The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanthicha2545, 2021-03-31 03:42:59

pdf24_merged

pdf24_merged

Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กิจดจิ ิทลั โดยใชโ้ ปรแกรมเว็บ Dialogflow
Chatbot in Digital Business Technology
Using the Dialogflow Web Program

นางสาวกญั ธิชา เตมิ ขุนทด รหสั นกั เรยี น 6122040002
นางสาวดรณีรตั น์ เสียงเลศิ รหสั นักเรยี น 6122040012

โครงการน้เี ปนสวนหนึง่ ของรายวชิ าโครงการ รหสั วิชา (2204-8501)
ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2563
สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกิจดิจทิ ลั
วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง

Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ทิ ลั โดยใชโ้ ปรแกรมเวบ็ Dialogflow
Chatbot in Digital Business Technology
Using the Dialogflow Web Program

นางสาวกญั ธิชา เตมิ ขนุ ทด รหสั นักเรียน 6122040002
นางสาวดรณีรัตน์ เสยี งเลศิ รหสั นักเรียน 6122040012
โครงการน้ีเปนสวนหน่ึงของรายวิชาโครงการ รหัสวชิ า (2204-8501)

ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2563
สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจิทลั

วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง



โครงการ Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกิจดจิ ิทลั โดยใชโ้ ปรแกรมเวบ็ Dialogflow
Chatbot in Digital Business Technology Using the Dialogflow
สาขาวิชา Web Program
ผู้รับผดิ ชอบโครงการ เทคโนโลยธี ุรกิจดิจทิ ัล
อาจารย์ทีป่ รึกษา 1. นางสาวกัญธิชา เติมขุนทด รหสั นกั เรียน 6122040002
ปกี ารศกึ ษา 2. นางสาวดรณีรตั น์ เสยี งเลิศ รหสั นกั เรียน 6122040012
นางสาวอัจฉราภรณ์ เกลยี้ งพร้อม
Eisenhower S. Matoto
2563

บทคัดย่อ
การจัดทำโครงการครั้งนี้มีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือออกแบบ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ทิ ัล
โดยใช้โปรแกรมเว็บ Dialogflow ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยี
ธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยโปรแกรม
เว็บ Dialogflow และเผยแพร่ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยใช้โปรแกรมเว็บ
Dialogflow ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพ ชมรมวิชาชีพเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยกลุ่ม
ตัวอย่าง มีจำนวน 210 คน โดยใช้เกณฑ์ของ Krejcie & Morgan เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
คือ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยใช้โปรแกรมเว็บ Dialogflow และแบบสอบถาม
ความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง
ที่มีต่อ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยโปรแกรมเว็บ Dialogflow ซึ่งสถิติที่ใช้

คอื ค่าสถิตริ อ้ ยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ̅ และคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D Standard Deviation)
ผลที่ไดจ้ ากแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนนักศกึ ษา สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกจิ ดิจิทลั

วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง ทีม่ ีต่อ Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กิจดิจทิ ลั โดยใช้โปรแกรมเวบ็
Dialogflow”พบว่าเปน็ เพศชาย จำนวน 96 คน ร้อยละ 45.70 เพศหญิง 114 คน ร้อยละ 54.30
ระดับความพึงพอใจตอ่ การออกแบบ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจิทัล โดยใช้โปรแกรมเวบ็

Dialogflow ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅= 4.35, S.D=0.58) โดยแบ่งเปน็ ท้งั หมด 3 ด้าน

ไดแ้ ก่ด้านการนำไปใชป้ ระโยชน์อยู่ในระดับมาก ( ̅ =4.33, S.D=0.66), ดา้ นขอ้ มูลอยใู่ นระดับมาก

( ̅ =4.41, S.D=0.61) และด้านการใชง้ านอยู่ในระดบั มาก ( ̅ =4.33, S.D=0.66) ตามลำดับ
คำสำคญั : แนวคดิ เกีย่ วกับการออกแบบ / แนวคดิ เก่ยี วกับเทคโนโลยี / แนวคดิ เก่ียวกบั

โปรแกรม Dialogflow / แนวคดิ เก่ยี วกับเวบ็ Dialogflow / แนวคดิ เกี่ยวกบั Chatbot



กติ ติกรรมประกาศ

โครงการ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยใช้โปรแกรมเว็บ Dialogflow
สำเร็จได้ด้วยดีเนื่องจากได้รับความอนุเคราะห์ความช่วยเหลือจาก นางสาวอัจฉราภรณ์ เกลี้ยงพร้อม
อาจารย์ผู้สอนโครงการ และ Eisenhower S. Matoto อาจารย์ท่ีปรึกษาโครงการท่ีได้ให้คำปรึกษา
แนะนำชี้แนะแนวทางในการศึกษาค้นคว้า ขั้นตอนวิธีการ จัดทำโครงการตลอดจนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
คณะผจู้ ดั ทำจงึ ขอกราบขอบพระคณุ เป็นอย่างสงู

ขอขอบคุณนักเรียน นักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ที่ได้ให้ความร่วมมือในการทำ
แบบสอบถามโครงการ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยใช้โปรแกรมเว็บ Dialogflow
ทำให้โครงการประสบความสำเร็จลุลว่ งไปดว้ ยดี

คณะผู้จดั ทำ

สารบญั ค

บทคดั ย่อ หน้า
กติ ติกรรมประกาศ
สารบญั ก
สารบัญ (ต่อ) ข
สารบัญตาราง ค
สารบัญภาพ ค
สารบัญภาพ (ตอ่ ) ง
บทท่ี 1 บทนำ จ

1.1 ความเป็นมาและความสำคญั ของโครงการ
1.2 วตั ถุปะสงค์ของโครงการ 1
1.3 ขอบเขตของโครงการ 1
1.4 ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 2
1.5 คำจำกดั ความ 2
บทท่ี 2 เอกสารและทฤษฎที ่ีเกีย่ วข้อง 3
2.1 แนวคดิ เก่ียวกับการออกแบบ
2.2 แนวคดิ เกีย่ วกบั การเทคโนโลยี 4
2.3 แนวคดิ เกย่ี วกบั โปรแกรม 8
2.4 แนวคิดเกย่ี วกับเวบ็ Dialogflow 8
2.5 แนวคดิ เกย่ี วกับ Chatbot 13
บทที่ 3 วธิ ีการดำเนินงานโครงการ 17
3.1 การศกึ ษาข้อมลู เบอ้ื งต้น
3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 23
3.3 ขั้นตอนการดำเนนิ งาน 23
3.4 เคร่อื งมือท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 25
3.5 ข้ันตอนการดำเนนิ การและเกบ็ รวบรวมข้อมูล 31
32

สารบญั (ต่อ) ค

บทที่ 3 วิธีการดำเนนิ งานโครงการ หน้า
3.6 พจิ ารณาจากคะแนนตามเกณฑ์
3.7 สถิติทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู 33
34
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู
4.1 ผลการดำเนนิ งาน 35

บทท่ี 5 สรปุ ผลอภิปรายและข้อเสนอแนะ 43
5.1 สรุปอภปิ รายผล 44
5.2 ขอ้ เสนอแนะ 44
5.3 ประโยชน์ที่ไดร้ บั 45

บรรณานกุ รม 47
ภาคผนวก 52
54
ก แบบเสนออนุมตั ิโครงการ 55
ข ภาพขน้ั ตอนการทำโครงการ 62
ค แบบประเมินความพึงพอใจ
ง คมู่ ือการใชง้ าน
ประวัติผู้จัดทำ



สารบัญตาราง หนา้
ตารางที่ 35
36
4.1 แสดงจำนวนของผตู้ อบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ 37
4.2 แสดงจำนวนของผูต้ อบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ 38
4.3 แสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามระดับชัน้ 39
4.4 แสดงความพงึ พอใจดา้ นการนำไปใช้ประโยชน์
4.5 แสดงความพงึ พอใจด้านข้อมูล 40

4.6 แสดงความพึงพอใจด้านการใช้งาน 42

4.7 แสดงสถิติระดับความพงึ พอใจของนักเรยี น นกั ศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ
ดิจิทลั ท่ปี ระเมินโครงการโครงการ Chatbot สาขาเทคโนโลยีธรุ กิจดิจทิ ลั
โดยใช้โปรแกรมเวบ็ Dialogflow



สารบญั ภาพ หน้า
ภาพที่ 4
5
2.1 แสดงการออกแบบ 6
2.2 แสดงการออกแบบทางสถาปตั ยกรรม (Architecture Design) 6
2.3 แสดงการออกแบบผลติ ภัณฑ์ (Product Design) 7
2.4 แสดงการออกแบบทางวิศวกรรม (Engineering Design 7
2.5 แสดงการออกแบบตกแต่ง (Decorative Design) 8
2.6 แสดงการออกแบบส่ิงพมิ พ์ (Graphic Design) 8
2.7 แสดงเทคโนโลยี(Technology) 9
2.8 แสดงโปรแกรม Dialogflow 9
2.9 แสดงระบบปฏบิ ตั ิการหรือโอเอส (OS : Operating System) 10
2.10 แสดงโปรแกรมเอนกประสงค์ (Utility Program) 10
2.11 แสดงโปรแกรมประยกุ ต์ (application program) 11
2.12 แสดงโปรแกรมไมโครซอฟเวิรด์ (Microsoft Word) 11
2.13 แสดงโปรแกรมสเปรดชีต (Spreadsheets) 12
2.14 แสดงโปรแกรมฐานขอ้ มูล (Database) 12
2.15 แสดงโปรแกรมไมโครซอฟต์เพาเวอรพ์ อยต์ (Microsoft PowerPoint) 13
2.16 แสดงโปรแกรมดา้ นการออกแบบ/เขยี นแบบกราฟิก 13
2.17 แสดงโปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility) 15
2.18 แสดงเวบ็ Dialogflow 15
2.19 แสดงการสร้าง Dialogflow Agent 16
2.20 แสดงการลงทะเบียน/ล๊อกอินเข้า Dialogflowในการสรา้ ง Agent 16
2.21 แสดงการสร้าง Agentหลังจาก Login 17
2.22 แสดงการสร้าง Intent และตง้ั ช่ือวา่ Greeting 17
2.23 แสดงการทดสอบคุยกับบอทหลังจากลองทำ Greeting Intent 18
2.24 แสดง Chatbot 18
2.25 แสดงหลกั การทำงาน Chatbot 19
2.26 แสดงแชทบอทชนดิ เลือกคำถามจากเมนูท่ีมีให้ 19
2.27 แสดงแชทบอทชนดิ ตรวจสอบรปู แบบจากผใู้ ชง้ านเลือกคำถามจากเมนูท่ีมีให้
2.28 แสดงแชทบอทชนิดประมวลผลจากเสียง

สารบญั ภาพ (ต่อ) จ

ภาพท่ี หน้า

2.29 แสดงแชทบอทแบบผสม 20
2.30 แสดงแชทบอทท่ีใช้การเรยี นรขู้ ั้นสูง 20
2.31 แสดงการประยุกตใ์ ชง้ าน Chatbot ดา้ นการศึกษา Duolingo 21
2.32 แสดงการประยุกต์ใช้งานChatbot ดา้ นการเงิน 21
2.33 แสดงการประยุกตใ์ ชง้ านChatbot ด้านการแพทย์ MOPH Connect 22
3.1 แสดงตาราง krejcie & Morgan 24
3.2 แสดงFlowchart ออกแบบผังงาน 25
3.3 แสดง Flowchart ออกแบบผังงาน (ตอ่ ) 26
3.4 แสดงข้นั ตอนการออกแบบริชเมนูชิ้นงาน Chatbot 27
3.5 แสดงข้ันตอนการใสข่ อ้ มลู ที่ใช้เชื่อมโยงกัน 27
3.6 แสดงข้นั ตอนการตงั้ หวั ข้อชิ้นงานหลกั 28
3.7 แสดงขั้นตอนการออกแบบปมุ่ กดตวั เลือก 28
3.8 แสดงข้นั ตอนการตรวจสอบเชอ่ื มลิงกห์ ัวข้อหลัก 29
3.9 แสดงขน้ั ตอนการเขียนโค้ดใสห่ ัวข้อหลักในส่วนทเ่ี หลือ 29
3.10 แสดงขัน้ ตอนการลงรายละเอยี ดข้อมูลทล่ี งลึกกวา่ เดิม 30
3.11 แสดงขัน้ ตอนการตรวจสอบและแกไ้ ขข้อมูลท่ขี าดหายเพมิ่ เตมิ 30
3.12 แสดงคิวอาร์โค้ด LINE ข้อมูลสำหรับภายใน DBTech RTC 31
3.13 แสดงควิ อาร์โค้ด LINE ข้อมลู สำหรับภายนอก DBTech RTC Data 31
4.1 แสดงแผนภมู แิ สดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ 35
4.2 แสดงแผนภมู ิอายุของผ้ตู อบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ 36
4.3 แสดงแผนภูมิอายุของผตู้ อบแบบสอบถามจำแนกตามระดับชน้ั 37
4.4 แสดงแผนภมู คิ วามพึงพอใจด้านการนำไปใช้ประโยชน์ 38
4.5 แสดงแผนภูมิความพึงพอใจด้านข้อมลู 39
4.6 แสดงแผนภมู ิความพงึ พอใจดา้ นการใชง้ าน 40
4.7 แสดงแผนภมู คิ วามพงึ พอใจดา้ นสถิติ 42







บทที่ 1
บทนำ

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 ความเป็นมาและความสำคญั ของโครงการ
เนื่องจากการประชาสัมพันธ์สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลที่ใช้งานอยู่ใน ปัจจุบันน้ัน

คอ่ นข้างที่จะประชาสัมพันธ์ได้ไม่ทัว่ ถงึ ทุกช่องทาง สง่ ผลใหน้ ักเรยี นนักศึกษาในสาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกิจ
ดิจิทัลไม่สามารถรับรู้ข่าวสารความเคลื่อนไหวได้ทั้งหมด การประชาสัมพันธ์ในรูปแบบเดิมนั้นทำให้
นักเรียนนักศึกษาหลายๆคนยังติดตามข่าวสารข้อมูลเก่า ซึ่งอาจจะยังไม่มีการแก้ไขข้ อมูลที่ถูกต้อง
ทางคณะผจู้ ดั ทำจึงได้จัดทำเทคโนโลยีข้อมูลการรับรู้ข่าวสารแบบใหมน่ ำข้อมลู แบบเกา่ มาประยุกต์ใช้ใหม่
ให้มปี ระสิทธภิ าพมากข้นึ

ในปัจจุบนั สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดจิ ิทลั มีการใช้เทคโนโลยตี า่ งๆ มาใชใ้ นสาขาเพราะเหตนุ ้ีทาง
กลมุ่ นกั เรียนนกั ศึกษา สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลจึงเกิดความคดิ ท่จี ะทำ Chatbot โดยใชโ้ ปรแกรมเว็บ
Dialogflow ข้ึนมา เพอ่ื ให้เกดิ ความสะดวกและชว่ ยในการตอบปญั หาแกน่ ักเรยี นนักศึกษา

ดังนั้นผู้จัดทำได้ตะหนักถึงความสำคัญจึงมีการสร้างส่ิ งอำนวยความสะดวกในการใช้
ชีวติ ประจำวันของนักเรยี นนักศึกษาในสาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ิทลั ไดเ้ ปน็ อย่างมากโดยเปน็ Chatbot
ที่สามารถกระจายข่าวสารที่นักเรียนนักศึกษา อยากทราบข้อมูลทั้งหมดของสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจ
ดิจิทัล โดยโปรแกรมเวบ็ Dialogflow มาชว่ ยในการตอบปัญหาแกน่ กั เรียนนกั ศกึ ษา

1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
1.2.1 เพือ่ ออกแบบ Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจทิ ัล โดยโปรแกรมเวบ็ Dialogflow
1.2.2 เพอื่ ศกึ ษาความพงึ พอใจของนักเรยี นนักศึกษา สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกจิ ดิจทิ ัล วทิ ยาลยั เทคนิค

ระยอง ที่มตี อ่ Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ิทลั โดยโปรแกรมเว็บ Dialogflow
1.2.3 เพอื่ เผยแพร่ Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกจิ ดจิ ิทัล โดยโปรแกรมเว็บ Dialogflow

ผ่านโครงการประกวดโครงการวชิ าชีพ ชมรมวิชาชพี เทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจทิ ลั

2

1.3 ขอบเขตของโครงการ
1.3.1*ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง
1.3.1.1 ประชากร คอื นักเรียนนกั ศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกิจดิจทิ ัล

วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง จำนวน 463 คน
1.3.1.2 กลมุ่ ตัวอยา่ ง คือ นักเรียนนกั ศกึ ษา สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกจิ ดิจทิ ัล

วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง จำนวน 210 คน
1.3.2 ขอบเขตชิ้นงาน
1.3.2.1 ด้านฮาร์ดแวร์
1) โทรศพั ท์มอื ถือรนุ่ SAMSUNG A20
2) คอมพิวเตอรพ์ กพา Acer Swift3 รุ่น SF314-57-38N7
1.3.2.2 ดา้ นซอฟต์แวร์
1) โปรแกรมเว็บ Dialogflow ในการสร้าง Chatbot
2) ระบบปฏบิ ตั ิการ Windows10
3) โปรแกรม Photoshop ในการออกแบบป่มุ Chatbot
4) โปรแกรม LINE Business ID ในการเชื่อมตอ่ กบั แอพพลิเคช่ัน LINE
1.3.3 เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ ผล คอื Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจทิ ัล โดยใชโ้ ปรแกรม

เว็บ Dialogflow และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนนกั ศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจทิ ัล
วิทยาลัยเทคนิคระยอง ท่ีมตี ่อ Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กจิ ดจิ ทิ ลั โดยโปรแกรมเวบ็ Dialogflow

1.4 ผลท่คี าดว่าจะไดร้ ับ
1.4.1 ได้ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง โดยโปรแกรมเว็บ

Dialogflow จำนวน 2 Chatbot
1.4.2 ไดค้ วามพงึ พอใจของนักเรียนนักศกึ ษา สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กิจดิจิทัล วิทยาลยั เทคนิคระยอง

ที่มตี ่อโครงการ Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจทิ ัล อย่ใู นระดบั มาก
1.4.3 ได้เผยแพร่ โค รงการ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง

โดยโปรแกรมเว็บ Dialog flow ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพ ชมรมวิชาชีพเทคโนโลยี
ธุรกิจดจิ ทิ ัล

3

1.5 คำจำกดั ความ
1.5.1 แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบ หมายถึง การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ หรือปรับปรุงดัดแปลงสิ่งที่มี

อย่ใู หด้ ขี ึน้ และมรี ปู แบบท่เี ปล่ยี นไปจากเดมิ การถา่ ยทอดรูปแบบจากความคดิ ออกมาเปน็ ผลงาน
1.5.2 แนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยี หมายถึง การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค

ความรู้ ระเบยี บวธิ ี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวทิ ยาศาสตรท์ ้งั ส่ิงประดิษฐ์และวธิ ีการ
1.5.3 แนวคิดเกี่ยวกับโปรแกรม Dialogflow หมายถึง platform สำหรับทำแชทบอทของ Google

ท่ีใช้ Machine Learning มาช่วยทำให้แชทบอทเรียนรแู้ ละตอบได้เป็นธรรมชาตมิ ากขึน้
1.5.4 แนวคิดเกี่ยวกับเว็บ Dialogflow หมายถึง เป็นเครื่องมือสร้าง chatbot จาก Google

ซ่งึ มีความโดดเด่นในเรอ่ื ง Natural Language Processing หรือ NLP
1.5.5 แนวคดิ เก่ยี วกบั Chatbot หมายถึง ซอฟตแ์ วร์ที่พฒั นาขน้ึ มาเพื่อช่วยตอบกลับการสนทนาผ่าน

ขอ้ ความหรอื เสยี งแบบอัตโนมตั ิและรวดเร็วซ่ึงสามารถใช้งานได้ทั้งบนแอป LINE / แอป Facebook

บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎเี ก่ยี วขอ้ ง

บทท่ี 2
เอกสารและทฤษฎที ่เี กี่ยวข้อง

เพื่อเปน็ แนวทางในการจัดทำโครงการนี้ คณะผจู้ ัดทำได้ศึกษาเอกสารและทฤษฎี
ที่เก่ยี วข้องต่างๆดังน้ี

2.1 แนวคิดเกย่ี วกับการออกแบบ
2.2 แนวคิดเกย่ี วกบั เทคโนโลยี
2.3 แนวคิดเก่ียวกบั โปรแกรม Dialogflow
2.4 แนวคิดเกย่ี วกับเว็บ Dialogflow
2.5 แนวคิดเกย่ี วกับ Chatbot
2.1 แนวคิดเก่ยี วกบั การออกแบบ
2.1.1 การออกแบบ หมายถึง การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ หรือปรับปรุงดัดแปลงสิ่งที่มีอยู่ให้ดีข้ึน
และมีรูปแบบที่เปลี่ยนไปจากเดิม การถ่ายทอดรูปแบบจากความคิดออกมาเป็นผลงานที่ผู้อื่นสามารถ
มองเห็น รับรู้ หรือสัมผัสได้ ซึ่งการออกแบบครอบคลุมถึงการออกแบบวัตถุ ระบบ หรือ ปฏิสัมพันธ์ของ
มนุษย์และยังรวมไปถึงการคิดเชิงออกแบบ (design thinking) แบบที่ออกมาอาจเป็นสิ่งที่เป็นไปได้จริง
หรือแบบที่เป็นเพียงนามธรรมก็ได้ ผู้ที่ออกแบบจะเรียกว่า นักออกแบบ ซึ่งหมายถึงคนที่ทำงานวิชาชีพ
ในสาขาการออกแบบที่แตกต่างกันไป เช่น นักออกแบบแฟชั่น, นักออกแบบแนวความคิด
หรอื นักออกแบบเวบ็ ไซต์ [www.sites.google.com]

ภาพที่ 2.1 แสดงการออกแบบ

5

2.1.2 ประเภทของการออกแบบ
2.1.2.1 การออกแบบทางสถาปัตยกรรม (Architecture Design) เป็นการออกแบบ

เพื่อการก่อสร้าง สิ่งก่อสร้างต่างๆนักออกแบบสาขานี้ เรียกว่า สถาปนิก (Architect) ซึ่งโดยทั่วไป
จะต้องทำงานร่วมกับวิศวกรและมัณฑนากร โดยสถาปนิกรับผิดชอบเกี่ยวกับประโยชน์ใช้สอย
และความงามของสิ่งก่อสร้างงานทางสถาปัตยกรรมได้แก่ สถาปัตยกรรมทั่วไป เป็นการออกแบบ
สิ่งก่อสร้างทั่วไป เช่น อาคาร บ้านเรือน ร้านค้า โบสถ์ วิหาร ฯลฯ สถาปัตยกรรมโครงสร้าง
เป็นการออกแบบเฉพาะโครงสร้างหลักของอาคาร สถาปัตยกรรมภายใน เป็นการออกแบบ
ที่ต่อเนื่องจากงานโครงสร้างที่เป็นส่วนประกอบของอาคาร งานออกแบบภูมิทัศน์ เป็นการออกแบบ
ที่มีบริเวณกว้างขวาง เป็นการจัดบริเวณพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอย
และความสวยงาม งานออกแบบผังเมืองเป็นการออกแบบที่มีขนาดใหญ่ และมีองค์ประกอบซับซ้อน
ซ่ึงประกอบไปด้วยกลุ่มอาคารจำนวนมาก ระบบภูมิทัศน์ ระบบสาธารณูปโภค ฯลฯ
[www.sites.google.com]

ภาพท่ี 2.2 แสดงการออกแบบทางสถาปตั ยกรรม (Architecture Design)

6

2.1.2.2 การออกแบบผลิตภณั ฑ์ (Product Design) เป็นการออกแบบเพื่อการผลติ ภัณฑช์ นดิ
ต่างๆงานออกแบบสาขานี้ มีขอบเขตกว้างขวางมากที่สุด และแบ่งออกได้มากมายหลายๆลักษณะ
นกั ออกแบบรับผิดชอบเกยี่ วกบั ประโยชน์ใชส้ อยและความสวยงามของผลิตภัณฑ์ งานออกแบบประเภทนี้
ได้แก่ งานออกแบบเฟอร์นิเจอร์ งานออกแบบครุภัณฑ์ งานออกแบบเครื่องสุขภัณฑ์ งานออกแบบ
เครื่องใช้สอยต่าง ๆ งานออกแบบเครื่องประดับ อัญมณี งานออกแบบเครื่องแต่งกาย งานออกแบบ
ภาชนะบรรจผุ ลติ ภณั ฑ์ งานออกแบบผลติ เครื่องมือตา่ ง ๆ ฯลฯ [www.sites.google.com]

ภาพที่ 2.3 แสดงการออกแบบผลิตภณั ฑ์ (Product Design)
2.1.2.3 การออกแบบทางวิศวกรรม (Engineering Design)เป็นการออกแบบเพื่อการ
ผลิตภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ เช่นเดียวกับ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกัน ต้องใช้ความรู้
ความสามารถและเทคโนโลยีในการผลิตสูง ผู้ออกแบบคือ วิศวกร ซึ่งจะรับผิดชอบในเรื่องของ
ประโยชน์ใช้สอย ความปลอดภัยและกรรมวิธีในการผลิต บางอย่างต้องทำงานร่วมกันกับนักออกแบบ
สาขาต่างๆ ด้วย งานออกแบบประเภทนี้ได้แก่ งานออกแบบเครื่องใช้ไฟฟ้า งานออกแบบเคร่ืองยนต์
งานออกแบบเคร่ืองจักรกล งานออกแบบเคร่ืองมือส่ือสาร งานออกแบบอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ตา่ งๆ ฯลฯ
[www.sites.google.com]

ภาพที่ 2.4 แสดงการออกแบบทางวศิ วกรรม (Engineering Design

7
2.1.2.4 การออกแบบตกแต่ง (Decorative Design) เป็นการออกแบบเพื่อการตกแต่ง
สิ่งต่างๆ ให้สวยงามและเหมาะสมกับ ประโยชน์ใช้สอยมากขึ้น นักออกแบบเรียนว่า มัณฑนากร
(Decorator) ซึ่งมักทำงานร่วมกับสถาปนิก งานออกแบบประเภทนี้ได้แก่ งานตกแต่งภายใน
( Interior Design) ง า น ต ก แ ต ่ ง ภ า ย น อ ก ( Exterior Design) ง า น จ ั ด ส ว น แ ล ะ บ ร ิ เ ว ณ
( Landscape Design) งานตกแต่งมุมแสดงสินค้า (Display) การจัดนิทรรศการ (Exhibition)
การจัดบอร์ด การตกแต่งบนผวิ หน้าของสิง่ ต่างๆ เป็นตน้ ฯลฯ [www.sites.google.com]

ภาพที่ 2.5 แสดงการออกแบบตกแตง่ (Decorative Design)
2.1.2.5 การออกแบบสิ่งพิมพ์ (Graphic Design) เป็นการออกแบบเพื่อทางผลิตงานสิ่งพิมพ์
ชนิดต่างๆ ได้แก่ หนังสือหนังสือพิมพ์ โปสเตอร์ นามบัตร บัตรต่าง ๆ งานพิมพ์ลวดลายผ้า งานพิมพ์
ภาพลงบนสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ งานออกแบบรูปสัญลักษณ์ เครื่องหมายการค้าฯลฯ
[www.sites.google.com]

ภาพที่ 2.6 แสดงการออกแบบสง่ิ พิมพ์ (Graphic Design)

8
2.2 แนวคดิ เกี่ยวกับเทคโนโลยี

2.2.1 เทคโนโลยี (Technology) คือ การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้
ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการมาประยุกต์ใช้
ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่งขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธิผลของงานให้มมี ากย่ิงขึ้น [ https://www.sites.google.com]

ภาพท่ี 2.7 แสดงเทคโนโลยี(Technology)
2.3 แนวคิดเกี่ยวกับโปรแกรม

2.3.1 โปรแกรม Dialogflow คือ platform สำหรับทำแชทบอทของ Google ที่ใช้ Machine
Learning มาชว่ ยทำให้แชทบอทเรยี นรแู้ ละตอบไดเ้ ป็นธรรมชาตมิ ากขึ้น [www.sites.google.com]

ภาพท่ี 2.8 แสดงโปรแกรม Dialogflow

9

2.3.2 ประเภทของโปรแกรม
2.3.2.1 ระบบปฏิบัติการหรือโอเอส (OS : Operating System) โปรแกรมประเภทน้ี

จะทำหนา้ ท่ีคอยดแู ลระบบ รวมทั้งตดิ ต่อกับฮาร์ดแวรส์ ว่ นต่างๆ ควบคุมการทำงานของคีย์บอร์ด จอภาพ
ระบบอ่านและบันทึกข้อมูล ทำให้ผู้ใช้และผู้พัฒนาโปรแกรมต่างๆ ไม่ต้องเขียนโปรแกรมติดต่อกับระบบ
เอง โปรแกรมประเภทนี้ที่เรารู้จักได้แก่ ดอส (DOS : Disk Operating System) , โปรแกรม UNIX
โปรแกรม Window 8 [www.sites.google.com]

ภาพที่ 2.9 แสดงระบบปฏิบัตกิ ารหรือโอเอส (OS : Operating System)
2.3.2.2 โปรแกรมเอนกประสงค์ (Utility Program) โปรแกรมระบบที่ทำหน้าที่ในอำนวยความ
สะดวกให้กับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ให้สามารถทำงานได้สะดวก รวดเร็วและง่ายขึ้น เช่น โปรแกรมที่ใช้
ในการเรียงลำดับข้อมูล โปรแกรมโอนย้ายข้อมูลจากชนิดหนึง่ ไปยังอักชนิดหนึ่ง โปรแกรมรวบรวมข้อมลู
2 ชุดเขา้ ดว้ ยกัน โปรแกรมคัดลอกข้อมูลเปน็ ต้น โปรแกรมประเภทนีจ้ ะช่วยอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้
คอมพิวเตอร์ และยังเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาหรือวิเคราะห์ปัญหารวมทั้งตรวจสอบระบบได้อีก
ด ้ ว ย โ ด ย ม ี โ ป ร แ ก ร ม ท ี ่ ท ำ ง า น ห ล า ย ป ร ะ เ ภ ท เ ช ่ น โ ป ร แ ก ร ม ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม เ ร็ ว
ของคอมพิวเตอร์ , โปรแกรม McAfee Virus Scan สำหรับตรวจหาไวรัส , โปรแกรมตรวจสอบตัวเครื่อง
โปรแกรม WinZip สำหรับบบี ขอ้ มูล เป็นตน้ [www.sites.google.com]

ภาพท่ี 2.10 แสดงโปรแกรมเอนกประสงค์ (Utility Program)

10
2.3.2.3 โปรแกรมประยุกต์(application program) โปรแกรมประเภทนี้บางครั้งจะเรียกว่า
ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package Software) เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาสำหรับงานเฉพาะด้าน
มีการทำงานที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่นโปรแกรมเกม,โปรแกรมบัญชี, โปรแกรมด้านดาต้าเบส, โปรแกรม
กราฟฟิก โปรแกรมอนิ เตอรเ์ น็ต และโปรแกรมประมวลผลคำ เปน็ ต้น
[www.monthipka.blogspot.com]

ภาพที่ 2.11 แสดงโปรแกรมประยุกต์ (application program)
1) โปรแกรมเวิร์คโพรเซสซิ่ง (Word Processing)โปรแกรมประเภทนจ้ี ะเหมาะสำหรับ
จัดการกับงานประเภทเอกสาร เช่น การจัดพิมพ์ การตกแต่งจัดรูปแบบเอกสารเพื่อนำไปใช้งานได้อย่าง
ประสทิ ธภิ าพ เชน่ โปรแกรมไมโครซอฟเวริ ด์ [www.monthipka.blogspot.com]

ภาพท่ี 2.12 แสดงโปรแกรมไมโครซอฟเวิรด์ (Microsoft Word)

11

2) โปรแกรมสเปรดชีต (Spreadsheets)โปรแกรมประเภทนี้จะถูกนำมาใช้กับงานท่ี
เกี่ยวข้องกับการคำนวณตัวเลขในลักษณะต่างๆ เช่น คำนวณตัวเลขทางบัญชี เป็นต้น ความสามารถใน
การคำนวณจะอยู่ที่ผู้ใช้กำหนดสูตรให้โปรแกรมคำนวณตามสูตรที่กำหนด เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล
นำเข้าผลลัพธ์จะถูกปรับปรุงให้สอดคล้องกับข้อมูลนำเข้าโดยอ้างอิงจากสูตรที่ใช้ตัวอย่างโปรแกรม
ประเภทนคี้ ือ โปรแกรมไมโครซอฟตเ์ อกซ์เซล [ www.monthipka.blogspot.com]

ภาพที่ 2.13 แสดงโปรแกรมสเปรดชตี (Spreadsheets)
3) โปรแกรมฐานข้อมูล (Database) โปรแกรมประเภทนี้จะถูกนำมาใช้กับงานที่
เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บและสืบค้นข้อมูล ซึ่งข้อมูลบางอย่างที่มีปริมาณมากๆเช่นข้อมูลประวัตินักศึกษา
ข้อมูลผลการเรียนของนักเรียนนักศึกษาควรจะมีการจัดเก็บให้เป็นระบบ ซึ่งการจัดเก็บข้อมูลโดยใช้
โปรแกรมฐานข้อมลู จะมีการจดั แยกประเภทขอ้ มูลเดียวกนั เก็บไวด้ ว้ ยกนั เม่ือต้องการนำข้อมลู สว่ นใดมาใช้
กส็ ามารถเรียกใชเ้ ฉพาส่วนที่ต้องการได้ แต่จะยังคงความสัมพนั ธ์กับข้อมูลที่มีความสัมพันธ์เช่นเดิม เม่ือมี
การปรับปรุงแก้ไขก็จะมีการแก้ไขกับข้อมูลที่สัมพันธ์กันนั้นด้วย ตัวอย่างเช่น โปรแกรมไมโครซอฟต์แอค
เซส โปรแกรมวชิ วลฟอกซโ์ ปร เปน็ ตน้ [www.monthipka.blogspot.com]

ภาพที่ 2.14 แสดงโปรแกรมฐานข้อมูล (Database)

12
4) โปรแกรมทางด้านพรีเซนเทชั่น โดยทั่วไปโปรแกรมประเภทนี้จะถูกนำมาใช้งานที่
เกี่ยวข้องกับการนำเสนอข้อมูล เช่น การนำเสนอในที่ประชุม การนำเสอนข้อมูลสินค้าเพื่อโฆษณาในงาน
แสดงสนิ คา้ เปน็ ต้น โปรแกรมประเภทน้ีจะมีความสามรถในการนำเสนอทัง้ ท่เี ป็นภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว
และเสียงด้วยกนั ตัวอยา่ งเชน่ โปรแกรมไมโครซอฟต์เพาเวอร์พอยต์ [www.monthipka.blogspot.com]

ภาพที่ 2.15 แสดงโปรแกรมไมโครซอฟตเ์ พาเวอร์พอยต์ (Microsoft PowerPoint)
5) โปรแกรมด้านการออกแบบ/เขยี นแบบกราฟิก โปรแกรมประเภทนี้จะเหมาะกับงานที่
มีการใช้การออกแบบ/เขียนแบบโครงสร้างต่าง ๆ เช่น บ้าน อาคารต่างๆ รวมไปถึงการจัดการเกี่ยวกับ
รูปภาพ เพอื่ ให้มองเหน็ โครงสร้างต่างๆ ในมมุ มองมีแตกตา่ งกัน สว่ นงานท่กี ี่ยวข้องกับรูปภาพหรือกราฟิก
ต่างๆ เช่น การตกแต่ง หรือตัดต่อรูปภาพเพื่อนำไปใช้งานตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ
ได้แก่ โปรแกรม CorrelDraw, Photoshop เปน็ ตน้ [www.monthipka.blogspot.com]

ภาพที่ 2.16 แสดงโปรแกรมดา้ นการออกแบบ/เขียนแบบกราฟิก

13

6) โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility) เป็นโปรแกรมที่ใช้แก้ปัญหาทางข้อมูล
โปรมแกรมในเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์ให้ใช้งานได้ดีตลอดไป เช่น โปรแกรม
ตรวจสอบและกำจัดไวรัสคอมพิวเตอร์ (Norton Antivirus , Scan , Mcafee) โปรแกรมตรวจสอบ
จัดรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลในแหล่งเก็บข้อมูล เช่น Scandisk , Defrag ใน Windows เป็นต้น
[www.monthipka.blogspot.com]

ภาพท่ี 2.17 แสดงโปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility)
2.4 แนวคิดเกยี่ วกบั เว็บ Dialogflow

2.4.1 Dialogflow เป็นเครื่องมือสร้าง chatbot จาก Google ซึ่งมีความโดดเด่นในเรื่อง Natural
Language Processing หรือ NLP ซึ่งหมายถึงการที่ chatbot สามารถทำความเข้าใจความหมายของ
ประโยคที่ผู้ใช้พิมพ์ส่งเข้ามาได้อย่างถูกต้อง ซึ่งทำให้ chatbot สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้งานไดแ้ ม่นยำและ
ตรงประเด็น [www.medium.com]เป็นเครือ่ งมือสรา้ ง chatbot จาก Google ซึ่งมีความโดดเด่นในเร่ือง
Natural Language Processing หรือ NLP ซึ่งหมายถึงการที่ chatbot สามารถทำความเข้าใจ
ความหมายของประโยคทีผ่ ใู้ ช้พิมพส์ ่งเข้ามาไดอ้ ย่างถูกต้อง ซ่ึงทำให้ chatbot สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้งาน
ไดแ้ มน่ ยำและตรงประเดน็

ภาพที่ 2.18 แสดงเว็บ Dialogflow

14

2.4.2 ประวัติความเปน็ มา
2.4.2.1 Googleบริการสร้างบอทสนทนา (ทั้งที่เป็นแชทและเสียงพูด) ชื่อ Dialogflow

ซึ่งเปลี่ยนชื่อมาจากบริษัท API.AI ที่เคยซื้อกิจการมา ที่ผ่านมา Dialog flow เป็นเครื่องมือสำคัญในการ
สร้างบทสนทนา (Actions) ที่เชื่อมต่อกับผู้ช่วยส่วนตัว Google Assistant (แถมรองรับภาษาไทยด้วย)
Dialogflow ใชเ้ ทคนคิ ด้าน machine learning และ natural language processing (NLP) ทำใหเ้ ข้าใจ
การสนทนาของมนุษย์ ตัวมันสามารถใช้ได้กับบริการหลากหลาย (ไม่จำกัดเฉพาะกูเกิล) เชื่อมต่อ
กับ Alexa, Facebook, Twitter, Slack, Cortana ได้หมด มันยังสามารถเชื่อมต่อกับบริการแปลง
เสียงพูด Google Cloud Speech-to-Text ได้ด้วย ล่าสุดGoogleเปิดตัว Dialog flow Enterprise
Edition ซึ่งถือเป็นบริการย่อยตัวหนึ่งของ Google Cloud Platform โดยสิ่งที่เพิ่มเข้ามาคือบริการ
ซัพพอร์ต และการการันตีอัพไทม์ (SLA) สำหรับภาคธุรกิจที่ต้องการความมั่นใจว่าบริการจะไม่ล่ม
[www.blognone.com]

2.4.3 จดุ เดน่ ของเวบ็ Dialogflow
2.4.3.1 สร้างเพียงครั้งเดียวแต่สามารถนำแชทบอทไปใช้ได้หลาย Platform ไม่ว่าจะเป็น

Line,messenger ,web ฯลฯ โดยเฉพาะที่สำคัญคือ google assistant ที่เป็นแชทบอทท่ีรองรับการ
พดู คุยโต้ตอบด้วยเสยี ง [www.medium.com]

2.4.3.2 เนื่องจาก dialogflow เปน็ ของ google การใชง้ านค่อนข้างตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว
ที่สำคญั ฟรีดว้ ย มหี ลาย feature [ https://www.medium.com]

2.4.3.3 ถูกใจคนไทยที่ใช้งาน line เป็นหลัก คือรองรับการสร้างข้อมูลประเภทต่างๆ
ของ Line ได้ง่ายขน้ึ [www.medium.com]

15
2.4.4 วธิ กี ารสรา้ งเว็บ Dialogflow

2.4.4.1 เริ่มต้นสร้าง Dialogflow ส่วนที่ทำหน้าที่ทำความความใจสิ่งที่ผู้ใช้งานพูดหรือสื่อสาร
ออกมาซึ่งถ้าดูจากภาพจะพบว่า Agent ก็จะคือส่วนสีส้มๆ ที่มีหน้าที่ในการรับ Query หรือ Input
ที่ผู้ใช้ส่งเข้ามา (ผ่านอุปกรณ์ใดๆ) จากนั้น Agent ก็จะทำ NLU เพื่อดูว่าผู้ใช้ต้องการอะไร
หมายถึง Intent ไหนจากนั้นก็ Response Actionable data กลับไปหาผู้ใช้งาน โดยอาจจะมีการ
เชอ่ื มต่อกบั ระบบอ่ืนๆผ่าน API ในส่วนของ Fulfillment [www.medium.com]

ภาพที่ 2.19 แสดงการสร้าง Dialogflow Agent
2.4.4.2 ลงทะเบียน/ลอ๊ กอินเข้า Dialogflowในการสร้าง Agent เราต้องลงทะเบียนเขา้ ใช้งาน
กอ่ นนะโดยไปยงั หนา้ เว็บของ Dialogflow และกดที่ Go Console จากน้นั กเ็ ขา้ สู่ขน้ั ตอนการ Login
หรอื ลงทะเบียน [www.medium.com]

ภาพท่ี 2.20 แสดงการลงทะเบียน/ลอ๊ กอนิ เข้า Dialogflowในการสร้าง Agent

16
2.4.4.3 สร้าง Agentหลังจาก Login สำเร็จก็จะเจอกับ Workplaceในการทำแชทบอทแล้ว
ให้ไปที่เมนูด้านซ้าย และเลือก Create Agent ก็จะพบกับหน้าจอสำหรับตั้งค่าแชทบอทของเราโดยต้อง
สามารถตงั้ ชอ่ื ภาษา และ Timezoneทต่ี ้องการ [www.medium.com]

ภาพที่ 2.21 แสดงการสร้าง Agentหลังจาก Login
2.4.4.4 เมื่อสร้างเสร็จแล้วจะพบกับ Default Intents มา 2 ตัวก็คือ Default Welcome
Intent และ Default Fallback Intent มาเพราะจะลองสร้าง Intent และตั้งชื่อว่า Greeting
ในการสรา้ งให้กดที่ปุ่ม Create Intent และต้ังชือ่ Intent นี้ว่า Greeting ให้ Intent นี้โต้ตอบกับผู้ใช้งาน
เวลาทผี่ ใู้ ช้ตอ้ งการทจ่ี ะทักทายกบั แชทบอท ที่สร้างข้ึนมา [www.medium.com]

ภาพที่ 2.22 แสดงการสร้าง Intent และตง้ั ชอ่ื วา่ Greeting

17
2.4.4.5 ทดสอบคุยกับบอทหลังจากลองทำ Greeting Intent เสร็จจะลองทดสอบการใช้งาน
ซึ่งสามารถทดสอบได้ผ่านกล่องสนทนาที่อยู่ทางด้านขวา โดยลองพิมพ์คำว่า สวัสดี ลงไป
ก็จะพบว่า แชทบอทจะตอบเรากลับมาว่า สวัสดีครับ เป็นยังไงบ้างครับ สบายดีไหม ตามที่เราตั้งค่า
ไว้ใน Responses น้ันเอง [www.medium.com]

ภาพที่ 2.23 แสดงการทดสอบคุยกบั บอทหลังจากลองทำ Greeting Intent
2.5 แนวคดิ เกยี่ วกับ Chatbot

2.5.1 Chatbot คือซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อช่วยตอบกลับการสนทนาผ่านข้อความหรือเสียง
แบบอัตโนมัติและรวดเร็วซึ่งสามารถใช้งานได้ทั้งบน แอป LINE / แอป Facebook / แอป Instagram
รวมทั้งบนเวบ็ ไซตด์ ว้ ย [www.tips.thaiware.com]

ภาพท่ี 2.24 แสดง Chatbot

18
2.5.2 หลักการทำงาน Chatbot

2.5.2.1 วิเคราะห์คำถามของผู้ใช้งาน โดยจะตรวจสอบหาคำหรือข้อความที่เหมือน
หรอื คลา้ ยกับคยี เ์ วริ ์ดทีก่ ำหนดไว้ตอนพฒั นา [www.tips.thaiware.com]

2.5.2.2 ตอบกลับผู้ใช้งาน เมื่อหาคำที่คล้ายกับคีย์เวิร์ดได้แล้วจะตอบกลับผู้ใช้งาน
ในคำตอบทเี่ หมาะสมและรวดเร็วท่ีสุด [www.tips.thaiware.com]

ภาพท่ี 2.25 แสดงหลักการทำงาน Chatbot
2.5.3 ประเภทของ Chatbot

2.5.3.1 Scripted หรือ Quick Reply Chatbot (แชทบอทชนดิ เลือกคำถามจากเมนทู มี่ ีให้)
ผู้ใช้งานเลือกคำถามจากเมนูที่มีให้ เพื่อให้ Chatbot เข้าใจสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการมากขึ้นและตอบกลับตาม
คยี ์เวริ ์ดทีถ่ ูกกำหนดไว้ [www.tips.thaiware.com]

ภาพท่ี 2.26 แสดงแชทบอทชนิดเลือกคำถามจากเมนูที่มใี ห้

19
2.5.3.2 Keyword Recognition Based Chatbot (แชทบอทชนิดตรวจสอบรูปแบบจาก
คำหลกั ) จะไม่มีแถบเมนใู ห้เลือก แตส่ ามารถพิมพค์ ำถามส่งได้ทนั ทีโดย Chatbotจะตรวจสอบจากคำหลัก
หรอื คียเ์ วริ ด์ และตอบกลับผู้ใชง้ านตามข้อความในรปู แบบท่ีกำหนดไว้ [www.tips.thaiware.com]

ภาพที่ 2.27 แสดงแชทบอทชนิดตรวจสอบรูปแบบจากผใู้ ช้งานเลือกคำถามจากเมนูทม่ี ีให้
2.5.3.3 Voice-enabled Chatbot (แชทบอทชนิดประมวลผลจากเสียง)ผู้ใช้งานจะสั่งการ

หรือถามด้วยเสียงแล้ว Chatbot จะประมวลผลคำตอบจากเสียงพูดของผู้ใช้งาน เช่น Siri ใน iPhone
นั่นเอง [www.tips.thaiware.com]

ภาพท่ี 2.28 แสดงแชทบอทชนิดประมวลผลจากเสยี ง

20
2.5.3.4 Hybrid Chatbot (แชทบอทแบบผสม)ผู้ใช้งานสามารถพิมพ์คำถามได้เลยหรือจะ
เลือกคำถามจากแถบเมนทู ี่มใี หไ้ ดด้ ว้ ยเพื่อทจ่ี ะไดค้ ำตอบทต่ี รงประเดน็ มากทสี่ ุด
[www.tips.thaiware.com]

ภาพท่ี 2.29 แสดงแชทบอทแบบผสม
2.5.3.5 Contextual Chatbot (แชทบอทที่ใช้การเรียนรู้ขั้นสูง)มีความซับซ้อนมากขึ้นกว่า
ประเภทอ่ืนโดยมกี ารใช้ Machine Learning (ML) และ Artificial Intelligence (AI) มาพฒั นา Chatbot
ให้สามารถจดจำการสนทนาและการเรยี นรจู้ ากคำถามที่เจอเพอ่ื นำมาพฒั นาเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการตอบ
คำถามครงั้ ตอ่ ไป [www.tips.thaiware.com]

ภาพที่ 2.30 แสดงแชทบอททใ่ี ช้การเรียนร้ขู น้ั สูง

21

2.5.4 ประโยชน์ Chatbot
2.5.4.1 มปี ระสทิ ธภิ าพในการให้ข้อมลู [www.tips.thaiware.com]
2.5.4.2 ช่วยใหก้ ารติดตอ่ สือ่ สารเป็นไปไดต้ ลอดเวลา [www.tips.thaiware.com]
2.5.4.3 ให้คำปรึกษาหรือคำแนะนำกับผใู้ ช้งานได้อยา่ งรวดเร็ว[www.tips.thaiware.com]
2.5.4.4 ลดการมีปัญหาระหว่างร้านค้าและลูกค้าเพราะ Chatbot จะถามกลับอย่างสุภาพ

เสมอถงึ แม้ลกู คา้ จะใช้คำพูดไม่สภุ าพ [www.tips.thaiware.com]
2.5.4.5 แจ้งโปรโมชน่ั ใหมๆ่ ใหก้ ับลูกคา้ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว [www.tips.thaiware.com]

2.5.5 การนำ Chatbot มาประยุกตใ์ ชง้ าน
2.5.5.1 ด้านการศึกษา Duolingo เป็นแอปพลิเคชันสำหรับการเรียนรู้และฝึก

ภาษาต่างประเทศซึ่งมีให้เลือกหลากหลายภาษาและได้มีการนำ Chatbot มาใช้ในการโต้ตอบกับผู้เรียน
อกี ด้วย[www.tips.thaiware.com]

ภาพที่ 2.31 แสดงการประยุกต์ใชง้ าน Chatbot ด้านการศกึ ษา Duolingo

22
2.5.5.2 ดา้ นการเงิน น้องวายขุ องธนาคารกรงุ ไทยเป็น Chatbot ท่ีคอยช่วยเหลอื และตอบ
คำถามใหก้ ับลูกค้าผ่านแอปพลิเคชนั Line Krungthai Connext [www.tips.thaiware.com]

ภาพที่ 2.32 แสดงการประยุกตใ์ ช้งานChatbot ดา้ นการเงนิ
2.5.5.3 ดา้ นการแพทย์ MOPH Connect เป็น Chatbot สำหรับตอบคำถามให้ความ
ช่วยเหลือของกระทรวงสาธารณสขุ [www.tips.thaiware.com]

ภาพที่ 2.33 แสดงการประยุกตใ์ ช้งานChatbot ดา้ นการแพทย์ MOPH Connect

บทท่ี 3
วิธีการดาเนินโครงการ

บทท่ี 3
วธิ ีการดำเนนิ งานโครงการ

การดำเนินงานโครงการ “Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลโดยใช้โปรแกรมเว็บ
Dialogflow” มีรายละเอียดในการดำเนนิ งานโครงการ ดังน้ี

3.1 การศกึ ษาข้อมลู เบอื้ งต้น
3.2 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
3.3 ขน้ั ตอนการดำเนินงาน
3.4 เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
3.5 ข้ันตอนการดำเนนิ การและเกบ็ รวบรวมข้อมูล
3.6 พจิ ารณาจากคะแนนตามเกณฑ์
3.7 สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล
3.1 การศึกษาข้อมูลเบอื้ งตน้
3.1.1 ศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลจากเอกสารและส่อื ตา่ งๆ
3.1.2 ศึกษาวธิ ีการใช้โปรแกรมโปรแกรมเวบ็ Dialogflow
3.1.3 คณะผู้จัดทำร่วมกันดำเนินการสร้าง Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
โดยใช้โปรแกรมเวบ็ Dialogflow
3.1.4 สำรวจกล่มุ เป้าหมายและจดั ทำโครงรา่ งแบบสอบถาม

3.2 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
3.2.1 ประชากร คือ นักเรียนนักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง

จำนวน 463 คน
3.2.2 กลมุ่ ตัวอย่าง คอื นกั เรยี นนักศกึ ษา สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กิจดิจิทลั วิทยาลัยเทคนิคระยอง

จำนวน 210 คน (https://sites.google.com)

24
ภาพที่ 3.1 แสดงตาราง krejcie & Morgan

3.3 ขั้นตอนการดำเนินงาน 25
3.3.1 การออกแบบผังงาน ไมผ่ ่าน

เรม่ิ ต้น

คดิ ค้นหวั ข้องานทจ่ี ะนำเสนอ

นำเสนอหัวข้อต่ออาจารย์ทีป่ รึกษา
โครงการและอาจารยผ์ สู้ อน
โครงการ
ผา่ น

ออกแบบโครงร่างชิน้ งานChatbot

นำเสนอหัวข้อต่อไอมา่ผจ่าานรย์ท่ีปรึกษา
โครงการและอาจารย์ผู้สอนโครงการ

- ผา่ น
1
ภาพท่ี 3.2 แสดงFlowchart ออกแบบผงั งาน

26
1

ออกแบบChatbot
ใสข่ อ้ มูลรายละเอยี ดใหส้ มบรู ณ์

ทดสอบช้นิ งานChatbot ไมผ่ ่าน
และจัดทำประเมินความพึงพอใจ

ทีม่ ีต่อChatbผo่าtน

ผ่าน
ทำการเกบ็ ผลสำรวจจากกล่มุ ตวั อยา่ ง

สรุปผลและจัดทำรูปเล่มโครงการ

ส่งรปู เลม่ โครงการและชน้ิ งาน
พรอ้ มทงั้ ส่งซดี ีทส่ี มบูรณ์ของโครงการ

จบ
ภาพที่ 3.3 แสดง Flowchart ออกแบบผงั งาน

27

3.3.2 ข้นั ตอนการสร้างชน้ิ งาน
3.3.2.1 การออกแบบริชเมนูชิ้นงาน Chatbot

ภาพที่ 3.4 แสดงข้ันตอนการออกแบบริชเมนูชิ้นงาน Chatbot
3.3.2.2 การใสข่ ้อมลู ท่ใี ชเ้ ชื่อมโยงกัน

ภาพที่ 3.5 แสดงขน้ั ตอนการใสข่ ้อมูลทใ่ี ช้เช่ือมโยงกนั

28

3.3.2.3 การตง้ั หวั ข้อชิน้ งานหลกั

ภาพท่ี 3.6 แสดงขั้นตอนการตงั้ หวั ขอ้ ชิ้นงานหลัก
3.3.2.4 การออกแบบปุม่ กดตวั เลือก

ภาพท่ี 3.7 แสดงขั้นตอนการออกแบบปุ่มกดตัวเลอื ก

29

3.3.2.5 การตรวจสอบเช่ือมลงิ ก์หวั ข้อหลัก

ภาพที่ 3.8 แสดงขน้ั ตอนการตรวจสอบเชื่อมลิงก์หวั ข้อหลัก
3.3.2.6 การเขียนโคด้ ใสห่ ัวขอ้ หลกั ในสว่ นทเี่ หลือ

ภาพที่ 3.9 แสดงขนั้ ตอนการเขียนโค้ดใส่หัวขอ้ หลักในสว่ นท่ีเหลือ

30

3.3.2.7 การลงรายละเอยี ดขอ้ มลู ท่ีลงลึกกว่าเดิม

ภาพที่ 3.10 แสดงขัน้ ตอนการลงรายละเอียดข้อมูลที่ลงลึกกวา่ เดิม
3.3.2.8 การตรวจสอบและแก้ไขขอ้ มลู ที่ขาดหายเพ่มิ เติม

ภาพที่ 3.11 แสดงขน้ั ตอนการตรวจสอบและแก้ไขขอ้ มูลท่ีขาดหายเพิ่ม

31

3.3.2.9 รปู คิวอารโ์ คด้

ภาพที่ 3.12 แสดงควิ อารโ์ คด้ LINE ภาพที่ 3.13 แสดงคิวอาร์โคด้ LINE
ขอ้ มลู สำหรับภายใน DBTech RTC ข้อมลู สำหรบั ภายนอก DBTech RTC Data

3.4 เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล
3.4.1 Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจิทลั โดยใช้โปรแกรมเว็บ Dialogflow
3.4.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล

วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยโปรแกรมเว็บ
Dialogflow

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ของผตู้ อบแบบสอบถาม ไดแ้ ก่ เพศ อายุ และระดับชัน้ ของผตู้ อบ
แบบสอบถาม

ส่วนท่ี 2 ขอ้ มูลความพงึ พอใจของ Chatbot สาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจิทลั โดยใช้
โปรแกรมเว็บDialogflow ที่มีต่อลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating Scale) แบง่ เป็น 5 ระดบั [https://nuiphen.wordpress.com]

5 หมายถึง ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทส่ี ดุ
4 หมายถึง ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมาก
3 หมายถงึ ความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั ปานกลาง
2 หมายถงึ ความพึงพอใจอย่ใู นระดบั น้อย
1 หมายถึง ความพึงพอใจอยใู่ นระดับนอ้ ยท่สี ดุ
ส่วนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะการจัดทำโครงการ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กิจดจิ ิทัล
โดยใช้โปรแกรมเวบ็ Dialogflow

32

3.4.3 การสร้างเครือ่ งมือท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล มดี ังนี้
3.4.3.1 กำหนดโครงการสรา้ งและขอบข่ายเนื้อหาสาระของแบบสอบถาม โดยกำหนด

เนื้อหาสาระที่นำมาสร้างแบบสอบถามให้เห็นขอบเขตของคำถามที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
และครอบคลุมเรอ่ื งท่ีจะศึกษาโดยคำแนะนำจากครูทป่ี รึกษาโครงรา่ งการจัดทำโครงการ

3. 4. 3. 2 ศึกษาแนว ท าง ท ฤษฎ ีหล ัก ก ารส ร้า ง แบ บส อบ ถา มเ อ กส าร ตำร า
บทความทางวิชาการ

3.4.3.3 ศึกษาวิธีสร้างแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ( Rating Scale)
สรา้ งแบบสอบถามฉบับร่าง โดยเขียนขอ้ ความทีส่ อดคล้องกับตัวแปรที่ศึกษาใหค้ รบถ้วนตามโครงการ
สรา้ ง 5 ระดับ คอื มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด

3.4.3.4 ดำเนินการสร้างแบบสอบถามขนึ้ มาใหค้ รอบคลมุ กับการจดั ทำโครการ
3.4.3.5 ตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามเบื้องต้นโดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
และ ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบพิจารณาเพื่อความเที่ยงตรงของเนื้อหาและความถูกต้องในสำนวนภาษา
ที่ใช้เพื่อให้คำถามครอบคลุมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ แล้วปรับปรุงแก้ไขตาม
คำแนะนำ นำมาจดั ทำแบบสอบถามฉบบั สมบรู ณ์เพอื่ นำไปใช้ต่อของอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาโครงการ
3.4.3.6 จัดทำแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
เพือ่ นำมาจดั ทำแบบสอบถามฉบบั สมบูรณ์และนำไปใชต้ อ่ ไป

3.5 ขั้นตอนการดำเนินการและเกบ็ รวบรวมข้อมลู
3.5.1 การวางแผนของโครงการ
3.5.1.1 สรุปหัวข้อโครงการ
3.5.1.2 ศึกษาเนื้อหาที่เกี่ยวข้องในการจัดทำโครงการ ต้องการปัจจัยใดบ้าง

ในการจดั ทำโครงการ
3.5.2 เสนอโครงการ
3.5.3 การดำเนินงานในโครงการมีเน้อื หา 5 บท สามารถสรปุ ไดด้ ังน้ี
3.5.3.1 จัดทำโครงการใหไ้ ด้ใจความ
1) บทที่ 1 บทนำโดยเนื้อหาเกี่ยวกับความเป็นมา วัตถุประสงค์ ขอบเขต

และประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั
2) บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบ

แนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยี แนวคิดเกี่ยวกับโปรแกรม แนวคิดเกี่ยวกับเว็บDialogflow
และแนวคดิ เกย่ี วกับChatbot

33

3) บทที่ 3 วิธีการดำเนนิ โครงการ โดยเน้อื หาเกยี่ วกับขัน้ ตอนการดำเนินงาน
4) บทท่ี 4 การวิเคราะห์ข้อมูล และข้อเสนอแนะโดยเนื้อหาเกี่ยวกับ
การสรปุ ผล การประเมินผลของวตั ถปุ ระสงค์ เครือ่ งมอื ทีใ่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
5) บทที่ 5 สรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
3.5.4 จัดทำช้ินงานเป็นรปู เลม่
3.5.5 สรุปผลจากแบบสอบถาม
3.5.6 รายงานผลการดำเนนิ การและนำเสนอต่ออาจารย์ทปี่ รกึ ษาโครงการ

3.6 พจิ ารณาจากคะแนนตามเกณฑ์

3.6.1 เครื่องมือในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ไดแ้ ก่ แบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรยี น

นักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อ Chatbot

สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกิจดิจิทลั โดยโปรแกรมเว็บ Dialogflow

3.6.2 สร้างแบบสอบถาม โดยมีมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดบั ดังน้ี

[https://nuiphen.wordpress.com]

3.6.2.1 5 หมายถึง ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทส่ี ดุ

3.6.2.2 4 หมายถงึ ความพึงพอใจอยใู่ นระดับมาก

3.6.2.3 3 หมายถึง ความพงึ พอใจอยู่ในระดับปานกลาง

3.6.2.4 2 หมายถงึ ความพงึ พอใจอย่ใู นระดับน้อย

3.6.2.5 1 หมายถงึ ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั นอ้ ยที่สดุ

3.6.3 เกณฑก์ ารประเมินค่าความพงึ พอใจ กำหนดค่าคะแนนออกเปน็ 5 ระดบั ดังนี้

[https://nuiphen.wordpress.com]

4.50 – 5.00 หมายถงึ ความพึงพอใจอยใู่ นระดับมากทสี่ ุด

3.50 – 4.49 หมายถึง ความพึงพอใจอยใู่ นระดับมาก

2.50 – 3.49 หมายถึง ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั ปานกลาง

1.50 – 2.49 หมายถึง ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั น้อย

0.00 – 1.49 หมายถงึ ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั น้อยท่ีสุด

หมายเหตุ คะแนน 3.50 ขนึ้ ไป หรือมากขนึ้ ไปถือวา่ ผ่านเกณฑ์

34

3.7 สถิตทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู
ในการจัดทำโครงการ Chatbot สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยใช้โปรแกรม

เว็บDialogflow สถติ ิทใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกได้ ดงั น้ี
3.7.1 สูตรการหาคา่ สถติ ริ ้อยละ (Percentage) [https://doctemple.wordpress.com]

P = × 100



เม่อื P แทน ร้อยละ
แทน ความถีท่ ต่ี ้องการแปลคา่ ให้เปน็ รอ้ ยละ
แทน จำนวนความถที่ งั้ หมด

3.7.2 สตู รการหาคา่ เฉลย่ี ( ̅) [https://doctemple.wordpress.com]
̅ = ∑



เมื่อ ̅ แทน ค่าเฉลี่ย

∑ ̅ แทน ผลรวมของทั้งหมด

แทน จำนวนขอ้ มลู ทัง้ หมด
3.7.3 สตู รการหาค่าเบี่ยงเบนมาตราฐาน (S.D Standard Deviation)
[https://doctemple.wordpress.com]

. = √ ∑ 2( ∑ 2)
( −1)

เมือ่ . แทน ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน
แทน จำนวนกลุม่ ตัวอย่าง
แทน คะแนนแต่ละตวั ในกลมุ่ ข้อมลู
̅ แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตัวยกกำลังสอง
∑ ̅2 แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกำลงั สอง
(∑ ̅2)

บทที่ 4
การวิเคราะหข์ อ้ มลู


Click to View FlipBook Version