The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ ๑๓ หนึ่งในประชาคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-03-22 01:07:01

บทที่ ๑๓ หนึ่งในประชาคม

บทที่ ๑๓ หนึ่งในประชาคม

ความคิดเหน็ ของผู้บงั คับบัญชา
ความคิดเห็นหวั หน้ากลุ่มสาระ

...............................................................................................................................................
...............................…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………

ลงชื่อ ....................................................
(นางกรรณิกา จาํ ปาเต้ยี )
หวั หนา้ กลุ่มสาระภาษาไทย

ความคิดเห็นหัวหน้าวชิ าการ
...............................................................................................................................................
...............................…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………

ลงชื่อ...................................................
(นางสาวสุพาพร สุพงษ)์

รองผอู้ าํ นวยการโรงเรียนกลมุ่ บริหารวิชาการ

ความคิดเห็นผู้อํานวยโรงเรียน
...............................................................................................................................................
...............................…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………

ลงช่ือ....................................................
(ดร.พิมพน์ ารา เสาวนิตย)์

ผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนวดั ชุมพลนิกายาราม

ใบความรเู้ รื่อง กลุ่มประเทศอาเซี่ยน
ประวตั คิ วามเป็ นมาของอาเซียน
สมาคมประชาชาตแิ ห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian
Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นการรวมกลมุ่ ของประเทศในภูมภิ าคเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใต้ เพอ่ื ส่งเสริมความเขา้ ใจอนั ดีระหว่างประเทศในภูมิ ธาํ รงไวซ้ ่ึงสันติภาพ
เสถียรภาพ และความมนั่ คงความปลอดภยั ทางการเมือง สร้างสรรคค์ วามเจริญเติบโต
ทางดา้ นเศรษฐกิจการพฒั นาทางสังคมและวฒั นธรรม กินดีอยดู่ ีบนพ้ืนฐานของความเสมอ
ภาคและผลประโยชน์ร่วมกนั

2. ความสัมพันธ์ของอาเซียนทางเศรษฐกิจและสังคม
อาเซียนมีความสัมพนั ธก์ บั เศรษฐกิจและสังคมของภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ดงั น้ี
1) ความร่วมมือด้านเศรษฐกจิ
ประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ มผี ลผลติ ทางการเกษตรที่เป็นสินคา้

ส่งออกคลา้ ยคลึงกนั ทาํ ให้เกิดการแยง่ ตลาดกนั เอง ดงั น้นั อาเซียนจึงไดร้ ่วมมือกนั พฒั นา
และแกไ้ ขปัญหาเศรษฐกิจ เช่น ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ จดั ต้งั เขตการคา้ เสรี (AFTA) เพอ่ื ชว่ ย
ขยายการคา้ ระหวา่ งประเทศสมาชิกและดึงดูดการลงทนุ จากภายนอก ส่งเสริมการลงทุน
ครอบคลมุ สาขาการผลติ เกษตร ประมง ป่ าไม้ เหมืองแร่ ขอ้ ตกลงวา่ ดว้ ยความร่วมมอื ดา้ น
อตุ สาหกรรมของอาเซียน เพอื่ เพิม่ ศกั ยภาพในการแขง่ ขนั ใหก้ บั สินคา้ อตุ สาหกรรมของ
อาเซียน โดยสนบั สนุนการแบ่งการผลิตภายในภูมิภาคลดตน้ ทนุ การผลิตโดยการลดภาษี
นาํ เขา้ สินคา้ สาํ เร็จรูปและวตั ถุดิบ

2) ความร่วมมือด้านสังคม
อาเซียนเห็นความสาํ คญั ของการร่วมมือทางดา้ นสงั คมเพือ่ มุง่ หวงั ความกา้ วหนา้
โดยการพฒั นาคนให้มคี วามสามารถยิ่งข้นึ และสร้างความเป็นปึ กแผ่นให้สังคม
ความร่วมมือทางสังคมระหวา่ งประเทศสมาชิก เช่น ใหค้ วามร่วมมอื ในดา้ นการ
พฒั นาสงั คม การศึกษา สาธารณสุข สิ่งแวดลอ้ ม วฒั นธรรม และสารสนเทศ วทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี การต่อตา้ นยาเสพติด เป็นตน้
โครงการท่เี ป็นความร่วมมือสาํ คญั ในดา้ นน้ี ไดแ้ ก่ การจดั ต้งั เครือข่ายมหาวิทยาลยั
อาเซียนและพฒั นาทรัพยากรบคุ คลโดยเฉพาะอยา่ งยิง่ เยาวชน

สัญลกั ษณ์ของอาเซียน คอื ตน้ ขา้ วสีเหลอื ง 10 ตน้ มดั รวมกนั หมายถึง ประเทศ
สมาชิก 10 ประเทศท่รี วมกนั เพอ่ื มติ รภาพและความเป็นน้าํ หน่ึงใจเดียวกนั

สีนํ้าเงิน หมายถงึ สันติภาพและความมน่ั คง
สีแดง หมายถึง ความกลา้ หาญและความกา้ วหนา้
สีขาว หมายถึง ความบริสุทธ์ิ
สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
คําขวญั อาเซียน : หน่ึงวสิ ยั ทศั น์ หน่ึงเอกลกั ษณ์ หน่ึงประชาคม

ใบงาน ชดุ ที่ ๗

คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบคาํ ถามตอ่ ไปน้ี

1. สมาคมประชาชาตแิ ห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ก่อต้งั ข้นึ เมอื่ ใด
2. ประเทศสมาชิกก่อต้งั สมาคมอาเซียน มกี ่ีประเทศ ประเทศอะไรบา้ ง
3. ประเทศใดในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตท้ ่ีมไิ ดเ้ ป็นสมาชิกของ

สมาคมอาเซียน
4. สมาคมอาเซียน ก่อต้งั ข้นึ เพื่อวตั ถปุ ระสงคใ์ ด
5. สัญลกั ษณอ์ าเซียน คอื อะไร
4. สีน้าํ เงิน ในสัญลกั ษณ์อาเซียน หมายถงึ อะไร
5. สีแดง ในสญั ลกั ษณอ์ าเซียน หมายถงึ อะไร
6. สีขาว ในสญั ลกั ษณอ์ าเซียน หมายถึงอะไร
7. สีเหลอื ง ในสัญลกั ษณอ์ าเซียน หมายถึงอะไร
8. คาํ ขวญั ของอาเซียน วา่ อยา่ งไร
9. การร่วมมือกนั ของกล่มุ สมาคมประชาชาตอิ าเซียน มปี ระโยชนห์ รือไมอ่ ยา่ งไร
10. นกั เรียนคิดวา่ การทป่ี ระเทศไทยเขา้ ร่วมเป็นสมาชิกอาเซียน ส่งผลกระทบตอ่

คนไทยในดา้ นใดบา้ ง
๑๑. ประเทศใดเขา้ เป็ นสมาชิกกลมุ่ อาเซี่ยนเป็นประเทศสุดทา้ ย
๑๒. การประชุม “ World Economic Forum” เมือ่ เดือน พฤษภาคม ๒๕๕๕ จดั

ข้นึ ทป่ี ระเทศใด ผูน้ าํ พมา่ ที่เขา้ ร่วมคอื ใคร

กระดาษคาํ ตอบใบงาน ชดุ ท่ี ๗

.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................

ใบงาน ชดุ ท่ี ๘

คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนวิเคราะห์ถึงประโยชน์ทไี่ ทยไดร้ บั จากการเขา้ ร่วมกลมุ่
ประเทศ “ อาเซี่ยน” ตามหวั ขอ้ ท่ีกาํ หนดใหใ้ นแผนภาพความคดิ

ด้านศาสนา ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ
ไทยไดร้ บั จากกลุ่มอาเซ่ียน

ด้านวัฒนธรรม

ช่ือ.................................................................เลขท่ี ..................... ช้ัน...............

แผนการจดั การเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนท่ี ๕

กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๖
บทท่ี ๑๓ หนึ่งในประชาคม เวลา ๗ ชั่วโมง
หัวข้อเร่ือง การสืบค้นข้อมลู จากสื่ออเี ลก็ โทรนิกส์ เวลา ๑ ชั่วโมง
วนั ท่ี ....................................... ผู้ใช้แผน ................................

สาระท่ี ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคดิ เพื่อนาํ ไปใช้

ตดั สินใจ แกป้ ัญหาในการดาํ เนินชีวติ และมนี ิสยั รกั การอา่ น
๑. สาระสําคญั

๑.๑ ความคิดรวบยอด
ปัจจุบนั เป็ นโลกของยคุ ข่าวสารขอ้ มลู ความเจริญทางดา้ นเทคโนโลยสี าร

สนเทศเป็ นไปอยา่ งรวดเร็ว ทาํ ให้สามารถสืบคน้ ขอ้ มลู สารสนเทศไดจ้ ากทว่ั โลก การใช้
เทคโนโลยีควรใชใ้ หถ้ กู ตอ้ งเหมาะสม จึงจะเกิดกบั ผเู้ รียน

๑.๒ สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๖ / ๔ แยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นจากเรื่องที่อา่ น

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ นกั เรียนบอกวิธีการสืบคน้ ขอ้ มลู จากสื่ออีเล็กโทรนิกส์ได้
๓.๒ นกั เรียนสืบคน้ ขอ้ มลู จากแหล่งตา่ งๆได้

๔. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
๔.๑ รักความเป็นไทย
๔.๒ ใฝ่เรียนรู้

๔.๓ มีจิตสาธารณะ
๔.๔ มวี ินยั
๔.๕ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง

๕. สาระการเรียนรู้
๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๏ การอา่ นจบั ใจความจากสื่อตา่ งๆ
๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย
๏ การสืบคน้ ขอ้ มูลจากสื่ออีเลก็ โทรนิกส์

๖. ชิน้ งาน / หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การทาํ ใบงาน
๖.๒ แบบบนั ทกึ ผลการประเมิน

๗. กจิ กรรมการเรียนรู้
๗.๑ ทบทวนเน้ือหาท่ีเรียนในชวั่ โมงทแ่ี ลว้ ดว้ ยการให้นกั เรียนนาํ ใบงาน

ชุดท่ี ๖ – ๗ มาร่วมกนั ตรวจสอบและเฉลยอกี คร้ัง จากน้นั นกั เรียนเล่นเกม “คาํ นวณ
ภาษาไทย” เพอ่ื คดิ ช่ือตวั อกั ษร ( ทา้ ยแผน)

๗.๒ นกั เรียนแบง่ กลมุ่ ออกเป็นกลมุ่ ละ ๔ – ๕ คน แตล่ ะกลมุ่ ประกอบไปดว้ ย
นกั เรียนท่มี รี ะดบั ภมู ิปัญญาสูง กลาง และต่าํ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหวั หนา้ กลมุ่ รอง
หวั หนา้ กลุม่ และเลขานุการกลมุ่

๗.๓ นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ศึกษาประเภทของสื่อสารสนเทศ และหลกั การ
ในการเลือกใชโ้ ดยให้ส่วนหน่ึง ศกึ ษาเร่ือง ส่ือตพี ิมพ์ อกี ส่วนหน่ึง ศกึ ษาเร่ือง สื่อไม่
ตพี มิ พ์ จากน้นั ให้แตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมารายงานทหี่ นา้ ช้นั

๗.๔ ครูและนกั เรียนช่วยกนั สรุปความรู้เรื่อง การเลือกอา่ นเรื่องจากสื่อ
สารสนเทศ ดงั น้ี

 ส่ือสารสนเทศ เป็นสื่อทแ่ี สดงขอ้ มูล ขา่ วสาร ขอ้ เท็จจริง ความรู้ และ
เหตุการณต์ า่ ง ๆ ซ่ึงไดร้ วบรวมไว้ และถ่ายทอดเป็ นรูปแบบตา่ ง ๆ

 ส่ือสารสนเทศ แบง่ ออกเป็ น ๒ ประเภท คอื สื่อตพี มิ พ์ และส่ือไม่
ตพี มิ พ์

๗.๔ ครูสนทนาซกั ถามนกั เรียน ในหวั ขอ้ ต่อไปน้ี
- ขอ้ มูล คอื อะไร

- ขา่ วสาร คอื อะไร

- เทคโนโลยคี อื อะไร
- สารสนเทศ คืออะไร

- ใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ งขอ้ มูลขา่ วสาร มากลมุ่ ละ ๑ ชนิด
๗.๓ นกั เรียนศึกษาเน้ือหาเก่ียวกบั วธิ ีการสืบคน้ ขอ้ มูลจากส้ืออเี ลค็ โทรนิกส์ใน
หนงั สือเรียนภาษาไทย ชุดภาษาพาที หนา้ ๒๐๖ และใบความรู้เร่ืองศูนยเ์ ครือขา่ ยขอ้ มลู

( ทา้ ยแผน ) จากน้นั ให้นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ เขียนแผนภาพความคดิ สรุปวิธีการสืบคน้ ขอ้ มูล
ส่งตวั แทนนาํ เสนอทหี่ นา้ ช้นั เรียน
๗.๔ ให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มศกึ ษาความรู้ทางภาษา จากใบความรู้เร่ือง
ขอ้ มลู สารสนเทศ ( ทา้ ยแผน ) โดยศึกษาในหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี
กลมุ่ ที่ ๑ ศกึ ษาเร่ือง “ ซีดีรอม ”
กลุ่มท่ี ๒ ศึกษาเรื่อง “ เครือข่ายอินเตอร์เนต ”

กลมุ่ ที่ ๓ ศกึ ษาเร่ือง “ ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ ”

กลุ่มท่ี ๔ ศกึ ษาเร่ือง “ แผน่ ป้ายอิเล็กทรอนิกส์ ”
กลมุ่ ที่ ๕ ศกึ ษาเร่ือง “ หอ้ งคยุ อิเลก็ ทรอนิกส์ ”

ให้นกั เรียนระดมความคดิ ระดมสมอง แลกเปลี่ยนเรียนรู้กนั ภายในกลมุ่
ให้นกั เรียนกลมุ่ ส่งตวั แทนมาเสนอผลการคน้ ควา้ หนา้ ช้นั เรียน พร้อมคดั ลอกสาระน้นั
ประกอบการรายงาน
๗.๕ นกั เรียนทาํ ใบงานท่ี ๙ ( ทา้ ยแผน ) ชุด สืบคน้ ขอ้ มลู ประเทศในกล่มุ
อาเซี่ยน จากน้นั นาํ ส่งครู ครูเฉลยและตรวจสอบความถูกตอ้ ง
๗.๖ นกั เรียนทาํ ใบงานท่ี ๑๐ ( ทา้ ยแผน )ชุด เลือกตอบถูก – ผดิ เสร็จแลว้ ครู
เฉลย นกั เรียนแลกเปล่ยี นกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

๘. สื่อ / แหล่งเรียนรู้ / บคุ คล

ลาํ ดบั ที่ รายการส่ือ กิจกรรมท่ีใช้ แหล่งที่ได้มา
นกั เรียนเล่นเกม ครูจดั เตรียม
๑ เกม คาํ นวณภาษาไทย นกั เรียนทาํ ใบงาน ครูจดั ทาํ
นกั เรียนศึกษาเพิ่มเติม ครูจดั ทาํ
๒ ใบงาน ชุดที่ ๙ – ๑๐ นกั เรียนอ่านเรื่อง ครูจดั ทาํ

๓ ใบความรู้ เ สร้างกฎของการประเมิน ครูจดั ทาํ
นกั เรียนสืคน้ ขอ้ มลู ครูจดั ทาํ
๔ หนงั สือเรียนรายวชิ าพ้ืนฐาน
ภาษาไทย ชุดภาษาเพ่ือชีวิต บนั ทึกการสงั เกตพฤตกิ รรม และ ครูจดั ทาํ
ภาษาพาที ช้นั ป.๖ บนั ทกึ ผลงานรายบคุ คล

๕ เกณฑก์ ารประเมนิ ( Rubric )

๖ คอมพิวเตอร์ และอปุ กรณ์
ซอฟตแ์ วร์

๗ แบบประเมินการสังเกต
พฤติกรรม และแบบ
ประเมนิ ผลงานรายบคุ คล

๙. วดั ผลประเมินผล

กจิ กรรมทปี่ ระเมนิ เครื่องมือที่ใช้ใน วธิ ีการประเมิน เกณฑ์การประเมนิ
๑. สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น การประเมิน
แบบประเมินการสงั เกต สังเกตรายบคุ คล ๘ - ๑๐ = ดีมาก
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ พฤติกรรม และแบบ ๖ – ๗ = ดี
ประสงค์ ประเมินผลงาน ๕ = พอใช้
ต่าํ กว่า ๕ = ปรบั ปรุง

๒. นกั เรียนรายงานหนา้ ช้นั แบบประเมนิ การสงั เกต สังเกตรายกลุม่ ๘ - ๑๐ = ดีมาก
พฤตกิ รรม และแบบ ๖ – ๗ = ดี
ประเมินผลงาน ๕ = พอใช้
ต่าํ กว่า ๕ = ปรับปรุง

๓. นกั เรียนทาํ ใบงาน แบบประเมนิ การสังเกต ตรวจงานรายบุคคล ๘ - ๑๐ = ดีมาก
ชุดที่ ๙ พฤตกิ รรม และแบบ ๖ – ๗ = ดี
ประเมนิ ผลงาน ๕ = พอใช้
ต่าํ กว่า ๕ = ปรบั ปรุง

๓. นกั เรียนทาํ ใบงาน แบบประเมินการสงั เกต ตรวจงานรายบุคคล ๘ - ๑๐ = ดีมาก
ชุดที่ ๑๐ พฤติกรรม และแบบ ๖ – ๗ = ดี
ประเมนิ ผลงาน ๕ = พอใช้
ต่าํ กวา่ ๕ = ปรับปรุง

การประเมิน ด้านทกั ษะ / กระบวนการ

ประเดน็ การประเมนิ ดี (๒) เกณฑ์การให้ระดับคะแนน ปรับปรุง (๐)
พอใช้ (๑)

สรุปเน้ือหาไดก้ ระชบั สรุปเน้ือหาไดก้ ระชบั สรุปเน้ือหาไดไ้ ม่
ทกั ษะการ สรุป ใจความครบถว้ น ใจความเกือบครบถว้ น กระชบั ใจความและไม่
เนือ้ หา สามารถส่ือให้ผอู้ ่ืนเขา้ ใจ สามารถสื่อใหผ้ ูอ้ ่นื ครบถว้ น สามารถส่ือ
ไดง้ ่าย เขา้ ใจได้ ให้ผูอ้ น่ื เขา้ ใจไดน้ อ้ ย

สามารถพดู รายงานไดด้ ี สามารถพูดรายงานไดด้ ี สามารถพูดรายงานไดด้ ี
พดู เสียงดงั ฟังชดั ได้
การรายงานหน้าช้ัน สาระชดั เจน วางบคุ ลกิ พูดน้าํ เสียงชดั เจน พูดน้าํ เสียงไม่ชดั เจน ไม่
ในการพดู ไดด้ ีมาก สอดคลอ้ งกบั เน้ือหาที่ ค่อยสอดคลอ้ งกบั
พดู วางบคุ ลิกในการ เน้ือหาทีพ่ ูด วางบคุ ลกิ
พดู ไดด้ ี ในการพดู ไมค่ อ่ ยดี

การปฏิบตั ิงานตาม มีทกั ษะการปฏบิ ตั งิ าน มกี ารปฏิบตั ิงานตาม ยงั ไม่สามารถ
ข้นั ตอน ตามข้นั ตอน ไดอ้ ยา่ ง ข้นั ตอนไดต้ ามลาํ ดบั ปฏิบตั งิ านตามข้นั ตอน
ถกู ตอ้ งและเหมาะสม ได้

ความคดิ สร้างสรรค์ มีความคดิ สร้างสรรคด์ ี พอมีความคดิ ที่ ยงั ขาดความคิดท่ี
สร้างสรรคอ์ ยบู่ า้ ง สร้างสรรค์

ความเป็ นระเบยี บ มีทกั ษะสามารถสร้างงาน สามารถสร้างงานทีส่ วน
เรียบร้อยของการทํา ทส่ี วยงาม และมีความ งามพอใชไ้ ด้ และมี ไม่มคี วามสวยงาม และ
ใบงาน ประณีตดี ความประณีตใน ไมป่ ระณีต
บางส่วน

การประเมิน ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
เกณฑ์การให้ระดับคะแนน
ประเด็นการประเมนิ ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง (๐)
ซื่อสัตย์สุจริต
มีวนิ ัย ทาํ งานอยา่ ง ทาํ งานอยา่ ง ทาํ งานอยา่ ง
ใฝ่ เรียนรู้ ตรงไปตรงมา ยอมรับ ตรงไปตรงมา ไม่ ตรงไปตรงมา ไม่
อย่อู ย่างพอเพยี ง ในขอ้ ผดิ พลาดและ ยอมรบั ในขอ้ ผิดพลาด ยอมรับในขอ้ ผดิ พลาด
มจี ติ สาธารณะ บกพร่องของตนเอง และบกพร่องของตนเอง และบกพร่องของตนเอง
พอใจในส่ิงท่ตี นมี พอใจในส่ิงที่ตนมี ไม่คอ่ ยพอใจในส่ิงทต่ี น
มี

รู้จกั ควบคุมอารมณ์ รู้จกั ควบคมุ อารมณ์ บา้ ง ไม่รู้จกั ควบคุมอารมณ์
ปฏบิ ตั ติ นอยใู่ นระเบียบ ปฏิบตั ิตนอยใู่ นระเบยี บ ปฏบิ ตั ติ นอยใู่ นระเบยี บ
วินยั แต่งกายถูกตอ้ ง วนิ ยั การแตง่ กายไม่ วินยั นอ้ ย ไมค่ ่อยแต่ง
ตามระเบียบของ คอ่ ยถูกตอ้ งตามระเบียบ กายถูกตอ้ งตามระเบียบ
โรงเรียนตลอดเวลา ของโรงเรียน ของโรงเรียน

มีความมานะมงุ่ มนั่ ใน มคี วามมานะมงุ่ มนั่ ใน ไม่มีความมานะมงุ่ มนั่
การทาํ งานทีไ่ ดร้ บั การทาํ งานทไ่ี ดร้ ับ ในการทาํ งานท่ีไดร้ บั
มอบหมาย ศึกษา มอบหมาย ศึกษา มอบหมาย ไมค่ อ่ ย
คน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง คน้ ควา้ ดว้ ยตนเองเป็น ศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง
ทาํ งานเสร็จทนั เวลาและ บางคร้งั ทาํ งานเสร็จ ทาํ งานเสร็จไมท่ นั เวลา
ถกู ตอ้ ง ทนั เวลาเป็นบางคร้ัง
ใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์การเรียน ใชว้ สั ดอุ ปุ กรณก์ ารเรียน
ทรี่ าคาถูกและใชอ้ ยา่ ง ใชว้ สั ดอุ ุปกรณก์ ารเรียน ที่ราคาค่อนขา้ งแพงและ
คุม้ ค่าใชจ้ นหมดแลว้ ทีร่ าคาค่อนขา้ งแพงและ ใชอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ ใชไ้ ม่
ค่อยซ้ือใหม่ ใชอ้ ยา่ งคมุ้ ค่าใชจ้ นหมด หมดแลว้ ซ้ือใหม่

มีความเสียสละเพ่ือ มคี วามเสียสละเพ่อื ไมค่ อ่ ยเสียสละเพ่ือ
ส่วนรวม ไมเ่ อาเปรียบ ส่วนรวมเป็ นบางคร้ งั ส่วนรวม ชอบเอา
ไมเ่ ห็นแกต่ วั ช่วยเหลอื ไมเ่ อาเปรียบไม่เห็นแก่ เปรียบคนอน่ื ค่อนขา้ ง
หม่คู ณะไดเ้ ป็นอยา่ งดี ตวั ไมค่ อ่ ยช่วยเหลอื เห็นแก่ตวั ไมค่ ่อย
หมคู่ ณะ ช่วยเหลือหม่คู ณะ

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………………
………….…………………………………………………………………………………
๑๑. บนั ทกึ ผลหลังการสอน

๑๑.๑ ผลการจัดการเรียนการสอน
๑. นกั เรียนจาํ นวน.................... คน
ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้.....................คน คดิ เป็นร้อยละ...............
ไม่ผา่ นจุดประสงคก์ ารเรียนรู้.....................คน คดิ เป็นร้อยละ................

๒. นกั เรียนมีความรู้ความเข้าใจ
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

๓. นักเรียนมีความรู้เกดิ ทกั ษะ
……………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………...

๔. ปัญหา/อปุ สรรค/แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

๕. เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ .....................................ครูผูส้ อน
(นางสุคนธา ณรงคเ์ ดชา)

วนั ……………เดือน…………………ปี ………………….

ความคิดเหน็ ของผู้บงั คบั บญั ชา
ความคิดเหน็ หัวหน้ากลุ่มสาระ

...............................................................................................................................................
...............................…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………

ลงชื่อ ....................................................
(นางกรรณิกา จาํ ปาเต้ยี )
หวั หนา้ กล่มุ สาระภาษาไทย

ความคิดเห็นหวั หน้าวิชาการ
...............................................................................................................................................
...............................…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………

ลงชื่อ...................................................
(นางสาวสุพาพร สุพงษ)์

รองผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนกลุ่มบริหารวชิ าการ

ความคิดเหน็ ผู้อํานวยโรงเรียน
...............................................................................................................................................
...............................…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………

ลงชื่อ....................................................
(ดร.พมิ พน์ ารา เสาวนิตย)์

ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนวดั ชุมพลนิกายาราม

ใบความรเู้ รื่อง การสืบคน้ เครือข่ายขอ้ มูล

๑. แหล่งการค้นคว้าข้อมูลข่าวสารและความรู้
ปัจจุบนั มเี ทคโนโลยีทที่ าํ ให้เราสามารถคน้ ควา้ ขอ้ มลู ขา่ วสาร และความรู้

รวมท้งั ทาํ ให้เราสามารถส่ือสารถงึ กนั ไดอ้ กี อยา่ งหน่ึง เรียกวา่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ
อปุ กรณส์ าํ คญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ คอื คอมพวิ เตอร์ ซ่ึงสามารถคน้ ควา้ ขอ้ มลู
ข่าวสารความรู้ จากซีดีรอม และเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็

๒. ความหมายของซีดรี อม
ซีดีรอม คือ สื่อบนั ทึกขอ้ มลู ทอ่ี ุปกรณ์คอมพวิ เตอร์สามารถอา่ นและแสดงผล

ออกมาไดเ้ มือ่ เราตอ้ งการซีดีรอมท่ีนิยมใชก้ นั มากมีลกั ษณะเป็นแผ่นจานพลาสติกกลม ๆ
บาง ๆ มเี สน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง ๑๒ เซนติเมตร ขอ้ มูลในแผ่นซีดีรอมและเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตจะมีท้งั ขอ้ ความ เสียง ภาพ รวมท้งั ภาพวาดเคลื่อนไหวแบบการ์ตนู และ
ภาพจากวดี ิทศั น์ สาํ หรบั ขอ้ มูลที่บนั ทึกเพ่ือเผยแพร่ทางซีดีรอมมีหลายประเภท เช่น
พจนานุกรมท่ีมีเสียงคาํ อ่าน สารานุกรมท่มี เี สียงและภาพเคลอื่ นไหว บทเรียน
คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน เป็นตน้

๓. ความหมายของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ คือ ระบบการเชื่อมโยงระหวา่ งเครื่องคอมพวิ เตอร์ท่ีอยู่

ห่างไกลกนั ไม่จาํ กดั ระยะทางเป็นเครือขา่ ยขอ้ มูลขา่ วสารและความรู้ทีใ่ หญ่ทส่ี ุด มีผูต้ ้งั
สถานีสาํ หรบั ใหบ้ ริการขอ้ มูลข่าวสารในเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตนับลา้ นสถานี แตล่ ะสถานี
มชี ่ือเฉพาะเรียกวา่ เวบ็ ไซต์ ( web site ) เช่น เวบ็ ไซตข์ องราชบณั ฑิตยสถานใชส้ ัญลกั ษณ์
ดงั น้ี http : / / www.royin.go.th

หนา้ แรกของเวบ็ ไซตโ์ ดยทว่ั ไปจะเรียกวา่ โฮมเพจ ( home page ) หรือ หนา้
หลกั หนา้ หลกั น้ีเป็นเสมอื นหนา้ สารบญั ทจี่ ะทาํ ให้เราทราบว่ามีอะไรในเวบ็ ไซตน์ ้นั ๆ
บา้ ง เราสามารถเขา้ สู่หนา้ อ่นื ๆ ทเี่ รียกว่าเวบ็ เพจ ( web page ) ไดจ้ ากหนา้ หลกั น้ี

ในกรณีที่เราไมท่ ราบว่าขอ้ มลู ท่ีเราตอ้ งการมอี ยใู่ นเวบ็ ไซตใ์ ดบา้ ง เราสามารถ
หาไดจ้ าก เวบ็ ไซตท์ ี่ให้บริการคน้ หาแหลง่ ขอ้ มูล เช่น

http : / / www.sanook.com
http : / / www.pantip.com
http : / / www.lemononline.com
http : / /www.yahoo.com
http : / /www.metscape.com
http : / /www.google.com
๔. ความหมายของไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์
ไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ มาจากคาํ ภาษาองั กฤษวา่ electronic mail มกั นิยมเขยี น
อยา่ งยอ่ ว่า e – mail อ่านวา่ “ อีเมล ” หมายถงึ กระบวนการรบั และส่งขอ้ ความถึงกนั
โดยผา่ นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงขอ้ ความทส่ี ่งอาจจะเป็นตวั อกั ษร ภาพถ่าย ภาพกราฟิก
ก็ได้ ไมเ่ ฉพาะเจาะจงว่าตอ้ งเป็นจดหมาย จึงไมเ่ รียกจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ การส่ง
e – mail เรียกเป็นภาษาไทยว่า “ ส่งไปรษณยี ์อิเล็กทรอนิกส์ ”
การรับและส่งไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ มวี ิธีการอยา่ งไร - ผทู้ ่ีจะส่งและรับ
ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ จะตอ้ งมีที่อยู่ เรียกวา่ e – mail address โดยเราขอ
ลงทะเบียนเป็นผใู้ ชไ้ ดโ้ ดยไม่เสียการลงทะเบียนจะทาํ ให้เราได้ e – mail address โดย
ระบชุ ่ือและทอ่ี ยดู่ งั กลา่ ว
ในระบบไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ เราจะพบไดว้ ่าผูใ้ ดเป็นผูส้ ่งไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ถงึ เราไดเ้ สมอแมว้ า่ จะไมล่ งชื่อ เพราะ e – mail address ของผูส้ ่งจะ
ปรากฏอยใู่ นอเี มล
ขอ้ ความในอีเมล อาจเป็นภาษาองั กฤษ ภาษาไทย หรือภาษาอ่ืน ๆ ท่ี
คอมพิวเตอร์สามารถแสดงผลได้ คือ เราอาจแนบเอกสารภาพ หรือเสียงไปในอเี มลไ์ ด้
การส่งอีเมลไม่เปลอื งค่าใชจ้ ่ายแตอ่ าจตอ้ งเสียค่าโทรศพั ทแ์ ละคา่ ใชบ้ ริการ
อนิ เทอร์เนต็ บา้ ง

๕. ความหมายของแผ่นป้ายอเิ ล็กทรอนิกส์
คาํ วา่ แผ่นป้ายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ แปลมาจากคาํ วา่ electronic web board หรือ

เรียกส้ัน ๆ วา่ web board ( อ่านวา่ เวบ็ บอร์ด ) หมายถงึ พ้ืนทส่ี าํ หรบั ใหส้ มาชิกคน
อน่ื ๆ ที่เขา้ มาอ่านแผน่ ป้ายอิเล็กทรอนิกส์น้นั ได้

๖. ความหมายของห้องคุยอเิ ลก็ ทรอนิกส์
คาํ วา่ ห้องคยุ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ แปลมาจาก electronic chat room หรือเรียก

ส้ัน ๆ วา่ chat room หมายถงึ สถานท่ใี นเครือขา่ ยอิเล็กทรอนิกส์ท่ีเปิ ดโอกาสให้
ผใู้ ชบ้ ริการสามารถคุยกนั โดยวิธีการพมิ พข์ อ้ ความช่ือของผูพ้ มิ พแ์ ละขอ้ ความทพ่ี ิมพล์ งไป
จะปรากฎบนจอภาพของผูท้ ีก่ าํ ลงั คยุ กนั ในห้องคุยน้นั

ใบงาน ชุดที่ ๙

คาํ ชี้แจง ให้นกั เรียนคน้ ควา้ หรือสืบคน้ ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ประเทศในกลมุ่ อาเซี่ยน
มา ๓ ประเทศบอกรายละเอยี ดตามหวั ขอ้ ท่ีกาํ หนดให้

๑. ประเทศ ......................................

1. เมอื งหลวงคอื .................................................................................................
2. ระบบการปกครอง ...........................................................................................
3. ตาํ แหน่งผนู้ าํ ประเทศ .......................................................................................
4. ปัจจบุ นั ผูน้ าํ ประเทศชื่อ ....................................................................................
5. ทางทศิ เหนือติดต่อกบั .....................................................................................
6. ทางทิศใตต้ ดิ ตอ่ กบั ..........................................................................................
7. สถานทีท่ อ่ งเที่ยวทีส่ าํ คญั คอื ............................................................................
8. ศาสนาประจาํ ชาติคอื ................... ...................................................................
9. เคยตกเป็นเมอื งข้นึ ของประเทศ ......................................................................
10. อาหารหลกั ของประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศ ............................................

........................................................................................................................

๒. ประเทศ ......................................

1. เมอื งหลวงคอื .................................................................................................
2. ระบบการปกครอง ...........................................................................................
3. ตาํ แหน่งผูน้ าํ ประเทศ .......................................................................................
4. ปัจจุบนั ผูน้ าํ ประเทศช่ือ ....................................................................................
5. ทางทิศเหนือตดิ ต่อกบั .....................................................................................
6. ทางทศิ ใตต้ ิดต่อกบั ..........................................................................................
7. สถานที่ทอ่ งเทีย่ วทส่ี าํ คญั คอื ............................................................................
8. ศาสนาประจาํ ชาติคือ ................... ...................................................................
9. เคยตกเป็นเมอื งข้นึ ของประเทศ ......................................................................
10. อาหารหลกั ของประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศ ............................................

........................................................................................................................

๓. ประเทศ ......................................

1. เมืองหลวงคอื .................................................................................................
2. ระบบการปกครอง ...........................................................................................
3. ตาํ แหน่งผูน้ าํ ประเทศ .......................................................................................
4. ปัจจบุ นั ผูน้ าํ ประเทศชื่อ ....................................................................................
5. ทางทิศเหนือตดิ ต่อกบั .....................................................................................
6. ทางทศิ ใตต้ ดิ ตอ่ กบั ..........................................................................................
7. สถานทีท่ ่องเท่ยี วท่สี าํ คญั คอื ............................................................................
8. ศาสนาประจาํ ชาตคิ อื ................... ...................................................................
9. เคยตกเป็นเมืองข้นึ ของประเทศ ......................................................................
10. อาหารหลกั ของประชาชนส่วนใหญใ่ นประเทศ ............................................

........................................................................................................................

ใบงาน ชุดท่ี ๑๐

คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุ่มช่วยกนั พจิ ารณาขอ้ ความต่อไปน้ีและเขียนเครื่องหมาย 
หนา้ ขอ้ ความทถี่ กู ตอ้ งและเขยี นเครื่องหมาย  หนา้ ขอ้ ความท่ีผดิ

……….๑. เครื่องมือสืบคน้ ขอ้ มลู สารสนเทศทีส่ าํ คญั คือ คอมพวิ เตอร์
……….๒. E – Mail อา่ นว่า “ อเี มล ” หมายถึง กระบวนการรบั และส่งขอ้ ความถึงกนั

โดยผา่ นทางโทรทศั น์
……….๓. การสืบคน้ ขอ้ มลู จากอนิ เทอร์เน็ตตอ้ งสืบคน้ โดยผา่ นคล่ืนเวบ็ ไซต์
……….๔. การส่งขอ้ มูลทางอนิ เตอร์เนต็ ไม่สามารส่งเป็นภาพถา่ ยได้
……….๕. E – Mail หมายถงึ “ ไปรษณียอ์ เี ลคโทรนิกส์”
……….๖. chat room หมายถึง สถานทท่ี ่ีใชเ้ กบ็ ขอ้ มูล
……….๗. เวบ็ ไซตข์ องราชบณั ฑิตยสถานใชส้ ัญลกั ษณ์ http : / / www.royin.go.th
……….๘. การส่งอเี มลมีคา่ ใชจ้ า่ ยมากกว่าคยุ ทางโทรศพั ท์
……….๙. โฮมเพจ ( home page ) หรือ หนา้ หลกั หนา้ หลกั น้ีเป็นเสมอื นหนา้ สารบญั

ทจ่ี ะทาํ ให้เราทราบวา่ มีอะไรในเวบ็ ไซตน์ ้นั ๆ
……….๑๐. วา่ web board ( อา่ นว่า เวบ็ บอร์ด ) หมายถึง พ้นื ท่สี าํ หรับใหส้ มาชิก

คนอน่ื ๆ ทเ่ี ขา้ มาอ่านแผน่ ป้ายอิเล็กทรอนิกส์น้นั ได้
……….๑๑. ระบบอินเตอร์เนต็ เกิดข้นึ ก่อนทจ่ี ะมีการใชค้ อมพวิ เตอร์
……….๑๒. ซีดีรอมทว่ั ๆไป มีเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางประมาณ ๑๒ เซนติเมตร

ช่ือ.................................................................เลขท่ี ..................... ช้ัน...............

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนที่ ๖

กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๖
บทที่ ๑๓ หนึ่งในประชาคม เวลา ๗ ช่ัวโมง
หวั ข้อเรื่อง คาํ ทีม่ าจากภาษาต่างประเทศ เวลา ๑ ชั่วโมง
วันท่ี ....................................... ผู้ใช้แผน ................................

สาระท่ี ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพ่อื นาํ ไปใช้

ตดั สินใจ แกป้ ัญหาในการดาํ เนินชีวติ และมีนิสัยรักการอ่าน
๑. สาระสําคญั

๑.๑ ความคดิ รวบยอด
ภาษาไทยมคี าํ ทย่ี ืมมาจากภาษาอน่ื ๆปนอยจู่ าํ นวนมาก เพราะมกี ารตดิ ตอ่

สมั พนั ธ์กบั ประเทศตา่ งๆท้งั ในดา้ นการคา้ ขาย การศึกษา การแลกเปลย่ี นวฒั นธรรมและ
วิทยาการต่างๆ ทาํ ใหม้ คี าํ ในภาษาไทยเพ่มิ ข้นึ เพียงพอกบั การใชแ้ ละสะดวกในการ
ติดตอ่ สื่อสาร

๑.๒ สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๖ / ๒ อธิบายความหมายของคาํ ประโยคและขอ้ ความ

ทีเ่ ป็นโวหาร

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ นกั เรียนบอกวิธีการสืบคน้ ขอ้ มูลจากส่ืออเี ล็กโทรนิกส์ได้
๓.๒ นกั เรียนสืบคน้ ขอ้ มลู จากแหล่งตา่ งๆได้

๔. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
๔.๑ รกั ความเป็นไทย
๔.๒ ใฝ่ เรียนรู้
๔.๓ มีจิตสาธารณะ
๔.๔ มวี ินยั
๔.๕ อยอู่ ยา่ งพอเพียง

๕. สาระการเรียนรู้
๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๏ คาํ ทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ
๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย
๏ คาํ ทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ

๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การทาํ ใบงาน
๖.๒ แบบบนั ทึกผลการประเมิน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑ ทบทวนเน้ือหาท่ีเรียนในชวั่ โมงที่แลว้ ดว้ ยการใหน้ กั เรียนนาํ ใบงาน

ชุดที่ ๙ – ๑๐ มาร่วมกนั ตรวจสอบและเฉลยอกี คร้ัง
๗.๒ นกั เรียนแบ่งกลมุ่ ออกเป็นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แตล่ ะกลมุ่ ประกอบไปดว้ ย

นกั เรียนทีม่ ีระดบั ภูมิปัญญาสูง กลาง และต่าํ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มเลอื กหวั หนา้ กลมุ่ รอง
หวั หนา้ กลุ่ม และเลขานุการกลมุ่

๗.๓ นกั เรียนศกึ ษาเน้ือหาเก่ียวกบั คาํ ที่มาจากภาษาตา่ งประเทศในหนงั สือเรียน
ภาษาไทย ชุดภาษาพาที หนา้ ๒๐๗ และใบความรู้ ( ทา้ ยแผน ) จากน้นั ให้นกั เรียน
แต่ละกลุ่มเขียนคาํ ท่ีมาจากภาษาตา่ งประเทศ ประเทศละ ๓ คาํ พร้อมท้งั บอกความหมาย
ส่งตวั แทนอา่ นรายงานทีห่ นา้ ช้นั เรียน

๗.๔ นกั เรียนทาํ ใบงานที่ ๑๑ ( ทา้ ยแผน ) ชุด บอกท่ีมาของคาํ ท่กี าํ หนดให้
จากน้นั นาํ ส่งครู ครูเฉลยและตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

๗.๕ นกั เรียนทาํ ใบงานท่ี ๑๒ ( ทา้ ยแผน ) ชุด บอกความหมายของคาํ ท่ี
กาํ หนดให้ จากน้นั นาํ ส่งครู ครูเฉลยและนกั เรียนแลกเปลย่ี นกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

๗.๖ นกั เรียนทาํ ใบงานที่ ๑๓ ( ทา้ ยแผน ) ชุด บอกความหมายของคาํ ท่ี
กาํ หนดให้ จากน้นั นาํ ส่งครู ครูเฉลยและนกั เรียนแลกเปลย่ี นกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง

๘. ส่ือ / แหล่งเรียนรู้ / บคุ คล

ลาํ ดบั ที่ รายการส่ือ กจิ กรรมที่ใช้ แหล่งท่ีได้มา
๑ ครูใชป้ ระกอบคาํ อธิบาย
๒ บตั รคาํ นกั เรียนทาํ ใบงาน ครูจดั เตรียม
๓ ใบงาน ชุดที่ ๑๑ – ๑๓ นกั เรียนศกึ ษาเพ่มิ เติม ครูจดั ทาํ
๔ ใบความรู้ นกั เรียนอ่านเรื่อง ครูจดั ทาํ
หนงั สือเรียนรายวชิ าพ้ืนฐาน ครูจดั ทาํ
๕ ภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต บนั ทึกการสงั เกตพฤติกรรม และ
๖ ภาษาพาที ช้นั ป.๖ บนั ทกึ ผลงานรายบุคคล ครูจดั ทาํ
ครูจดั ทาํ
แบบประเมินการสังเกต
พฤตกิ รรม และแบบ
ประเมินผลงานรายบคุ คล

๙. วดั ผลประเมนิ ผล เคร่ืองมือท่ีใช้ใน วธิ กี ารประเมิน เกณฑ์การประเมนิ
การประเมิน
กจิ กรรมทีป่ ระเมิน แบบประเมนิ การสงั เกต สงั เกตรายบคุ คล ๘ - ๑๐ = ดีมาก
๑. สังเกตพฤติกรรมดา้ น พฤติกรรม และแบบ ๖ – ๗ = ดี
ประเมินผลงาน ๕ = พอใช้
คุณลกั ษณะอนั พึง ต่าํ กวา่ ๕ = ปรับปรุง
ประสงค์

๒. นกั เรียนรายงานหนา้ ช้นั แบบประเมินการสังเกต สงั เกตรายกลุม่ ๘ - ๑๐ = ดีมาก
พฤตกิ รรม และแบบ ๖ – ๗ = ดี
ประเมินผลงาน
๕ = พอใช้
ต่าํ กวา่ ๕ = ปรบั ปรุง

๓. นกั เรียนทาํ ใบงาน แบบประเมินการสงั เกต ตรวจงานรายบคุ คล ๘ - ๑๐ = ดีมาก
ชุดท่ี ๑๑ – ๑๒ พฤติกรรม และแบบ ๖ – ๗ = ดี
ประเมนิ ผลงาน
๕ = พอใช้
ต่าํ กว่า ๕ = ปรบั ปรุง

๓. นกั เรียนทาํ ใบงาน แบบประเมินการสงั เกต ตรวจงานรายบคุ คล ๘ - ๑๐ = ดีมาก
ชุดที่ ๑๓ พฤตกิ รรม และแบบ ๖ – ๗ = ดี
ประเมินผลงาน
๕ = พอใช้
ต่าํ กว่า ๕ = ปรบั ปรุง

การประเมนิ ด้านทกั ษะ / กระบวนการ

ประเดน็ การประเมนิ ดี (๒) เกณฑ์การให้ระดบั คะแนน
พอใช้ (๑) ปรับปรุง (๐)

สรุปเน้ือหาไดก้ ระชบั สรุปเน้ือหาไดก้ ระชบั สรุปเน้ือหาไดไ้ ม่
ทักษะการ สรุป ใจความครบถว้ น ใจความเกือบครบถว้ น กระชบั ใจความและไม่
เนือ้ หา สามารถสื่อใหผ้ ูอ้ ืน่ เขา้ ใจ สามารถส่ือให้ผอู้ นื่ ครบถว้ น สามารถส่ือ
ไดง้ ่าย เขา้ ใจได้ ให้ผูอ้ ื่นเขา้ ใจไดน้ อ้ ย

สามารถพูดรายงานไดด้ ี สามารถพูดรายงานไดด้ ี สามารถพดู รายงานไดด้ ี
พูดเสียงดงั ฟังชดั ได้ พูดน้าํ เสียงชดั เจน พูดน้าํ เสียงไมช่ ดั เจน ไม่
การรายงานหน้าช้ัน สาระชดั เจน วางบคุ ลิก สอดคลอ้ งกบั เน้ือหาที่ ค่อยสอดคลอ้ งกบั
ในการพดู ไดด้ ีมาก พดู วางบคุ ลกิ ในการ เน้ือหาท่พี ดู วางบคุ ลิก
พดู ไดด้ ี ในการพดู ไมค่ อ่ ยดี

การปฏิบตั ิงานตาม มที กั ษะการปฏิบตั งิ าน มกี ารปฏิบตั ิงานตาม ยงั ไม่สามารถ
ข้นั ตอน ตามข้นั ตอน ไดอ้ ยา่ ง ข้นั ตอนไดต้ ามลาํ ดบั ปฏิบตั งิ านตามข้นั ตอน
ถกู ตอ้ งและเหมาะสม ได้

ความคดิ สร้างสรรค์ มคี วามคดิ สร้างสรรคด์ ี พอมีความคดิ ท่ี ยงั ขาดความคิดท่ี
สร้างสรรคอ์ ยบู่ า้ ง สร้างสรรค์

ความเป็ นระเบียบ มีทกั ษะสามารถสร้างงาน สามารถสร้างงานท่ีสวน
เรียบร้อยของการทาํ ที่สวยงาม และมคี วาม งามพอใชไ้ ด้ และมี ไม่มีความสวยงาม และ
ใบงาน ประณีตดี ความประณีตใน ไม่ประณีต
บางส่วน

การประเมิน ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
เกณฑ์การให้ระดับคะแนน
ประเดน็ การประเมนิ ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง (๐)
ซ่ือสัตย์สุจริต
มวี ินยั ทาํ งานอยา่ ง ทาํ งานอยา่ ง ทาํ งานอยา่ ง
ใฝ่ เรียนรู้ ตรงไปตรงมา ยอมรับ ตรงไปตรงมา ไม่ ตรงไปตรงมา ไม่
อย่อู ย่างพอเพยี ง ในขอ้ ผดิ พลาดและ ยอมรับในขอ้ ผดิ พลาด ยอมรบั ในขอ้ ผิดพลาด
มจี ติ สาธารณะ บกพร่องของตนเอง และบกพร่องของตนเอง และบกพร่องของตนเอง
พอใจในสิ่งทต่ี นมี พอใจในส่ิงที่ตนมี ไมค่ อ่ ยพอใจในส่ิงท่ีตน
มี

รู้จกั ควบคมุ อารมณ์ รู้จกั ควบคมุ อารมณ์ บา้ ง ไมร่ ู้จกั ควบคมุ อารมณ์
ปฏบิ ตั ติ นอยใู่ นระเบยี บ ปฏบิ ตั ติ นอยใู่ นระเบียบ ปฏิบตั ติ นอยใู่ นระเบียบ
วินยั แต่งกายถูกตอ้ ง วินยั การแตง่ กายไม่ วนิ ยั นอ้ ย ไมค่ อ่ ยแตง่
ตามระเบียบของ ค่อยถูกตอ้ งตามระเบยี บ กายถูกตอ้ งตามระเบียบ
โรงเรียนตลอดเวลา ของโรงเรียน ของโรงเรียน

มคี วามมานะมุ่งมนั่ ใน มีความมานะมุ่งมนั่ ใน ไมม่ คี วามมานะมงุ่ มนั่
การทาํ งานทไ่ี ดร้ ับ การทาํ งานที่ไดร้ ับ ในการทาํ งานทไ่ี ดร้ ับ
มอบหมาย ศึกษา มอบหมาย ศกึ ษา มอบหมาย ไมค่ อ่ ย
คน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง คน้ ควา้ ดว้ ยตนเองเป็น ศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง
ทาํ งานเสร็จทนั เวลาและ บางคร้งั ทาํ งานเสร็จ ทาํ งานเสร็จไม่ทนั เวลา
ถูกตอ้ ง ทนั เวลาเป็นบางคร้ัง
ใชว้ สั ดุอปุ กรณ์การเรียน ใชว้ สั ดุอปุ กรณ์การเรียน
ที่ราคาถูกและใชอ้ ยา่ ง ใชว้ สั ดอุ ุปกรณก์ ารเรียน ที่ราคาค่อนขา้ งแพงและ
คมุ้ คา่ ใชจ้ นหมดแลว้ ทรี่ าคาคอ่ นขา้ งแพงและ ใชอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ ใชไ้ ม่
คอ่ ยซ้ือใหม่ ใชอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ ใชจ้ นหมด หมดแลว้ ซ้ือใหม่

มีความเสียสละเพื่อ มคี วามเสียสละเพื่อ ไม่คอ่ ยเสียสละเพื่อ
ส่วนรวม ไม่เอาเปรียบ ส่วนรวมเป็ นบางคร้ งั ส่วนรวม ชอบเอา
ไม่เห็นแก่ตวั ช่วยเหลอื ไมเ่ อาเปรียบไม่เห็นแก่ เปรียบคนอนื่ ค่อนขา้ ง
หมู่คณะไดเ้ ป็นอยา่ งดี ตวั ไม่คอ่ ยช่วยเหลือ เห็นแกต่ วั ไม่ค่อย
หมคู่ ณะ ช่วยเหลือหมคู่ ณะ

๑๐. กจิ กรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………………
………….…………………………………………………………………………………
๑๑. บนั ทึกผลหลังการสอน

๑๑.๑ ผลการจัดการเรียนการสอน
๑. นกั เรียนจาํ นวน.................... คน
ผา่ นจุดประสงคก์ ารเรียนรู้.....................คน คิดเป็นร้อยละ...............
ไม่ผา่ นจุดประสงคก์ ารเรียนรู้.....................คน คดิ เป็นร้อยละ................

๒. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

๓. นกั เรียนมีความรู้เกดิ ทกั ษะ
……………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………...

๔. ปัญหา/อปุ สรรค/แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

๕. เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ .....................................ครูผสู้ อน
(นางสุคนธา ณรงคเ์ ดชา)

วนั ……………เดือน…………………ปี ………………….

ความคิดเหน็ ของผู้บังคบั บญั ชา
ความคดิ เหน็ หวั หน้ากลุ่มสาระ

...............................................................................................................................................
...............................…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………

ลงชื่อ ....................................................
(นางกรรณิกา จาํ ปาเต้ยี )
หวั หนา้ กลุ่มสาระภาษาไทย

ความคดิ เห็นหวั หน้าวชิ าการ
...............................................................................................................................................
...............................…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………

ลงช่ือ...................................................
(นางสาวสุพาพร สุพงษ)์

รองผอู้ าํ นวยการโรงเรียนกลมุ่ บริหารวิชาการ

ความคิดเห็นผู้อาํ นวยโรงเรียน
...............................................................................................................................................
...............................…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………

ลงช่ือ....................................................
(ดร.พิมพน์ ารา เสาวนิตย)์

ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนวดั ชุมพลนิกายาราม

ใบความรูเ้ รื่อง คําท่ีมาจากภาษาต่างประเทศ

คําต่างประเทศทน่ี าํ มาใช้ในภาษาไทย

คาํ ในภาษาต่างประเทศท่เี รานาํ มาใชป้ นกบั ภาษาไทย ไดแ้ ก่ คาํ บาลีและ
สันสกฤต เราไดน้ าํ มาใชใ้ นภาษาไทยเป็นอนั มาก จนถือกนั วา่ เป็นแมภ่ าษาของภาษาไทย
จะเห็นไดจ้ ากวรรณคดีและบรรดาคาํ ใหมๆ่ ท่เี ราบญั ญตั ขิ ้ึนใชใ้ นภาษาไทยโดยเฉพาะคาํ ที่
เก่ียวกบั วทิ ยาการตา่ งๆ ส่วนมากไดป้ รับปรุงข้นึ จากข้ึนบาลหี รือสนั สกฤตแทบท้งั ส้ิน บาง
คาํ เรานาํ มาใชเ้ ฉพาะท่เี ป็นสันสกฤตแตอ่ ยา่ เดียว เช่น ศาสดา อาจารย์ ศตั รู ศสั ตรา จกั รี
บตุ รี ฯลฯ เราไมใ่ ช้ สัตถา อาจริย สัตตุ สัตถ จกั กี บุตตี ซ่ึงเป็นคาํ บาลี

บางทีเราใชเ้ ฉพาะคาํ ที่มาจากบาลีเพยี งอยา่ งเดียว เช่น สภาพ คมั ภรี ์
นาฬิกา ปฏิทิน สักการ ฯลฯ เราไมใ่ ชส้ วภาพ คามภีร์ นาฑกิ า สตั การ ซ่ึงเป็นคาํ
สันสกฤต บางทีเรานาํ มาใชท้ ้งั คาํ บาลแี ละคาํ สนั สกฤต ท้งั ๆ ที่มคี วามหมายเหมอื นกนั
เช่น ขณะ กษณะ อิทธิ- ฤทธิ ชยั กษยั อตุ -ุ ฤดู อคั ค-ี อคั นี กปั – กลั ป์ สิกขา – ศึกษา
สาระการเรียนรู้ – วิทยา ฐาน- สถาน สามี –สวามี นิจ – นิตย์ ฯลน คาํ เหล่าน้ีทกุ ๆ คมู่ ี
ความหมายเหมือนกนั แตท่ ีเ่ ขยี นตา่ งกนั เพราะคาํ หนา้ เป็นบาลี คาํ หลงั เป็นสนั สกฤต

ดงั น้ีจะเห็นไดว้ ่าคาํ บาลีและคาํ สันสกฤตแมจ้ ะเป็นภาษาในตระกลู เดียวกนั
แต่ลกั ษณะและการใชอ้ กั ษรยงั แตกต่างกนั อยู่ เพราะฉะน้นั จึงควรรู้ลกั ษณะทแ่ี ตกต่างกนั
ไวบ้ า้ ง เพือ่ เป็นหลกั สังเกตในการเปรียบเทียบเคยี งภาษาท้งั ๒ น้นั เมอื่ เห็นคาํ ท่ใี ชใ้ นท่ี
ตา่ งๆ จะไดว้ ินิจฉยั ว่าคาํ ใดเป็นคาํ บาลหี รือสันสกฤต แต่หลกั สงั เกตทจี่ ะกลา่ วตอ่ ไปน้ี เป็น
เพยี งแต่หลกั ทว่ั ไปที่ควรรู้ไวเ้ บ้อื งตน้ น้นั เพราะความแตกตา่ งของภาษาบาลีและสนั สกฤต
น้ี มมี ากเกินกวา่ ทคี่ วรจะแสดงไวน้ ้ีโดยละเอยี ด ถา้ ตอ้ งการรู้หลกั ละเอยี ดจาํ เป็นตอ้ งเรียน
ภาษาท้งั สองน้นั โดยเฉพาะ

ตอ่ ไปน้ีคือหลกั สังเกตกนั ระหวา่ งคาํ บาลแี ละสันสกฤต จาํ แนกออก
เป็นขอ้ ๆ ดงั น้ี

๑. สระบาลมี ี ๘ ตวั คอื อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
สระสนั สกฤตมี ๑๔ ตวั คอื อ อา อิ อี อุ อู ฤ ฤา ฦ ฦา เอ
ไอ โอ เอา

๒. สระสนั สกฤต ๑๔ ตวั น้ี มีแปลกไปกว่าบาลอี ยู่ ๖ ตวั คือ ฤ ฤา ฦ ฦา ไอ
เอานอกน้ันเหมือนกนั กบั ภาษาบาลี –เพราะฉะน้นั คาํ ศพั ทท์ ี่ใชส้ ระ ๖ ตวั น้ี ถา้ ไม่ใชค้ าํ
แผลงแลว้ นบั วา่ เป็นค่าสันสกฤตเช่น ฤทธิ ฤาษี ไอราวณั เอาสร สวนสระ ฦ ฦา บดั น้ีไม่
นิยมใชภ้ าษาไทยแลว้ แมใ้ นภาษาสันสกฤตเองกไ็ ม่คอ่ ยใช้ แต่พยญั ชนะวรรคในสันสกฤต
นอกจากจะใชเ้ ป็นตวั สะกดตามหลกั เกณฑท์ ่ีกลา่ วไวใ้ นบาลีแลว้ ยงั แปลกไปกวา่ น้นั
อีกคือ

๒.๑ ตวั สะกดกบั ตวั ตามไมต่ อ้ งเรียงลาํ ดบั แบบบาลีกไ็ ด้ เช่น ตวั ที่ ๓
สะกด ใชต้ วั ที่ ๕ ตามกไ็ ด้ ตวั แบบบาลีตอ้ งใชต้ วั ที่ ๓ และตวั ที่ ๔ ตามเช่น ปรัชญา
ปราชญ์ สรรเพชญ์ อาชญา ฯลฯ

๒.๒ ตวั สะกดกบั ตวั ตามเป็นพยญั ชนะต่างวรรคกนั กไ็ ด้ เช่น ขฑั ค
ยกุ ต มกุ ดา ศกั ดิ อคั นิ อาตมา สัปดาหะ อทุ โฆษ พยญั ชนะเศษวรรคในบาลีทใี่ ชเ้ ป็น
ตวั สะกดไดม้ ีอยู่ ๕ ตวั คือ ย ล ว ส ฬ

ตวั ย จะเป็นตวั อกั ษรได้ ในเมอื่ มีตวั ย หรือ ท ตามหลงั เช่น อยั ยกิ า
คยุ ห ฯลฯ
ตวั ล จะเป็นตวั สะกดได้ ในเมอ่ื มตี วั ล ย หรือ ท ตามหลงั เช่น
มลั ลิกา กลั ป์ ยาณ วลุ ห ฯลฯ
ตวั ว และ ฬ จะเป็นตวั สะกดได้ ในเมอ่ื มีตวั ท ตามหลงั เช่น
ชิวหา วริ ุฬหก อาสาฬห ( บชู า ) ฯลฯ
ตวั ส จะเป็นตวั สะกดได้ ในเมื่อมีตวั ต น ม ย ว หรือ ส
ตามหลงั เช่น ภสั ดา อสั นาติ ตสั มา กสั ยปุ กรณ์ ปัสวาคาร มสั สุ ฯลฯ
ในภาษาสันสกฤต มหี ลกั เกณฑค์ ลา้ ยกบั บาลี แต่มีตวั สะกดเพม่ิ อกี
๒ ตวั คอื ตวั ศ ษ เช่น อศั ว พฤศจกิ ายน อิษฐ ราษฎร ฯลฯ

ส่วนตวั ร กบั ตวั ห เป็นตวั สะกด ไม่ไดท้ ้งั ในบาลแี ละสนั สกฤต แตเ่ ม่อื
นาํ มาใชม้ าภาษาไทย เราใหเ้ ป็นตวั สะกดดว้ ย เช่น พรหม พราหมณ์ จร ศร กร อมร
อาหาร อาการ สมการ มรรค วรรค พรรค สรรพ มารค ฯลฯ

๒.๓ พยญั ชนะบาลีมี ๓๒ ตวั ( ตวั ๐ ไมน่ บั เพราะไทยเราไม่ถอื ว่าเป็น
พยญั ชนะ ) คอื

กขคฆ ง
จ ฉช ฌ ญ
วรรค ฎ ฐ ฑ ฒ ณ
ต ถ ทธ น
ป ผ พภม
เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ

นอกจากบาลีสันสกฤตแลว้ ยงั มภี าษาต่างประเทศอกี หลายภาษาที่นาํ มา
ใชใ้ นภาษาไทภาษาทีม่ าจากประเทศทางทวีปยโุ รป มีการนาํ มาใชใ้ นภาษาไทย
ไดห้ ลายวิธี ดงั น้ี

๑. ภาษาตา่ งประเทศท่นี าํ มาใชต้ รงตวั ยงั ไมม่ คี าํ ไทยที่จะใชแ้ ทน เช่น
ฟุตบอล ไมโครโฟน นอต

๒. ภาษาตา่ งประเทศทีม่ คี าํ ภาษาไทยใชแ้ ทนแลว้ แต่กย็ งั มคี นใชค้ าํ
ภาษาตา่ งประเทศอยู่ เช่น รถจกั รยานยนต์ (มอเตอร์ไซค)์ ธนาคาร (แบงค)์
แถบบนั ทึกเสียง (เทป)

๓. คาํ ภาษาต่างประเทศบางคาํ ทมี่ ีคาํ ไทยใชแ้ ทนแลว้ แตใ่ นภาษาพดู
นิยมใชก้ นั มาก เช่น สนบั สนุน (เชียร์) แสดงให้เห็น (โชว)์ ไดเ้ ปลา่ (ฟรี)
คาํ ลกั ษณะเช่นน้ีไมค่ วรนาํ มาใชใ้ นภาษาทเี่ ป็นทางการ

ในการใชค้ าํ ภาษาตา่ งประเทศเหลา่ น้ี ถา้ ตอ้ งการใชใ้ นภาษาทางการควรใช้
คาํ ภาษาไทยท่แี ทนไดเ้ ขียนแทน ยกเวน้ คาํ ท่ยี งั หาคาํ ในภาษาไทยแทนไมไ่ ดใ้ ห้ใช้
คาํ จากภาษาเดิม

หลกั การสังเกตคาํ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

๑. ภาษาสันสกฤต มลี กั ษณะ ดังน้ี
๑) ประสมดว้ ยสระ ฤ ฤา ฦ ฦา ไอ เอา เช่น ฤดี ไอศูรย์
๒) คาํ ทป่ี ระสมดว้ ย ศ ษ เช่น เกษตร ทฤษฎี
๓) คาํ ที่ใช้ ส นาํ หนา้ พยญั ชนะวรรค ตะ (ต ถ ท ธ น) เช่น สตรี
สถาน
๔) คาํ ที่มอี กั ษรควบกล้าํ เช่น ปรัชญา ราตรี
๕) คาํ ทม่ี ี ร หนั เช่น กรม ธรรม ภรรยา
๖) คาํ ทใี่ ช้ ฑ เช่น กรีฑา จุฑา ครุฑ

๒. ภาษาบาลี มีลักษณะ ดังนี้
๑) คาํ ทีป่ ระสมสระ อะ อิ อุ แทน ฤ ในภาษาสันสกฤต เช่น มคิ มตะ

อมตะ อตุ ุ หทยั
๒) คาํ บาลที ี่นิยมใช้ ฬ เช่น จุฬา วฬิ าร์ วริ ุฬห์ กีฬา เวฬุ
๓) ใชพ้ ยญั ชนะ ๒ ตวั ซอ้ นกนั แทนคาํ ควบกล้าํ หรืออกั ษรนาํ เช่น สัจจะ

ปัญญา สกั กะ
๔) สังเกตตวั สะกดและตวั ตาม เช่น
 พยญั ชนะบาลี เมอื่ มตี วั สะกดตอ้ งมตี วั ตาม
 พยญั ชนะท่เี ป็นตวั สะกดได้ คอื พยญั ชนะแถวที่ ๑, ๓, ๕
 พยญั ชนะแถวที่ ๑ สะกด พยญั ชนะแถวที่ ๑, ๒ ตาม เช่น สกั กะ
ทุกข์ สจั จุ มจั ฉา อตั ตะ อติ ถี หตั ถ์ กปั ปะ สิปปะ
บปุ ผา เป็นตน้
 พยญั ชนะแถวท่ี ๓ สะกด แถวท่ี ๓, ๔ เป็นตวั ตาม เช่น อคั คี
พยคั ฆ์ วิชชา อชั ฌา พุทธ มทุ ธ สิทธิ ศพั ภ์ เป็นตน้
 พยญั ชนะแถวที่ ๕ สะกด พยญั ชนะทกุ ตวั ในวรรคเดียวกนั ตามได้
เช่น องก์ สงั ข์ องค์ สงฆ์ สญั จร สญั ชาติ สญั ญา สัณฐาน
สนั ดาป สัณฐาน สมั ผสั สัมพนั ธ์ คมั ภรี ์ อมั พร เป็นตน้
 พยญั ชนะเศษวรรค เป็นตวั สะกดไดบ้ างตวั เช่น อยั กา มลั ลกิ า
อสั สะ วิรุฬห์ ชิวหา เป็นตน้

๓. ภาษาเขมรมลี กั ษณะดังนี้
๑) ภาษาเขมรมคี าํ พยางคเ์ ดียวเช่นเดียวกบั ภาษาไทย เช่น แข ไข แด
(ใจ) โดม เพญ็ (เตม็ ) เจิม เนา (อย)ู่ โสม (ดวงจนั ทร์)
เป็ นตน้
๒) ภาษาเขมรนิยมคาํ ควบกล้าํ และอกั ษรนาํ เช่น กระบอื ขลา (เสือ)
ขลงั ไถง แถง สลา เขนย เป็นตน้
๓) ภาษาเขมรส่วนมากสะกดดว้ ยตวั ร ล ญ จ เช่น ขจร ระเมยี ร
(ด)ู ควร เมิล (ด)ู บนิ ดาล บนั ดาล เจริญ เพญ็ อาํ นาจ เป็นตน้
๔) คาํ ภาษาเขมรมีการเตมิ อุปสรรค บํ ประ เช่น บาํ เพญ็ บาํ บดั
บาํ บวง บงั ควร บงั อาจ บงั คบั บนั ดาล ประจุ ประชุม ประจบ
เป็ นตน้
๕) คาํ ภาษาเขมรนิยมการแผลงคาํ เช่น กาํ เนิด กาํ ลงั แผนก ระบาํ
อาํ นาจ กาํ เดา เป็นตน้
๖) คาํ ภาษาเขมรนิยมใชเ้ ป็นคาํ ราชาศพั ท์ เช่น เสวย เขนย เสด็จ ทรง
ประทบั ตรสั โปรด เป็นตน้

ท่ีมา : วิโรจน์ มังคละมณี , หลักภาษาไทย . ฉะเชิงเทรา : ประสานมิตร ,

๒๕๔๕

ใบงาน ชดุ ท่ี ๑๑

คาํ ชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนบอกว่าคาํ ตอ่ ไปน้ีเป็ นคาํ ทมี่ าจากภาษาบาลีหรือ
ภาษาสนั สกฤตพร้อมท้งั บอกความหมาย

ที่ คาํ ภาษาบาลี / สนั สกฤต ความหมาย

๑ เกษตร
๒ เวฬุวนั
๓ ทฤษฎี
๔ ปรชั ญา
๕ ปัญญา
๖ มจั ฉา
๗ ภรรยา
๘ กรีฑา
๙ กีฬา
๑๐ สัมพนั ธ์

ชื่อ ................................................................. เลขที่ ................ ชนั้ ...........

ใบงาน ชุดท่ี ๑๒

คําชี้แจง ใหน้ กั เรียนบอกคาํ ไทยท่ีใชแ้ ทนคาํ ภาษาตา่ งประเทศที่กาํ หนดให้

๑. ฟรี ๑. ……………………
๒. โชว์ ๒. ……………………
๓. เชียร์ ๓. ……………………
๔. แบงค์ ๔. ……………………
๕. รถมอเตอร์ไซค์ ๕. ……………………
๖. เทป ๖. ……………………
๗. รถเมล์ ๗. ……………………
๘. แอร์ ๘. ……………………
๙. กอ๊ ปป้ี ๙. ……………………
๑๐. ฟิลม์ ๑๐.……………………

ช่ือ.................................................................เลขท่ี ..................... ช้ัน...............
ใบงาน ชดุ ที่ ๑๓

คําชีแ้ จง ให้นกั เรียนบอกความหมายของคาํ ภาษาเขมรตอ่ ไปน้ี

ที่ คาํ ความหมาย

๑ เจิม
๒ ไถง
๓ บาํ เพญ็
๔ บงั อาจ
๕ โสม
๖ กระบือ
๗ กาํ เดา
๘ เสด็จ
๙ ระเมียร
๑๐ อาํ นาจ

ชื่อ .............................................................. เลขที่ ................ ชัน้ ...........

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนที่ ๗

กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๖
บทที่ ๑๓ หนงึ่ ในประชาคม เวลา ๗ ช่ัวโมง
หัวข้อเร่ือง การเขียนจดหมายกจิ ธุระ เวลา ๑ ชั่วโมง
วันที่ ....................................... ผู้ใช้แผน ................................

สาระท่ี ๑ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ กระบวนการเขยี นเขยี นส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี น

เรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและ
รายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
๑. สาระสําคญั
๑.๑ ความคิดรวบยอด
การเขยี นจดหมาย เป็นการเขยี นเร่ืองราวเพ่อื บอกใหค้ นอ่ืนรับรู้เร่ืองราว ว่าผูเ้ ขยี น
ตอ้ งการใหผ้ ูอ้ ่านทราบเร่ืองอะไร เป็นการเขยี นส่ือสารชนิดหน่ึงท่ีตอ้ งใชภ้ าษาเขยี น
ส่ือสารให้ดี และเป็นจึงจะส่ือสารไดต้ ามเป้าหมาย

๑.๒ สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต

๒. ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๒.๑ ป.๖ / ๖ เขียนจดหมายส่วนตวั

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ นกั เรียนบอกหลกั การเขยี นจดหมายกิจธุระได้
๓.๒ นกั เรียนเขยี นจดหมายกิจธุระได้

๔. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๔.๑ รักความเป็นไทย
๔.๒ ใฝ่ เรียนรู้
๔.๓ มีจิตสาธารณะ
๔.๔ มีวินยั
๔.๕ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง

๕. สาระการเรียนรู้
๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๏ การเขียนจดหมายส่วนตวั
๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย
๏ การเขียนจดหมายกิจธุระ

๖. ชิ้นงาน / หลกั ฐานร่องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การทาํ ใบงาน
๖.๒ แบบบนั ทกึ ผลการประเมิน
๖.๓ การทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน

๗. กจิ กรรมการเรียนรู้
๗.๑ นกั เรียนแบง่ กลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แตล่ ะกลมุ่ ประกอบไปดว้ ย

นกั เรียนทีม่ ีระดบั ภมู ิปัญญาสูง กลาง และต่าํ ให้แตล่ ะกลุ่มเลอื กหวั หนา้ กลมุ่ รอง
หวั หนา้ กล่มุ และเลขานุการกลุ่ม ควรใชก้ ลมุ่ เดิมตลอดบทเรียน

๗.๒ ใหน้ กั เรียนรูปแบบของซองจดหมายแบบต่าง ๆ แลว้ ถาม นกั เรียน เช่น
 การเขยี นจดหมายกิจธุระคืออะไร
 นกั เรียนเคยเขยี นจดหมายกิจธุระหรือไม่
 นกั เรียนคิดว่าจะสามารถเขยี นจดหมายไดไ้ หม

จากน้นั นกั เรียนฟังครูแจง้ ให้ทราบว่า ตอ่ ไปน้ีเราจะเรียนเร่ืองการเขยี นจดหมายกิจ
ธุระ ครูให้ความรู้เพิ่มเตมิ ว่า “การเขียนจดหมาย เป็นการเขียนเร่ืองราวเพ่ือบอกให้คนอื่น
รบั รู้เรื่องราวว่าผูเ้ ขียนตอ้ งการใหผ้ อู้ ่านทราบเรื่องอะไร เป็นการเขยี นสื่อ สารชนิดหน่ึงที่
ตอ้ งใชภ้ าษาเขยี นสื่อสารให้ดี และเป็นจึงจะสื่อสารไดต้ ามเป้าหมายการเขยี นจดหมายกิจ
ธุระบางชนิดจะไม่ค่อยจะเนน้ ในเรื่องการใชภ้ าษา เท่าใดนกั แต่กค็ วรใชภ้ าษาทส่ี ุภาพ

ส่ือสารให้เขา้ ใจในทางทีด่ ี แต่บางชนิดก็ตอ้ งใชร้ ูปแบบที่เป็นทางการ”จากน้นั ครูอธิบาย
หลกั การเขียนจดหมายใหน้ กั เรียนฟังจนเขา้ ใจ

๗.๓ ให้นกั เรียนอ่านหวั ขอ้ “ การเขยี นจดหมาย” ในหนงั สือเรียนภาษาไทย ช้นั
ป.๖ ชุดภาษาพาที หนา้ ๒๐๗ – ๒๑๐ จากน้นั ครูสรุปเน้ือหาพร้อมท้งั แสดงตวั อยา่ ง
ประกอบ

๗.๔ นกั เรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนประจาํ บทเรียนที่ ๑๓ หน่ึงในประชาคม
( ทา้ ยแผน ) จาํ นวน ๒๐ ขอ้ เสร็จแลว้ ครูเฉลย นกั เรียนกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง

๘. ส่ือ / แหล่งเรียนรู้ / บุคคล

ลําดับที่ รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งท่ีได้มา

๑ ตวั อยา่ งจดหมาย ครูใชป้ ระกอบคาํ อธิบาย ครูจดั เตรียม

๒ แบบฝึกหัดชุดที่ ๑๔ – ๑๕ นกั เรียนทาํ ใบงานกลุ่ม ครูจดั ทาํ
นกั เรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน ครูจดั ทาํ
๓ แบบทดสอบหลงั เรียน นกั เรียนดูภาพและฝึกอ่าน ครูจดั หา

๔ หนงั สือเรียน ชุด ภาษาพาที ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ครูจดั ทาํ
ช้นั ป.๖ ครูจดั ทาํ
ประเมนิ ผลงาน ครูจดั ทาํ
๕ เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน บนั ทกึ การสังเกตพฤติกรรม และ
๖ เกณฑก์ ารประเมิน บนั ทึกผลงานรายบุคคล
๗ แบบประเมนิ การสงั เกต

พฤติกรรม และแบบ
ประเมนิ ผลงานรายบุคคล

๙. วดั ผลประเมนิ ผล เคร่ืองมือท่ีใช้ใน วธิ กี ารประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ
การประเมิน
กจิ กรรมทีป่ ระเมิน แบบประเมินการสงั เกต สังเกตรายบุคคล ๘ - ๑๐ = ดีมาก
๑. สงั เกตพฤติกรรมดา้ น พฤติกรรม และแบบ สงั เกตรายกลมุ่ ๖ – ๗ = ดี
ประเมินผลงาน ตรวจงาน ๕ = พอใช้
คณุ ลกั ษณะอนั พึง รายบุคคล ต่าํ กว่า ๕ = ปรบั ปรุง
ประสงค์ ตรวจงาน
รายบุคคล ๘ - ๑๐ = ดีมาก
๒. นกั เรียนร่วมกิจกรรม แบบประเมินการสังเกต ๖ – ๗ = ดี
พฤตกิ รรม และแบบ ๕ = พอใช้
ประเมินผลงาน ต่าํ กวา่ ๕ = ปรบั ปรุง
๘ - ๑๐ = ดีมาก
๓. นกั เรียนทาํ ใบงาน แบบประเมินการสงั เกต ๖ – ๗ = ดี
ชุดที่ ๑๔ – ๑๕ พฤตกิ รรม และแบบ ๕ = พอใช้
ประเมนิ ผลงาน ต่าํ กวา่ ๕ = ปรบั ปรุง
๑๗ - ๒๐ = ดีมาก
๔. นกั เรียนทาํ แบบทดสอบ แบบประเมนิ การสังเกต ๑๕ – ๑๖ = ดี
หลงั เรียน พฤติกรรม และแบบ ๑๒ – ๑๔ = พอใช้
ประเมนิ ผลงาน ต่าํ กว่า ๑๒ = ปรับปรุง

การประเมนิ ด้านทกั ษะ / กระบวนการ

ประเดน็ การประเมนิ ดี (๒) เกณฑ์การให้ระดบั คะแนน
พอใช้ (๑) ปรับปรุง (๐)

สรุปเน้ือหาไดก้ ระชบั สรุปเน้ือหาไดก้ ระชบั สรุปเน้ือหาไดไ้ ม่
ทักษะการ สรุป ใจความครบถว้ น ใจความเกือบครบถว้ น กระชบั ใจความและไม่
เนือ้ หา สามารถสื่อใหผ้ ูอ้ ืน่ เขา้ ใจ สามารถส่ือให้ผอู้ นื่ ครบถว้ น สามารถส่ือ
ไดง้ า่ ย เขา้ ใจได้ ให้ผูอ้ ื่นเขา้ ใจไดน้ อ้ ย

สามารถพูดรายงานไดด้ ี สามารถพูดรายงานไดด้ ี สามารถพดู รายงานไดด้ ี
พูดเสียงดงั ฟังชดั ได้ พูดน้าํ เสียงชดั เจน พูดน้าํ เสียงไมช่ ดั เจน ไม่
การรายงานหน้าช้ัน สาระชดั เจน วางบคุ ลิก สอดคลอ้ งกบั เน้ือหาที่ ค่อยสอดคลอ้ งกบั
ในการพดู ไดด้ ีมาก พดู วางบคุ ลกิ ในการ เน้ือหาท่พี ดู วางบคุ ลิก
พดู ไดด้ ี ในการพดู ไมค่ อ่ ยดี

การปฏิบตั ิงานตาม มที กั ษะการปฏิบตั งิ าน มกี ารปฏิบตั ิงานตาม ยงั ไม่สามารถ
ข้นั ตอน ตามข้นั ตอน ไดอ้ ยา่ ง ข้นั ตอนไดต้ ามลาํ ดบั ปฏิบตั งิ านตามข้นั ตอน
ถกู ตอ้ งและเหมาะสม ได้

ความคดิ สร้างสรรค์ มคี วามคดิ สร้างสรรคด์ ี พอมีความคดิ ท่ี ยงั ขาดความคิดท่ี
สร้างสรรคอ์ ยบู่ า้ ง สร้างสรรค์

ความเป็ นระเบียบ มีทกั ษะสามารถสร้างงาน สามารถสร้างงานท่สี วน
เรียบร้อยของการทาํ ท่สี วยงาม และมคี วาม งามพอใชไ้ ด้ และมี ไม่มีความสวยงาม และ
ใบงาน ประณีตดี ความประณีตใน ไม่ประณีต
บางส่วน

การประเมิน ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
เกณฑ์การให้ระดับคะแนน
ประเด็นการประเมนิ ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง (๐)
ซื่อสัตย์สุจริต
มีวนิ ัย ทาํ งานอยา่ ง ทาํ งานอยา่ ง ทาํ งานอยา่ ง
ใฝ่ เรียนรู้ ตรงไปตรงมา ยอมรับ ตรงไปตรงมา ไม่ ตรงไปตรงมา ไม่
อย่อู ย่างพอเพยี ง ในขอ้ ผดิ พลาดและ ยอมรบั ในขอ้ ผิดพลาด ยอมรบั ในขอ้ ผดิ พลาด
มจี ิตสาธารณะ บกพร่องของตนเอง และบกพร่องของตนเอง และบกพร่องของตนเอง
พอใจในส่ิงท่ตี นมี พอใจในส่ิงที่ตนมี ไม่คอ่ ยพอใจในส่ิงทต่ี น
มี

รู้จกั ควบคุมอารมณ์ รู้จกั ควบคมุ อารมณ์ บา้ ง ไม่รู้จกั ควบคุมอารมณ์
ปฏบิ ตั ติ นอยใู่ นระเบียบ ปฏบิ ตั ิตนอยใู่ นระเบยี บ ปฏิบตั ิตนอยใู่ นระเบยี บ
วินยั แต่งกายถูกตอ้ ง วนิ ยั การแตง่ กายไม่ วินยั นอ้ ย ไมค่ ่อยแต่ง
ตามระเบียบของ ค่อยถูกตอ้ งตามระเบียบ กายถกู ตอ้ งตามระเบียบ
โรงเรียนตลอดเวลา ของโรงเรียน ของโรงเรียน

มีความมานะมงุ่ มนั่ ใน มคี วามมานะมงุ่ มนั่ ใน ไม่มคี วามมานะมงุ่ มนั่
การทาํ งานทีไ่ ดร้ บั การทาํ งานทไ่ี ดร้ ับ ในการทาํ งานท่ีไดร้ บั
มอบหมาย ศกึ ษา มอบหมาย ศึกษา มอบหมาย ไมค่ อ่ ย
คน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง คน้ ควา้ ดว้ ยตนเองเป็น ศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง
ทาํ งานเสร็จทนั เวลาและ บางคร้งั ทาํ งานเสร็จ ทาํ งานเสร็จไมท่ นั เวลา
ถกู ตอ้ ง ทนั เวลาเป็นบางคร้งั
ใชว้ สั ดอุ ปุ กรณก์ ารเรียน ใชว้ สั ดุอปุ กรณก์ ารเรียน
ทีร่ าคาถูกและใชอ้ ยา่ ง ใชว้ สั ดอุ ุปกรณก์ ารเรียน ที่ราคาคอ่ นขา้ งแพงและ
คุม้ ค่าใชจ้ นหมดแลว้ ทีร่ าคาค่อนขา้ งแพงและ ใชอ้ ยา่ งคมุ้ ค่าใชไ้ ม่
ค่อยซ้ือใหม่ ใชอ้ ยา่ งคมุ้ ค่าใชจ้ นหมด หมดแลว้ ซ้ือใหม่

มีความเสียสละเพ่ือ มคี วามเสียสละเพ่อื ไมค่ อ่ ยเสียสละเพ่ือ
ส่วนรวม ไม่เอาเปรียบ ส่วนรวมเป็ นบางคร้ งั ส่วนรวม ชอบเอา
ไมเ่ ห็นแกต่ วั ช่วยเหลอื ไมเ่ อาเปรียบไม่เห็นแก่ เปรียบคนอื่น ค่อนขา้ ง
หม่คู ณะไดเ้ ป็นอยา่ งดี ตวั ไมค่ อ่ ยช่วยเหลอื เห็นแกต่ วั ไม่ค่อย
หม่คู ณะ ช่วยเหลอื หม่คู ณะ

๑๐. กจิ กรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………………
………….…………………………………………………………………………………
๑๑. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน

๑๑.๑ ผลการจัดการเรียนการสอน
๑. นกั เรียนจาํ นวน.................... คน
ผ่านจุดประสงคก์ ารเรียนรู้.....................คน คดิ เป็นร้อยละ...............
ไมผ่ ่านจุดประสงคก์ ารเรียนรู้.....................คน คดิ เป็นร้อยละ................

๒. นกั เรียนมีความรู้ความเข้าใจ
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

๓. นักเรียนมีความรู้เกดิ ทกั ษะ
……………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………...

๔. ปัญหา/อปุ สรรค/แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

๕. เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ .....................................ครูผูส้ อน
(นางสุคนธา ณรงคเ์ ดชา)

วนั ……………เดือน…………………ปี ………………….

ความคิดเหน็ ของผู้บงั คับบัญชา
ความคิดเหน็ หวั หน้ากล่มุ สาระ

...............................................................................................................................................
...............................…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………

ลงช่ือ ....................................................
(นางกรรณิกา จาํ ปาเต้ยี )
หวั หนา้ กลุม่ สาระภาษาไทย

ความคิดเหน็ หัวหน้าวิชาการ
...............................................................................................................................................
...............................…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………

ลงชื่อ...................................................
(นางสาวสุพาพร สุพงษ)์

รองผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนกลุม่ บริหารวชิ าการ

ความคดิ เหน็ ผู้อาํ นวยโรงเรียน
...............................................................................................................................................
...............................…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………

ลงช่ือ....................................................
(ดร.พมิ พน์ ารา เสาวนิตย)์

ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนวดั ชุมพลนิกายาราม

ใบงาน ชุดท่ี ๑๔

คาํ ชี้แจง นาํ หมายเลขหนา้ ขอ้ ความทเ่ี ป็นใจความของจดหมายกิจธุระมาใส่ไวใ้ หต้ รงกบั
จดุ ประสงคใ์ นการเขียนจดหมายดา้ นซา้ ยมือ

๑. การขอบคุณ จดหมายสั่งซื้อสินค้า
๒. ประวตั ิผูเ้ ขียน ทอี่ ย.ู่ ......................
๓. วธิ ีการจา่ ยเงิน วนั เดือน ปี .............
๔. รายการส่ิงทสี่ นใจหรือตอ้ งการ
๕. เหตุที่มีจดหมายมาถงึ คาํ ขนึ้ ต้น
๖. จาํ นวนส่ิงท่ตี อ้ งการ ใจความ
๗. สถานทีส่ ่งของ
๘. ความพร้อมในการใหข้ อ้ มูล ................................
...............................................
เก่ียวกบั ความรูค้ วามสามารถ
(คาํ ลงทา้ ย)

จดหมายสมคั รงาน
ทีอ่ ย.ู่ ......................
วนั เดือน ปี .............
คําขนึ้ ต้น
ใจความ................................
.......................................................

(คาํ ลงทา้ ย)
……………………..

(ชื่อ – นามสก)ุ

ใบงาน ชุดท่ี ๑๕

คาํ ชี้แจง เขยี นแผนภาพความคดิ แสดงหลกั การเขยี นจดหมายกิจธุระ และใจความตาม
ประเภทของจดหมายท้งั หมดสมคั รงานและจดหมายส่งั ช่ือสินคา้

จดหมายสมคั รงาน
หลกั การเขยี นจดหมายกจิ ธุระ

จดหมายสั่งซื้อสินค้า

ชื่อ .............................................................. เลขที่ ................ ชั้น...........


Click to View FlipBook Version