึงพอใจด้านการใช้งาน

41

ตารางที่ 4.7 แสดงสถติ ิระดับความพงึ พอใจของนักเรยี นนักศึกษา สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจทิ ัล

ทป่ี ระเมนิ โครงการโครงการ Chatbot สาขาเทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ทิ ัลโดยโปรแกรมเว็บ Dialogflow

รายละเอียด คา่ เฉลี่ย สว่ นเบ่ยี งเบน ระดบั
( ̅) มาตราฐาน ความพึง
พอใจ
(S.D)

1.ด้านการนำไปใช้ประโยชน์

1.1 สามารถตอบคำถามได้ดี 4.35 0.76 มาก

1.2 ใหผ้ ลลัพธถ์ กู ตอ้ งตามความตอ้ งการ 4.32 0.80 มาก

1.3 สามารถอำนวยความสะดวกแก่ 4.32 0.87 มาก
ผใู้ ชง้ านได้

รวม 4.33 0.66 มาก

2.ดา้ นข้อมูล

2.1 มกี ารจัดหมวดหมู่ให้ง่ายตอ่ การ 4.31 0.77 มาก
คน้ หา 4.45 0.71 มาก
2.2 ข้อความถูกต้องตามหลักภาษาและ
ไวยากรณ์

2.3 ความถูกต้องของข้อมลู 4.46 0.72 มาก

รวม 4.41 0.61 มาก

3.ด้านการใช้งาน

3.1 สามารถใชง้ านได้ง่ายโดยไมม่ ผี ู้ให้ 4.22 0.91 มาก
คำแนะนำ 4.33 0.79 มาก
3.2 ระยะเวลาในการตอบสนองต่อข้อ 4.31 0.82 มาก
คำถาม 4.45 0.81 มาก
3.3 ปุ่มเมนูต่างๆใช้งานได้ง่ายและ
เหมาะสม
3.4 ความเหมาะสมของพืน้ หลงั กบั
ตวั อักษร

รวม 4.33 0.66 มาก

รวมทั้งสน้ิ 4.35 0.58 มาก

42

จากตารางที่ 4.7 พบว่าความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่ประเมินโครงการ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลโดยใช้
โปรแกรมเว็บ Dialogflow ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅ =4.35, S.D.=0.58), ด้านข้อมูลอยู่ใน
ระดับมาก ( ̅=4.41, S.D.=0.61), ด้านการนำไปใช้ประโยชน์อยู่ในระดับมาก( ̅=4.33, S.D.=0.66)
และด้านการใช้งานอยูใ่ นระดบั มาก ( ̅ =4.33, S.D.=0.66) ตามลำดบั

แผนภูมิแสดงความพึงพอใจดา้ นสถติ ิ
10

8

6

4

2

0
ขอ้ 1.1 ข้อ1.2 ข้อ1.3 ข้อ2.1 ขอ้ 2.2 ขอ้ 2.3 ข้อ3.1 ข้อ3.2 ขอ้ 3.3 ขอ้ 3.4
ค่าเฉลย่ี ส่วนเบีย่ งเบนมาตราฐาน

ภาพที่ 4.7 แสดงแผนภูมคิ วามพึงพอใจด้านสถติ ิ

บทท่ี 5
สรุปอภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ

บทท่ี 5
สรปุ อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ

การดำเนินโครงการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจ
ดิจิทัลโดยโปรแกรมเว็บ Dialogflow เนื่องจากปัจจุบันสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลมีการใช้
เทคโนโลยีต่างๆมาใช้ในสาขาเพราะเหตุนี้ทางกลุ่มนักเรียนนักศึกษา สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
จึงเกิดความคิดที่จะทำ Chatbot โดยใช้โปรแกรมเว็บ Dialogflow ขึ้นมาเพื่อให้เกิดความสะดวก
และช่วยในการตอบปัญหาแก่นักเรียนนักศึกษา คณะผู้จัดทำจึงได้ทำโครงการ Chatbot สาขาวิชา
เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลโดยโปรแกรมเว็บ Dialogflow เพื่อเป็นการออกแบบ Chatbot สาขาวิชา
เทคโนโลยีธรุ กิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง

ในการประเมินผลครั้งนี้ให้กลุ่มประเมินจากการใช้แบบฟอร์มออนไลน์โครงการ Chatbot
สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลโดยโปรแกรมเว็บ Dialogflow และให้กลุ่มตัวอย่างทำแบบประเมิน
คุณภาพการดำเนินโครงการ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ิทัลโดยโปรแกรมเวบ็ Dialogflow
และนำแบบประเมนิ ทีไ่ ดไ้ ปหาประสทิ ธภิ าพโดยใช้สตู รหาคา่ เฉลีย่ และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

5.1 สรปุ อภิปรายผล
5.1.1 สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
จากการประเมินโ ครงการ Chatbot สาขาว ิช าเทคโ นโ ลยีธุรกิจดิจิทัล

โดยโปรแกรมเว็บDialogflow ผลที่ได้คือ จำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินจำแนกตามเพศ
เพศชาย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 45.70 เพศหญิง คดิ เปน็ ร้อยละ 54.30 ของประชากรทงั้ หมด จำนวนร้อยละ
ของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ อายุ15-16 ปี คิดเป็นร้อยละ10.50 อายุ17-18 ปี
คิดเป็นร้อยละ 69.50 อายุ19-20 ปี คิดเป็นร้อยละ 20.00 ของประชากรทั้งหมด จำนวนร้อยละ
ของผู้ตอบแบบประเมินจำแนกตามระดับชั้นและส่งแบบสอบถามคืนดังนี้ ปวช. คิดเป็นร้อยละ
79.50 ปวส.คิดเปน็ รอ้ ยละ 20.50

44

5.1.2 ความพึงพอใจด้านต่างๆ
จ า ก ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น ค ว า ม พ ึ ง พ อ ใ จ ต ่ อ โ ค ร ง ก า ร โ ค ร ง ก า ร Chatbot

สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลโดยโปรแกรมเว็บ Dialogflow พบว่าความคิดเห็นของผู้ประเมิน
กลุ่มตัวอย่างนักเรียนนักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง กลุ่มตัวอย่าง
จำนวน 210 คน ผลที่ได้คะแนนสูงสุด ได้แก่ จากผลการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ
ด้านการนำไปใช้ประโยชนภ์ าพรวมอยู่ในระดบั มาก ( ̅=4.32, S.D.=0.66) เมื่อพิจารณาจากความพงึ
พอใจด้านการนำไปใช้ประโยน์พบว่า ลำดับที่ 1 สามารถตอบคำถามได้ดีอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.35,
S.D.=0.76) ลำดับที่ 2 สามารถอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานได้อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.32,
S.D.=0.87) ลำดับที่3 ให้ผลลัพธ์ถูกต้องตามความต้องการอยู่ในระดับมาก( ̅=4.32, S.D.=0.80)
ดา้ นขอ้ มลู ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.40, S.D.=0.61) เมื่อพิจารณาจากความพึงพอใจด้านข้อมูล
พบว่า ลำดับที่ 1 ความถูกต้องของข้อมูลอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.46, S.D.=0.72) ลำดับที่ 2
ข้อความถูกต้องตามหลักภาษาและไวยากรณ์อยู่ในระดับมาก( ̅=4.45, S.D.=0.71) ลำดับท่ี3
มีการจัดหมวดหมู่ให้ง่ายต่อการคน้ หาอยูใ่ นระดบั มาก( ̅=4.31, S.D.=0.77) ด้านการใช้งานภาพรวม
อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.35, S.D.=0.58) เมื่อพิจารณาจากความพึงพอใจด้านการใช้งานพบว่า
ลำดับที่ 1 ความเหมาะสมของพื้นหลังกับตัวอักษรอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.45, S.D.=0.81) ลำดับที่ 2
ระยะเวลาในการตอบสนองต่อข้อคำถามอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.33, S.D.=0.79) ลำดับที่ 3
ปุ่มเมนูต่างๆใช้งานได้ง่ายและเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.31, S.D.=0.82) และลำดับที่ 4
สามารถใช้งานได้ง่ายโดยไม่มีผู้ให้คำแนะนำรวมคะแนนเฉลี่ยทั้งหมดเท่ากับ 4.22
และมีค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานท่ี 0.91 อยใู่ นเกณฑ์ความพงึ พอใจระดับมาก
5.2 ขอ้ เสนอแนะ

5.2.1 มีประโยชน์ตอ่ ผใู้ ช้มาก ไม่มีขอ้ บกพรอ่ งเลย
5.2.2 สวยมาก สะดวกในการใชง้ าน รูปแบบมคี วามสวยงาม

5.3 ประโยชน์ท่ไี ด้รบั
5.3.1 ได้ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ิทัลโดยโปรแกรมเวบ็ Dialogflow
5.3.2 ไดท้ ราบถึงข้อมูลต่างๆภายในสาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจทิ ลั

บรรณานกุ รม

บรรณานกุ รม

การหาคา่ เฉล่ีย, URL: www.doctemple.wordpress.com, [ 21 มกราคม 2563].
การหาคา่ เบีย่ งเบนมาตราฐาน, URL: www.doctemple.wordpress.com, [ 21 มกราคม 2563].
การหาคา่ สถติ ิร้อยละ, URL: www.doctemple.wordpress.com, [ 21 มกราคม 2563].
ช่ือเวบ็ การออกแบบ, URL: www. medium.com, [ 31 ธนั วาคม 2563].
ตาราง krejcie & Morgan, URL: www.sites.google.com, [ 31 ธนั วาคม 2563].
แนวคดิ ในการออกแบบ, URL: www.fdesignbasis.blogspot.com, [ 31 ธนั วาคม 2563].
บทความChatbot, URL: www.scimath.org, [ 31 ธันวาคม 2563].
ประเภทของChatbot, URL: www. tips.thaiware.com, [ 31 ธันวาคม 2563].
มาตราส่วนประมาณค่า, URL: www.nuiphen.wordpress.com, [ 21 มกราคม 2563].

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
แบบเสนอขออนมุ ัตโิ ครงการ

Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กิจดิจทิ ัล โดยใชโ้ ปรแกรมเวบ็ Dialogflow
Chatbot in Digital Business Technology
Using the Dialog Flow Web Program

ผเู้ สนอ
1.นางสาวกญั ธชิ า เตมิ ขนุ ทด 6122040002
2.นางสาวดรณรี ตั น์ เสียงเลิศ 6122040012

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563
สาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กิจดจิ ทิ ัล

วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง

โครงการวทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง

1.1 ความเป็นมาและความสำคญั ของโครงการ
เนื่องจากการประชาสัมพันธ์สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลที่ใช้งานอยู่ใน ปัจจุบัน น้ัน

ค่อนข้างที่จะประชาสัมพันธ์ได้ไม่ทั่วถึงทุกช่องทาง ส่งผลให้นักเรียนนักศึกษาในสาขาวิชาเทคโนโลยี
ธุรกิจดิจิทัลไม่สามารถรับรู้ข่าวสารความเคลื่อนไหวได้ทั้งหมด การประชาสัมพันธ์ในรูปแบบเดิมนั้น
ทำให้นักเรียนนักศึกษาหลายๆคนยังติดตามข่าวสารข้อมูลเก่า ซึ่งอาจจะยังไม่มีการแก้ไขข้อมูลท่ี
ถูกต้อง ทางคณะผู้จัดทำจึงได้จัดทำเทคโนโลยีข้อมูลการรับรู้ข่าวสารแบบใหม่นำข้อมูลแบบเก่ามา
ประยกุ ตใ์ ช้ใหมใ่ ห้มีประสทิ ธิภาพมากข้นึ

ในปจั จบุ นั สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ิทัลมีการใช้เทคโนโลยีต่างๆมาใช้ในสาขาเพราะเหตุน้ี
ทางกลุ่มนักเรียนนักศึกษา สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลจึงเกิดความคิดที่จะทำ Chatbot โดยใช้
โปรแกรมเว็บ Dialogflow ขึ้นมา เพื่อให้เกิดความสะดวกและช่วยในการตอบปัญหาแก่นักเรียน
นักศกึ ษา

ดังนั้นผู้จัดทำได้ตะหนักถึงความสำคัญจึงมีการสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกในการใช้
ชีวิตประจำวันของนักเรียนนักศึกษาในสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลได้เป็นอย่างมากโดยเป็น
Chatbot ที่สามารถกระจายข่าวสารที่นักเรียนนักศึกษา อยากทราบข้อมูลทั้งหมดของสาขาวิชา
เทคโนโลยธี รุ กจิ ดจิ ิทัล โดยโปรแกรมเว็บ Dialogflow มาช่วยในการตอบปญั หาแกน่ ักเรยี นนักศกึ ษา

1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงการ
1.2.1 เพ่อื ออกแบบ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจทิ ัล โดยโปรแกรมเว็บ Dialogflow
1.2.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล

วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยโปรแกรมเว็บ
Dialogflow

1.2.3 เพื่อเผยแพร่ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยโปรแกรมเว็บ Dialogflow
ผ่านโครงการประกวดโครงการวชิ าชีพ ชมรมวิชาชพี เทคโนโลยธี รุ กจิ ดจิ ทิ ัล

1.3 ขอบเขตของโครงการ
1.3.1*ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
1.3.1.1 ประชากร คือนักเรียนนักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล

วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง จำนวน 463 คน
1.3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนนักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล

วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง จำนวน 210 คน

1.3.2 ขอบเขตช้นิ งาน
1.3.2.1 ด้านฮาร์ดแวร์
1) โทรศัพทม์ ือถือรนุ่ SAMSUNG A20
2) คอมพิวเตอร์พกพา Acer Swift3 รุ่น SF314-57-38N7
1.3.2.2 ด้านซอฟตแ์ วร์
1) โปรแกรมเว็บ Dialogflow ในการสร้าง Chatbot
2) ระบบปฏิบัตกิ าร Windows10
3) โปรแกรม Photoshop ในการออกแบบปมุ่ Chatbot
4) โปรแกรม LINE Business ID ในการเชอ่ื มต่อกับแอพพลิเคช่นั LINE

1.3.3 เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในการประเมินผล คือ Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล โดยใชโ้ ปรแกรม
เว็บ Dialogflow และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจ
ดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยโปรแกรมเว็บ
Dialogflow

1.4 ข้ันตอนวิธีการจัดทำโครงการ
1.4.1*คดิ คน้ หวั ข้อโครงการที่จะจดั ทำขน้ึ
1.4.2 นำเสนอหวั ขอ้ โครงการต่ออาจารย์ทีป่ รกึ ษาโครงการ
1.4.3 เริ่มการออกแบบโครงร่างของงานทจี่ ะจดั ทำข้นึ
1.4.4 เริม่ ลงมอื ปฏบิ ัตใิ นส่วนของรูปเลม่ รายงาน
1.4.5 นำเสนอรูปเล่มรายงาน
1.4.6 เรม่ิ จดั ทำชน้ิ งานโดยใชโ้ ปรแกรมเวบ็ Dialogflow
1.4.7 ทำการตรวจสอบความพร้อมชน้ิ งาน
1.4.8 นำมาทดลองใชแ้ ละสรุปผล





ภาคผนวก ข
ภาพขน้ั ตอนการดาเนนิ โครงการ

ภาพที่ ข.1 แสดงการค้นหาข้อมลู ในการการทาโครงการ
ภาพท่ี ข.2 แสดงทาการเกบ็ ผลการประเมินจากนกั เรียนนักศึกษาภายในสาขาวชิ า

ภาพท่ี ข.3 แสดงขั้นตอนการออกแบบชิน้ งาน
ภาพท่ี ข.4 แสดงการลงมือทาในส่วนของช้ินงาน

ภาพท่ี ข.5 แสดงการกรอกผลแบบประเมินโครงการภายในโปรแกรม SPSS
ภาพที่ ข.6 แสดงการลงมือทาในส่วนของรปู เลม่ รายงานโครงการ

ภาคผนวก ค
แบบประเมินความพงึ พอใจ

แบบสอบถามความพึงพอใจ

ของนักเรยี นนักศกึ ษา สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง
ทม่ี ีต่อ Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจิทลั โดยโปรแกรมเวบ็ Dialogflow

………………………………………………………………………………………………………………………………………

คำชแี้ จง แบบสอบถามนจ้ี ดั ทำข้นึ เพอ่ื สอบถามความพงึ พอใจนักเรยี นนกั ศกึ ษาสาขาเทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ิทัล

กรุณากรอกแบบสอบถามให้ครบทัง้ 3 ส่วน

ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถามโปรดทำเคร่ืองหมาย ✓

เพศ ( ) ชาย ( ) หญงิ

อายุ ( ) 15-16 ปี ( ) 17-18 ปี ( ) 19-20 ปี

ระดับช้นั ( ) ปวช. ( ) ปวส.

ส่วนที่ 2 แบบสอบถามความพงึ พอใจของโครงการ Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กิจดจิ ทิ ัลโดยโปรแกรมเวบ็ Dialogflow

5 = มากที่สดุ 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอ้ ย 1 = นอ้ ยที่สดุ

คำช้ีแจง กรณุ าทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในชอ่ งท่ีตรงกับความคิดเหน็ ของทา่ นมากที่สุด

ระดับความพึงพอใจ

รายละเอียด มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สดุ

5 4 3 21

ด้านการนำไปใชป้ ระโยชน์

1.สามารถตอบคําถามได้ดี

2.ให้ผลลัพธถ์ กู ตอ้ งตามความตอ้ งการ

3. สามารถอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใชง้ านได้

ดา้ นข้อมูล

1.มีการจดั หมวดหมใู่ ห้ง่ายตอ่ การคน้ หา

2.ขอ้ ความถกู ต้องตามหลักภาษาและไวยากรณ์

3.ความถูกต้องของขอ้ มูล

ดา้ นการใชง้ าน

1.สามารถใชง้ านไดง้ า่ ยโดยไม่มผี ใู้ หค้ าํ แนะนํา

2.ระยะเวลาการตอบสนองต่อข้อคําถาม

3.ปุ่มเมนูต่างๆใช้งานได้งา่ ยและเหมาะสม

4. ความเหมาะสมของพื้นหลังกับตัวอักษร

ส่วนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. ..............................................................
............................................................................................................................. ..............................................................

ภาคผนวก ง
คู่มือการใช้งาน

การใช้งาน Chatbot และรายละเอียดขอ้ มูลในแต่ละเมนู

การใช้งาน Chatbot
1.1 Scan QR Code หรือ Add Line
เมื่อจะเริ่มตน้ ใช้งานผใู้ ช้จะต้อง Scan QR Code หรอื Add Line

Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจทิ ลั ก่อนเป็นอนั ดับแรก

ภาพที่ ง.1 แสดงScan QR Code หรือ Add Line
1.2 วธิ กี ารเพ่ิมเพื่อน Chatbot

Scan QR Code หรือ Add Line เสร็จเรียบรอ้ ยแล้วกดเพ่ิมเพื่อน ดังตัวอย่าง
ด้านลา่ งเปน็ อันเสร็จส้นิ ในการเพิม่ เพือ่ น Chatbot

ภาพท่ี ง.2 แสดงวิธีการเพม่ิ เพือ่ น

1.3 การเริ่มตน้ ใชง้ าน
กดที่คาวา่ เพิ่มเพ่ือน จะแสดงหน้า Chatbot และมีป่มุ เมนูตา่ งๆ

ดา้ นลา่ งปรากฏขึน้ มา

ภาพที่ ง.3 แสดงการเริ่มตน้ ใช้งาน

รายละเอียดของแตล่ ะเมนู
2.1 ปุม่ เมนบู คุ ลากร
เป็นข้อมูลบุคลากรในสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยท่ีเรากดเข้าไปทปี่ ุ่มจะ

แสดง เมนูตัวเลือกของบุคลากรในสาขาวิชาขึ้นมา พอกดเข้าไปทเ่ี มนูตัวเลือกก็จะแสดงข้อมูล
ของบุคลากรคนนนั้ ดงั ตวั อยา่ งภาพที่ 2.1

ภาพที่ ง.4 แสดงปุ่มเมนบู ุคลากร
2.2 ปมุ่ เมนูตารางใชห้ อ้ งเรยี นและกฎ

เป็นข้อมูลตารางเวลาที่ใช้ห้องเรียนและกฎระเบียบของสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจ
ดิจทิ ัล โดยเรากดเขา้ ไปท่ีปมุ่ จะแสดงเมนตู ัวเลือกของตารางใชห้ อ้ งเรียนและกฎระเบียบข้นึ มา พอ
คลิกเข้าเมนูตวั เลอื กก็จะแสดงข้อมูลของตารางใชห้ ้องเรยี นและกฎระเบยี บ ดังตัวอย่างภาพท่ี 2.2

ภาพที่ ง.5 แสดงปุ่มเมนูตารางใช้ห้องเรียนและกฎ

2.2.1 ปุ่มตารางใชห้ อ้ งเรยี น
หลังจากที่เรากดเมนูตัวเลือกของตารางใช้หอ้ งเรียนแลว้ จะแสดงเมนูตวั เลอื ก

ข้นึ มาอีกของแตล่ ะห้อง ตง้ั แต่หอ้ งปฏบิ ตั ิการ 921 – หอ้ งปฏบิ ตั ิการ 928 ดังตวั อยา่ งภาพท่ี 2.2.1

ภาพที่ ง.6 แสดงปุ่มเมนตู ารางใชห้ ้องเรยี น

2.2.2 ปุ่มกฎระเบยี บ
เป็นขอ้ มูลกฎระเบยี บของสาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจิทัล และขอ้ มลู ขอ้ ตกลงใน

ห้องเรยี น ดังตัวอยา่ งภาพท่ี 2.2.2

ภาพท่ี ง.7 แสดงปมุ่ เมนูกฎระเบยี บ
2.2.3 ปุ่มเมนูทาความสะอาด

หากกดปุม่ น้จี ะขน้ึ แสดงตารางการทาความสะอาดบนสาขาเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจิทัล
ในแตล่ ะวนั

ภาพท่ี ง.8 แสดงปุ่มเมนูทาความสะอาด

2.4 ปมุ่ เมนู กจิ กรรมและFacebook

ภาพท่ี ง.9 แสดงปุ่มเมนูกจิ กรรมและFacebook
2.4.1 ปุม่ เมนกู ิจกรรม

จะเป็นกิจกรรมทง้ั หมดที่สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ิทลั มี ท่นี ักเรยี นนกั ศึกษา
ของสาขาวิชาน้จี ะตอ้ งทากิจกรรมรว่ มกันในวันพุธ

ภาพที่ ง.10 แสดงป่มุ เมนกู ิจกรรม

2.4.2 ป่มุ เมนูFacebook
Facebook ของสาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจทิ ัล วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง มไี ว้

เพื่อติดตอ่ สอบถามใหแ้ ก่นักเรียนนกั ศึกษา ถ้าเรากดปุ่มนี้มันจะขน้ึ ลิงก์ facebook สาขานขี้ น้ึ มา
ดังนี้

ภาพที่ ง.11 แสดงป่มุ เมนูFacebook

ประวตั ิผ้จู ดั ทำ

ประวตั ผิ ูจ้ ัดทำ

ประวัตสิ ่วนตวั

ชื่อ - สกลุ : นางสาวกัญธชิ า เตมิ ขนุ ทด

ชอื่ โครงการ : Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กิจดิจทิ ัล

โดยโปรแกรมเว็บ Dialogflow

สาขาวิชา : เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทลั

วัน เดอื น ปเี กิด : วันที่ 8 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. 2545

ที่อยู่ (ปัจจุบัน) : 26/3 หมู่ 3 ถนนบา้ นเกาะ – มาบขา่ ตาบลมาบข่า อาเภอนคิ มพัฒนา

จังหวัดระยอง

เบอร์โทรศัพท์ : 0628134594

ประวตั กิ ำรศกึ ษำ

ประถมศึกษาปีที่ 6 : โรงเรียนวดั บา้ นดอน

มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 : โรงเรียนชมุ ชนวดั บ้านแลง

ปจั จบุ นั ศกึ ษาอยู่ : วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.)

ประวตั ผิ ้จู ัดทำ

ประวัตสิ ่วนตวั

ชื่อ - สกุล : นางสาวดรณีรัตน์ เสียงเลศิ

ชื่อโครงการ : Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล

โดยโปรแกรมเว็บ Dialogflow

สาขาวชิ า : เทคโนโลยธี รุ กจิ ดจิ ทิ ลั

วนั เดอื น ปีเกิด : วนั ท่ี 7 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. 2545

ที่อยู่ (ปัจจุบนั ) : 95/2 ม.2 หมู่ 2 ตาบลนาตาขวัญ อาเภอเมือง จังหวัดระยอง

เบอร์โทรศัพท์ : 082-5304063

ประวัตกิ ำรศกึ ษำ

ประถมศกึ ษาปีที่ 6 : โรงเรียนวดั นาตาขวญั

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 : โรงเรียนชมุ ชนวดั บา้ นแลง

ปัจจุบนั ศกึ ษาอยู่ : วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.)


Click to View FlipBook Version