The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการดำเนินงานตาม แผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์ตามพระราชดำริAp

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-02-04 01:47:49

แนวทางการดำเนินงานตาม แผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์ตามพระราชดำริAp

แนวทางการดำเนินงานตาม แผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์ตามพระราชดำริAp

Keywords: แนวทางการดำเนินงานตาม แผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์ตามพระราชดำริAp

“..เรื่องน�้ำก็เป็นปัจจัยหลัก

ของมวลมนษุ ย์ ไมใ่ ช่มนุษยเ์ ท่านั้น แม้สิ่งมชี วี ิต
ท้งั หลาย ทั้งสัตว์ ทงั้ พชื ก็ตอ้ งมนี ้�ำ ถา้ ไมม่ กี อ็ ยู่ไมไ่ ด้
เพราะวา่ น้�ำเป็นสือ่ หรอื ปัจจยั ของการเปน็ ส่ิงมีชวี ติ แม้สง่ิ ไม่มี
ชีวติ ก็อาจต้องการน้�ำเหมอื นกนั ... แตป่ ัญหาอยู่ท่ีวา่ เราจะใชน้ ำ้� น้ี
อยา่ งไร ถา้ หากวา่ ทำ� อยา่ งไมร่ ะมดั ระวงั นำ�้ นก้ี ค็ งหมดเหมอื นกนั
หรอื ไม่หมดก็ใชไ้ มไ่ ด้ เช่น น้�ำทีล่ งทะเล ฉะน้ันเราจะต้องพยายามคิด
ให้ดีว่าน�้ำที่ใช้ได้น้ัน ย่อมมาจากน้�ำฝน เราจะใช้น้�ำน้ีให้ดีอย่างไร
...จะต้องไม่ให้น้�ำท่ีผา่ น ลงทะเลโดยตรงใหม้ ันเสียเปล่าไปจะต้องน�ำ
น้�ำน้มี าใชใ้ ห้ไดป้ ระโยชน์มากที่สดุ เพือ่ ท่จี ะไม่ใหข้ าดแคลน...”

พระราชดำ� รัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ
พระราชทานแกค่ ณะบุคคลต่าง ๆ ทเี่ ฝา้ ทูลละอองธลุ พี ระบาท

ณ พระต�ำหนกั จติ รลดารโหฐาน
เม่ือวันท่ี ๒๙ ธนั วาคม ๒๕๓๒

แนวทางการดำ� เนินงานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพน้ื ท่ีประยุกตต์ ามพระราชด�ำริ

แนวทางการด�ำเนนิ งานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นทป่ี ระยกุ ต์ตามพระราชดำ� ริ

c สงวนลิขสทิ ธ์ติ ามพระราชบญั ญัติ
ISBN : ๙๗๘-๙๗๔-๔๕๘-๔๖๒-๕
พมิ พ์ครัง้ ท่ี ๑: สิงหาคม ๒๕๕๗
จ�ำนวน: ๒,๕๐๐ เลม่

ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหง่ ชาติ

National Library of Thailand Cataloging in Publication Data.
ส่วนประสานการพัฒนาพืน้ ท่ีตามพระราชด�ำริ สำ� นักนโยบายและแผน
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย


แนวทางการดำ� เนินงานตามแผนพัฒนาชนบทเชงิ พืน้ ท่ีประยุกตต์ ามพระราชด�ำร ิ

100 หน้า
ISBN : ๙๗๘-๙๗๔-๔๕๘-๔๖๒-๕

จดั พิมพโ์ ดย : สว่ นประสานการพฒั นาพืน้ ท่ีตามพระราชดำ� ริ ส�ำนกั นโยบายและแผน
ส�ำนักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย ถนนอษั ฎางค์
แขวงราชบพธิ เขตพระนคร กรงุ เทพฯ

พิมพท์ ่ี : บริษทั พิมพด์ ีการพมิ พ์ จ�ำกัด
๒๒๒ ซอยพระยาสเุ รนทร์ ๓๐ แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ ๑๐๕๑๐
โทร. ๐๒-๙๑๙-๑๔๘๑, ๐๒-๙๑๙-๑๔๘๙ แฟกซ:์ ๐๒-๙๕๕-๓๓๘๑
Email: [email protected], [email protected]

2

แนวทางการดำ� เนินงานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพน้ื ท่ีประยุกต์ตามพระราชด�ำริ

ค�ำน�ำ


“แนวทางการพฒั นาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกตต์ ามพระราชด�ำร”ิ เปน็ การนอ้ มน�ำศาสตร์
พระราชา ซง่ึ ประกอบดว้ ย หลกั การทรงงานและโครงการพระราชดำ� รขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
และพระบรมวงศานวุ งศท์ กุ พระองค์ องคค์ วามรตู้ ามพระราชดำ� ริ ๖ มติ ิ (นำ�้ ดนิ เกษตร พลงั งานทดแทน
ปา่ สิง่ แวดลอ้ ม) ทสี่ อดคลอ้ งกับภูมสิ ังคม ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ องคค์ วามรทู้ ่เี ป็นสากลการดำ� เนนิ งาน
ตามกระบวนการเขา้ ใจ เขา้ ถงึ พฒั นา ใหป้ ระชาชนเขา้ มามีสว่ นรว่ มคิด ร่วมท�ำและยดึ พื้นที่
เป็นหลักในการดำ� เนนิ งาน (Area-base Development Approach)
จากแนวทางการพฒั นาชนบทฯ ดังกล่าว มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ� ริ
ได้น�ำมาสู่การปฏิบัติในโครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่จังหวัดน่านตามแนว
พระราชดำ� ริ เมอ่ื ปี ๒๕๕๒ โดยไดข้ ยายผลไปสพู่ นื้ ทอ่ี า่ งเกบ็ นำ้� หว้ ยคลา้ ยอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ
อ�ำเภอหนองวัวซอ จงั หวัดอดุ รธานี และก�ำหนดพนื้ ทีข่ ยายผลในอีก ๑๐ จงั หวัด ในปี ๒๕๕๔
(เชียงราย เชยี งใหม่ นา่ น พษิ ณุโลก เลย สงิ ห์บุรี ตราด ประจวบครี ีขันธ์ เพชรบรุ ี และยะลา)
จึงเป็นการแสดงได้ว่าแนวทางการพัฒนาชนบทฯ สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในแต่ละพ้ืนท่ีท่ีมี
ความแตกตา่ งกนั ได้ คณะรัฐมนตรจี งึ มีมติเมือ่ วันท่ี ๖ กนั ยายน ๒๕๕๔ เห็นชอบให้น�ำแนวทางการ
พัฒนาชนบทฯ มาบรรจไุ วแ้ ผนบริหารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ โดยใช้ชอ่ื ว่า “แผน
พฒั นาชนบทเชงิ พน้ื ทป่ี ระยกุ ตต์ ามพระราชดำ� ร”ิ ประกอบดว้ ยพนื้ ทเ่ี ปา้ หมาย จำ� นวน ๔๖ จงั หวดั
๑๐๘ อำ� เภอ ๑๔๒ แหลง่ นำ�้ และมอบหมายใหส้ ำ� นกั งานปลดั สำ� นกั นายกรฐั มนตรี กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม บูรณาการ
ก ารดำ� เนนิ กจิ กรรมต่อไป
เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ งานตามแผนพฒั นาชนบทเชงิ พนื้ ทป่ี ระยกุ ตต์ ามพระราชดำ� ริ ในพน้ื ทสี่ ามารถ
บรรลเุ ปา้ หมายท่ตี ง้ั ไว้ คอื “การอย่รู อด พอเพียง ย่ังยืน” สถาบันส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรม
ปดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชด�ำริ ไดร้ ว่ มกับกระทรวงมหาดไทย จัดทำ� หนังสือ “แนวทาง
การดำ� เนนิ งานตามแผนพฒั นาชนบทเชงิ พน้ื ทปี่ ระยกุ ตต์ ามพระราชดำ� ร”ิ เพอื่ ใหห้ นว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง
สามารถใช้เป็นแนวทางการพฒั นาชนบทฯ ในพ้นื ท่ี เพ่อื แกไ้ ขปัญหาความเดอื ดรอ้ นและตอบสนอง
ความต้องการของประชาชนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพตอ่ ไป
ส�ำนกั นโยบายและแผน
สำ� นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย
สงิ หาคม ๒๕๕๗

3

แนวทางการดำ� เนินงานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพื้นท่ีประยุกต์ตามพระราชด�ำริ

สารบญั

เอกสารชุด หน้า

๑. แนวทางการดำ� เนนิ งานตามแผนพฒั นาชนบท
เชงิ พ้นื ทีป่ ระยุกตต์ ามพระราชดำ� ริ ๕

๒. ตวั อยา่ งการเขียนแผนงานโครงการของจงั หวดั กาฬสนิ ธุแ์ ละอทุ ัยธานี ๓๐

๓. หนังสอื กระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐
วนั ที่ ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๕๕ เรือ่ ง “แนวทางการปฏิบตั ิ
กระบวนการเข้าใจ เข้าถึง ส�ำหรบั ปฏบิ ตั งิ านในพ้ืนท่ี
แหล่งน�้ำขนาดเล็กอนั เน่อื งมาจากพระราชดำ� ริ” ๕๙

๔. หนังสอื กระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๒๑๑.๙/ว ๓๔๐๘ ๗๕
วนั ท่ี ๒๒ สงิ หาคม ๒๕๕๖ เรือ่ ง “แนวทางการจดั ท�ำและ
กลั่นกรองโครงการตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพนื้ ทปี่ ระยุกต์
ตามพระราชดำ� ริ”

4

แนวทางการด�ำเนินงานตามแผนพฒั นาชนบท
เชิงพน้ื ท่ปี ระยุกตต์ ามพระราชดำ� ริ

แนวทางการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพืน้ ท่ีประยุกต์ตามพระราชดำ� ริ

ความเป็นมาโครงการตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพน้ื ท่ปี ระยุกตต์ ามพระราชดำ� ริ

๑. ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส�ำนักปลัดส�ำนัก
นายกรัฐมนตรีเห็นประโยชน์จากการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบปิดทองหลังพระฯ จังหวัดน่าน และ
จังหวัดอุดรธานีโดยการน�ำปรัชญาและแนวทางการท�ำงานของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ มาใช้
ในการปฏิบัติงานให้เป็นระบบปกติของหน่วยงานราชการ จึงเสนอคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี
๖ กนั ยายน ๒๕๕๔ ซึง่ มมี ติเห็นชอบใหบ้ รรจุแนวทางน้ไี วใ้ นแผนบริหารราชการแผ่นดนิ งบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ ภายใตช้ อ่ื “แผนพฒั นาชนบทเชงิ พนื้ ทป่ี ระยกุ ตต์ ามพระราชดำ� ริ”
๒. กระทรวงมหาดไทยส่งแนวทางปฏิบัติในการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาชนบท
เชิงพื้นที่ประยุกต์ฯ ให้จังหวัดถือปฏิบัติรวม ๘ ข้ันตอน ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย
ที่ มท ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐ วันท่ี ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๕๕ ซ่ึงแผนพฒั นาชนบทเชงิ พืน้ ทป่ี ระยุกต์ฯ
มีความแตกต่างกับแผนพัฒนาของหน่วยงานราชการ ส่วนภูมิภาค ส่วนกลาง แผนขององค์กร
ปกครองสว่ นท้องถ่นิ แผนพัฒนาจงั หวัด ฯลฯ สรุปไดด้ ังนี้
๒.๑ การประชมุ ชแี้ จงทำ� ความเขา้ ใจรว่ มกนั ของทมี ปฏบิ ตั งิ านระดบั จงั หวดั และระดบั
อ�ำเภอ
(หนงั สอื ที่ มท ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐ วันท่ี ๓๑ ส.ค. ๕๕ หนา้ ๑)

- การนำ� องค์ความรู้ ๖ มิติ ตามแนวพระราชดำ� ริ หลักการทรงงาน ๒๓ ข้อ
หลกั การเขา้ ใจ เข้าถึง พัฒนา โดยประยุกต์ใชก้ บั ความรู้สากล ครูภมู ิปญั ญา
ชาวบ้าน มีเปา้ หมายการพัฒนาทหี่ มบู่ า้ น โดยสอดคลอ้ งกบั ภูมสิ ังคม

- เขา้ ใจถึงแกน่ ของโครงการพระราชด�ำริ ทีม่ เี ป้าหมายเพ่ือ “ให้ชาวบ้านพน้ จาก
ความอดอยาก หมดหนส้ี นิ พ้นความยากจน และน�ำไปสู่การลดช่องวา่ งระหวา่ ง
เมอื ง กับ ชนบท”

- วิธีปฏิบัติงานในพ้ืนที่ ข้าราชการต้องไม่ช้ีนิ้วสั่ง ไม่คิดว่าเป็นนายชาวบ้าน
เพื่อลดช่องว่างของราชการกับราษฎร ท�ำงานแบบบูรณาการเช่ือมโยงงาน
ในหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ ไมท่ ำ� งานเปน็ แทง่ ลงทำ� งานรว่ มกนั ในพ้นื ที่หมบู่ า้ น

- แนวทางการท�ำงานท่ีส�ำคัญ หน่วยงานราชการต้องเข้าไปเรียนรู้ รับฟังปัญหา
และความตอ้ งการของชาวบา้ นทแ่ี ท้จริง

- การทำ� งานพฒั นาตอ้ งมีความพรอ้ มทงั้ ราชการและชาวบ้าน ถา้ ไมพ่ ร้อมไม่ทำ�

6

แนวทางการดำ� เนินงานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพื้นท่ีประยุกต์ตามพระราชด�ำริ

- เมอื่ วนั ท่ี ๗ มีนาคม ๒๕๕๔ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงบรรยายหลักการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชด�ำริวา่ “...ให้ถามชาวบ้านในพนื้ ท่ีก่อนว่า
มคี วามตอ้ งการอยา่ งไร แบบไหน ถ้ายังไม่มีความรู้ ก็ชว่ ยกนั คดิ ชว่ ยกันทำ� ผ้มู ีความรู้สามารถ
เผยแพร่ส่งิ ทต่ี นรู้ ให้ยกยอ่ งปราชญใ์ นพ้ืนท่ี...” “...ทำ� ให้ทกุ คนต้งั ใจท�ำงาน โดยคดิ วา่ เป็นเรอื่ ง
ท่ีเขาคิดเอง เปน็ ความคิดท่เี กดิ จากความคิดเขา ถ้าไมเ่ ชน่ นั้นจะไมส่ ำ� เรจ็ ...”

7

แนวทางการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพ้นื ท่ีประยุกตต์ ามพระราชด�ำริ

๑ เตรียมการกอ นลงพนื้ ทที่ าํ งานในหมูบา น

๒๓
 แตง ตง้ั ทมี ปฏบิ ัติงานระดบั จงั หวัด
กอ นประชุมชาวบา น  แตง ตง้ั ทมี ปฏบิ ัติงานระดับอาํ เภอ ประชมุ ชาวบา นครั้งแรก
 ทีมปฏบิ ตั งิ านระดบั อาํ เภอศกึ ษา • ทีมปฏิบัตงิ านระดบั อาํ เภอ
 จังหวัดจดั ประชมุ
ทาํ ความเขาใจของ ขอมลู เบื้องตนรว มกัน จดั ประชมุ ชาวบาน
ทีมปฏบิ ตั ิงานระดับ
จงั หวดั และอาํ เภอ  เรียนรูกับชาวบาน
 ชาวบานรวมคิด รวมทาํ

รว มเปน เจาของ
 ชาวบานเหน็ ประโยชนพรอ มเสยี สละ

๔ นดั หมายผนู ําชมุ ชน และ อสพ. ชาวบานไมพรอม ไมทํา
เพอ่ื เตรยี มการสาํ รวจขอมลู
๕ สํารวจขอ มูลดา นเศรษฐกจิ -สังคมโดยใช
 รวมกนั ปรบั แบบสาํ รวจขอ มลู แบบสํารวจ และเดินกายภาพ

ใหส อดคลอ งกบั สภาพภูมสิ ังคม

๖ วเิ คราะหข อมลู และจัดรปู แบบ ๗ คืนขอมูล ระดมปญหา
การนาํ เสนอขอมลู ใหชุมชน และความตอ งการ
และจดั ลําดบั ความสาํ คญั



จดั ทาํ แผนพฒั นาชนบทเชิงพื้นทปี่ ระยุกตต ามพระราชดําริ

 แผนการแกไ ขปญหาเรงดวน (Quick win)
เพ่อื สรางความเช่ือ ความศรัทธา

 แผนพัฒนาชนบทเชงิ พ้นื ท่ีประยุกตต ามพระราชดาํ ริ

ฉบบั สมบูรณ

8

แนวทางการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพนื้ ท่ีประยุกต์ตามพระราชด�ำริ

- หัวหน้าส่วนราชการต้องมีความเข้าใจวิธีท�ำงานตามแผนพัฒนาชนบทฯ โดยเฉพาะ
ข้าราชการในทีมปฏบิ ตั ิงานระดบั อ�ำเภอ ตอ้ งเขา้ พื้นทอ่ี ยา่ งตอ่ เน่ือง เป็นงานแกไ้ ขปัญหาท่ใี ชเ้ วลา
ยากลำ� บาก หัวหน้าสว่ นราชการควรมีค�ำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติงานเป็นภารกิจปกติ เพื่อให้ได้รับ
สิทธิเหมือนข้าราชการอื่น ๆ (หนังสือ ท่ี มท ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐ วันท่ี ๓๑ ส.ค. ๕๕ หน้า ๒)

ปัจจัยความส�ำเร็จ เกษตร/กศน./ช่าง อบต. โยธาฯ
๑) ท�ำงานเป็นทีม
ไม่ยึดภารกิจ ปลัดอ�ำเภอ
หน่วยงาน หรือ
ต�ำแหน่ง แต่
สามารถบรู ณาการ
แ ล ะ ท� ำ ง า น
แทนกันได้
๒) มขี อ้ ตกลงรว่ มกนั
ในการปฏบิ ตั งิ าน
อย่างต่อเนอ่ื งใน
หมบู่ า้ น

บ้านห้วยปุก ต.สะเนยี น อ.เมอื ง จ.น่าน

สรุปข้อ ๒.๑ การประชมุ ทมี ปฏิบตั งิ านจงั หวัด / อำ� เภอ
• เขา้ ใจเปา้ หมายโครงการพระราชดำ� ร ิ เพอ่ื “ใหช้ าวบา้ นพน้ จากความอดอยาก หมดหนสี้ นิ
พน้ ความยากจน”
• น�ำองค์ความรู้ ๖ มิติ หลักการทรงงาน ๒๓ ข้อ หลกั การเขา้ ใจ เข้าถงึ พฒั นา ประยกุ ต์
ตามภูมสิ ังคม
• ทมี ราชการตอ้ งเขา้ ไปเรยี นรู้ รบั ฟงั ปญั หาและความตอ้ งการของชาวบา้ นทแี่ ทจ้ รงิ ไมใ่ ชช่ น้ี ว้ิ สงั่
• การทำ� งานพัฒนาตอ้ งพรอ้ มท้งั ทมี ราชการและชาวบา้ น ถ้าไมพ่ ร้อมไมท่ �ำ

๒.๒ ขนั้ ตอนเตรยี มการกอ่ นลงพ้ืนทท่ี ำ� งานในหม่บู า้ นและกอ่ นประชมุ ชาวบ้าน
- ทมี ปฏิบัติงานอ�ำเภอตกลงวิธกี ารลงพ้นื ทรี่ ่วมกัน เพอื่ ศกึ ษาเร่ืองของน้�ำ ดิน ปา่ เกษตร
และสภาพความเปน็ อยู่ของหมูบ่ า้ น ประกอบด้วย นายอ�ำเภอ ชลประทานฯ เกษตรฯ ประมงฯ
ปศุสตั วฯ์ หนว่ ยงานสงั กดั ปา่ ไม้ อทุ ยานในพืน้ ที่ รวมท้ัง อบต. กำ� นนั ผใู้ หญบ่ ้าน พฒั นาอำ� เภอ

9

แนวทางการด�ำเนินงานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพ้ืนท่ีประยุกตต์ ามพระราชดำ� ริ

กศน. สาธารณสขุ ครูเดก็ เลก็ เพ่ือแบ่งมอบหนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบใหเ้ ห็นภาพความเช่ือมโยง
ทง้ั สภาพภมู ปิ ระเทศ สภาพความเปน็ อยู่ คณุ ภาพชวี ติ ฯลฯ ตวั อยา่ ง จงั หวดั นา่ น บา้ นยอด ฝายหว้ ยจบี๋ น
พบปญั หาตะกอนเตม็ หน้าฝาย อุดระบบทอ่ ตดั ระบบทอ่ เดิม ทำ� ทรี่ ะบายทราย วาล์วปิดเปิด และ
เปล่ยี นทอ่ สง่ น�้ำใหม่ พบปัญหาเกดิ โรคสกุ รตายเฉียบพลนั ระบาดปศสุ ตั ว์จังหวัดและปศุสัตวอ์ ำ� เภอ
ลงพื้นท่ีออกหน่วยรักษา ฉีดวัคซนี ให้ สามารถสร้างความเชื่อถอื ศรัทธา จากชาวบา้ น (หนงั สอื
ที่ มท ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐ วันที่ ๓๑ ส.ค. ๕๕ หน้า ๒)

กลุ่มผู้ใช้นำ้� ฝายหว้ ยจ๋ี บ.บา้ นยอด จำ� นวน
๘ ราย ชว่ ยกันขดุ ลอกหนา้ ฝาย ทำ� ทร่ี ะบายทราย
ปรับระบบท่อสพู่ ืน้ ทเ่ี กษตร ๕๓ ไร่ ซงึ่ เปน็ การแก้ไข
ปญั หาของชาวบา้ น ทำ� ใหเ้ หน็ ประโยชนแ์ ละเกดิ ความ
ศรัทธาขึ้น

พบปัญหาเร่ืองสัตว์ตายในพน้ื ท่ี ปศุสัตว์จงั หวดั รว่ มกบั ปศุสัตวอ์ �ำเภอลงพืน้ ที่
ออกหน่วยให้บริการรกั ษาสัตว์ และอบรมความรเู้ ร่ืองการทำ� วัคซนี และการรักษาสตั วเ์ บือ้ งตน้

ให้ชาวบา้ น เพอ่ื ปอ้ งกันโรคระบาดและลดอัตราการตายของสตั วไ์ ด้

10

แนวทางการด�ำเนนิ งานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพน้ื ท่ีประยุกตต์ ามพระราชด�ำริ

- การทำ� งานเม่อื “ใจพรอ้ ม” กอ่ นต้องมาเป็นอันดับหนงึ่ เสียสละเวลาเป็นอยา่ งมาก
พบปัญไมห่อายเรา่ อื่ งงนสนั้ ตั งวาต์นาจยะใสนำ� พเรน้ืจ็ ทไมี่ ไ่ปดศ้ ตสุ ้อัตงวมจ์ ีคังวหาวมัดร“ว่เชม่ือกมบั ั่นป”ศวุสา่ ตั กวา์อรานเำ�ภอองลคง์คพวื้นามทรี่อูส้ อบื กสหานนว่แยนใวหพบ้ รระกิราาชรดรักำ� รษิ าสัตว์ และ

อบรมความร้เู ร-่ือมปกงารกปาะาโรรรยะททชยานาุกงวส์ ตาัคขุ ใ์นซแชเนีกใ้ มนแป่ ่ือหลรมะะบู่“ชกา้าใาชจนรนรพนกัโ้ันรดษ้อยาเไมปสมตั”็นค่ วปิดเ์ รวบกะา่ อื้ ่อโเปยงนตชน็ ต้นนกใอ้์แาหรลงเช้ะมพาสาิ่มวาเภบมปาา้า็นรนระถอหเแพันนก่อืด่ว้ไปขยับปงอู หาญังนนกหรันึง่ าาโขชเรอกสคงายีรชระสแาบลวตาบอ่ะดา้ยเแนวา่ ลงลไดใะาด้จลเรปดงิ อน็ ตั อเพรยาอื่ า่กเกงามิดรตาากยไขมออ่ งยส่าตั งวน
งานจะสาเร็จไม(หไ่ ดน้ังตสืออ้ งทม่ี มีคทวา๐ม๒๑๑“.๓เช/่อืวม๔นั่๑๐”๐ ววนั ่าทก่ี ๓า๑รนสา.คอ.ง๕ค๕ค์ วหานม้าร๕สู้ )ืบสานแนว พระราชดาริ มาประยกุ ตใ์ ช

วห่ามเบู่ป้า็นนกนาร้นั เเพปมิ่น็ ภปารระะโหยเชนรน่วียยแ์ นงลาะรนสกูราาบมั ชาชกรามุถรแชแกตน้ไ่อขยปา่ญับงหใุคดาคขลองสชาถวาบนา้ นทได่ี ปจ้ รรงิ ะเพเพ่ือเณกิดี วปฒรั ะโนยธชนรส์รขุมแกป่ ระชาชนโดยไม

(หนงั สอื ที่ มท ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐ วันที่ ๓๑ ส.ค .๕๕ หนา้ ๕)

ผผผนนูู ้นูําําจจ�ำจิติตติ วววิญิญญิ ญญญาาาณณณ((รรว่ว มมพพิธิธเีเีเลลลยี้้ยียี งงงผผผตีีตนนหหลลวววงง ตตต..ข.ขขนุ นนุุนนนา่ านา นน เเขขาา พพบบพพรระะนนกกัั พพฒฒัั นนาา เเชช่ือ่ือมมภภาาคคีอีอบบรรมมจจิติตใใจจ ววดดัั พพรระะเเนนตตรร

พพิธิธีเีเกกย่ีย่ี ววขขาา ววนนาาแแรรกก บบ..นน้ําาํ้ ปป าากก ถถววาายยททาานนผผาา ปป าาสสาามมคคัั คคีใีในนงงาานนททําําบบญญุุ ปปีี ใใหหมม บบ..ยยออดด



บ.ห้วยหาด 11


ส บ.สะเกิน

แนวทางการด�ำเนนิ งานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพืน้ ท่ีประยุกต์ตาบมพ.หระ้วรายชหดำ� ารดิ


ส บ.สะเกิน

สรปุ ขอ้ ๒.๒ การลงพ้นื ที่ท�ำงานในหมบู่ า้ น
• ทีมงานต้องมี “ ใจพร้อม ” มีความ “ เชื่อม่ัน ” ว่าจะน�ำองค์ความรู้สืบสาน
แนวพระราชด�ำริ เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน
• ทมี ปฏิบตั งิ านอำ� เภอลงพน้ื ทีร่ ่วมกนั เพ่ือศกึ ษาเรอื่ งของ น�้ำ ดนิ ป่า เกษตร และสภาพ
ความเปน็ อยูข่ องหมู่บ้าน
• เขา้ พ้ืนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพราะเป็นงานแก้ปญั หาทใี่ ช้เวลา ยากลำ� บาก และตอ้ งอดทน
๒.๓ ข้นั ตอนทมี ปฏบิ ัติงานระดบั อ�ำเภอลงพน้ื ท่ีทำ� งานในหมู่บา้ น : ประชมุ ชาวบ้าน
คร้งั แรก
- พดู คยุ วตั ถปุ ระสงคก์ ารท�ำงานตามแผนพฒั นาชนบทฯ เรียนรรู้ ่วมกนั กับชาวบา้ น
หารอื ปญั หาทแี่ ทจ้ รงิ ของหมบู่ า้ นเปดิ โอกาสใหช้ าวบา้ นแสดงความคดิ เหน็ มาก ๆ ดว้ ยการต้ังค�ำถาม
รับฟังมากกว่าการพูดน�ำ (หนงั สือ ท่ี มท ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐ วนั ท่ี ๓๑ ส.ค. ๕๕ หนา้ ๖)
- บอกประโยชนข์ องการลงเก็บขอ้ มูลเศรษฐกิจสงั คมครวั เรอื น และเดนิ ส�ำรวจ
กายภาพ เพอ่ื วเิ คราะห์ปัญหาทีแ่ ทจ้ ริงเปน็ ภาพรวมของหมู่บ้าน (หนงั สือที่ มท. ๐๒๑๑.๓/
ว ๔๑๐๐ วนั ที่ ๓๑ ส.ค. ๕๕ หน้า ๗)

12

(หนังสอื ที่ มท ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐ วนั ที่ ๓๑ ส.ค. ๕๕ หนา้ ๖)
- บอกประโยชนข์ องการลงเก็บข้อมลู เศแรนวษทฐางกกจิารสดำ�ังเนคนิ มงาคนรตาัวมเแรผอื นพนฒั แนาลชะนบเทดเชนิ ิงสพน้ืาทร่ีปวระจยุกกตา์ตยามภพารพะราชเดพ�ำื่อริ วเิ คราะ

ปัญหาทแี่ ท้จรงิ เปน็ ภาพรวมของหมบู่ ้าน(หนงั สอื ท่ี มท. ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐ วันท่ี ๓๑ ส.ค. ๕๕ หนา้ ๗)

บา้ นสะเกิน สรา้ งความ บ.ห้วยปุก
เข้าใจ
ทีมปฏิบตั ิการระดบั พ้นื ที่

ช้ีแจงทาความเขา้ ใจแนวทางการทางาน

ชาวบา้ นเขา้ ร่วมหลงั คาเรือนละ ๑ คน

อยา่ งนอ้ ยร้อยละ ๗๐ ในหมูบ่ า้ น

บ.นา้ ปา้ ก เพราะอาจออกไปทางานนอกพ้นื ท่ี

ทีเ่ ก่ียวข้อก งับชหาน-ว่วส บยร้างา้นางนจค-ะท วเี่เาชกสมอื่่ียรมถวา้ ัน่งขือคใ้อศจวงราัทวม่ามชธจนั่าาะว(ใหจบทน้าาวนงังา่ าสจจนอืะะทอเชทำ�ยื่อง่ีปู่ มาถรนทือะอศ.จยร๐าปู่ัทอ๒รธะย๑าจ่า ๑ำ�งอ.(ต๓หย่อนา่ เวงังนตส๔ื่ออ่ ือง๑เน๐แอ่ื ทล๐งี่ ะแวเมลขันทะา้ ทเ.มข่ี าา้๓๐ทม๑๒าาทง๑สาำ� ๑.งนคา.พ๓.น๕รพ/อ้ ๕รวมอ้ มหๆ๔นๆก๑้านั๐ก๗ก๐นั บั) หนว่ ยงาน

วันท่ี ๓๑ ส.ค. ๕๕ หนา้ ๗)

สรปุ ข้อ ๒.๓ การทำ� งานในหมู่บ้านและการประชุมชาวบ้าน
• พูดคยุ วัตถุประสงคก์ ารท�ำงานแผนพัฒนาชนบท ฯ ที่แตกต่างจากแผนอ่ืน
• ใหช้ าวบา้ นแสดงความคดิ เหน็ ด้วยการตั้งค�ำถาม รับฟังมากกวา่ การพดู นำ�
• บอกประโยชน์การเก็บข้อมลู เศรษฐกจิ – สงั คม เพอ่ื เปน็ ข้อมูลของหมูบ่ า้ น
• สรา้ งความมัน่ ใจว่าจะท�ำงานอย่างต่อเนอ่ื ง และหนว่ ยงานเขา้ มาท�ำงานพร้อมๆ กัน
ชาวบ้านจะเชอ่ื ถอื ศรทั ธา

๒.๔ ขั้นตอนการสำ� รวจขอ้ มูลเศรษฐกจิ สงั คมและการเดนิ สำ� รวจพน้ื ที่
- ทำ� ความเขา้ ใจแบบสำ� รวจเศรษฐกจิ สงั คมกบั ทมี ราชการอำ� เภอ ผนู้ ำ� ทอ้ งทอ่ี าสาสมคั ร
ของหนว่ ยงาน เชน่ อสม. ชาวบา้ นทเ่ี คยเกบ็ ขอ้ มลู ของหนว่ ยงาน กรรมการหมบู่ า้ นปรบั แบบส�ำรวจ
ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพพน้ื ท่ี เชน่ หน่วยนบั ของผลผลติ การเกษตร การใช้ประโยชนจ์ ากปา่ ฯลฯ
(หนังสอื ท่ี มท ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐ วนั ท่ี ๓๑ ส.ค. ๕๕ หน้า ๘-๙) ในการเก็บข้อมูลเบื้องต้นจะใช้

13

แนวทางกา๒รเ-ด.ช�ำท๔เน่นานิ ข-งคอาทัน้ นวสตาตาาคมอมมวแนเผ.าขนกมชพา้ าเัฒาใขรจวน้าสาบแใาชจนบา้รแบนวบทบเจทชสบิงขีเ่พาสคอ้นื้ราทมยวร่ีปูลเจรวกะเยจเศุ็บศกเตศรรขต์ ษรษาอ้ มษฐฐมพฐกรกูลกะิจรจิขจิาสชสอสดงั ัง�ำงัครคคหิมมมนแกกล่วับับะยทกทงมีาามี รรนรเาดาชกนิชกรเกสาภรเราาภอมอรรอกาวผอาจู้นาผรพานู้หทืน้ ามอ้ ทท่บูง่ีอ้ท้างี่นอทาี่ปสอราาสับสมแาัคบสรมบขคัสอรงาหขรวนอจ่วงยใหหงนา้ ่วนยงาน
คลอ้ งกบั สภาพพ้ืนทเชี่ ่นเชอ่นสมหน. ่วชยาวนบับา้ ขนอทงี่เคผยลเผกล็บติข้อกมาูลรเขกอษงหตนร่วกยางารนใชกป้ รรระมโกยาชรนหมจ์ บู่าก้านปาุ ปรฯบั ลแฯบบสาร(หวจนใังหส้ ือ ที่ มท
ท๑๑ปยด่ี๑๑รพทส๐๐จีกูแอ.อ.มี้ืน๒๒ะต๓๓ลบดแท๑๑มา/เ/ปคย่ีดปมกี๑๑ววลจีกูแากน็..อ้ะต๔๓๓ล๔รลมงาฐ/เ๑ล/๑ก่มุปมีกววาเ ทโขเง๐ับสกดบ๐ากน็น้อกุพ๔๔ยีร็ยบสล๐้าม๐คกฐ๑ลเ้ืนแ-๑ภุ่มขนวูรลาางวบ๐ทว้ลาบวัอ๐นมนพรนั ่งเพ/าัน๐ม่ีเ้าื๐อัดรกวเ ืน้คก-ทปนพูลือท(เิาหวทหวบ็ุ้มนค๒น็นม่ีนื้รนัี่/นัมน่เี๓ัดบว๓ทรขเาทคกท-พทังขาเิใาห มี้อ๑้า๑บ็้มุี่คสี่หือ่อยี่ะเแมนม๓บอื๓รขชในง้คเหยาชสสาลูวอ้ส๑่น้า๑ดัรทกแย้เะ์น..่ลวมอปหบหคคตี่เหลหนสสมูลวารีกมแา.แ.า์ะนร..ลยีเทอมาหคลคคกลร๕า๕มบ่วายีกกะ..ารชมิ่ะ๐ขเยเีกเ๕ค๕ลกหร๕้ังวทกม๕ท๒าน่มุาริม่ลทขลาียีก๕ด๕๑หบัา้ังรบหาทราังบกุาทขงนเ๑ขใา้ดนจหานรรผหคนาุกนอ้.อขดัางน่มิลา้๓นา้นนรพค/ากมง้อทหกดั/้าควั้านผื้นร๙มมูลวา๘ำ�หมผุ้มเัวลท๙ีรกงลู๘ร)ไมผบ-๔เรู้าาดผห่ีดาร)ไอื๙-รู้านบั้าย๑�ำหลรูือแ๙นนับนยเ)ใพ๐ผตินลนน)ใหผเใัก๐ฒดิเหนิจผเพใปนดิจช้พแาน้รูชง้ชะนอื่ช็วนะกราาลบัอื่กาลอันาลอในเวะาใผวากเชงบฐทชงบมบรสดิบรษพาพ้เเ้่ีีกเเชรา้ป้า๓ปนเเกตกื้น้ืนา็จอปปนนก๑รรบบร็บรบ็ทใทบูาเยีาูเาียนนเตขเขตเี่หกสทรเี่หทัดกรอ้รกว.อ้ารมียคหอมเ็บยียีมิเร็บยีปมาบค.บมมาขใบลูยา้มขร๕ลูชผายปอ้ตเหผราย้อตบ้ป๕เลรมวัีจาะมบลใมวัก้อืรลายูละหหาหกือ้ะลางยูลว่มยวม์้ชนตโรางงห่วันรวีมกาายด้าตหร้นางาวันใาาชายดหกหน้นจบ๙รแในเวขาะค้ล้าหา้น)นจลนัแ์จานเใงรินะค้ะา้นชาดลพบเกใงตไกรข้ขนิะ้ืนแชมแาารบปอ้อ้ กงนไลลท่ใหข้ียมมุาแมหาะาะี่มเ้อนลูลูกนลกใ่้เหหฯตดมสไหม็บ�ำะลหวัลนแยีูลหือขเ้ลหฯนังดลเสนม้่ว๒จอวล้วแียงดือจาลมงัเหขลเแกะสาูล๒จวนอลลมว้รอาล(า้ว้งงจ็(เกีีหกขกหไพสาสเาสมคนอโม่วนืน้รรรใ่ดรงันจ็(ีกพทหังจ็ั้งยสหสสร้ี่าัฒแอืโ่วานือรดบนชนพังททยง่กาสรี่ฒัเเี่แามปาือสมรบนทชน็รใททจ็่งนกาเใเ่ีาปนสมร็นรใทจ็นใน
ฏฏ ค ค ใ แใ แ ส ส ศศษษฐฐ สส คค ใใหหหห สส ื้ ื้ ่แ ่แ ส ส ค คื ื

113ไไ-5 อด อด
แ 3-5
ธ แส แให ่ื ไไ

ธ แส ซ

ให ไ คื่

ไค

ทวชจเ่รีขจวีสทแหสตพบั ตลภนารอนาืน้ นรพาวงาวบ้าทวชหจ้าเพ้นื่รีคขจ๑ีวใส้วับทตนลุณภ๐อพยนพาี่อปาบ-สนัหา้พ๑้ืนนฝัจคมใทท เครกธ้ว๑ทาขุรนณุจะพาวยไุ์บี่่ปีตยา้ัก่อี)ปมบุรดาส้นัอลไตับ-นฝมษบัจัป้นมูกงถธขิคหาุกรุจปทใค์ไุ์บังย ชักอรลวมุบเรวรตเีมัตชกุป้-าษางกับ้าะันถรปขิกทคน่รดมมท์็บวปดงัหอะำ�วเฏรจสนิหเีมรบัชนลโ-าลงกเะสูงุงยบิ ปขนน่ดามาคา้บ็ดอจชยฏยัตตินหแาวับวทนบสดันเปับิดแองิขนาน�ำมีคค้าเ์ทจ่าทาปกัตตนุทมรแาปุณ ววัดนาาว็บแรแอิงาสน่นฏยทงทสแิมจาลเอนุทมชงูบิวสาหม่อนาแาะผสาข่นยวีทนตั้า็ดบแณพเปอนภเูงสานดงิอ่รผตัภาื้นขลนนาาา้ผปวเาิมนิขเหนพปงอนดร้�ำภังจดาุอทผปทนวไา่าอิมหอตแงหตลังใ่ีดจดอ่าุำ�่ีตพทดชมหน้ปลต้นเแนิงไตลนัอ้นิต่ีภส้มฤู่บมเ้นปนลทน้ไงธอดงอ้อ้ดมบู่เนา้ล�ำงุ์ไไา้ปยจดงินูฝมแมกนทา้้งา้ปัดนิรบน้นลแสนท้ินปีด่ทรบับสงค/วหปราดี่ับูอนิ�ำเหราเวปิรลดูอิน:ขแปงิรานท(เว่งนิงรตผท(กเมววหรจานกจวหา้สุงพนจ้าหุงณนัวบันณำ้�นักก�ำนผกนื้กนวตพรกวงันิกาวงังัินทา:า:วัดน้จปัดจสกิปหสิาธยายแี่อจทบัปับปีสดรรมือือุาุาภภนนกบ่นุงบชขพช่บูรพร่นาารุานมิุมอุกิม้าุมยทพุกิกกัทพิก:�้ำนาบชรภษัดาี่ชรขดสัดเี่ดณุมกนขเาณขุมน์กว้�ำนขว้พท(ท้ารนอยาหททเตชนอยแวชดดาบกชา้นแาาจปบกลน่า้ว้ต๐ไนัเางัวปลล๐หยไขาลน้ันเส๒วบหำ�ลขกายตลไงไ๒ือเบ๑หา้ดมยขันงเปตลไแฤกน๑แว้า้้ด๑ต้แปาุปดแฤทษยตนเอบก๑้แูฝุาขไลปด.่ีแ่ลตุท่รด๓เฝกปนา้งมูฝละขลร.เิแยแ้าแไ/ว่๓่า/คทะปนา้งยปากลวณหตไพรพแนไ/่ม่า/ใะล่ถนอปื้น๐ชว๔ห้นืตไ:้ปพังะบาปมท้ปใ๒ป่ล๑เปสนควา่คชก๔้นืา่:้ี่รร๑ภาุ่าะ๐ไราชรบ็ป้บัะปวม๑ตสใ๑อคาวัวุม๐นชโิธนร้น้ภพาุ.บ๐รยช๓้�ำส้สีะวน้ำ�ใชป:นอาชคแ๐วอง่/ชใโธิ้ำ�นพนนนุารวบนันยย้สสีสิดวัชชวเ์ปป้าทชคคภปวอก่งขท๔านเแัจนีุ่ารวนขันอาบ็อ้วยอ่๑ิดหจ๓าัวพชบา้งงเ์า้เทเคข๐ุบมลกพหกดแป๑น้าเแอ่ีว๐่งขันหันนิม็บปืชด็า่ิดหนง๓า า้ลลสเพขมหลา้หแา๑ง.ตอชืคน่งหกเปด็ ก้นทนงห.อ่ลลสษพที่ปหา้ไล๕าง.มตตุนชืลาคนกเ๕ก้รกยู้นท:ห.่อษที่ปไล๕มตนุลา๕ก้รยู:
๑๐-๑๑) วันที่ ๓๑ ส.ค. ๕๕ หนา้ ๑๐-๑๑)

14

๗ ๗๗แนวทางการดำ� เนินงานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพ้ืนท่ีประยุกตต์ ามพระราชด�ำริ

คค ะะททาางงาานนดดา้ า้นนบบรริหหิ าารรจจัดดั กกาารรนนา้ า้ ปปรระะชชมุ มุ กก่ออ่ นนลลงงสสาารรววจจพพนื้น้ื ทท่ี่ี กรมทรพั ยากรน้า นายชา่ ง อบจ อบต
ค ะทางานดา้ นบรหิ ารจดั การนา้ ประชุมกอ่ นลงสารวจพนื้ ที่ กรมทรัพยากรนา้ นายช่าง อบจ อบต

กรมทรัพยากรน้า กรมทรัพยากรนา้ นายช่าง อบจ อบต
กรมทรัพยากรน้า
ผอ กองช่าง อบจ นายก อบต ปลดั อกบรจมทรพั ยากรนา้
ผอ กองช่าง อบจ นายก อบต ปลัดอบจ
ผอ กองชา่ ง อบจ นายก อบต ปลดั อบจ

ผชู้ ว่ ยผ้ใู หญบ่ า้ น
ผชู้ ่วยผ้ใู หญบ่ า้ น
ผูช้ ว่ ยผใู้ หญบ่ ้าน

ออขอขง้งนั ้คงนัคตคปตปอปอรรนระนะะกกกกกาออารอรบบทบทากกากงงรรารามมนมกนรปปแปมแ่่ ่าอากากทุไไไ่ท่ยทมมมาีมีมน้้้กฯกกรรราามรมมรอวอวอจทจททแแยยยลลาาานะนะนผผปปนู้ปนู้ กกาากคชคชครมรมรออชชองงนนงทททอ้อ้ อ้งงงททที่ี่ ทที่ ทออ้้ อ้งงถถงิ่ิ่นถนิ่นกก่อ่อกนน่อปนปฏฏปิบิบฏตัตัิบิงิงตั าาินงนาตตนอ้อ้ ตงงอ้ชช้งีแ้ีแชจจ้ีแงงจง
ข้นั ปตกอครนองการทางากนรมแอกทุ ย่ทานีมฯ ทสาจรวจและผนู้ าชมชน
ปกครอง กรมอทุ ยานฯทสจ

ปกครอง ทสจ

กรมปาไม้ แผนท่ี 1:4,000
กรมปาไม้ แผนท่ี 1:4,000

•เพื่อให้รู้แนวเขตท่ีทากิน อยู่อา ยั ป่ าชมชน ป่ าอนรัก เพ่ือนาไปแก้ไข แผนที่ 1:4,000
•ปเพั ื่อหใาหบ้รกู้แรนกปว่เาขตกรทมี่ทปาากไมิน้ อยู่อา ยั ป่ าชมชน ป่ าอนรัก เพ่ือนาไปแกไ้ ข
ป•ั รู้ขหนาบาดกพร้ืนกปท่ า่ี ผคู้ รอบครองตามขอ้ เทจจริง 15
ด•ป•••ด•ข•เรเินั•ด•ขพพรเเิานู้้ขพจเเิานู้้งขพหจอื่ก่ือนง้าือ่เกน้าคนาอื่หเกาใานคาหราบียนาหดารนียดาวรงนขวกาพ้ขงร้าพาวขาอ้้ารู้ทแอง้้นืาง้นืทอมกแงมนี่แรทมท่ีแรปลูผู่ลผวว่ีู่ล่ผวี่ไนาผมไนผเมไนปขปคูก้คูเก้ปเดกตวราวรดาวิานราอราอทินรางงเเบบงกี่กเทแแกแคาคผผาาผรรรกตตรนนตนวออวิรรนกกรจกงงจากากกตตากกอรราราบาัาาพบัพรยรพมรมชปู่อปชัปขััขาลาาลอนล้อนว้นวูกกูเกูาบเทาาบยปัทปป้า่จเ้า่า่จเเาปาชนจชชเนจเเ่่นรา่ผน่นผรริงชรรูคิ้งคูก้กกมราราาอรชอรกรกบกบบนบิจบิจิจรรเคเคริเหปิหริหร่รราาอาอริมาิรมรอิงมรงจเจเนปพจปพเดัดัปดนั้รืนนก้ืนกนักกราราททรราารา่ีท่ีทยรนยานไยนไา้เา้าาพดไดกก้ากกด้ิื่้นิอนกาาูู่้่คคนแรแราู่วควปปลลราาาวปไะระรมมาัปับบแแรยยมปปับปปแงง่ัั่ยยยกลลรรปง่ั นนืื งงยงงไ้รนืขง
•เจา้ หน้าท่ีร่วมเดิน ารวจกบั ชาวบ้านผคู้ รอบครองพ้ืนท่ีทากินและแปลง
ขา้ งเคียง

แนวทางการดำ� เนินงานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพน้ื ท่ีประยุกต์ตามพระราชดำ� ริ



.

ขอ้ มลู เจา้ ของแปลง
ขอ้ มลู ลกั ะแปลง

ออ ด

วนั ท่ีสารวจ ๑๔ พ.ค. ๕๖
รหสั แปลง KA๙๗
ชอ่ื -สกลุ นายพระป่วย มดแดง
เลขบตั รประชาชน ๕ ๖๑๐๖ ๐๐๐๐๕ ๗๓ ๔
ท่ีอยู่ เลขท่ี ๒๒ หมู่ ๒ ต.แก่นมะกรดู อ.บ้านไร่ จ.อทุ ยั ธานี
พิกดั ท่ีตงั้ แปลง ๕๓๑๐๕๓ E ๑๖๗๒๗๐๘ N
ระดบั ความสงู (ม.รทก) ๔๑๑
การใชป้ ระโยชน์ท่ีดิน ขา้ วโพด มะละกอ

16

แนวทางการดำ� เนนิ งานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพน้ื ท่ีประยุกต์ตามพระราชดำ� ริ



สรุปข้อ ๒.๔ การสารวจข้อมลู เศรษฐกิจ – สังคม และการเดินสารวจพืน้ ที่ 17
 ทาความเขา้ ใจแบบสารวจเศรษฐกจิ สงั คม และปรบั ใหเ้ ข้ากับสภาพพ้นื ที่

แนวทางการดำ� เนนิ งานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพ้ืนท่ีประยุกต์ตามพระราชด�ำริ

สรปุ ขอ้ ๒.๔ การสำ� รวจข้อมูลเศรษฐกจิ – สงั คม และการเดนิ ส�ำรวจพน้ื ท่ี
• ท�ำความเข้าใจแบบสำ� รวจเศรษฐกิจสังคม และปรับให้เขา้ กบั สภาพพ้นื ท่ี
• นดั หมายเวลาชาวบ้านลว่ งหนา้ ไมใ่ หร้ อเสียเวลา
• แบง่ ทีมผูร้ บั ผดิ ชอบ มเี ปา้ หมายรายวัน แยกทมี ตามกล่มุ บา้ น/ค้มุ บา้ น
• ลงเดินส�ำรวจกายภาพด้วยกัน ไดแ้ ก่ ปา่ ไม้ แหลง่ นำ�้ ต้นทุน ส�ำรวจแปลงทีด่ ินทำ� กิน ฯลฯ
• สรุปงานเสนอผูว้ า่ ฯ อธบิ ดกี รมป่าไม้ กรมอุทยาน กรมชลฯ กรมทรัพยากรน�ำ้ ฯลฯ
๒.๕ ขนั้ ตอนการวเิ คราะหข์ ้อมลู วิธีการคืนข้อมูล วิธรี ะดมความคดิ ค้นหาปญั หาและ
ความต้องการท่ีแท้จรงิ และจัดล�ำดบั ความสำ� คัญ
- ใหน้ �ำขอ้ มูลทจ่ี ัดเก็บรายครัวเรือนมาวิเคราะห์เปน็ ภาพรวมของหมู่บ้าน เชน่ รายได้
หนี้สิน เงนิ ออม และข้อมูลจากการเดินสำ� รวจพืน้ ที่ และระบปุ ัญหาเบือ้ งต้น การน�ำเสนอขอ้ มูล
แบบง่ายให้ชาวบา้ นเขา้ ใจ และเปดิ โอกาสใหช้ าวบ้านต้งั คำ� ถาม และแสดงความคดิ เหน็ (หนังสือ
ที่ มท. ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐ วนั ที่ ๓๑ ส.ค. ๕๕ หนา้ ๑๑)
- การคนื ข้อมลู ตรวจทานขอ้ มูล สรุปปญั หา และจดั เรียงความส�ำคญั ตามองคค์ วามรู้
๖ มิติ มีชาวบา้ นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ของครัวเรือนในหมู่บ้านเข้าร่วม และเป็นสมาชิกในครัว
เรือนท่ีสามารถตัดสินใจแทนได้(หนงั สือที่ มท ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐ วนั ที่ ๓๑ ส.ค. ๕๕ หน้า ๑๒)
- ก่อนการจัดล�ำดบั ความส�ำคัญของปัญหา อาจแบ่งเปน็ กล่มุ ย่อย เพื่อใหช้ าวบ้าน
กล้าแสดงความคดิ เหน็ สอบทานความถูกตอ้ งของขอ้ มลู (หนงั สอื ท่ี มท ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐
วนั ที่ ๓๑ ส.ค. ๕๕ หนา้ ๑๓)
- ตรวจสอบบันทึกการประชุมมีผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ สังคม และข้อมูล
กายภาพ ขนั้ ตอนการน�ำเสนอ มีรายงานที่ชาวบ้านทตี่ รวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ตงั้ ค�ำถาม
และขอ้ เสนอ ข้อสรปุ ปญั หาร่วมของหมบู่ า้ น และจดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ของปญั หา ๖ มติ ิ (หนงั สอื
ท่ี มท ๐๒๑๑.๙/ว ๓๔๐๘ วนั ท่ี ๒๒ ส.ค. ๕๖ หนา้ ๓)

18

ปัญหาร่วมของ หมู่บ้าน และจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา ๖ มิติ (หนังสอื ที่ มท ๐๒๑๑ .๙/ว ๓๔๐๘
วันท่ี ๒๒ ส.ค. ๕๖ หน้า ๓) แนวทางการดำ� เนนิ งานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพนื้ ท่ีประยุกต์ตามพระราชดำ� ริ

อ อ อด


ออ รายได้  ขอ้ มูลตามแบบ ารวจเ ร กิจ ังคม เช่น
รายได้ รายจ่าย หน้ี ิน เงินออม ทรัพย ิน และ
ทรัพย ิน รายจา่ ย ขอ้ มูลอื่น เปนภาพรวมหมบู่ า้ นอาจแ ดงรูป
ของตวั เลข กราฟ ภา าท่ีชาวบา้ นเขา้ ใจง่าย
เงินออม C
 ขอ้ มูลจากการ ารวจกายภาพ ได้แก่ ป่ าไม้
หน้ี ิน พืน้ ท่ีสงู กวา่ ระบบสง่ นา้ เดมิ เ ้นทางน้า ฝายและแนวท่อเดิม ปริมา การ
นา้ รูงเู หลอื มบน ไหลของน้า ความเรวของน้า การใชป้ ระโยชน
3 B นา้ รูงเู หลอื มลา่ ง ท่ีดิน ล อาจแ ดงในรูปแผนที่ มิติ
A นา้ ห้วยบง
นา้ ห้วยสาขา  ประเมินว่าชาวบา้ นมีความเขา้ ใจและพร้อมที่
20 นา้ ห้วยแมว่ ะ 17 จะร่วมลงมือกบั ทีมหรือยงั หากยงั ใหย้ อ้ นกลบั
ไปทาความเขา้ ใจใหม่ โดยไม่ตอ้ งเร่งรีบคืน
- ขอ้ มูล ๑
-
-
-
-
ท่มี า มลู สนงิ ิหาิแมม่ ้ าหลวง นพระบรมรา ปู ม มิ นุ ายน ทม่ี า มูลนิ แิ ม่ ้ าหลวง นพระบรมรา ปู ม

19

แนวทางการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพ้นื ท่ีประยุกตต์ ามพระราชดำ� ริ

อด


ดอ

:ด อ อ

*

สรปุ ขอ้ ๒ส.ร๕ปุ ขก้อาร๒ว.๕ิเคกราาระวหิเค์ขร้อาะมหลู ข์ ้อคมนื ูลขค้อนื มขูลอ้ มรลูะดรมะดคมวคาวมาคมิดคิดคคน้ น้ หหาาปปญััญหหาาแแลละคะควาวมาตม้อตง้อกางรการทแี่ ท้จริง
ที่แท้จรงิ
 นาขอ้ •ม ูลนทำ� จี่ขดัอ้ มเกลู ็บทจ่ีรดัาเยกคบ็ รวัายเรคือรวันเมรอื านวมเิ คาวรเิ าคะราหะ์เหปเ์ ็นปน็ภภาาพพรรวมหมมบู่ ่บู า้ ้านน เชเน่ ชร่นายรไาดย้ หไนดส้ี ้ นหิ น เงี้สนิ ินออมเงินออม และ
ข้อมูล จาแกลกะาขรอ้ เมดลูินจสาากรกวาจรเพดนื้ิ ทสำ�่ี รฯวจพนื้ ท่ี ฯ
มขปก้อากีร๒ระเา.สค๖รเมนืนบ• • • ินอขขันวแปแกมคน้ั้อทา่ลวาีกนรมตกึชราะะาะลูอกมครเขามนบคนืาวอ้ นิ ริดนับตขเจสวปเ้อทรัด้าหน่ามรวกึนชท็นอะลูจกาเแาขช าวทนแ รบา้มุาตะปผใ้านรจรนปนวคะแเรจพขชวละท้ามุาฒัะเใามดจพนนปถแน็ รคารลกู ทอ้วะชะตามเี่ชพนดมอ้ าทรน็บถงว้อ่ีจทูกทบมะ่ชีตสเ้าทราอ้ชรนจี่ว่วงุปงิะบตม พ ปร้ารลสว่นน้ืวญังมรตจมทปุลหรสอื่ปีงปวาอมพจัญรอืบแสัฒะหพบอคยานฒับ่งวุก าเคาแนตปกวมบา์็นาับกถ่งมเกับทูกปถลทมีตน็กู ุ่มมี้อตกยงอ้ล่องมุ่ //ยยใใให่อหหยข้ ข้ช้ใอ้ หอ้มา้ชวูลมาบเูลพว้าเบม่ิ พนา้ ม่ิแนคสแ�ำถสดคาดงามคงถวาามมแคลิดะเห็น





๒.๖ ขนั้ ตอนจดั ท�ำแผนพัฒนาชนบทเชงิ พนื้ ท่ปี ระยกุ ต์ตามพระราชด�ำริ
- การประชุมชาวบ้านโดยน�ำปัญหาและความต้องการท่ีแท้จริงมาจัดท�ำแผนพัฒนา
ชนบทฯ ชาวบ้านรว่ มคิด ร่วมวางแผน รว่ มเหน็ ประโยชน์ตั้งแตต่ ้นนำ้� ถงึ ปลายน�้ำ เพื่อร่วมลงมือทำ�
กับหนว่ ยงานราชการ/ทอ้ งถิ่นในทกุ กจิ กรรม (ในหนังสือ ที่ มท ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐ วนั ท่ี ๓๑
ส.ค. ๕๕ หน้า ๑๔)

20

- การประชุมชาวบา้ นโดยนาปัญหาและความต้องการทแี่ ทจ้ รงิ มาจดั ทาแผนพฒั นาชนบทฯ
ชาวบ้านร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมเห็นประโยชนต์ ้ังแตแน่ตว้นทนางา้ กถารึงดปำ� ลเนาินยงนาน้าตาเพมแ่ือผรน่วพมฒั ลนงามชือนบททาเชกิงับพหื้นทน่ีป่วรยะยงุกาตน์ตราามชพกระารราชด/ำ� ริ
ทอ้ งถนิ่ ในทุกกจิ กรรม (ในหนังสือ ท่ี มท ๐๒๑๑.๓ ว ๔๑๐๐ วนั ท่ี ๓๑ ส.ค. ๕๕ หนา้ ๑๔)

ลัด อาเภอ ป

บั นั
ญชี การเงิน อบต.
ช.ช่างโยธา ร กวเิ คผราะห์
อง นายก อบต.

การจดั ทาแผนบ้านตาแวน

โดยครอบคลโดุมยมคติ รติอา่บงคๆลมุ ดมังตินติ ้ี ่างๆ ดงั นี้
• มติ นิ ้ำ� (มหิตนินงั ้าส(ือหนทังี่ สมือทท๐่ี ม๒ท๑๐๑๒.๙๑/๑ว.๙๓/๔ว ๐๓๘๔๐ว๘ันทวนั ่ี ๒ท่ี๒๒๒ส.สค.ค๕. ๕๖๖หหนนา้ ้า๔๔))
หหลลัักกคป ิดฏหหิบ:ลลัตัักก ิคป:ดิฏ :ิบัต:ิ๒๑เพ.. อ่ื ใกดกหาานิม้ ๒เ๑รรพโนี ..สสค่ือำ�้กกเปรรลใทลาาา้หา้อูนย้ีำ�รรงงงม้ งสสถกฝฝกีนปรราลาันา้าล้า้าร่มยยดทงงาเอเกฝฝนิากนาาษกโษคยยาุรตลเอรตักกรเนนรษกตษถรุ ษล์ตกัลเตอรแพษม่ รดล์แื่อตเทะลพกลง้ับะัก่ืออปบ่อกเดีก่อกัพทใพบ็ชเ้ังวกพว้นปง็บงีนื้ำ�้ นใแเชทพา้เล้พพเแี่ือ่พะืน้ล่ือกชาะทกักะะชี่เเักปพกละเบ็ลาลอกะอนกูค็บปคลา้วนลไวดาว้�ำกูามลใ้มไลชชงวชดใ้้ใมุ่ ุ่มนไลชมชชฤง้ใบ่้ืน้นืดนไกุมูแปฤรล่บอ้ดกุงุ้กงแู ปรกลกุา่ัน้งปาุ
เล๓ี้ย.งปกาลราสง่ น้าดว้ ยระบบทอ่ หรอื ลาเหมอื งไปยังแปลงเกษตร
๓. การส(ง่หนนำ้� ว่ ดยว้ งยารนะ: บหบนทว่ ยอ่ จหัดรกอื าลรำ�ตเ้นหนมา้ อื ฯงไอปทุ ยยงัาแนปฯลสงาเกนษักบตริห(าหรนจัดว่ ยกงาารน:
หตอ้นพชงว่า้นื มยวปทาบจาุ่ทีคัด้าไามนดิกกฯ้สราาา่วรรทมมตเสกาก้นจรษนันถ.ต)รต�้ำรว้อฯลมงดกมอลลาทุงค่มุ จยดิบาารกรน่วิหกมฯาากรรสพนัจัด�ำ)ัฒนกนาัการบรนะร้าบหิ ซบา่อนรมจ้าแดั ซกมารบเพปารรา่ างุไะรมกัเ้ฯปษน็ าทกไดสารเ้จอท.งา
ผลลพั ธ์:

21

แนวทางการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพน้ื ท่ีประยุกต์ตามพระราชด�ำริ

ผลลัพธ์ : ชาวบ้านสามารถรวมกลมุ่ บริหารจดั การน�ำ้ ซ่อมแซม บำ� รุงรกั ษาได้เอง
พ้ืนท่ีท�ำการเกษตรลดลงจากการพัฒนาระบบน�้ำ เพราะเป็นการท�ำ
เกษตรแบบผสมผสานและต้องดแู ลเอาใจใสแ่ ปลง แตไ่ ดร้ บั ประโยชน์
เพมิ่ มากขึน้ จากเดมิ ท�ำเกษตรแบบพืชเชิงเดย่ี ว

• มติ ดิ ิน (หนงั สอื ที่ มท ๐๒๑๑.๙/ว ๓๔๐๘ วนั ท่ี ๒๒ ส.ค. ๕๖ หน้า ๔)
หลกั คดิ : การปรบั ปรุงดินให้เหมาะสมกับการเพาะปลูก และขดุ นาข้ันบนั ได
เพอ่ื เพมิ่ ผลผลติ ขา้ วลดการทำ� ไร่เล่ือนลอย และการบุกรุกป่า
หลักปฏบิ ตั ิ : ตรวจวเิ คราะหด์ นิ ทง้ั กอ่ นและหลงั การปลกู พชื เพอื่ วเิ คราะหธ์ าตอุ าหาร
และปรบั ปรงุ ดนิ ใหเ้ หมาะสมกบั ชนดิ ของพชื ทชี่ าวบา้ นตอ้ งการปลกู ขา้ ว
พชื หลงั นา พืชก่อนนา

• มติ เิ กษตร (หนังสอื ท่ี มท ๐๒๑๑.๙/ว ๓๔๐๘ วนั ท่ี ๒๒ ส.ค. ๕๖ หน้า ๕)
หลกั คดิ : การทำ� เกษตรแบบผสมผสาน ปลกู พชื ทส่ี อดคลอ้ งกบั ทอ้ งถนิ่ และฤดกู าล
เพื่อเป็นแหล่งอาหาร ลดรายจ่ายจากการซ้ืออาหารจากภายนอก
ลดตน้ ทุนการผลิต ลดความเสย่ี ง ผสมผสานเทคโนโลยกี บั ภมู ปิ ญั ญา
ทอ้ งถนิ่ การเลย้ี งสตั วต์ อ้ งมแี หลง่ อาหารสตั วใ์ นพน้ื ทเี่ ลย้ี งเพอ่ื เปน็ อาหาร
และเปน็ ท่ีตอ้ งการของตลาด
หลักปฏิบัติ : มโี มเดลฟารม์ ตามแนวพระราชดำ� ริ เกษตรผสมผสาน และฟารม์ ตวั อยา่ ง
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� รขิ องสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ
โดยนำ� ชาวบ้านไปเรยี นร้แู ละฝกึ ปฏบิ ัติ เมอื่ กลับมาจึงพจิ ารณาเลอื ก
โมเดล ท่ีเหมาะสมกับพื้นที่พร้อมกับจัดท�ำแผนการผลิตบนกระดาษ
รู้ต้นทุน ปจั จยั การผลติ รายไดท้ ่ีชาวบา้ นจะได้รบั รายสปั ดาห์ รายเดือน
รายปี

• มิตปิ า่ (หนงั สือ ท่ี มท ๐๒๑๑.๙/ว ๓๔๐๘ วนั ท่ี ๒๒ ส.ค. ๕๖ หน้า ๕)
หลกั คิด : การปลูกป่าใหส้ ามารถกกั เกบ็ น�้ำ ป้องกันการพงั ทลายของหน้าดนิ
โดยเฉพาะป่าเศรษฐกิจจะสร้างรายได้ให้แก่คนในพ้ืนท่ีระยะยาว
คนจึงมาช่วยกันดูแลป่า เพราะเปน็ แหลง่ รายได้ ไมบ่ กุ รกุ ท�ำลายปา่
พร้อมท่ีจะช่วยป้องกันไฟป่าและดูแลรักษาผืนป่า เป็นการเก้ือกูล
ซึง่ กันและกนั อยา่ งแท้จริง

22

แนวทางการดำ� เนินงานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพน้ื ท่ีประยุกตต์ ามพระราชด�ำริ

• มิติทางสังคม (หนังสือ ที่ มท ๐๒๑๑.๙/ว ๓๔๐๘ วนั ที่ ๒๒ ส.ค. ๕๖ หน้า ๕)
หลกั คิด : ชาวบา้ นพง่ึ พาตนเอง และมกี ารบรหิ ารจดั การทโี่ ปรง่ ใส ทว่ั ถงึ เปน็ ธรรม
ตรวจสอบได้
หลกั ปฏิบัติ : การตั้งกลุ่มและกองทุนให้ชาวบ้านบริหารจัดการเอง ประกอบด้วย
คณะกรรมการกองทนุ บทบาทหนา้ ท่ีคณะกรรมการ ระเบยี บกองทุน
การจัดท�ำบัญชีรายรับ-รายจ่าย การประชุมกองทุนเพ่ือรายงานผล
การดำ� เนินงาน มกี ิจกรรมต่อเนือ่ ง การเชอ่ื มโยงระหว่างกองทนุ หน่งึ
กบั กองทนุ อน่ื ๆ สมาชกิ และผรู้ บั ประโยชนจ์ ากกองทนุ เทยี บกบั ครวั เรอื น

ทัง้ หมด

ประโยชน์ที่ชาวบ้านไดร้ บั จากการพัฒนา “ชาวบ้านได้อะไร”

23

แนวทางการดำ� เนินงานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพนื้ ท่ีประยุกตต์ ามพระราชด�ำริ

สรปุ ประโยชน์ท่ีชาวบ้านได้รบั จากการพฒั นาระบบนา้

24

แนวทางการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพนื้ ท่ีประยุกตต์ ามพระราชด�ำริ

๑๕

ปลกู พชื ผัก บนกระดาษ กอ่ นปลกู จรงิ

After

25

แนวทางการดำ� เนนิ งานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพ้ืนท่ีประยุกตต์ ามพระราชดำ� ริ

สรุป ประโยชนท์ ่ชี าวบา้ นไดร้ ับจากการพฒั นาระบบน้�ำ

การตรวจตดิ ตามแผนพัฒนาชนบทฯ มีรปู แบบดงั นี้
๑) แผนพฒั นาชนบทฯ เพือ่ แกไ้ ขปัญหาในระยะเรง่ ด่วน (quick win) สรา้ งความเชือ่ มั่น
ศรัทธาให้กับชาวบา้ น (หนงั สือ ท่ี มท ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐ วนั ที่ ๓๑ ส.ค. ๕๕ หนา้ ๑๓) ตัวอยา่ ง
กรณกี ารปลกู ผกั รว่ มกนั ของชาวบ้าน บา้ นโปง่ ลึกบางกลอย จังหวดั เพชรบุรี จากการส�ำรว๑จ๖
ขจกศการงึา้อัทรไรมดตธทูลรม้า�ำวใเีกสหศจาา้กตรรรับิดษลไชตลฐดาา่แกวรมบมาิจแยา้ลแผนจงล๑น่า(ะพ)หยกสแนัฒโาผดังังรนสนคยแาอืพมกชบัฒาทนง่ ชรนี่ปบมถาาทนัทวา่ชฯซยบน๐่งึทมบ้า๒กีรอนท๑ันปู ดฯม๑แแคี.รลเบ๓วพาะบ/าือ่ยวกดมแจ๔นัังรก่าน๑ู้ก้ไยขี้๐ทาทปร๐�ำญั่ีตทใวหห้อ�ำนั แา้ชงทใปกานี่ ว๓าลรบระ๑งซยา้ สนะื้อ.เกคสผร.า่งาักด๕รม่วย๕าอนกราหแถหน(ปปqา้าuลลร๑iกงกูc๓kนิผ)กั กตปwกัวาีลiนิอnระยเใ)อห่า๗งงส้นรก้ำ�แา้ไรงสมณคนต่ กวีก้อกาาามงวรรซปเา่ใชสบอ้ืลอื่ ่ปกูผามผทักุ๋ยั่นกั
กรว่ ินมก(ผนั ขกั อบงงุ้ ชากววบา้ งนตบุ้ง้ามนโะปเขุงลือึกบพารงิกลแอลยะจถังัว่ห)วดั ใเนพชชว่ รงบรุ๓ี จเาดกอืกนารสคาดิ รมวจลู ขค้อา่ มผูลกั เศทรช่ี ษาฐวกบิจา้ แนลนะสำ� ไังปคมรบั ชปาวรบะา้ทนามนี
๗รา๐ยจค่ารยอทบ่ีตอ้คงรกวั ารปซรือ้ ะผมักาอณาห๔ารหกมินน่ื ปบีลาะท๗ แสนกว่าบาท จึงไดม้ กี ารลดรายจา่ ยโดยการถ่ายทอดความกราู้ รทาแปลง
ค รปใกกงรเพนบบั่วาินวร่ือรปมปรเาะอยใะรมรทโหงกะะยยร�ำช้แมทชบัะไ๒ใาปามานนวยผณ)ลนต่บทาส์ดิง ้อา้ว๗กุงูชขงกนส๐อซกอแารซดุงื้อิจรบู้วผคหึ่งผใิธกนหร(นวักีกงหรอ้นพิธ่วกบา๒รบนยา้ีรกินัฒ)ปมคซังงาแกรารส่อนรผา(นะวัมเอืผจานรพรมกัใปช้าพกาสทา่อืบรงนชัฒาป่ณใ่ีะุง้เรกบมหหุ๋ยนมบาขกททาช้ามรากวอชณราฯาาาองน๐งุวงรเหงร๔ปบตทบ๒คกัปนุ้งทฯา็น์้า๑ษหรสว่ นมขปาม๑ะยากะร้อน่ืรรจงแร.เู้วะ๓ไยขบปา�ลำธิจอืนาก/ลปกะากีวท่แกครเปีพาวมาารม๔ีมรร้นรอชลกีกิซบีก๑งงใกจิ สอ่รชิจแ๐ากกิห่วมล้เกรรา๐นทาะรรรรทอถคมแรกจว้อั่วงบแโมดันัางคนล่งกรแถทปก์ะโ)บาน่ิลลร่ีนัรรใ๓�ำะูปยปนเซฯอรรแ๑ง่ึีชทลกุงงูปกบว่ฯไี่ครเันสดงบหแักรแแใ้.รบมอคษน๓ลลาาบง.ระยาะสะเะ ชก๕กรดยกว่าาันาแือ๕ะวนรับยนลยบทททกพหะา้า่แีางคอ้าวนก้นืนบดิใรงราทหซท่า้มถท่วร ่ึงบช้ลูี่มน่ิ๑วบ่ีแาคาปทธิว๔บทรา่ฯีการบิผห่)งาละห้ากับารหนฯนทจรทา้ยส่ีชา้จใแทบงาัดานัดลเมคี่วาทหกะบาวทกุมเราาช้ารกาถมรนายีเจิหปรเปนวบอกับลนบน็ารงงผกูไ้าา้รา่ไปิดผมทนดยชัก่ี้ อบ

ข้อยกเวน้ ใช้เทคโนโลยีทเี่ หมาะกบั พื้นท่ี ประหยดั เรียบง่ายประโยชน์สูงสดุ (หนังสอื ที่ มท ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐

วนั ท่ี ๓๑อำ�สเ.คภ.อ๕๕บอ่หเนก้าล๑อื ๔บ) า้ นบอ่ หยวกใต ้ อ.บ่อเกลือ จ.นา่ น สรา้ งฝายนำ�้ เพ่อื การเกษตร ๒ ตวั
ด�ำเนินการเสร็จแล้ว ๑ ตวั และอยชู่ ่วงดำ� เนนิ การ ๙๐% จ�ำนวน ๑ ตวั วธิ ีการคือไม่มกี ารจ้างเหมา
ชป๑าา่ ตวชวั บมุ แ้าชลนนอะเาโอปดเยภ็นยู่ชอใแว่ ชงบรด้แ่องาผใเเกนนนลกนิทือาก่ี รบมารส้าา๙นรต๐บ้าร%ง่อาหสจหยว่ าวนลนกังวใ๑จนต:า้๑๔ก.อบ,ตม๐อ่ วั ีรเ๐กะว๐ลธิบือีกบาจรน.นค้�ำ่าือชนไมาส่มวรีกบา้ า้งารฝนจา้าคยงืนนเหา้พมเพ้ืนาอ่ืทกชา่ีทารว�ำเบกกา้ษินนตเเรดป๒ิม็นตแทวัร่ีองดยในาู่บเกนนานิรภกสูเารขรา้ าเงสใหรจ็แ้เปล้ว็น

สงิ่ ทีช่ าวบา้ นไดร้ ับหลังสรา้ งฝาย

26 บ้านบอ่ หยวกใต้

หลงั จากมรี ะบบนา้ ชาวบ้านคืนพ้นื ทท่ี ากนิ เดิมทอี่ ยูบ่ นภเู ขาใหเ้ ปน็ ปาชุมโชดนยใชแ้ ผนท่ี มาตราส่วน๑:๔,๐๐๐

แนวทางการดำ� เนินงานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นท่ีประยุกต์ตามพระราชดำ� ริ

บา้ นบอ่ หยวกใต้

หลงั จากมีระบบน้าชาวบา้ นคืนพน้ื ทที่ ากินเดมิ ทอ่ี ยู่บนภูเขาใหเ้ ป็นปาชมุ โชดนยใชแ้ ผนท่ี มาตราสว่ น๑:๔,๐๐๐

๑๗

สทเข่ิงา้าแงพรวื้นะดบทลา้อีก่ ยามนรเ้า(กลหษ้นป กสนติ่งารใงั แรบัหรสปวป้เดือรก๓รบัลใ๓งุ็บชท)อ้ปร)น ง้ะมี่รรบมบ้าุงะเทบรป(บพหทะครปุนบม่ิาละ๐ังงรปุขอมสระ๒รน้ึงะอืาะโส๑บณทยโ่งยา๑่ีนชยทชมำ้�รน.นน่ีอท๙ว์ท้ำ�์ทา่มเล/ขชี่ชี่ง๐ว้นา้าาเ๑๒พกใววห๓๑บ๓้นืบ็บ้เ๔๑า้ทกน๘้าน.ก่ีบ็๐น้า๙,จาน๐ห๘จ/ะร้�ำวะ้ว๐ไเเกดพยไว๐๓ษร้ดิ่มหนั ับ๔ตร้ขมทบจรับ๐้ึนนื่า่ีา๘จก๒ใทาทแช๒กวบอผ่ี้งเันบแนา่้าพทงปสผพนเิม่ ี่ร.กนัฒสคพะ๒็บพน้อม.๒นื้นาาฒั-๕ำ�้ทชณเหดสนน๖่ีเร้วก.่นบาควยษชพท.มหหตนฯฒัน๕มร๑บน่ื้า๖นจด๓ทาา้า๓๘บหฯนก้า,-นเแ๐๔นศด้าล๐รสา้)๑ะษ๐อ้น๓ต,ปฐ--๕เเกัว๔ศรดบ๖ิจอับ)่นราย๙ษทพปตสา่ัฒฐัวรงังไกอเุงคนเรพรยชจิมา่ม่ิะ่า เ่นงพปบแแเ้นืน็ชลลบกทน่ะะคาี่ส๑ลรังอ,ปค๗งรม๙สบั ่ง๐ปแนลรา้ไุงะร
ซอ่ มแซม ระบบเนก้าษตไรดจ้เาอกง ๑ป,๕ร๖ิม๙าณไรน่ เา้ ปใน็นอ๑่า,ง๗เ๙ก๐็บนไร้า่ เซพอ่ ม่ิ มขแ้นึซมจราะกบบนำ้�๖ได๙เ้ อ๖ง,๐ป๐รมิ ๐าณลนบ�้ำใ.นมอ.่าเงปเก็นบ็ น๗้�ำเ๓พ๗ิ่มข,้นึ๐๐๐ ลบ.ม
ครอบคลุมพืน้ ทจี่ ๔ากห๖ม๙ู่บ๖้า,๐น๐โ๐ดยลชบา.มว.บเป้าน็ ส๗า๓ม๗า,ร๐ถ๐ป๐ลลูกบข.า้ม.วไคดรอ้ผบลคผลลุมิตพเ้นืพท่ิมี่ ข๔้นึ หเมมบู่ ลา้ ็ดนขโา้ดวยไชมาล่วบี ้านในสเาดมือารนถทฝี่ นท้ิงช่วง
เพราะมีน้าตลอดปปลูกี ข้ามวกีไดา้ผรลปผลลูกิตพเพืช่ิมหขล้ึนงั เนมาล็ดเขช้า่นวไม่ลแีบตในงเกดวือานฟที่ฝักนททอ้ิงงช่วงถเั่วพเหราละอื มงีน�้ำตเพลอื่ ดผปลีมติ ีกเมารลปด็ ลพูกันพืชธุใ์ ห้บรษิ ัท
ปัจจุบันชาวบา้ นมีรายไดเ้ ฉลยี่ ปลี ะ ๒๑,๙๑๔,๐๐๐ บาท ทาใหส้ ามารถลดรายจ่ายได้ และเพ่มิ รายได้

27

พนื้ ทก่ี าแนรวเทกางษกตารรด�ำเนินใงชา้งนตบาปมแรผะนพมฒั านณาชนรบวทเมชิงพ๑้ืนท๓่ีปร๘ะยุ,ก๐ตต์ ๐าม๐พระบราาชดท�ำริ เพมิ่ พื้นท่เี กษตรจาก ๑,๕๖๙ ไร่ เป็น ๑,๗๙๐ ไร่
มแซม ระแนบวทบางนก้าารดไ�ำดเนเ้ ินองางนตาปมแรผิมนาพณฒั นนาช้านใบนทเอชิงา่ พงื้นเทก่ีปร็บะยนุกต้า์ตเาพมพิ่มรขะรนึ้ าชจดำ�ารกิ ๖๙๖,๐๐๐ ลบ.ม. เป็น ๗๓๗ ,๐๐๐ ลบ.ม.
อบคลุมพน้ื ที่ ๔ หมบู่ ้าน โดยชาวบา้ นสามารถปลูกขา้ วได้ผลผลิตเพิ่มขน้ึ เมล็ดข้าวไมล่ ีบ ในเดอื น ทฝ่ี นทง้ิ ชว่ ง
รจาบุ ะันมชีนาา้ วตบลา้อนหปดมลีลปีรงัะี นา๒ยา ม๑ไเดชีก,๙น่เ้าฉ๑รแล๔ปตี่ย,ล๐งปกูก๐ีลวพ๐าะืช ฟบห๒ักาล๑ททงั ,อ๙นทงา๑ำ� ถใ๔หเั่วชส้,เ๐หน่ าลม๐ือา๐รงถแเบพลตาด่ืองทรผกาลวทยิตาจาเ่ามใฟยหลักได็้สดทพา้ อแมันลงาธะร์ใุ หเถพบ้ถลิ่มรั่วดรษิเราหัทยาลไยปดอื จัจ้ ง่าจยุบไเนั ดพช้อื่ าแผวลบละา้ติ เนพเมมม่ิ รีลราด็ายพยไดไนั ดเ้ ฉธ้ ลุ์ให่ยี ้บรษิ ัท

เสรมิ ตอมอ่ เพ่ิมปริมา นา้ ในอา่ ง สภาพตอม่อทสี่ ร้างเสรจ็

ต้งั แบบเทปูนคลองส่งนา้ ระบบคลองส่งนา้ ถงึ พ้นื ท่ีเกษตร

- หน่วยงานราชการปรับแผนพัฒนาชนบทฯ ตามท่ีชาวบ้านเสนอแนะด้วยเหตุผลทาง
ภมู สิ งั คม และประโยชนท์ ี่จะไดร้ บั (หนังสือ ที่ มท ๐๒๑๑.๓/ว ๔๑๐๐ วนั ที่ ๓๑ ส.ค. ๕๕ หนา้ ๑๔)
ตัวอย่าง โครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือยฯ ซึ่งโครงการชลประทานกาฬสินธุ์ได้ปรับแบบ
การขุดลอกเดมิ ลึก ๘ เมตร แบ่งเปน็ การขดุ ๒ ระดับ คอื ขุดลกึ ๒ เมตร ท�ำชานพัก ๔ เมตร
และขุดลึกลงอีก ๖ เมตร ซ่ึงแบบแผนท่ีหน่วยงานเสนอสามารถปรับแก้ตามข้อเสนอแนะ
ของชาวบา้ นได้

28

แนวทางการด�ำเนนิ งานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นท่ีประยุกต์ตามพระราชดำ� ริ

สรุปข้อ ๒.๖ ข้นั ตอนการจัดท�ำแผนพฒั นาชนบท ฯ
• หน่วยงานบูรณาการกิจกรรม / โครงการ รา่ งแผนพัฒนาชนบทฯ เพ่อื แก้ไขปัญหา
ของหมบู่ ้าน ประโยชนท์ ช่ี าวบ้านจะไดร้ บั เศรษฐกิจ สังคม ส่งิ แวดล้อม
• ชาวบ้านร่วมคิด รว่ มวางแผน รว่ มเห็นประโยชน์ ลงมอื ท�ำและเปน็ เจา้ ของ
• หลักการทรงงานประหยดั เรยี บง่าย ประโยชน์สูงสุด ชาวบา้ นท�ำไดเ้ อง และดูแล
รกั ษา
• หน่วยงานราชการปรบั แผนตามท่ชี าวบา้ นเสนอแนะ ดว้ ยเหตผุ ลทางภมู สิ ังคม และ
ประโยชน์ทจี่ ะไดร้ ับ

29

ตัวอยา่ ง
การเขียนแผนงานโครงการ

ของจงั หวัดกาฬสินธ์ุ
และอทุ ยั ธานี

โครงการพฒั นากิจกรรมตอ่ เน่อื ง
จากการขุดลอกแกม้ ลิงหนองเลิงเปื อย

อนั เน่อื งมาจากพระราชด�ำริ

แนวทางการดำ� เนินงานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนท่ีประยุกตต์ ามพระราชดำ� ริ

๑. หลกั การ/เหตผุ ล

ตามท่ี ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำ� ริ
มูลนิธิอทุ กพฒั นใ์ นพระบรมราชปู ถมั ภ์ กองทัพบก กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส�ำนกั งานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ
ภมู สิ ารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) ร่วมกันด�ำเนินงานโครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือย
อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ โดยมีสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระสืบสาน
แนวพระราชดำ� ริ เปน็ ผปู้ ระสานความรว่ มมอื ใหเ้ กดิ การบรู ณาการทำ� งานรว่ มกนั มวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั
ทตี่ ้องการสนองพระราชด�ำริทีท่ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ รบั การพฒั นาไว้เป็นโครงการอนั เนอื่ ง
มาจากพระราชด�ำริ เมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๔ โดยประยุกต์แนวพระราชด�ำริแก้มลิง
เพื่อบรรเทาปัญหาน้�ำท่วม น�้ำแล้ง ซึ่งเป็นปัญหาหลักอันเป็นความเดือดร้อนของเกษตรกร
ให้สามารถ ทำ� การเกษตรได้ตลอดท้งั ปี
โครงการพฒั นาแกม้ ลงิ หนองเปอื ยฯ เรม่ิ ตน้ อยา่ งเปน็ รปู ธรรมเมอื่ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ
มีค�ำส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการอ�ำนวยการและคณะท�ำงานด�ำเนินงานโครงการพัฒนาแก้มลิง
หนองเลิงเปือยฯ เมื่อวันท่ี ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ซึ่งต่อมาคณะกรรมการสถาบันส่งเสริมและ
พัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระสืบสาน แนวพระราชด�ำริ ได้มีมติการประชุมเมื่อวันท่ี ๒๓
เมษายน ๒๕๕๗ ขอใหก้ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
และกระทรวงมหาดไทย เพ่ิมพน้ื ที่การดำ� เนินงาน จงั หวัดกาฬสินธ์ุ และอุทยั ธานใี หอ้ ยใู่ นแผนพฒั นา
ชนบทเชงิ พน้ื ทป่ี ระยกุ ตต์ ามพระราชดำ� ริ และพจิ ารณาจัดสรรงบประมาณตอ่ ไป โดยส�ำนักงาน
เกษตรและสหกรณ์จงั หวัด ในฐานะฝา่ ยเลขานุการคณะกรรมการอำ� นวยการระดับจังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ
เปน็ หนว่ ยงานประสานเชอื่ มโยงกจิ กรรมตอ่ เนอ่ื งจากการขดุ ลอกหนองเลงิ เปอื ย

๒. วตั ถุประสงค์

๒.๑ เพ่อื ด�ำเนินกจิ กรรมดา้ นการพฒั นาเกษตร ประมง ปศสุ ตั ว์ และการพัฒนาอาชพี
ตอ่ เน่อื งภายหลงั จากขดุ ลอกหนองเลงิ เปือย

๒.๒ เพอ่ื แก้ไขปญั หาแบบองค์รวม อย่างครบวงจร ตงั้ แต่ระดับ อยู่รอด พอเพยี ง ยั่งยืน
โดยการประยกุ ตอ์ งค์ความรู้ ตามแนวพระราชด�ำริไปปรบั ใชอ้ ย่างสอดคลอ้ งเหมาะ
สมกับภูมสิ ังคม

๒.๓ เพอื่ ส่งเสรมิ เกษตรกรให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ แนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
โดยการเรยี นรกู้ จิ กรรมทางการเกษตรทเ่ี หมาะสมกบั สภาพพืน้ ท่ี อาทิ พื้นท่ีแหง้ แลง้
พื้นท่ีน�้ำท่วม ฯลฯ และเรียนรู้การเกษตรผสมผสานที่ปรับเปล่ียนจากเกษตร
เชิงเดีย่ ว เป็นเกษตรปราณตี ท่ใี ช้พืน้ ทีน่ ้อยแตใ่ หผ้ ลตอบแทนสงู นำ� ไปสกู่ ารแก้ไข
ปัญหาความยากจนและปัญหาคณุ ภาพชีวิต

32

แนวทางการด�ำเนินงานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพืน้ ท่ีประยุกตต์ ามพระราชด�ำริ

๓. แนวทางการด�ำเนินงาน

๓.๑ หลักการด�ำเนนิ งาน
๓.๑.๑ มองการพัฒนาแบบองค์รวม โดยยึดหลักการองค์ความรู้ตามแนว
พระราชดำ� ริ ดา้ นน�ำ้ โดยการส่งเสรมิ ระบบการกระจายนำ�้ สูแ่ ปลงนา
ด้านดิน โดยการตรวจคุณภาพดินและปรับปรุงให้เหมาะสมกับการ
เพาะปลกู ด้านเกษตร โดยการพฒั นาอาชีพ ดา้ นพชื ปศุสตั ว์ และประมง
ดา้ นสง่ิ แวดล้อม โดยการปลกู ตน้ ไม้รอบ หนองเลิงเปอื ย เป็นตน้
๓.๑.๒ บูรณาการท�ำงานของทุกภาคส่วน ท้ังระดับกระทรวงส่วนกลาง
งบยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาจังหวดั งบประมาณปกตขิ องหนว่ ยงานภารกจิ
ในจังหวัด (Function) งบประมาณ ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ
(Area) และเนน้ การพัฒนาท่ีใหช้ าวบ้านเข้ามามสี ่วนร่วมคดิ ร่วมทำ� และ
ร่วมเป็นเจา้ ของ
๓.๑.๓ การวดั ผลการพัฒนาที่ “ชาวบ้านได้อะไร” กล่าวคือ เมอ่ื ลงทุนเงนิ งบ
ประมาณของราชการไปแล้ว จะค้มุ ทนุ ทชี่ าวบ้านหรือไม่ และ จะไดค้ นื
ในปที ีเ่ ทา่ ไหร่


๓.๒ กระบวนการจัดท�ำแผนพัฒนาชนบท

๓.๒.๑ จงั หวดั กาฬสินธุ์มคี �ำสั่งที่ ๙๔๔/๒๕๕๖ วนั ที่ ๒๙ มนี าคม ๒๕๕๖ แตง่ ตงั้
คณะกรรมการอ�ำนวยการ มีผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์/ผอ.รมน.
จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นประธานกรรมการคณะกรรมการ/คณะท�ำงาน
ท่ีแต่งตั้งมาจากหน่วยงานต่างๆ ครบ ๖ มิติ และภูมิสังคมและ
ทีมปฏบิ ัตกิ ารประกอบด้วย คณะท�ำงานระดบั อ�ำเภอมีท้องที่ ท้องถิ่น
และชาวบา้ นเขา้ ร่วม

๓.๒.๒ การประชุมคณะกรรมการระดบั จงั หวดั ไดม้ อบหมายภารกจิ การปฏบิ ัติ
ตามมตทิ ป่ี ระชมุ เพือ่ สรา้ งความเขา้ ใจในแนวทางการทำ� งาน จดั ทำ� แผน
ปฏิบัติงาน และรายงานผล ให้หน่วยงานต้นสังกัดและส่วนราชการ
ที่เกี่ยวข้อง การติดตามสอบถาม การด�ำเนินงานจากหัวหน้าส่วน
ราชการระดบั จังหวัด ๒ คร้ัง

๓.๒.๓ การประชมุ กรรมการระดบั อำ� เภอ จดั ทำ� รายละเอยี ดกจิ กรรมทที่ ำ� รว่ มกนั
ก�ำหนดผู้รับผิดชอบกระบวนการท�ำงานของทีมปฏิบัติงานระดับอ�ำเภอ
องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และชาวบา้ นก�ำหนดเวลาท่แี ล้วเสรจ็ ผลลัพธ์

33

แนวทางการด�ำเนนิ งานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพ้ืนท่ีประยุกตต์ ามพระราชดำ� ริ

ของงาน ในกระบวนการเขา้ ใจ และเข้าถงึ ทสี่ อดคลอ้ งกบั วิถีชีวิตและ
ปฏิทินกิจกรรมของชาวบา้ น ๓ ครงั้
๓.๒.๔ ระหวา่ งเดอื นมิถุนายน – กันยายน ๒๕๕๖ ทมี ปฏิบตั กิ ารระดับจงั หวัด
และอ�ำเภอ จดั เวทปี ระชาคม เพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจของชาวบา้ น จ�ำนวน
๑๘ เวที และ ซอ่ ม ๖ ครงั้ เนอ่ื งจากชาวบ้านเขา้ รว่ มประชาคมไมถ่ ึง
รอ้ ยละ ๖๕ ของครวั เรือนในหมบู่ า้ น รวมทัง้ การจัดเวทีประชาคม
ทัง้ หมด ๒๔ คร้ัง
๓.๒.๕ ช่วงเดอื นกนั ยายน - พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เก็บขอ้ มลู เศรษฐกจิ - สงั คม
รายครัวเรือนการเก็บข้อมูลกายภาพ เพ่ือให้รู้จริงเกี่ยวกับสภาพน�้ำ
การใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ สภาพสังคม ความเปน็ อยู่ การวเิ คราะห์ข้อมลู
ให้ชาวบ้านไดต้ รวจทานความถกู ต้องของขอ้ มูล โดยให้ชาวบ้านเขา้ ถึง
ขอ้ มูลภาครัฐและมีส่วนรว่ มคดิ ท�ำ ตัดสินใจ และรว่ มเป็นเจ้าของ
๓.๒.๖ การจดั เวทีคนื ขอ้ มูลใหก้ บั ชาวบา้ น เม่อื วันท่ี ๑๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖
เพื่อเป็นการช้ีแจงท�ำความเข้าใจให้ชาวบ้านเข้าใจถึงกิจกรรมการพัฒนา
ท่กี ำ� ลังจะเกิดข้นึ และผลท่ีจะเกดิ ขึ้นกับชาวบา้ นโดยเน้นตอบโจทย์ทวี่ า่
“ชาวบ้านไดอ้ ะไร” พรอ้ มทั้ง ตอบขอ้ สงสัยให้เข้าใจในทิศทางเดียวกัน
โดยประธานกรรมการสถาบันฯ และผู้ว่าราชการจงั หวดั กาฬสินธ์ุ สรุป
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลสภาพปัญหาจาก การเก็บขอ้ มูลเศรษฐกิจ-สังคม
การเดนิ กายภาพพรอ้ มทั้งสรปุ สิง่ ที่ชาวบา้ นจะได้ ดังน้ี
สภาพปัญหา
• ปัญหานำ�้ ท่วมในฤดูน้ำ� หลากและน�้ำแลง้ ในฤดแู ล้ง ท�ำให้ชาวบา้ น

ท�ำกิจกรรม ทางการเกษตรไดไ้ มเ่ ตม็ ประสทิ ธภิ าพ
• ปัญหาตน้ ทุนการผลิตและปัญหาด้านสุขภาพ เนอ่ื งจากการใช้ปุย๋

และสารเคมี เฉลยี่ ประมาณ ๔,๑๐๐ บาทตอ่ ไร่ ผลผลติ ข้าวตกต่�ำ
มแี นวโนม้ ลดลงทกุ ปี
• ปัญหาด้านอาชีพเน่ืองจากการท�ำนาเพียงอย่างเดียว เมื่อหมด
ฤดูกาลท�ำนา ท�ำให้เกิดการว่างงาน น�ำไปสู่การย้ายถิ่นฐาน
การอพยพเข้าท�ำงานในเมือง เช่น บ้านนาเรียง ต.สามัคคี
ตอ้ งท�ำงานในโรงงานอตุ สาหกรรมภาคตะวันออก
ผลทจี่ ะเกิดขึ้น
• หลังจากการขุดลอกแก้มลิงหนองเลิงเปือยฯ จะมีปริมาณต้นทุนน้�ำ
ส�ำหรับท�ำการเกษตรเพม่ิ ขึ้นจาก ๓.๕ ล้าน ลบ.ม. เปน็ ๖.๘ ล้าน

34

แนวทางการด�ำเนินงานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพ้ืนท่ีประยุกต์ตามพระราชดำ� ริ

ลบ.ม. ตอ่ ปี
• พนื้ ทีร่ ับน�้ำจากสถานสี ูบน้ำ� ด้วยพลงั ไฟฟา้ ๓ สถานี ๕,๙๓๘ ไร่

ในฤดูฝนทง้ิ ชว่ ง มนี �้ำใชเ้ ตม็ ท่ี ในฤดแู ล้งมีน้ำ� ใช้ โดยการปลกู พืช
ใช้น้�ำนอ้ ย
• พืน้ ท่ีถมดนิ ๑,๗๒๕ ไร่ ได้รับการบรรเทาปญั หานำ้� ท่วมซ�ำ้ ซาก และ
ได้รบั การปรบั สภาพดินดว้ ยปุ๋ยรองพน้ื และปรับโครงสรา้ งดินด้วย
ปยุ๋ สัง่ ตัดรายแปลง
• หนว่ ยงานเกษตร พฒั นารปู แบบกจิ กรรมการเกษตร ประมง ปศสุ ตั ว์
บนพน้ื ฐานความต้องการและความพรอ้ มของชาวบ้าน
๓.๒.๗ ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ การคัดเลือกชาวบ้านเพื่อเข้าร่วม
การพฒั นาคนเร่ิมจากชาวบ้านทสี่ มคั รใจและเป็นคนท่ียอมรบั ของชุมชน
ผา่ นกระบวนการประชาคมคดั กรองโดยชาวบา้ นเอง ตามคณุ สมบตั ิ มที ด่ี นิ
ทำ� กนิ มจี ิตอาสา มีใจใฝ่เรียนรู้ มคี วามซื่อสตั ย์ มคี วามอดทนและขยัน
หมน่ั เพยี ร ซง่ึ นอกจากชาวบา้ นแลว้ ในเวทปี ระชาคม จะมผี นู้ ำ� จติ วญิ ญาณ
ผู้น�ำศาสนา ครู หมอ อนามัย ส.อบต. ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้น�ำกลุม่ อาชพี
ท่อี ยู่ในชุมชน เขา้ ร่วมด้วย และมีอ�ำเภอ กำ� นัน ผใู้ หญบ่ า้ น เข้ารว่ ม
สังเกตุการณ์ โดยเวทีประชาคม ยึดหลักการท่ีส�ำคัญคือชาวบ้านที่
เข้าร่วมต้องไม่ต�่ำกว่าร้อยละ ๗๐ ผ่านเวทีประชาคม คัดเลือกคน
๒๓ เวที มีรายละเอยี ดกระบวนการดำ� เนนิ งานตามรปู ด้านลา่ ง

35

แนวทางการดำ� เนินงานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นท่ีประยุกต์ตามพระราชด�ำริ

๓.๒.๘ ช่วงเดือนกุมภาพนั ธ์ – เมษายน ๒๕๕๗ จดั กจิ กรรมการพฒั นาคน
ปรับทัศนคติ ในการด�ำเนินงานตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้
การบริหารจัดการน�้ำเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยน�ำไปสร้าง
แรงบันดาลใจที่ตลาดศุกร์สุขภาพ มีผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มาจ�ำหน่าย
เสริมแรงบันดาลใจท่ีโครงการปิดทองหลังพระฯ จังหวัดอุดรธานี
ฟาร์มตวั อย่างในสมเดจ็ พระนางเจ้าฯ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาภพู านฯ
โรงงานหลวง พรอ้ มทงั้ อบรม ปรับทัศนคตเิ ข้มข้น ๔ วนั ๓ คืน
ที่ศูนย์พัฒนาคุณธรรม วัดป่านาค�ำ เพ่ือเปล่ียนวิธีคิดจากการท�ำ
เกษตรเชิงเดี่ยว เป็นเกษตรปราณีต และเรียนรู้เรื่องเกษตรผสมผสาน
การพึ่งตนเองจนได้กลุ่มเป้าหมาย ๕๒๑ คน

๓.๒.๙ วนั ท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๕๗ จดั ท�ำแผนสง่ เสริมอาชพี ต่อเน่ืองจาก
การพัฒนาระบบน้�ำ (ขุดลอกหนองเลืงเปือย) ผ่านการมีส่วนร่วมคิด
ร่วมวางแผน ร่วมเห็นประโยชน์ และร่วมลงมือท�ำของชาวบ้าน
โดยราชการรับฟังให้มากท่ีสุด และปรับแผนการส่งเสริมอาชีพให้
สอดคล้องกบั ความต้องการและความพร้อมของชาวบา้ น

๓.๒.๑๐ การบริหารกจิ กรรมตา มแนวทางการพัฒนาแบบองคร์ วม ในลักษณะ
กองทุนที่ชาวบ้านสมคั รใจ และคดั เลอื กกนั เอง ออกกฎระเบยี บในการ
บรหิ ารจดั การกนั เอง โดยมที มี ราชการทมี่ ภี ารกจิ ปกติ ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ พเี่ ลยี้ ง
โดยประเด็นท่ีส�ำคัญได้สร้างระบบการติดตาม ตรวจสอบกันเอง
แบบมีส่วนร่วมตามหลกั ธรรมาภบิ าล เพ่อื ให้เกดิ ความโปรง่ ใส เปน็ ต้น

๓.๒.๑๑ เตรยี มความพรอ้ มก่อนกจิ กรรมการพัฒนา ตามหลักการพฒั นาแบบ
องคร์ วมต้นทางกลางทาง ปลายทาง
• ตน้ ทาง การเตรียมความพรอ้ มปจั จยั การผลิต เชน่ การตรวจโรค
และการฉีดวัคซีนหมูก่อนส่งมอบให้ชาวบ้าน, การเพาะพันธุ์ปลา
ทแี่ ขง็ แรง ทนตอ่ โรค ชาวบา้ นสามารถนำ� มาเลยี้ งและขยายพันธุ์
ต่อได้ เป็นตน้ รวมท้ังการจัดการระบบควบคุมโรค การขนส่งที่มี
ประสทิ ธิภาพ
• กลางนำ�้ การเตรยี มความพรอ้ มชาวบา้ นผรู้ บั ปจั จยั การผลติ เชน่
การเตรยี มคอก/โรงเรอื นหมู ที่ถกู ต้องตามหลกั สุขาภิบาลสัตว์ คอื
ตอ้ งสะอาดและไมม่ กี องไม้ กองหญา้ ทอ่ี าจเปน็ ทซ่ี อ่ นตวั ของแมงปอ่ ง
หรอื แมลงทเี่ ปน็ อนั ตรายตอ่ หม,ู การเตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณใ์ นการเลย้ี ง,

36

แนวทางการดำ� เนินงานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพื้นท่ีประยุกต์ตามพระราชดำ� ริ

การเตรียมบ่อและปรับสภาพน�้ำก่อนการเลี้ยงปลา เป็นต้น
ซึ่งกระบวนการเตรียมความพร้อมหน่วยงานราชการที่เก่ียวข้อง
จะลงพน้ื ทเี่ ป็นพ่เี ลีย้ งใหก้ บั ชาวบ้าน
• ปลายน�้ำ การส่งมอบปัจจัยการผลิตให้กลุ่มอย่างมีประสิทธิภาพ
เป็นท่ียอมรับของทุกภาคส่วน และการติดตามควบคุมคุณภาพ
รวมท้ังการถ่ายทอดความรู้ระหว่างด�ำเนินกจิ กรรม เช่น การอบรม
อาสาปศุสัตว์เพื่อให้ชาวบ้านเรียนรู้และสามารถพ่ึงพาตนเองและ
ช่วยเหลือคนในชมุ ชนได้ โดยไมต่ อ้ งรอความชว่ ยเหลือจากรฐั

๔. ผูร้ ับผิดชอบ

จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์

๕. งบประมาณ

บรู ณาการงบประมาณจากจงั หวดั งบประมาณปกตขิ องหนว่ ยงาน การสนบั สนนุ งบประมาณ
จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงมหาดไทย และการสนับสนุนงบประมาณจาก
สำ� นกั งาน กปร. และกรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถ่นิ

37

แนแนววททางางกการาดรดำ� เำ� นเนิ นิงงานานตตามามแผแผนนพพัฒัฒนนาชาชนนบบททเชเิชงิงพพน้ื ื้นทท่ีป่ีประรยะุยกุกตต์ ์ตามามพพระรระารชาชดดำ� ร�ำิริ

(๑) ดา้ นการพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐาน (ปรบั ปรงุ ดิน และ น้�ำ)

ท่ ี โค รงการ/กิจ กรรม ห น่วยงานรับผดิ ชอบ ง(บลปา้ นระบมาาทณ) แหล่งงบประมาณ หมายเหตุ
๑ ขยายผลแปลงต้นแบบ สถานพี ฒั นาท่ีดนิ ๕,๗๔๙,๕๕๐ ขอกระทรวงเกษตร
ในการฟน้ื ฟปู รบั ปรงุ ดนิ กาฬสินธุ ์
(อนุรักษด์ ินและน้�ำ) และสหกรณ์


๒ ส่งเสริมการผลติ และ สถานพี ัฒนาที่ดนิ งบปกติ
การใชส้ ารอินทรยี ์ กาฬสินธ์ ุ

๓ สง่ เสรมิ การปรบั ปรงุ สถานพี ัฒนาท่ดี นิ ๑,๐๒๐,๐๐๐ ขอกระทรวงเกษตร
ดนิ กรด ดว้ ยปนู โดโลไมท ์ กาฬสินธ์ ุ และสหกรณ ์

๔ ส่งเสริมการปลกู สถานีพัฒนาท่ีดนิ งบปกติ
ปุย๋ พืชสด กาฬสินธุ์

๕ การตอ่ ยอดกลุม่ เกษตร สถานพี ฒั นาทดี่ นิ งบปกติ
อินทรีย์ท่ีเข้มแข็ง กาฬสินธุ์
(ในการปรบั ปรงุ บำ� รงุ ดนิ )

๖ การท�ำปยุ๋ หมกั จาก สนง.เกษตรอำ� เภอรอ่ งคำ� งบปกติ
เศษวัชพืช ในหนอง
เลิงเปือย ๕๐๐ ตนั

๗ การพฒั นาระบบนำ�้ เกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั ๒,๘๑๒,๐๐๐ ขอกระทรวงเกษตร
ดว้ ยพลงั งานแสงอาทติ ย์ และสหกรณ์

๘ ต่อทอ่ ขนาด ๐.๓๐ โครงการชลประทาน ๒๒,๗๒๓,๐๐๐ ขอกระทรวงเกษตร
เมตร จากสถานสี ูบน้ำ� กาฬสนิ ธุ ์ และสหกรณ์
ดว้ ยไฟฟา้ ๓ สถานี
เขา้ พน้ื ที่ถมดนิ

๙ งานชักร่องระบายน้�ำ โครงการชลประทาน ๙๒๐,๐๐๐ ขอกระทรวงเกษตร
พร้อม ทอ่ ขนาด ๐.๖๐ กาฬสินธ์ุ และสหกรณ์
เมตร และอาคาร
ประกอบลงหนอง
เลงิ เปือย

38

แนวทางการด�ำเนนิ งานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพน้ื ท่ีประยุกต์ตามพระราชด�ำริ

ท ่ี โค รงการ/กิจ กรรม ห นว่ ยงานรับผิดชอบ ง(บลป้านระบมาาทณ) แหลง่ งบประมาณ หมายเหตุ

๑๐ งานหนิ เรียงป้องกัน โครงการชลประทาน ๕๐๐,๐๐๐ ขอกระทรวงเกษตร
การกดั เซาะตลิ่ง กาฬสนิ ธ์ุ และสหกรณ์
หนองเลงิ เปือย บรเิ วณ
จดุ เสย่ี ง เชน่ สะพาน

๑๑ โครงการซอ่ มแซม อบต.โพนงาม ๙,๖๕๕,๐๐๐ สนง.กปร. และ กรม
ปรับปรงุ สถานสี ูบน้�ำ ส่งเสริมการปกครอง
ด้วยพลงั ไฟฟา้ ทอ้ งถน่ิ
บ้านโพนงาม
หมู่ท่ี ๑, ๘, ๑๐

๑๒ โครงการกอ่ สร้างระบบ อบต.โพนงาม ๗,๓๕๘,๐๐๐ สนง.กปร. และ
ประปาผิวดนิ ขนาดใหญ่ กรมสง่ เสริมการปกครอง
บา้ นโพนงาม ทอ้ งถนิ่
หม่ทู ่ี ๑, ๘, ๑๐

๑๓ โครงการซ่อมแซม อบต.สามัคค ี ๕,๒๔๐,๔๐๐ สนง.กปร. และ
คลองส่งน้ำ� และสถานี กรมสง่ เสรมิ การปกครอง
สบู น�ำ้ ดว้ ยพลงั ไฟฟ้า ทอ้ งถนิ่
บา้ นนาเรยี ง ๑ หมทู่ ่ี ๑๐
ต�ำบลสามคั คี
อ�ำเภอรอ่ งค�ำ

๑๔ โครงการซอ่ มแซมคลอง อบต.สามคั คี ๕,๒๒๕,๔๐๐ สนง.กปร. และ
ส่งน�ำ้ และสถานสี ูบน�ำ้ กรมสง่ เสรมิ
ด้วยพลังไฟฟ้า การปกครองทอ้ งถ่ิน
บา้ นนาเรยี ง ๒ หม่ทู ่ี ๙
ต�ำบลสามัคค ี
อ�ำเภอร่องค�ำ

๑๕ โครงการเตมิ น�้ำลง โครงการส่งน�้ำและ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ขอกระทรวงมหาดไทย

แกม้ ลิงหนองเลิงเปือย บ�ำรุงรกั ษาล�ำปาว

39

แนแนววททางางกการาดรด�ำเำ� นเนิ ินงงานานตตามามแผแผนนพพัฒัฒนนาชาชนนบบททเชเิชงิงพพืน้ ื้นทท่ีป่ีประรยะุยกุกตต์ ์ตามามพพระรระารชาชดด�ำรำ� ิริ

(๒) ดา้ นการพฒั นาคนและชุมชน

ท ี่ โค รงการ/กิจ กรรม ห นว่ ยงานรับผดิ ชอบ ง(บลป้านระบมาาทณ) แหล่งงบประมาณ หมายเหตุ

๑ ขยายผลการบริหาร เกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั ๔,๐๔๔,๕๐๐ ขอกระทรวงมหาดไทย
จัดการน้ำ� – พัฒนาคน
ปรบั ทัศนคติ

๒ การพฒั นาหมบู่ า้ น เกษตรจงั หวดั งบปกต ิ
สีเขยี ว

๓ ตำ� บลตน้ แบบลด เกษตรจังหวดั งบปกติ
การใช้สารเคม ี

๔ แปลงตน้ แบบเศรษฐกจิ ๒๔๐,๐๐๐ งบพัฒนาจงั หวดั
พอเพยี ง ๑๓ ราย

(๓) ดา้ นพัฒนาอาชีพ แหลง่ งบประมาณ หมายเหตุ

ท ี่ โค รงการ/กิจ กรรม ห น่วยงานรับผิดชอบ ง(บลปา้ นระบมาาทณ)

๑ การปลกู พืชทดแทน เกษตรและสหกรณ์ งบพัฒนาจังหวดั
นาปรังและนาปี ใน จงั หวดั
พ้นื ทที่ ี่ไมเ่ หมาะสม

๒ การส่งเสริมการเพาะ เกษตรจงั หวดั งบปกติ
เหด็ ฟาง และการคลุก
เมลด็ พันธข์ุ ้าว โดยใช้
ไตรโครเดอรม์ า

๓ การส่งเสริมการ เกษตรจังหวัด งบปกติ
ปลกู ข้าวอินทรีย ์

๔ การจดั ทำ� แปลงตน้ แบบ เกษตรจังหวดั ๑,๕๐๐,๐๐๐ ขอกระทรวง
เกษตรทฤษฎีใหม่ มหาดไทย

๕ การเลย้ี งเปด็ เทศ ปศสุ ตั วจ์ งั หวดั ๑๘๗,๕๐๐ ขอกระทรวงเกษตรฯ

40

แนวทางการดำ� เนนิ งานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพืน้ ท่ีประยุกตต์ ามพระราชด�ำริ

ที่ โค รงการ/กิจ กรรม ห นว่ ยงานรบั ผิดชอบ ง(บลปา้ นระบมาาทณ) แหล่งงบประมาณ หมายเหตุ
๕,๐๗๐,๐๐๐ ขอกระทรวงเกษตร
๖ การท�ำนาหญา้ และ ปศสุ ตั วจ์ ังหวัด
พฒั นาอาชีพผลติ และสหกรณ์
เสบยี งสัตว ์

๗ การผลิตฟางอดั ฟอ่ น ปศุสัตว์จังหวัด งบปกติ

๘ ปรบั ระบบการเล้ียง ปศุสัตว์จังหวัด งบปกติ
สตั ว์ปกี และการ
เลีย้ งหมหู ลมุ

๙ การสง่ เสรมิ การเลย้ี งกบ ประมงจังหวัด ๑,๑๐๐,๐๐๐ ขอกระทรวงเกษตร
และสหกรณ ์

๑๐ การถ่ายทอดความร ู้ ประมงจงั หวดั ๗๐๐,๐๐๐ ขอกระทรวงเกษตร
ด้านประมง และสหกรณ์

๑๑ การถา่ ยทอดเทคโนโลย ี ประมงจังหวัด งบปกติ
ดา้ นประมง ศนู ยเ์ รยี นรู้
ดา้ นประมง และการ
สร้างแหลง่ อาศยั

๑๒ การเพ่ิมปริมาณสัตว์น�้ำ ประมงจงั หวัด งบปกติ
ในหนองเลงิ เปือยและ
หนองบรเิ วณ (ปลากนิ พชื
ก้งุ ก้ามกราม)

๑๓ การพัฒนาบัญชีตน้ ทนุ สหกรณ์จังหวัด งบปกติ
อาชีพ

๑๔ การผลติ เมลด็ ขา้ วพนั ธด์ุ ี ศูนยเ์ มล็ดพันธ์ขุ ้าว งบปกติ

๑๕ การสง่ เสรมิ การ ศ.วจิ ัยและพัฒนาเกษตร งบปกติ
ปลูกไมผ้ ลพนั ธดุ์ ี

๑๖ การปลกู หญา้ แฝก และ พัฒนาท่ีดิน / ปศุสัตว์ งบปกติ
หญ้าลซู ่ี ป้องกนั การ
พังทลายของหนอง

41

แนแนววททางางกการาดรด�ำเำ� นเนิ นิงงานานตตามามแผแผนนพพฒั ัฒนนาชาชนนบบททเชเิชงิงพพืน้ นื้ทท่ีป่ีประรยะุยกุกตต์ ์ตามามพพระรระารชาชดดำ� รำ� ิริ

ท ี่ โค รงการ/กจิ กรรม ห นว่ ยงานรับผิดชอบ ง(บลป้านระบมาาทณ) แหล่งงบประมาณ หมายเหตุ
งบปกติ
๑๗ การปลกู ไม้ยืนตน้ และ ทสจ. / อำ� เภอ
ตน้ ไม้กันการระเหย
ของนำ้� (ไผ่ กลว้ ย
มะละกอ)

กล่าวโดยสรุป โครงการที่ขอรับการสนับสนุนจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ
กระทรวงมหาดไทย พรอ้ มกบั แนวทางการตอบโจทยท์ ช่ี าวบา้ นจะไดอ้ ะไร สามารถสรปุ ได้ ดังนี้

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกอบด้วย

42

แนวทางการด�ำเนินงานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพ้นื ท่ีประยุกตต์ ามพระราชดำ� ริ

กระทรวงมหาดไทย ประกอบดว้ ย

43

แนวทางการดำ� เนินงานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพื้นท่ีประยุกตต์ ามพระราชดำ� ริ

44

แนวทางการด�ำเนนิ งานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพนื้ ท่ีประยุกตต์ ามพระราชด�ำริ

45

แนวทางการดำ� เนินงานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพื้นท่ีประยุกตต์ ามพระราชดำ� ริ

46

แนวทางการด�ำเนินงานตามแผนพฒั นาชนบทเชิงพน้ื ท่ีประยุกต์ตามพระราชดำ� ริ

๖. กลุ่มเป้ าหมาย

๖.๑ ระยะแรก
• ชาวบา้ นในเขตพืน้ ที่ถมดนิ ๑,๗๒๕ ไร่ จำ� นวน ๒๒๙ ราย
• ชาวบา้ นในเขตพน้ื ทรี่ บั นำ�้ จากสถานสี บู นำ้� ดว้ ยพลงั ไฟฟา้ ๓ สถานี จำ� นวน ๕๖๐ ราย
• ชาวบา้ นทีผ่ ่านกระบวนการพัฒนาคน จ�ำนวน ๕๒๑ ราย
๖.๒ ระยะขยายผลการพฒั นา
• ชาวบ้านในพน้ื ทโี่ ครงการ ๕๓ หม่บู ้าน ๔ ตำ� บล ประมาณ ๔,๐๐๐ ครัวเรอื น

47

แนวทางการดำ� เนนิ งานตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพืน้ ท่ีประยุกตต์ ามพระราชด�ำริ

๗. ผลท่คี าดว่าจะได้รบั

๗.๑ เกิดกจิ กรรมด้านการพัฒนาเกษตร ประมง ปศสุ ตั ว์ และการพฒั นาอาชพี ตอ่ เนื่อง
ภายหลงั จากขดุ ลอกหนองเลงิ เปือย
๗.๒ เกิดการแกไ้ ขปญั หาแบบองคร์ วม อยา่ งครบวงจร ต้งั แต่ระดบั อยู่รอด พอเพียง ย่ังยนื
โดยการประยกุ ตอ์ งคค์ วามรู้ ตามแนวทางพระราชดำ� รไิ ปปรบั ใชอ้ ยา่ งสอดคลอ้ งเหมาะสมกบั ภมู สิ งั คม
๗.๓ เกษตรกรมีความรู้ ความเขา้ ใจ แนวทางปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการเรียนรู้
กิจกรรมทางการเกษตรท่เี หมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี และเรยี นรู้การเกษตรผสมผสานทป่ี รบั เปล่ยี น
จากเกษตรเชิงเดี่ยว เป็นเกษตรปราณีต ที่ใช้พื้นที่น้อยแต่ให้ผลตอบแทนสูง น�ำไปสู่การแก้ไข
ปัญหาความยากจนและปัญหาคุณภาพชวี ิต

48

โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรบนพืน้ ท่ีสงู
ต�ำบลแก่นมะกรูด อ�ำเภอบา้ นไร่
จงั หวดั อุทัยธานี


Click to View FlipBook Version