การประมวลผล
ข้อมูล
น.ส.นิชาภา รังสิภาคิน ม.5/1 เลขที่2
คำนำ
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาวิทยาการคำนวณ
รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ที่สนใจในหัวข้อการ
ประมวลข้อมูลได้ศึกษา
ขอขอบคุณแหล่งข้อมูลต่างๆถ้ารายงานเล่มนี้มีข้อ
ผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
ผู้จัดทำ
นางสาว นิชาภา รังสิภาคิน
สารบัญ 1
1.ทำความเข้าใจกับวัตถุประสงค์การประมวล 2
ผลข้อมูล 3-4
2.การเก็บรวบรวมข้อมูล 5-6
3.การเตรียมข้อมูล 7-9
4.การประมวลผลข้อมูล 10
5.การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ 11
6.การทำข้อมูลให้เป็นภาพ
บรรณานุกรม
1
1.ทำความเข้าใจกับวัตถุประสงค์การ
ประมวลผลข้อมูล
1. เพื่อให้การประมวลผลนั้นชัดเจนเข้าใจง่าย
การใช้วิธีนี้จะทำให้ผู้วิเคราะห์ได้เรียนรู้ราย
ละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนในการประมวลผลการ
ทำงาน
2. เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องในการอธิบาย
ในรูปแบบเฉพาะของการประมวลผลระหว่างนัก
วิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์
3. เพื่อตรวจสอบการออกแบบระบบ
ว่าออกแบบมาแล้วสามารถใช้ได้ไหมหรือมีข้อผิดพลาด
ตรงไหน
2
2.การเก็บรวบรวมข้อมูล
จำแนกข้อมูลตามการเก็บรวบรวมข้อมูล
ได้2ประเภท คือ
1.ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่ผู้สำรวจจะต้อง
เก็บรวบรวมจากผู้ใช้ข้อมูลหรือแหล่งที่มา
ของข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจทำได้โดยการ
สัมภาษณ์ วัด นับ หรือสังเกตจากแหล่ง
ข้อมูลโดยตรง เนื่องจากข้อมูลเหล่านี้ไม่เคยมี
ผู้ใดเก็บรวบรวมไว้ก่อน
2.ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่ผู้สำรวจไม่ต้องเก็บ
รวบรวมจากผู้ใช้หรือแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง
แต่ได้จากข้อมูลที่มีผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้ว ข้อมูล
ประเภทนี้ผู้สำรวจไม่ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการ
เก็บรวบรวมข้อมูลเอง สามารถนำข้อมูลที่มีผู้อื่นเก็บ
รวบรวมไว้แล้วมาใช้ได้เลย แต่อย่างไรก็ตามผู้สำรวจ
จะต้องระมัดระวังในการนำข้อมูลประเภทนี้มาใช้ให้
มาก เนื่องจากมีโอกาสผิดพลากได้มากหากผู้เก็บ
รวบรวมข้อมูลนั้นๆใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลที่ไม่เหมาะ
สมกับข้อมูลนั้นๆ
3
3.การเตรียมข้อมูล
ขั้นตอนในการเตรียมข้อมูล
1.การบันทึกข้อมูล
การบันทึกข้อมูลด้วยมืออาจทำโดยการทำตาราง,การทำ
สถิติหรือจดบันทึก เป็นต้น ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ มีให้
เลือกได้หลายโปรแกรม เช่น excell word เครื่อง
บันทึกเสียง เป็นต้น
2.การตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลเบื้องต้น
2.1 ความครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูล
2.2 ความสอดคล้องของข้อมูลกับข้อเท็จจริงว่า
สอดคล้องกันหรือไม่
2.3 ความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
4
3.ระบุประเภทข้อมูล
การระบุประเภทข้อมูลเป็นกระบวนการระบุข้อมูลดิบ
(ภาพ ไฟล์ข้อความ คลิปวิดีโอ ฯลฯ) และเป็นการระบุ
ประเภทที่สื่อความหมายและให้ข้อมูลสำคัญหนึ่งประเภท
ขึ้นไปเพื่อให้บริบท เพื่อให้แบบจำลอง สามารถเรียนรู้จาก
ข้อมูลดังกล่าวได้
4.การแปลงข้อมูล
เป็นการเตรียมข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่
พร้อมสำหรับการประมวลผล
5. การเชื่อมโยงข้อมูล
กรณีที่ต้องการใช้ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างที่มีการเผยแพร่จาก
หลายแหล่ง หรือมีหลายไฟล์ข้อมูล ต้องทำการเชื่อมโยงข้อมูล
จากหลายแหล่งเข้าด้วยกัน
5
4.การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหรือ
จัดระเบียบข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้
งาน ข้อมูล โดยทั่วไปเกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระเบียบจาก
ขบวนการนับหรือการวัด ไม่สามารถสื่อความหมายให้
กเข้าารในจำหขร้ืออมใูชล้ปกรละโายยชสนภ์ไาด้พกเปา็น
รปสารระสมนวลเทผศลจทึีง่มเีป็นวิธี
ประสิทธิภาพและนำไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้ ซึ่งวิธีการ
ประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ มีหลายวิธี
ดังนี้
1. การคำนวณ
2. การจัดเรียงข้อมูล
3. การจัดกลุ่ม
4. การดึงข้อมูล
5. การรวมข้อมูล
6. การสรุปผล
7. การทำรายงาน
8. การบันทึก
9. การปรับปรุงรักษาข้อมูล
6
ขั้นตอนในการประมวลผลข้อมูล
1.การรวบรวมข้อมูล=เป็นข้อมูลที่ได้จากการสำรวจไม่
ว่าจะทางตรงหรือสืบค้นข้อมูลก็ตาม
2.การเตรียมข้อมูล=เตรียมข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม
ทำให้อยู่ในรูปแบบที่ง่ายต่อการประมวลผล
3.การประมวลผล=การเปลี่ยนแปลงหรือจัดระเบียบ
ข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งาน
ข้อมูล โดยจะใช้ข้อวิธีการประมวลผลแบบใดก็ได้ตามที่
กล่าวมาข้างต้น ซึ่งอาจจะออกมาอยู่ในรูปของรายงาน
กราฟ ตาราง เป็นต้น
7
55..กกาารรววิิเเคครราาะะหห์์ขข้้ออมมููลลททาางงสสถถิิตติิ
การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการจัดระเบียบแยกแยะ
ส่วนต่าง ๆ ของหลักฐานหรือข้อมูลที่ได้ ออกเป็น
หมวดหมู่เพื่อหาคำตอบตามเป้าหมาย และตาม
สมมติฐานที่ได้กำหนดไว้ การวิเคราะห์ข้อมูลนี้เป็น
ขั้นการทำงานที่ต่อเนื่องมาจากการวัด การนับ และ
จัดเรียงลำดับข้อมูล ส่วนใหญ่เป็นเรื่องเกี่ยวกับ
การนำเอาวิธีการทางสถิติมาวิเคราะห์หาค่าตัวแปร
หรือหาลักษณะของตัวแปร ผู้วิจัยจะต้องวางแผน
และเตรียมการณ์ล่วงหน้าตั้งแต่เริ่มทำการวิจัยโดยมี
ข้อแนะนำในการวิเคราะห์ดังนี้
1. กลับไปอ่านข้อมูลที่เป็นปัญหาให้ชัดเจนก่อน
2. ดูแต่ละหัวข้อปัญหาว่าต้องการข้อมูลประเภทใด และ
จะใช้วิธีการสถิติอะไร
3. สถิติเหล่านั้นหาได้หรือไม่จากข้อมูล เพื่อไปแก้ปัญหา
จากจุดมุ่งหมายแต่ละข้อ
4. เลือกข้อมูลที่ได้มา นำมาจัดเป็นหมวดหมู่ แบ่งตาม
เนื้อหาของปัญหาแต่ละข้อ
8
5. คำนวณค่าสถิติให้ตรงตามหัวข้อปัญหาที่จะตอบ
6. พยายามแปลความหมายของข้อมูลเป็นระยะ ๆ ไป
7. พยายามนึกถึงรูปร่างของตารางที่จะเสนอ ลักษณะ
ควรย่อ สั้น แต่บรรยายความได้มาก
8. ถ้าข้อมูลจัดเสนอเป็นกราฟชนิดต่าง ๆ ก็ต้องหาวิธี
การทำให้เข้าใจได้ง่ายที่สุด อย่าให้ซับซ้อน
ขขัั้้นนตตออนนใในนกกาารรววิิเเคครราาะะหห์์ขข้้ออมมููลล
1. จัดหรือแยกประเภทข้อมูลที่จะศึกษาออกเป็นหมวดหมู่
รวบรวมและจดบันทึกข้อมูลลงในกระดาษหรือสิ่งที่
เตรียมไว้บันทึก
2.ใช้เทคนิคต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับลักษณะของข้อมูลและ
ระดับของข้อมูลที่นำมาศึกษาและสามารถตอบคำถาม
ตามจุดมุ่งหมายการวิจัยที่ตั้งไว้
3. เสนอผลการวิเคราะห์ที่ได้ โดยพยายาม
เสนอให้มีความแจ่มชัดและเข้าใจง่าย ซึ่งนิยม
เสนอในรูปตารางหรือแผนภูมิ
9
4.ในทางปฏิบัติงานวิจัย ใช้วิธีการศึกษาและ
วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งทำหน้าที่
เป็นตัวแทนของประชากรนั้นๆ ในการวิเคราะห์ข้อมูล
จากกลุ่มตัวอย่างจึงเป็นการหาค่าคุณลักษณะประจำ
กลุ่มตัวอย่างนั้น แล้วจึงใช้ค่าสถิติของกลุ่มตัวอย่าง
ไปประมาณค่าคุณลักษณะของประชากร โดยการ
ทดสอบสมมติฐานและการสรุปอ้างอิง
10
6.การทำข้อมูลให้เป็นภาพ
คือ กระบวนการทำข้อมูลให้เป็นภาพ เป็นการ
จัดการหรือแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปของแผนภาพ
แผนภูมิหรือกราฟที่เหมาะสมกับชุดข้อมูลที่ต้องการ
นำเสนอ
1. แผนภูมิรูปวงกลม = สร้างโดยการเขียนวงกลม
และแบ่งวงกลมออกเป็นสัดส่วนตามจำนวนข้อมูล
ซึ่งควรเป็นข้อมูลที่มีจำนวนกลุ่มไม่มากนัก แผนภูมิ
รูปวงกลมสามารถแสดงความสัมพันธ์เชิงปริมาณ
แบบสัดส่วนร้อยละได้เป็นอย่างดี
2. แผนภูมิแท่ง = แสดงความแตกต่างในเชิง
ปริมาณได้ชัดเจน จึงใช้เพื่อแสดงปริมาณข้อมูล
แต่ละส่วน แผนภูมิแท่งจะเรียงข้อมูลจากซ้ายไปขวา
ทำให้เห็นการเรียงตัวในเชิงลำดับ โดยปกตินิยม
เรียงตามแนวนอน
3. กราฟเส้น = แสดงมิติของการเปลี่ยนแปลงได้ดี
ใช้พื้นที่ในการแสดงข้อมูลแต่ละรายการน้อยกว่า
แผนภูมิแท่งมาก ทำให้นำเสนอจำนวนรายการข้อมูล
ได้มากกว่า
4. แผนภาพการกระจาย = นอกจากจะแสดงการก
ระจายของข้อมูลแล้ว ยังสามารถแสดงความสัมพันธ์
ระหว่างข้อมูล 2 ชุด
11
บบรรรรณณาานนุุกกรรมม
https://sites.google.com/site/bticec031/cud-
mung-hmay-kar-pramwl-phl
http://www.digitalschool.club/digitalschool/thai2_
4_1/thai8_6/page2.php
https://slideplayer.in.th/slide/3307163/
https://aws.amazon.com/th/what-
is/data-preparation/
https://sites.google.com/site/tecnologysci5/2-2-
karte-ri-ym-khxmul
https://sites.google.com/site/kanjanapopu
p/bth-thi-4-kar-pramwl-phl-khxmul
https://sites.google.com/site/wichakarwicayt
hangkarsuksa/khea-su-bth-reiyn/hnwy-thi-8-
sthiti-wicay-laea-kar-wikheraah-khxmul-
1/kar-wikheraah-khxmul
https://sites.google.com/thoengwit.ac.th/comsci32102/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8
%A2%E0%B8%97-4-
%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%A1%
E0%B8%A5%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%99%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E
0%B8%9E%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0
%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%82%E0
%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A5/4-3-
%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%A1%
E0%B8%A5%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%99%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E
0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0
%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%A1