The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เรื่องเล่าชาวปิดทอง smallestAp

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-02-04 01:44:56

เรื่องเล่าชาวปิดทอง smallestAp

เรื่องเล่าชาวปิดทอง smallestAp

Keywords: เรื่องเล่าชาวปิดทอง smallestAp

ดีใจมาก ไม่เคยได้เงินมากขนาดน้ัน เลยมี
กำ� ลงั ใจท�ำตอ่

บททดสอบต่อมา คือ เมื่อทุเรียนป่าละอูเริ่มมี
ช่ือเสียง พ่อค้าน�ำทุเรียนของจินดารัตน์ไปขายในชื่อ
ทเุ รยี นปา่ ละอู เพอ่ื ใหไ้ ดร้ าคาดขี น้ึ แตจ่ นิ ดารตั นย์ นื ยนั
ทจ่ี ะใหท้ เุ รยี นของเธอไดช้ อ่ื วา่ เปน็ ทเุ รยี นโปง่ ลกึ

ท�ำไมเปน็ ชื่อทุเรยี นโป่งลึกไม่ได้ ในเมอื่ เนื้อ
ก็อร่อยเหมือนกัน ก็เลยขายเอง เรียกว่าทุเรียน
โป่งลึก แรกๆ ก็ขายไม่ดีเท่าทุเรียนป่าละอูหรอก
จนได้ปิดทองหลังพระฯ มาชว่ ยสนบั สนนุ

ปิดทองหลังพระฯ เข้ามาให้การสนับสนุนระบบ
น�้ำในแปลง ตลอดจนความรู้ในการบ�ำรุงดูแลต้น
การตัดแต่งกิ่ง ก�ำจัดเชื้อโรคและแมลง การใช้ปุ๋ย
ชีวภาพแทนปุ๋ยเคมี ท�ำให้ผลผลิตของจินดารัตน์
ดีขึ้นมากทั้งปริมาณและคุณภาพ และท่ีส�ำคัญ คือ
ช่วยประชาสัมพันธ์ชื่อทุเรียนโป่งลึกให้เป็นที่รู้จัก
อย่างกวา้ งขวาง

เร่อื งเล่า ชาวปิดทอง 51

การสนับสนุนของปิดทองหลังพระฯ ในช่วง ๔-๕ ปีที่ผ่านมา ท�ำให้จินดารัตน์
มีรายได้จากทุเรียนเพิ่มมากขึ้นเป็นปีละหลายแสนบาท จากสวนทุเรียน ๒ แปลง
ประมาณ ๒๐๐ ต้น เมื่อรวมรายได้ในช่วง ๔ ปีท่ีผ่านมา จินดารัตน์มีรายได้ถึง
๔ ล้านบาท จากทุเรยี นเพียงอยา่ งเดียว

ฤดูทผ่ี ่านมา ปี ๒๕๖๒ น่ี ขายทุเรยี นไปได้ ๖ ตนั เกรดดๆี ลูกสวยๆ ขายได้
กิโลกรัมละ ๑๕๐ บาท ก็ไดม้ าหลายแสน

รายได้จากทุเรียนไม่ได้สร้างความภาคภูมิใจให้กับจินดารัตน์ เท่ากับการที่ทุเรียน
ของเธอได้สร้างช่ือเสียงของบ้านเกิดให้เป็นที่รู้จัก และเป็นตัวอย่างให้กับเกษตรกร
ท่ปี ลกู ทเุ รยี นรายอน่ื ๆ ในละแวกนนั้ ต้งั แตบ่ า้ นโป่งลกึ ขยายออกไปยงั หมบู่ า้ นใกล้เคียง

และเธอยังไม่หยุดเพียงเท่านี้ จินดารัตน์ยังพร้อมท่ีจะก้าวต่อไป ด้วยการรวมกลุ่ม
ผู้ปลูกทุเรียนบ้านโป่งลึกทั้งหมด เพื่อพัฒนาคุณภาพของทุเรียนผลสด เพิ่มมูลค่าด้วย
การแปรรปู ทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ คอื การสรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั เกษตรกรผปู้ ลกู ทเุ รยี นทงั้ หมด

52 เรื่องเล่า ชาวปิดทอง

๑๓ ทง้ั ชีวติ น้ี สไู้ ม่มถี อย

สุนีย์ ชุมนพรัตน์ เร่ิมท�ำงานต้ังแต่อายุ ๑๕ ปี เมื่อจบช้ันประถม ๖ ตลอด
การทำ� งาน ๓๒ ปี สุนยี ์ท�ำมาแล้วแทบทกุ อย่าง ตอนเดก็ ๆ ชว่ ยพอ่ แมท่ ำ� นา ว่างจากนา
ก็ขายของ ซึ่งไม่พอเล้ียง ๑๓ ปากท้องในครอบครัวได้ สุนีย์จึงจากสงขลาบ้านเกิด
มาท�ำงานโรงงานเย็บเสื้อโหลที่กรุงเทพฯ ทั้งเย็บ ติดกระดุม รีด ได้ค่าจ้างตัวละ
๓ บาท จากไม่เป็นจนช�ำนาญ มากสุดก็ได้วันละ ๒๘ ตัว แลกกับการท�ำงานตั้งแต่
หกโมงเช้าจนถึงตีสองหรือถึงสว่าง เพ่ือเงินวันละไม่ถึงร้อยบาท ซ่ึงเธอจะส่งให้
ทางบา้ นเดอื นละ ๓๐๐ บาท ไมเ่ คยขาด

เพียงปีกว่า ร่างกายก็ทรุดโทรม ผ่ายผอม และเริ่มป่วยเพราะฝุ่นผ้า พ่อไม่ยอม
ให้ทำ� งานอกี เธอจึงกลบั บา้ นมารบั จา้ งขายเส้อื ผ้าทห่ี าดใหญ่ จนพบกับสามี แต่งงาน
เปล่ียนมานับถอื ศาสนาอิสลาม และยา้ ยมาอย่ปู ตั ตานี

แรกๆ กล็ ำ� บาก เพราะเราไม่มีอะไร มาชว่ ยกันทำ� มาหากนิ รับจ้างกรดี ยาง
เสร็จแล้วแฟนกไ็ ปรับจ้างต่อที่โรงงานเลอื่ ยไม้ ได้วนั ละ ๙๐ บาท พอมลี ูกก็อยาก
สร้างฐานะ จึงหอบห้ิวกันมาเป็นกรรมกรก่อสร้าง แฟนได้วันละ ๙๐ บาท เราได้
๖๐ บาท ตน่ื ตงั้ แต่ ๖ โมงครงึ่ ทำ� ล่วงเวลาจนถึงสองทมุ่ บางทกี ็ตสี อง เพราะอยาก
ไดเ้ งนิ เยอะ ลูกก็ตอ้ งเอาไปด้วย ไปนอนในรถเถา้ แก่

สนุ ยี บ์ อกวา่ ๕ ปที ที่ ำ� แบบน้ี แตช่ วี ติ กไ็ มม่ อี ะไรดขี นึ้ ชกั หนา้ ไมถ่ งึ หลงั กวา่ จะไดค้ า่
จา้ ง กต็ ้องเปน็ หนท้ี ี่ยมื มาซอ้ื ข้าวสาร จนท้องลกู คนที่สอง ใกล้คลอด ทำ� งานต่อไมไ่ หว
จงึ กลบั มาอาศยั บา้ นญาตสิ ามอี ยู่ ตวั สามไี ปทำ� งานบอ่ กงุ้ ตา่ งจงั หวดั ตวั เองอยบู่ า้ นเลย้ี ง
ลูก รบั จ้างปอกมะพร้าว พอได้ค่ากับข้าว กลางคืนออกไปรบั จ้างกรีดยาง

54 เร่อื งเลา่ ชาวปิดทอง

สวนยาง ๕ ไร่ หนวู ิ่งกรีดเลยนะ เพราะห่วงลูก ใกลส้ วา่ งกลบั มาอาบน้�ำลูก ส่งลกู ไปโรงเรยี น
แลว้ ก็ปอกมะพร้าวอย่แู บบนี้

ชีวิตดีขึ้นเมื่อเถ้าแก่สงสาร ให้หาเงินสามหม่ืนมาลงทุนซ้ืออาหารเลี้ยงกุ้ง ก็ขายทุกอย่างไปลงทุน
ขายกุ้งครั้งแรก ได้แบง่ ก�ำไรมาสองหม่นื จับเงนิ วนั แรก หนูร้องไห้เลย เพราะไมเ่ คยจบั เงินเยอะขนาด
นี้ เอาไปใช้หนี้บ้าง เก็บไวบ้ า้ ง ทำ� ไปเก็บเงนิ ไปหลายปี จนได้ถมทสี่ รา้ งบา้ น

เมอื่ มบี า้ น สามตี ดั สนิ ใจกลบั บา้ นมาอยกู่ บั ลกู เมยี สองคนรบั จา้ งกรดี ยางสกั พกั กเ็ ปลยี่ นมาเปน็ เลยี้ งแพะ
เหน็ ลงุ เขาเลยี้ งแพะอย่างเดยี ว กส็ ่งลูกเรียนหนงั สือได้ เลยไปซือ้ แม่พนั ธุม์ าสองตัว เลี้ยงยังไม่เปน็ ก็
ถามลงุ เอา มาได้แพะช่วยเหลอื คนจนอีกตวั สนิทกับปศสุ ตั ว์ท่เี ขามาผสมเทียมให้ เขาเลยชวนแฟนไป
เปน็ อาสาปศสุ ตั ว์ อบรมการฉดี ยา การดูแลสัตวจ์ นช�ำนาญ

ครอบครัวสุนีย์จึงเป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการจัดตั้งกลุ่ม หาสมาชิกได้สิบคน ได้พ่อพันธุ์แม่พันธุ์มาท�ำ
โครงการ แต่ไม่มีประสบการณ์ แพะก็ตายไปบ้าง จนคนอ่ืนๆ ท้อ เหลือเธออยู่คนเดียว เราต้องยึด
อาชีพนี้ ไม่เคยท�ำนาก็ท�ำ ไม่เคยปอกมะพร้าวก็ปอก ท�ำได้ทุกอย่าง เงินสะอาดเงินบริสุทธิ์ท�ำหมด
เหน่ือย นอนต่นื มากม็ ีแรง

จากแพะ ๔ ตัว สุนยี ค์ อ่ ยๆ ขยาย หาความร้เู พม่ิ เติมจากการอบรมบ้าง อา่ นเองบ้าง จนขายมีรายไดพ้ อ
ส่งลกู เรียนหนงั สอื ปลูกผกั กรีดยาง รวมกบั อยอู่ ย่างประหยดั กพ็ ออยู่ได้

เมื่อปิดทองหลังพระฯ เข้ามาในพ้ืนท่ีบ้านท่าน�้ำ จังหวัดปัตตานี สุนีย์จึงเป็นคนแรกท่ีเข้าร่วมโครงการ
ส่งเสริมการเลี้ยงแพะคุณภาพ เปลี่ยนจากการเล้ียงแพะปล่อยแบบธรรมชาติ มาเป็นการเล้ียงแบบถูก
สุขอนามยั มคี อก มีรั้ว ให้อาหาร ยา วัคซีนท่ีถูกต้อง และได้รบั แพะพระราชทานพนั ธ์แุ บล็คเบงกอลมาเลย้ี ง
ผลทีไ่ ด้นน้ั เกินความคาดหมายของสุนีย์

เรื่องเลา่ ชาวปิดทอง 55

กอ่ นนีเ้ ล้ียงแบบปล่อย ปญั หามาก ทงั้ ท้องอืด เป็น
พยาธิ เป็นกลาก เป็นตุม่ ท่ีรกั ษาไมไ่ ด้ ผูกไวเ้ ชอื กพนั ขา

ตายก็มี มาเลี้ยงแบบขังคอก แพะเราก็อ้วน แข็ง
แรง สะอาด และถกู หลกั ศาสนา จนคนพดู ต่อๆ กนั ว่า จะหา
แพะทำ� พธิ ีต้องมาบา้ นทา่ น้�ำ

๓ ปีท่ีผ่านมา สุนีย์ ปลูกหญ้าอาหารเอง ผสมพันธุ์เอง
ให้ได้แพะตัวใหญต่ ามท่ีตลาดต้องการ เลีย้ งง่าย โตเร็ว ทอ้ งเรว็

กอ่ นนไี้ มม่ เี งนิ เกบ็ เลย ตอนนสี้ บายแลว้ มเี งนิ เกบ็ เพราะ
แพะท�ำพิธีตัวหน่ึงก็ได้ห้าพันถึงเก้าพัน ราคาข้ึนอยู่กับ
ความพอใจ ขายเปน็ ตวั บา้ ง มคี นมาซอื้ ไปเปน็ พอ่ พนั ธแ์ุ มพ่ นั ธ์ุ
ไปเลีย้ งต่อ เรากแ็ นะนำ� วธิ เี ลี้ยงใหเ้ ขาดว้ ย

ไม่ค่อยช�ำแหละขาย เพราะแค่แพะท�ำพิธีก็ไม่พอ
ขายแลว้ และไดร้ าคาดกี วา่ ดว้ ย ตอนนกี้ เ็ ลยตง้ั กลมุ่ กนั สมาชกิ
จาก ๘ คน ขยายเปน็ ๒๘ คน มแี พะรวมกนั ๒๔๐ กวา่ ตวั

แนน่ อนวา่ สนุ ยี ย์ อ่ มไดร้ บั เลอื กจากสมาชกิ ใหเ้ ปน็ ประธาน
วสิ าหกจิ ชมุ ชนแพะบา้ นทา่ นำ้� ซง่ึ กำ� ลงั กา้ วหนา้ ดว้ ยความสามคั คี
มกี ฎระเบยี บทเี่ ครง่ ครดั แตก่ อ็ ยรู่ ว่ มกนั ดว้ ยความเออื้ เฟอ้ื เผอื่ แผ่
ดูแลซึ่งกนั และกนั

56 เรอ่ื งเลา่ ชาวปิดทอง

๑๔ ทา่ มกลางสายหมอกและดวงดาว

พนม ขอสขุ ทบี่ อกวา่ ตวั เขาเองเปน็ กะเหรยี่ งจา๋ เลยละ่ แตเ่ มอ่ื ไดร้ เู้ รอ่ื งราว
ของเขาแล้ว ตอ้ งบอกว่า เป็นกะเหร่ยี งทไี่ ม่ธรรมดาเลยทีเดยี ว

ด้วยวัยเพียง ๒๗ ปี เขาเป็นผู้ประกอบการท่องเท่ียวรุ่นบุกเบิก ตั้งแต่
เมอื่ ๓ ปกี อ่ น ฟาร์มสเตยใ์ นชอ่ื “ไรอ่ ๊ยุ กื๋อ” ของเขา ได้รับความนยิ มจากผทู้ ่ี
ชนื่ ชอบธรรมชาติแท้ๆ ทป่ี ราศจากการปรุงแตง่ ไม่มีไฟฟ้า มแี ตค่ วามเงียบสงบ
สายลม แสงแดด หมอก นำ้� คา้ ง ดวงดาวยามค�่ำคืน และไร่นาสวนผสม

พนม หรือ จ๋ิว เรียนหนังสือจบปริญญาตรีรัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย
ราชภฏั นครสวรรค์ ความฝนั ทจี่ ะเปน็ ทหารสญู สลาย แมจ้ ะสอบเขา้ โรงเรยี นนาย
สิบได้ เพราะบา้ นของเขาอยใู่ นพกิ ดั เขตรกั ษาพันธส์ุ ตั ว์ป่าห้วยขาแข้ง

จิ๋วจึงกลับบ้านมาช่วยพ่อท�ำไร่ท�ำสวน ท�ำเกษตรผสมผสาน ที่ได้รับ
การสนบั สนนุ จากปิดทองหลงั พระฯ เพราะ “วันนบ ขอสุข” พอ่ ของเขาเปน็
หนงึ่ ในเกษตรกรต้นแบบที่เข้าร่วมกับปดิ ทองหลังพระฯ ตั้งแตต่ ้น

ปีแรกท่ีกลับมา ปลูกกล้วยเนื้อเย่ือ หลังจากท�ำหลุมขนมครกใน
แปลงแลว้ พอ่ กเ็ รม่ิ ปลกู ผกั ผลไมแ้ บบผสมผสานหลายอยา่ ง ทง้ั สตรอวเ์ บอรร์ ี
ผักเมืองหนาว คำ� วา่ อุ๊ยกอื๋ แปลวา่ อร่อย ก็มาจากชอื่ สตรอว์เบอรร์ ขี องพ่อ
นัน่ แหละครับ

จิ๋วบอกว่า แรกๆ เขาก็ไม่รู้ว่าตัวเองชอบท�ำเกษตรหรือเปล่า เพียงแต่
ไม่อยากเห็นพ่อเหนื่อยมาก แต่พอค�ำนวณรายได้จากเกษตรแล้ว มากกว่า
ท�ำงานบริษัทหรอื ราชการเสยี อกี เลยตัดสนิ ใจมาทางนเ้ี ต็มตวั

58 เรื่องเลา่ ชาวปดิ ทอง

ความคิดที่จะท�ำลานกางเต็นท์ มาจากการน่ังเล่น
กับน้าชายที่ขอมากางเต็นท์นอนในไร่ จ๋ิวฉุกคิดข้ึนมา
ทันทีว่า ไร่ของเขามีบรรยากาศดีมาก เลยชวนน้าชาย
ลงมอื ทันที สองคนชว่ ยกันต้ังเสาไม้ไผ่ ยกสงู ปฟู ากด้วย
ไม้ไผ่ ไม่มีหลังคาและผนัง ให้นักท่องเที่ยวกางเต็นท์
ขา้ งบน เพอ่ื ความปลอดภยั

ทำ� ดว้ ยมอื เปลา่ ๆ นแ่ี หละครบั สองคน ๑๐ หลงั
ทำ� อยูไ่ ม่นานกเ็ สร็จ ลงทุนไป ๒๐,๐๐๐ บาท มากสดุ ก็
ตรงทจี่ า้ งคนถา่ ยรปู ทำ� เวบ็ ไซตห์ มดไปหมน่ื กวา่ ตอนนนั้
แมย่ งั รอ้ ง โห...มงึ ทำ� อะไรเนย่ี จว๋ิ เลา่ ไปหวั เราะไป

แต่ความคิดและความกล้าของเขา ประสบผลเกิน
คาดหมาย ไร่อุ๊ยก๋ือของเขา มีการแชร์และโพสต์ต่อๆ
กันไป ย่ิงเม่ือเว็บไซต์ท่องเท่ียวช่ือดังมาพักและช่วย
เผยแพร่ ไรอ่ ๊ยุ ก๋ือก็ยง่ิ มชี ่ือเสียงและไดร้ ับความนิยม

ปแี รกผมตกใจเหมอื นกนั ยอดแชรย์ อดไลกส์ อง
หมื่นกว่า ท้ังท่ีแทบไม่มีอะไรเลย แต่ภาพมันออกมาดี
ผมนึกแล้วกข็ �ำ (หวั เราะ) ปีนนั้ ไดค้ ่าท่พี ักเกอื บห้าแสน
บาท ผมงงเลย หลังจากปีน้นั ก็ต่อเน่อื งมาเรอ่ื ยๆ

เรื่องเลา่ ชาวปดิ ทอง 59

ไร่อุ๊ยกื๋อต้องจองล่วงหน้า โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาว ต้ังแต่เดือนพฤศจิกายนถึงมีนาคม เพราะมีเพียง
๑๐ หลงั ถงึ แม้จะมนี ักท่องเทย่ี วอยากมาพักทีน่ ม่ี าก จว๋ิ ก็ไมเ่ คยคิดจะเพ่ิมปรมิ าณ

ถ้าเพ่ิมแล้ว มันจะมวั่ ครับ นักท่องเทย่ี วเขาจะไมแ่ ฮปปี้ คนที่มาเขาอยากได้ความเป็นส่วนตัว
ไมช่ อบความอึกทึก ถ้ามคี นมากๆ ห้องนำ้� ก็ตอ้ งแย่งกนั ทกุ อย่างตอ้ งแยง่ กัน บางคนจองล่วงหนา้ มาเป็น
เดือนๆ ก็จะผดิ หวัง และเหมือนเราโลภ

นอกจากบรรยากาศ ความสงบ สวยงามแล้ว ส่ิงทีน่ ักทอ่ งเท่ยี วประทบั ใจ คือ บรกิ ารทอ่ี บอุ่น เป็นกันเอง
และความใจดขี องเจา้ ของทมี่ กั อนญุ าตใหแ้ ขกเกบ็ ผลไมต้ ดิ ไมต้ ดิ มอื กลบั ไปได้ สำ� หรบั ความสำ� เรจ็ นน้ั จว๋ิ บอกวา่
เกดิ จากการวางแผนลว่ งหนา้ ทกุ ขน้ั ตอน ตง้ั แตก่ ารจองทพี่ กั ใหร้ จู้ ำ� นวนนกั ทอ่ งเทยี่ วทแ่ี นน่ อน และตอนนจ้ี ว๋ิ
ก็กำ� ลงั วางแผนปรับปรงุ ฟารม์ สเตย์ของเขาให้แข็งแรงขึ้น อยู่นานข้นึ ไม่ตอ้ งซ่อมแซมกนั ทุกปี เพ่อื ลดตน้ ทุน

จ๋ิวยังเป็นหัวเรี่ยวหัวแรงส�ำคัญ ที่คอยชักชวนและให้ค�ำแนะน�ำกับสมาชิกกลุ่มโฮมสเตย์แก่นมะกรูด
ท่ีปิดทองหลังพระฯ สนบั สนนุ การรวมตัวกันของชาวบ้านจดั ตั้งขน้ึ เพื่อสรา้ งความเข้มแข็งยง่ั ยนื ใหก้ บั ชมุ ชน

60 เรอ่ื งเล่า ชาวปิดทอง

๑๕ เลิกเรร่ อ่ นมาลอ่ งแพ

สิบกว่าปี ที่ “ทุ ปลาดุก” ปกาเกอะญอแหง่ บา้ นโปง่ ลึก อำ� เภอแก่งกระจาน จงั หวดั
เพชรบุรี ต้องออกจากพ้ืนท่ีไปท�ำงานรับจ้าง เป็นลูกมือก่อสร้างและกรรมกรแบกหาม
ตระเวนไปทวั่ รอ้ ยเอด็ เจด็ ยา่ นนำ�้ เพอ่ื หาเงนิ ซอื้ ขา้ วสารสง่ กลบั บา้ นใหไ้ ดเ้ ดอื นละ ๔ กระสอบ
ในราคากระสอบละ ๖๕๐ บาท สำ� หรบั เลีย้ งดูเมยี ๔ คน และลูกอกี ๑๖ คน

ส่งมาได้แคข่ ้าวสารเทา่ นน้ั ลูกเมียตอ้ งไปหาผกั หาปลามาทำ� กบั ขา้ วกนิ เอง

ชีวิตของทุ ท่ีต้องออกตระเวนร่อนเร่ไปท�ำงานอย่างน้ี ก็เพราะเป็นคนหนึ่งท่ีถูก
อพยพย้ายลงมาจากบ้านบางกลอยบนที่เคยได้ทำ� ไร่ เกบ็ ของป่า พอมกี ินไปวันๆ เมื่ออายุได้
๔๐ ปแี ล้ว และไม่ไดร้ บั การจัดสรรทด่ี นิ ทำ� กนิ เนือ่ งจากลงมาหลงั คนอื่นๆ แม้แต่บ้านที่พอ
ไดอ้ าศัยนอนก็ต้องปลกู บนทีด่ นิ ของคนอื่น

พออายุเร่มิ เยอะ ทำ� งานหนกั ไมไ่ หวก็ต้องกลบั มาอยบู่ า้ น

ตอนท่ีทุกลับมาบ้าน พอดีกับที่ปิดทองหลังพระฯ ร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานและชุมชน เริ่ม “โครงการพัฒนาแนวทางส่งเสริมการ
ทอ่ งเทย่ี วภายในชมุ ชนปกาเกอะญอ บา้ นโปง่ ลกึ -บางกลอย เพชรบรุ ี บนพน้ื ฐานปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพียง” ซ่ึงเป็นการท่องเท่ียวเชิงนิเวศน์และวัฒนธรรมในพื้นที่บ้านโป่งลึก-
บางกลอย ในปี ๒๕๖๑ ทุมารับจ้างสร้างบ้านตัวอย่างก่อน และเม่ือมีการเปิดล่องแพ
ตามล�ำน้�ำเพชรบรุ ี เสน้ ทางจากบรเิ วณส�ำนักงานทำ� การอุทยานแห่งชาตแิ ก่งกระจาน หรอื
กจ. ๑๐ หว้ ยแมเ่ พรยี ง ถึงสะพานแขวนเชื่อมสองหมู่บ้าน โดยจัดต้ังเป็นกลุ่มล่องแพที่มี
สมาชกิ ประมาณ ๓๐ คน ทุก็นำ� แพส่วนตวั มาเข้ารว่ มเป็นหน่ึงในสมาชกิ กลมุ่ ลอ่ งแพทนั ที

62 เรื่องเลา่ ชาวปิดทอง

การเปน็ สมาชิกกลุ่มลอ่ งแพ จะเสียคา่ สมคั ร ๑๐๐
บาท และทกุ คร้งั เม่อื ให้บริการเสร็จ กลุม่ ฯ จะหกั เงนิ ไว้
๕๐ บาท สมทบเขา้ กองทนุ เป็นค่าบริหารจดั การกลมุ่ ฯ
และปนั ผลใหก้ ับสมาชกิ ต่อไป

แพจะบรรทุกนักท่องเท่ียวได้มากสุด ครั้งละ
๔ คน คา่ บรกิ ารเหมาเปน็ เทีย่ ว เทยี่ วละ ๔๕๐ บาท
บางวนั ก็ไดเ้ ท่ียวเดียว บางวันได้ ๒ เทีย่ ว เพราะทำ�
เปน็ กลุม่ ฯ ต้องไปตามคิว

ในชว่ งฤดกู าลทอ่ งเทยี่ ว เดอื นพฤศจกิ ายน-กรกฎาคม
จะมนี กั ทอ่ งเทยี่ วเขา้ มาใชบ้ รกิ ารในชว่ งวนั เสาร-์ อาทติ ย์
เดอื นหนึ่งก็จะมรี ายได้จากการล่องแพ ๘ วัน ถึงแมจ้ ะ
เปน็ รายได้ทไี่ มไ่ ด้มากมายนัก แตท่ ุกบ็ อกวา่ ทำ� ให้ชวี ติ
ของเขาดีและมคี วามสุขขน้ึ มาก

ท�ำงานรบั จ้างแมจ้ ะไดเ้ งนิ แน่นอนทกุ วนั แต่
ไม่เหมาะกับเราที่อายุมากแล้ว เวลาในการล่องแพ
ไป-กลบั กแ็ คช่ วั่ โมงเดยี ว ไมต่ อ้ งทำ� งานวนั ละ ๘ ชว่ั โมง
เหมอื นรบั จา้ ง ที่ส�ำคัญ คือ ได้อยูบ่ ้าน

ตอนนล้ี กู ๆ หลายคนกโ็ ตพอทจี่ ะออกไปทำ� งานไดแ้ ลว้
๕ คนทำ� งานทแ่ี กง่ กระจาน อกี คนหนงึ่ ไปทำ� งานทรี่ าชบรุ ี
เลีย้ งตัวเองได้ ท�ำให้ภาระการเลย้ี งดลู ูกๆ ของทลุ ดลง

เรือ่ งเล่า ชาวปิดทอง 63

ทุบอกว่า อายุท่ีมากแล้ว และการไม่มีท่ีดินท�ำการเกษตร
การมีรายได้จากการท่องเที่ยว ท�ำให้เขามีชีวิตที่ดีขึ้น หากการ
ทอ่ งเท่ยี วไดร้ บั ความนิยมมากข้นึ เขาก็จะตอ่ แพเพ่มิ ขึน้ อีก

การท่องเที่ยว เกิดจากท่ีปิดทองฯ มาท�ำ เราได้
ประโยชน์จากตรงน้ี เพราะจะร่วมกับโครงการท�ำการ
เกษตรก็ไม่ได้ เพราะไม่มีท่ีท�ำกิน จะไปท�ำงานอย่างอ่ืน
ก็ไม่รู้จะท�ำอะไรได้ ตอนนี้ก็อยู่แบบมีความสุขมากกว่าเดิม
ท่ีต้องออกไปรับจ้างแล้ว เพราะตอนน้ันเหนื่อยมาก ภาระ
ก็เยอะ ตอ้ งท�ำงานไม่ได้หยุด

การท่องเที่ยวที่เกิดข้ึนในพื้นที่ต้นแบบปิดทองหลังพระฯ
บ้านโป่งลึก-บางกลอย ไม่ได้ท�ำให้แค่ทุกับเพ่ือนสมาชิกกลุ่ม
ลอ่ งแพเทา่ นน้ั ไดร้ บั ประโยชน์ ยงั มคี นอนื่ ๆ ในหมบู่ า้ น ตลอดจน
แม่บ้านและเด็กๆ อีกมากมายได้ประโยชน์จากการประกอบ
อาหาร ขายกาแฟและสินค้าหัตถกรรมพื้นบ้าน การแสดง
รบั จ้างกางเต็นท์ ฯลฯ อีกดว้ ย

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และวัฒนธรรม บ้านโป่งลึก-
บางกลอย ยังเป็นต้นแบบขยายไปยังชุมชนปกาเกอะญออ่ืนๆ
ในต�ำบลป่าเด็ง ต�ำบลห้วยสัตว์ใหญ่ บ้านห้วยกระซู่ สาลิกา
แม่กำ� เมย อินชา้ ง พนุ �ำ้ รอ้ น และท่าเสลาตอ่ ไป

64 เรื่องเลา่ ชาวปดิ ทอง

๑๖ กะเหรีย่ งผภู้ ูมใิ จในรากเหง้า

ประชากรส่วนใหญ่ใน ๔ หมู่บ้านของต�ำบล
แก่นมะกรูด จังหวัดอุทัยธานี หน่ึงในพื้นที่ต้นแบบ
ปิดทองฯ เป็นชาวกะเหร่ียงโปว์ ท่ีมีวัฒนธรรม
ประเพณี และวิถีการด�ำรงชีวิต เป็นอัตลักษณ์
สืบทอดกันมาเปน็ รอ้ ยๆ ปี

แต่สภาวะบ้านเมืองที่เปล่ียนแปลงไป ท�ำให้
วัฒนธรรม ประเพณีหลายอย่างถูกละเลยหรือ
ลมื เลอื นไป “วนิ ยั กรงึ ไกร” เปน็ หนง่ึ ในเพยี งไมก่ ค่ี น
ทลี่ งทนุ คน้ ควา้ ศกึ ษา รกั ษาและเผยแพรว่ ฒั นธรรม
ของชาวกะเหรี่ยงโปวไ์ ว้มิใหส้ ูญหายไป

วินัยแสวงหาการสนับสนุนจากหลายๆ ที่ จน
ในที่สุดสามารถจัดตั้ง “ศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตชุมชน
บนพนื้ ท่สี ูง” ขนึ้ ได้ ในพ้นื ท่ที �ำกนิ ของครอบครัว

ต้ังแต่เกิดก็อยู่ตรงน้ี ท�ำเกษตรน่ีแหละ
แต่ที่บ้านทุกคนมีโอกาสดี เพราะพ่อแม่แม้จะ
ไมม่ เี งนิ ก็พยายามผลกั ดันใหล้ กู ๆ ทง้ั ๕ คน ได้
เรียน อาจเพราะแม่เก็บกด ท่ีตอนเด็กๆ อยาก
เรยี นหนงั สือ แต่ตาไม่ให้เรียน พอมลี ูกเป็นผู้ชาย
ทั้งหมด ก็ผลักดันให้ได้เรียนสูงๆ ทุกคน เท่าที่
จะหาช่องทางได้

66 เรื่องเล่า ชาวปิดทอง

วนิ ยั เองกไ็ ดเ้ รยี นจนจบระดบั ปรญิ ญาตรี ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ เอกพฒั นาชมุ ชน จากมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
เทพสตรี ลพบุรี แต่วินัยไม่เคยท�ำงานท่ีตรงกับสาขาวิชาท่ีเรียนมาเลย เพราะเพ่ือนๆ ทุกคนพูดเหมือนกัน
หมดว่า ไม่ต้องไปสมัครหรอก คงสู้ระบบเส้นสายไม่ได้ วินัยจึงหันเหไปขายขนมโตเกียวแทน และไปท่ัว
ทง้ั สังขละบุรี สุพรรณบุรี กไ็ ป

ขายของอยู่ ๔-๕ ปี ไดเ้ รียนร้วู ่าจะทำ� อย่างไรใหล้ ูกคา้ ชอบ กเ็ รียนรแู้ ละลองไปเร่ือยๆ อยา่ งไร
ท่เี ดก็ ชอบ อยา่ งไรทผ่ี ูใ้ หญ่ชอบ

ระหวา่ งขายของ วินัยกลบั บ้านมาปลกู ยางพาราทิ้งไว้ จนเมื่อยางพาราเรม่ิ ใหผ้ ลผลติ วินัยจึงกลับบ้าน
มากรีดยาง ๒ ปีต่อมา การท่องเท่ียวก็เข้ามาในพ้ืนที่แก่นมะกรูด ระยะแรกๆ วินัยขายลูกชิ้น ขายข้าวยืด
และอาหารพ้นื บ้านอ่ืนๆ ซึ่งไดร้ ับอานสิ งส์จากการท่องเทีย่ ว ท�ำให้ขายดมี าก แตก่ ารลงทุนท�ำลานกางเตน็ ท์
และขายอาหารกลบั กลายเป็นเจ็บตวั ชีวิตลุ่มๆ ดอนๆ จนวนิ ยั เร่มิ ท้อ

นน่ั กอ่ นทปี่ ดิ ทองฯ จะเขา้ มาในพน้ื ที่ เมอ่ื ปดิ ทองฯ เขา้ มา กไ็ ดร้ บั การตดิ ตอ่ ใหไ้ ปเปน็ ผปู้ ระสานงาน
ให้กับโครงการ อาจเป็นเพราะเขาเห็นว่าผมเป็นคนต้ังใจ มีความพยายาม ได้รับมอบหมายอะไรมา
ตอ้ งท�ำใหด้ ีท่ีสดุ มงั้ วินยั พดู พร้อมหวั เราะขำ� ตัวเอง

จากการท่ไี ด้ท�ำงานร่วมกบั ปิดทองฯ วินัยยอมรับวา่ มีหลายอยา่ งทปี่ ิดทองฯ ท�ำได้ แต่ก็มบี างเรอื่ งทยี่ ัง
ทำ� ไม่ส�ำเร็จ ซ่งึ ต้องพยายามกันต่อไป

วินัยเป็นหน่ึงในเกษตรกรต�ำบลแก่นมะกรูด ท่ีได้รบั การสนบั สนนุ ระบบนำ้� และการสง่ เสรมิ การปลกู พชื
เมอื งหนาว แตก่ ารสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วเชงิ นเิ วศนแ์ ละวัฒนธรรม เป็นเร่ืองทวี่ ินยั สนใจอยา่ งจริงจังมากทีส่ ดุ

เรอ่ื งเล่า ชาวปดิ ทอง 67

วัฒนธรรมหลายอย่างก�ำลังถูกท�ำลาย จะท�ำอย่างไรให้กลับมาได้ ผมภูมิใจในตัวตนของเรา มี
ประวตั ศิ าสตร์ มคี วามเปน็ มาทน่ี า่ รกั ษาเอาไว้ อยา่ ง วถิ ชี วี ติ อาหาร ธรรมชาติ ตน้ ไม้ โดยเฉพาะภาษาและ
ตัวอักษรของเรา ที่ไม่เหมอื นใคร กพ็ ยายามจะสอนเดก็ ๆ ต่อไป แตเ่ ราตอ้ งท�ำควบคกู่ ันไป คอื ตอ้ งให้คน
อยไู่ ด้ เลยี้ งปากท้องได้ ใหว้ ฒั นธรรมเล้ยี งชวี ิตได้ดว้ ย

การอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีที่วินัยเริ่มต้นมาได้ ๒-๓ ปี แม้จะยังไม่สามารถขยายผลออกไป
ไดก้ ว้างขวางนกั แต่วนิ ัยกย็ งั ยืนหยัดวา่ เขาจะยังคงมงุ่ หนา้ ท�ำตอ่ ไป

มันท้อไม่ได้ เพราะถ้าไม่มีใครท�ำ ก็จะหายไป ถ้าเราไม่รู้จักตัวตนของเรา ไม่รู้จักความเป็นมา
วิถีชวี ิตของเรา ไมร่ ู้จักภูมิปัญญา ไม่มีรากเหงา้ เราจะอยูอ่ ย่างภาคภูมใิ จไดอ้ ย่างไร

68 เรอ่ื งเล่า ชาวปิดทอง

๑๗ ส�ำ เร็จได้ด้วยใจมุ่งมนั่

แวมีเนาะ ตาเละ และสามี แวอารุม หอบลูก
๒ คน จากบา้ นเกิดทป่ี ัตตานี มาอย่ทู ี่อำ� เภอบันนังสตา
จงั หวดั ยะลา เมอื่ ๓๐ กว่าปีก่อน

อยู่ปัตตานี พ่อแม่ท�ำนาแค่พอมีข้าวไว้กิน
ก๊ะแต่งงานแล้วก็ท�ำนาตามพ่อแม่อยู่หลายปี แต่ก็
ท�ำไม่ไหว ไม่ถนัด จนลุงเขาชวนให้ขายนามาซื้อ
สวนยางท่ียะลา ๕ ไร่ ก็ตามเขามา เพราะที่น่ีดิน
มนั สมบรู ณ์ ทำ� อยา่ งอนื่ ไดด้ ีกวา่

เมื่อแรกมาก็โค่นยางที่มีอยู่เดิม แล้วปลูกทุเรียน
แซมดว้ ยกลว้ ย มะพรา้ ว ระหวา่ งรอทเุ รยี นโตใหผ้ ลผลติ
๘ ปี แวมีเนาะยังชีพด้วยการท�ำขนมเจาะหู ขนม
หมอ้ แกง ควั่ มะพรา้ วขายสง่ ตามตลาดนดั และรา้ นนำ้� ชา
รวมท้ังปลูกผักและข้าวโพด เวลาท่ีเหลือสองคนสามี
ภรรยา มอเตอรไ์ ซค์คนละคัน แยกกนั ไปหางานหาเงิน

เหนอ่ื ยไหม ไมต่ อ้ งพดู เลย เหนอ่ื ยเปน็ ธรรมดา
เพราะเราเปน็ คนจน กต็ ้องอดทนท�ำไป

แม้จะไมเ่ คยท�ำสวนมากอ่ น แต่อาศัยใจสู้ หลังจาก
ทล่ี ุงคำ� แนะนำ� แวมเี นาะก็ลงมอื ปลกู ไป เรียนรู้ไป

70 เรื่องเล่า ชาวปิดทอง

มนั อยู่ทเี่ รา ใจสู้ ท�ำอะไรกส็ ำ� เรจ็ เราคิดวา่ เพ่อื นทำ� ได้ เรากเ็ ปน็ คนเหมอื นเขา ท�ำไมจะท�ำไมไ่ ด้
กต็ ้องท�ำได้เหมอื นกนั

สวนทุเรียนแปลงแรกที่เฝ้ารอมานาน รวมท้ังพืชผลอ่ืนๆ สร้างรายได้ให้ครอบครัวแวมีเนาะประมาณ
ปีละ ๕๐,๐๐๐-๗๐,๐๐๐ บาท

จนกระทง่ั เมอื่ ปดิ ทองหลงั พระฯ เขา้ มาดำ� เนนิ โครงการทเุ รยี นคณุ ภาพ ในปี ๒๕๖๑ แวมเี นาะเปน็ หนงึ่ ใน
เกษตรกร ๑๘ ราย ทส่ี มคั รเขา้ ร่วมโครงการฯ ในปแี รก

สมัครไปโดยยงั ไมร่ ูห้ รอกวา่ เขาจะมาท�ำอะไร แตก่ ารทำ� สวนเป็นทางของเราอยู่แลว้ เลยสมคั ร
ไป จากนนั้ กไ็ ปเรยี นรู้เอาตอนปิดทองฯ จัดประชุม จดั อบรม

จากการปลกู แบบปลอ่ ยใหโ้ ตเอง ไมไ่ ดด้ ูแล ยามมเี งนิ จงึ ซ้ือป๋ยุ มาใส่บา้ ง ผลผลติ ขายไดไ้ ม่ถงึ ครึง่ เพราะ
ปัญหามากมาย ทงั้ หนอนเจาะ โคนเน่า กระรอกกิน ผลเล็ก หมอนทองขายไดเ้ พียงกโิ ลกรมั ละ ๑๐-๒๐ บาท
ชะนกี ิโลกรัมละ ๒-๓ บาท มาเปน็ การปลูกแบบถูกตอ้ งตามหลักวิชาการ มีระบบน�ำ้ มอี าสาสมัครทุเรียนเข้า
มาดแู ลตรวจแปลง แนะน�ำให้ใส่ป๋ยุ บ�ำรงุ ต้น ฮอร์โมนเรง่ ดอก ตดั แตง่ ก่งิ ฯลฯ

อาสาเขามาดสู วนของเรา ถามวา่ มปี ญั หาอะไร กบ็ อกไปวา่ ไมม่ ที นุ จะซอ้ื ปยุ๋ ซอื้ ทอ่ นำ้� ซอ้ื อปุ กรณ์
อะไร ปิดทองฯ ก็ใหก้ ้มู า เลยต้องเป็นหนี้ปิดทองฯ

ทุเรียนคุณภาพจากสวนของแวมีเนาะ ปีแรกสร้างรายได้ให้แวมีเนาะถึง ๗๐๐,๐๐๐ บาท ราคา
กิโลกรัมละ ๘๐ บาท เพราะไมม่ ีรูหนอนเจาะ ผลมีขนาดใหญ่ น้ำ� หนกั ดี ในปที ่ีสอง จากปัญหาความแหง้ แลง้
วางระบบท่อน้�ำไม่ทันเวลา ท�ำใหแ้ วมีเนาะมรี ายไดจ้ ากทเุ รียนในปีที่สอง ลดลงเป็น ๕๐๐,๐๐๐ บาท

เรือ่ งเลา่ ชาวปิดทอง 71

ปหี นา้ จะทำ� ไดด้ กี วา่ นี้ เพราะวางระบบทอ่ นำ�้ ครบทกุ ตน้ แลว้ และทเุ รยี นของกะ๊ จะมคี ณุ ภาพดขี น้ึ
ไปอีก เพราะเดมิ ฉีดฮอรโ์ มน ให้ปุ๋ยไม่ครบตามท่ีเขาบอก ตอ่ ไปนี้จะเครง่ ครัดมากขน้ึ

รายได้จากทุเรียนท�ำให้แวมีเนาะช�ำระหนี้ปิดทองฯ ได้หมดในปีเดียว และจะใช้หนี้ธนาคารเพ่ือ
การเกษตรและสหกรณก์ ารกษตรทีก่ ู้มาซอ้ื สวนเพิม่ อีก ๑๕ ไร่ ไดห้ มดภายในปนี ้ี

ทกุ วนั นสี้ วนทเุ รยี นของแวมเี นาะเปน็ ทเ่ี รยี นรขู้ องเพอื่ นบา้ น ทมี่ กั แวะเวยี นมาถามวา่ ทำ� อยา่ งไร ทเุ รยี น
จงึ ให้ผลดกและคุณภาพดี

เวลาเขามาถาม กะ๊ ก็จะบอกเขา เราท�ำแบบไหน ก็บอกให้เขาทำ� แบบน้นั
แวมเี นาะบอกว่า ความสำ� เร็จในวันนี้ มาจากความเชื่อทีย่ ึดม่นั มาตลอดชวี ติ ว่า เวลาทุกข์ ไม่มใี คร
จะแกป้ ัญหาใหเ้ ราได้ เราตอ้ งแกเ้ อง วนั น้ไี ม่มีขา้ วกนิ จะท�ำอย่างไร ก็ตอ้ งไปหาเอง ด้นิ รนเอง ตอ้ งอดทน
ขยัน และประหยดั ใช้จา่ ยเฉพาะทเ่ี ปน็ ประโยชน์
ท่ีส�ำคัญ คอื ความมุง่ มั่น ของทเ่ี ราสนใจ เราตง้ั ใจจะทำ� เราต้องท�ำให้สำ� เร็จ ถา้ ไมส่ ำ� เรจ็ กต็ ้อง
ศกึ ษาดู เราไมม่ คี วามรู้ กต็ อ้ งถามคนโนน้ คนน้ี ลองผดิ ลองถกู และกลา้ ทจ่ี ะพฒั นาเปลย่ี นแปลงตวั เอง

พ่อแม่ปยู่ า่ ตายายท�ำนา ถ้าไม่ขายทีน่ ามาท�ำสวน กค็ งจะอยแู่ บบเดมิ ๆ นัน่ แหละ

72 เรื่องเล่า ชาวปดิ ทอง

๑๘ เมลอนออนไลน์ ขายได้ขายดี

มุตตา ดอเลาะห์ นอกจากเป็นนักเรียนนอกด้วยทุนของรัฐบาลซาอุดีอาระเบีย
เป็นอิหม่ามประจ�ำหมู่บ้าน เป็นครูสอนศาสนาในโรงเรียนพัฒนสารพิทยาแล้ว เวลานี้
ยังเป็นเกษตรกรและพ่อค้ามือใหม่ท่ีขายผลผลิต เป็นต้นว่า เมลอน ข้าวโพดหวาน
ผักสลัด และผักอ่ืนๆ ถึงผู้บริโภคโดยตรงผ่านออนไลน์ ขายดิบขายดีจนผู้ซ้ือต้อง
สัง่ จองลว่ งหน้านานนับเดือน

จากเด็กบา้ นแตก อยู่กบั แมท่ ร่ี บั จ้างปลูกผักเลย้ี งดูลูกทั้งสามคน ยากจน แตเ่ รยี นดี
เม่ือเรียนจบศาสนาช้ันสิบ จึงได้รับการสนับสนุนจากครู ช่วยเหลือค่าเครื่องบิน
และเงินติดตัวนิดหน่อยที่ระดมจากญาติพ่ีน้อง เดินทางไปศึกษาระดับปริญญาตรีที่
มหาวิทยาลัยในเมืองไคโร ประเทศอียิปต์ ด้วยการสมัครขอทุนช่วยเหลือนักเรียน
ยากจนจากหลายๆ แหล่ง

มที นุ ของมหาวทิ ยาลยั ทนุ ของรฐั บาลคเู วต ทุนของรัฐบาลซาอุดีอาระเบีย
ซึ่งผมสอบผ่านทั้งหมด แต่ตัดสินใจเลือกเอาทุนของรัฐบาลซาอุดีอาระเบีย
เพราะใหม้ ากกว่าท่อี ืน่

ในปีแรกท่ียังไม่ได้รับทุน มุตตาต้องอยู่อย่างประหยัด บางวันก็ไปรับเงินบริจาค
จากมัสยิดต่างๆ ที่เรี่ยไรจากสมาชิกของมัสยิด เพื่อช่วยเหลือนักศึกษาจากประเทศ
ยากจน ครัง้ ละประมาณห้าร้อยบาท

ตระเวนไปตามมัสยิดท่ีมีการประกาศว่าวันนี้จะมีการแจกทุน ก็ไปเข้าแถว
ตอ่ ควิ รว่ มกับนกั ศึกษาจากประเทศอน่ื ๆ และคนยากจน ก็พออยูไ่ ด้ เพราะเช่าบ้าน
อยู่รวมกนั ๖ คน จา่ ยกองกลางคนละ ๑,๐๐๐ บาท เป็นค่าเช่ากับค่าอาหารส�ำหรับ
ทำ� กินกันเองทัง้ เดือน

74 เร่อื งเลา่ ชาวปิดทอง

ทุนท่ีเขาได้รับในปีถัดมาจ่ายให้เป็นเงินสดเดือนละ ๒,๕๐๐ บาท เป็นค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ เพราะไม่ต้อง
จ่ายค่าเล่าเรียน แม้จะไม่มากนัก แต่มุตตาก็บอกว่า เม่ือมีรายได้ท่ีแน่นอน ก็ท�ำให้ชีวิตความเป็นอยู่ดีข้ึน
จนกระท่งั เรียนจบศาสนศาสตร์

ตลอด ๑๔ ปี มตุ ตาเปน็ ครมู าโดยตลอด และไมเ่ คยทำ� การเกษตรมากอ่ นเลย จนกระทง่ั ปดิ ทองหลงั พระฯ
เขา้ มาในพ้ืนทเี่ ม่ือ ๓ ปีกอ่ น

มาเรมิ่ ปลกู ผกั สว่ นหนงึ่ เพราะมอี ายแุ ลว้ รา่ งกายออ่ นแอลง เลยอยากรบั ประทานอะไรทป่ี ลอดภยั
ไม่มีสารเคมี และได้กนิ จากท่ปี ลกู เอง กเ็ ปน็ ความสขุ ความภมู ใิ จ

มุตตาเริ่มจากปลูกพืชตามฤดูกาล เช่น แตงโม ข้าวโพดหวาน ฯลฯ บนท่ีดินสวนมะพร้าวเก่าของตา
๓ ไร่ เม่ือไดร้ ับการสนับสนุนระบบน้ำ� ตอ่ ทอ่ จากบ่อบาดาลเขา้ แปลง โรงเรอื น เมลด็ พันธ์ุ และความรจู้ าก
ปดิ ทองหลงั พระฯ มตุ ตาก็หนั มาปลูกเมลอนในโรงเรอื นตามที่ปดิ ทองฯ ส่งเสริม

ชอบกินเมลอน แต่ซื้อทีก็แพง ลูกละ ๒๐๐-๓๐๐ บาท เสียดายเงินก็เสียดาย ปลูกเองดีกว่า
ไดก้ นิ จนเบอ่ื

มุตตาบอกว่า เมลอนเป็นพืชท่ีท้าทายมาก ปลูกยาก ต้องดูแลอย่างดี ปีแรกจึงเก็บไว้รับประทานเอง
ปีต่อมาผลผลิตมีมาก จึงน�ำออกมาขาย เริม่ จากขายในหมู่บา้ นก่อน

เป็นพืชใหม่ ยังไม่มีใครปลูก ก็เลยขายดี คนโน้นก็อยากกิน คนน้ีก็อยากกิน ทุกคนบอกว่า
รสชาตดิ แี ละม่นั ใจวา่ ปลอดภัย ตอนแรกขายกโิ ลกรัมละ ๘๐ บาท ไดเ้ งนิ มาประมาณ ๑๔,๐๐๐ บาท
จากโรงเรอื นเดียว เปน็ รายได้เสรมิ ทด่ี ี

เร่อื งเล่า ชาวปิดทอง 75

มุตตาเร่ิมมองหาตลาดให้กับเมลอนของเขา ด้วยการโพสต์ขายในเฟซบุ๊ก ใช้ช่ือว่า
เมลอนมตุ ตา เพอ่ื นฝงู คนรจู้ กั กเ็ ลยสง่ั ซอื้ กนั มากมาย ราคาขายดขี น้ึ เปน็ กโิ ลกรมั ละ ๑๒๐ บาท
ตามมาด้วยการโพสต์ขายผลผลิตอื่นๆ ในเวลาเพยี งวนั เดียว ทกุ อยา่ งก็จะถกู สงั่ จองจนหมด

ทกุ วนั นสี้ นกุ และภมู ใิ จดว้ ย ตอ้ งขอบคณุ ปดิ ทองฯ ทน่ี ำ� เทคโนโลยกี ารเกษตรมาให้
รวมทั้งการสนับสนุนให้ชาวบ้านยืนอยู่บนขาของตัวเอง ปลูกเองกินเองได้ นี่เป็นความ
ส�ำเร็จที่ย่งิ ใหญ่มากเลย

76 เร่อื งเล่า ชาวปดิ ทอง

๑๙ พลิก “ลม้ เหลว” เปน็ “สำ�เรจ็ ”

เม่อื ปี ๒๕๔๖ วรพล รกั ษา เป็นหน่งึ ในเกษตรกรผูป้ ลูกมะนาวจ�ำนวนมาก ในบา้ นยอด อ�ำเภอสองแคว
จังหวัดน่าน ๖ ปี หลังจากมีผู้น�ำมะนาวตาฮิติต้นแรกมาปลูก และมีรายได้ดี ท�ำให้มะนาวเป็นที่นิยม
ปลูกตามๆ กนั มา เนือ่ งจากใหผ้ ลดก ไม่ตอ้ งดแู ลมาก และไดร้ าคาดีในช่วงฤดูร้อน

แต่ปัญหาท่ีตามมาก็คือ มะนาวจ�ำนวนมากเหล่าน้ัน จะมีพ่อค้ามากมายเข้ามารับซื้อถึงหมู่บ้าน
เฉพาะในชว่ งเดอื นมนี าคม-เมษายน แตพ่ น้ จากนนั้ แลว้ บรรดาพอ่ คา้ ทงั้ หลายกจ็ ะหายหนา้ หายตาไปกนั หมด
จนตอ้ งปลอ่ ยท้งิ ปลอ่ ยขวา้ ง เพราะเกบ็ ไปกไ็ มค่ ุม้

ผปู้ ลกู มะนาวพยายามหาทางออกดว้ ยการรวมตวั กนั ตงั้ กลมุ่ วสิ าหกจิ ผปู้ ลกู มะนาว เมอื่ ปี ๒๕๕๒
แตก่ ารรวมกนั หลวมๆ ไมม่ กี ตกิ าและการเสยี สละเพอ่ื สว่ นรวม กท็ ำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาขน้ึ อกี เมอื่ มแี ตค่ ณะกรรมการ
และญาตพิ นี่ อ้ งเทา่ นนั้ ทจี่ ะขายมะนาวนอกฤดรู อ้ นได้ ทำ� ใหเ้ ปน็ กลมุ่ แตช่ อื่ แลว้ กไ็ ปไมร่ อด

จนกระทงั่ ถึงปี ๒๕๕๙ เมื่อปดิ ทองหลังพระฯ และส�ำนักงานเกษตรจังหวดั เชอ่ื มโยงตลาดใหส้ ่งมะนาว
ไปจ�ำหน่ายในห้างแม็คโคร สาขาน่าน ไดส้ ำ� เรจ็ มกี ารอบรมให้ความรู้ในการดูแล ตัดแตง่ ก่ิง เพอ่ื ให้ได้มะนาว
คุณภาพดี รวมท้ังสนับสนุนให้มีการจัดตั้งกลุ่มฯ ข้ึนอีกครั้ง มีการเลือกตั้งกรรมการมาท�ำหน้าท่ีรวบรวม
ผลผลิต รับซอื้ และจัดสรรโควตาอยา่ งเปน็ ธรรม บรรจุถงุ น�ำส่งห้างตามจำ� นวนและเวลาทีก่ ำ� หนด

ชว่ งแรกของการรวมกลมุ่ ฯ มปี ญั หาเมอื่ ระดมทนุ ไดเ้ พยี ง ๕๔,๐๐๐ บาท ไมเ่ พยี งพอในการรบั ซอ้ื มะนาว
กลุ่มฯ หาทางออกดว้ ยการยมื เงนิ กองทุนปลูกปา่ ของมลู นธิ แิ มฟ่ า้ หลวงฯ ๔๐๐,๐๐๐ บาท มารบั ซอ้ื มะนาว
ท�ำใหส้ ามารถเดนิ หนา้ ได้และสามารถชำ� ระหนี้ไดห้ มดภายในปแี รก

แต่การมีเงินเพียงอย่างเดียว ไม่ใช่ค�ำตอบท่ีท�ำให้วิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกมะนาวบ้านยอดประสบความ
สำ� เรจ็ หากแตก่ ารมกี ฎระเบยี บทชี่ ดั เจน มคี วามสามคั คี วนิ ยั ซอ่ื สตั ย์ เคารพกตกิ า และเสยี สละเพอื่ สว่ นรวม
ท�ำใหใ้ นเวลาเพยี ง ๒ ปี วิสาหกจิ ผปู้ ลูกมะนาวบา้ นยอดก้าวผ่านความลม้ เหลวในอดตี มาเปน็ วสิ าหกจิ ชมุ ชน
ดีเดน่ ระดบั ประเทศ รางวลั รองชนะเลศิ ในปี ๒๕๖๑

78 เร่อื งเล่า ชาวปิดทอง

ปัจจุบันวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกมะนาวบ้านยอด
มีสมาชิก ๙๖ ราย พื้นที่ปลูกมะนาว ๕๘๙ ไร่ และ
มี วรพล รกั ษา เปน็ ประธานกล่มุ ฯ

ผมเอง ตอนแรกปลกู มะนาวแค่ ๒ ไร่ แลว้ ก็
มาปลูกเพิ่มเม่ือปีก่อนอีก ๔ ไร่ รวมแล้วประมาณ
๒๕๐ ต้น ช่วงหน้าแล้งขายมะนาวให้กลุ่มฯ ได้
ราคากิโลกรัมละ ๔๕-๖๐ บาท หนา้ ฝน ราคาต�ำ่ สดุ
อยทู่ ก่ี ิโลกรัมละ ๑๐ บาท ๒ ไร่ท่ีปลูก เก็บอาทิตย์
ละคร้ัง ครงั้ หนงึ่ ได้ ๓,๐๐๐-๔,๐๐๐ บาท มรี ายได้
ทง้ั ปลี ะครบั

วรพลเล่าว่า ประสบการณ์ครั้งแรกสอนให้ทุกคน
รวู้ า่ กลมุ่ ฯ จะตอ้ งมกี ฎระเบยี บ และตอ้ งมคี วามเปน็ ธรรม
ปิดทองฯ ก็เขา้ มาชว่ ยดูแลแนะนำ� ด้วยในชว่ งแรกๆ

คณะกรรมการวิสาหกิจผู้ปลูกมะนาวบ้านยอดใน
ปจั จบุ ัน แบ่งหนา้ ท่ีเปน็ ประธาน รองประธาน เลขา
เหรัญญิก ฝ่ายคุณภาพ ฝ่ายจัดหาสินค้า และฝ่าย
ประชาสมั พนั ธ์ กรรมการมวี าระคราวละ ๒ ปี มีการ
จดั สรรผลกำ� ไร รอ้ ยละ ๕๐ เขา้ กองทนุ เฉลย่ี คนื หุ้น
รอ้ ยละ ๗ เพอื่ สาธารณประโยชน์ร้อยละ ๓ สวสั ดิการ
ชุมชนร้อยละ ๕ ให้กับผู้ที่เอามะนาวมาขายให้กลุ่มฯ
มาก ร้อยละ ๕ และค่าตอบแทนกรรมการรอ้ ยละ ๓๐

เรื่องเลา่ ชาวปดิ ทอง 79

เม่ือปีที่แล้ว วิสาหกิจฯ รับซื้อมะนาวร้อยละ
๘๐ ของมะนาวท้ังหมด สามารถส่งเฉพาะห้าง
แม็คโครได้มากกว่า ๑๓๐ ตัน บางส่วนส่งให้
ร้านอาหาร พ่อค้าในจงั หวดั พะเยาและสพุ รรณบรุ ี
ทก่ี ลมุ่ ฯ จดั หาตลาดได้เอง และมแี นวโน้มว่าตลาด
จะเพ่ิมมากขึน้ เรอื่ ยๆ

เราก�ำลังวางแผนขยายตลาดให้ได้ก่อน
แลว้ คอ่ ยขยายสมาชกิ และพ้นื ทป่ี ลกู เพราะยงั มี
อกี หลายหมบู่ า้ นทป่ี ลกู มะนาว จะไดช้ ว่ ยกนั ไป

หน้าของวรพลเปื้อนไปด้วยรอยยิ้ม เม่ือเขา
กล่าวทิ้งท้ายว่า ส่ิงตอบแทนท่ีได้รับจากการ
ทำ� งานหนกั เพอื่ สว่ นรวมของเขา คอื ความภมู ใิ จ
ทท่ี �ำประโยชนใ์ ห้กับหมบู่ า้ น

แต่สักวันเมียคงท้ิง เพราะตัวเองไม่ได้
งานเลย ไดแ้ ต่ให้ชาวบา้ น...

80 เร่อื งเลา่ ชาวปิดทอง

๒๐ โรงพยาบาลนดี้ ี มนี าขา้ ว เลา้ ไก่ และแปลงผกั

พน้ื ที่ ๑๕ ไร่ จากทงั้ หมด ๓๐ ไร่ ของโรงพยาบาลรอ่ งคำ� จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ สว่ นท่ี
ไมไ่ ดเ้ ปน็ อาคารผปู้ ว่ ยและทที่ ำ� งานแลว้ คอื นาขา้ ว บอ่ ปลา แปลงผกั และเลา้ ไก่ ซง่ึ เกดิ จาก
นำ้� พกั นำ�้ แรงของบคุ ลากรทกุ คนในโรงพยาบาล ตง้ั แต่ ผอู้ ำ� นวยการ แพทย์ พยาบาล
เภสชั กร ไปจนถงึ เจา้ หนา้ ทรี่ ว่ ม ๗๐ คน ตงั้ แตห่ กั รา้ งถางพง ปรบั พนื้ ท่ี ขดุ บอ่ ยกแปลง
ปลกู และผลดั กนั มาดแู ล ทกุ เมอื่ ทว่ี า่ งเวน้ จากภารกจิ บรกิ ารผปู้ ว่ ย

หลงั จากความพยายามในการควบคมุ งบประมาณ ประหยดั และตดั ทอนลดคา่ ใชจ้ า่ ย
มาหลายวธิ ี เพอื่ ใหม้ งี บประมาณเหลอื มาพฒั นาโรงพยาบาล แตก่ ไ็ ดเ้ พยี งนอ้ ยนดิ เนอ่ื งจาก
โรงพยาบาลร่องค�ำเป็นโรงพยาบาลขนาดเล็ก ขนาด ๓๐ เตียง ท�ำให้มีข้อจ�ำกัดเรื่อง
งบประมาณ ทางเลอื กหนงึ่ ในการชว่ ยเหลอื ตวั เองทที่ กุ คนเหน็ พอ้ งกนั คอื การใชพ้ นื้ ทวี่ า่ ง
ของโรงพยาบาลใหเ้ กดิ ประโยชนม์ ากทส่ี ดุ ดว้ ยการทำ� เกษตร

นายแพทย์ประธาน ศรีจุลฮาด ผอู้ ำ� นวยการโรงพยาบาลรอ่ งคำ� บอกวา่ โดยพนื้ ฐาน
ที่ทุกคนเป็นลูกหลานเกษตรกร หลายคนสนใจท�ำเกษตรที่บ้านอยู่แล้ว กับทั้งนโยบาย
อาหารปลอดภยั และโรงพยาบาลสเี ขยี วของกระทรวงสาธารณสขุ จงึ เรม่ิ ตน้ ดว้ ยความคดิ
ทจี่ ะปลกู ผกั อนิ ทรยี ก์ อ่ น เพอ่ื นำ� มาปรงุ เปน็ อาหารผปู้ ว่ ย

ชวี ติ นไี้ มเ่ คยคดิ มากอ่ นวา่ จะเปน็ เกษตรกร เพราะจบหมอมากก็ ะจะเปน็ หมอ
นแี่ หละ หมอไมม่ คี วามรเู้ รอื่ งปลกู ผกั หรอก รแู้ ตเ่ รอ่ื งรกั ษาคนไข้ จงึ ตอ้ งไปขอความ
ชว่ ยเหลอื จากปดิ ทองหลงั พระฯ ทอ่ี ยใู่ นพน้ื ทอี่ ยแู่ ลว้

การลงมืออย่างจริงจังจึงเริ่มข้ึน ราวปลายปี ๒๕๖๑ ด้วยการระดมก�ำลังบุคลากร
ของโรงพยาบาลถากถางพน้ื ทอ่ี ยสู่ ามวนั เตม็ เตรยี มดนิ ยกแปลง ขดุ บอ่ นำ้� สรา้ งเลา้ ไก่

82 เรื่องเลา่ ชาวปดิ ทอง

แลว้ กม็ าถงึ การวางแผนปลกู นกั โภชนาการจะทำ� รายการ
ผกั ทใ่ี ชม้ าก ใชบ้ อ่ ย ซงึ่ ทง้ั หมดกป็ ระมาณ ๒๖ ชนดิ แลว้ ก็
วางแผนปลกู ใหม้ ผี กั หมนุ เวยี นใชไ้ ดต้ ลอด ไมต่ อ้ งซอื้

นอกจากคำ� แนะนำ� และเปน็ ทปี่ รกึ ษาแลว้ โรงพยาบาล
รอ่ งคำ� ยงั ไดร้ บั การสนบั สนนุ อปุ กรณเ์ พาะปลกู ตา่ งๆกากนำ�้ ตาล
เมลด็ พนั ธผ์ุ กั พนั ธป์ุ ลานลิ และไก่๑๒๐ตวั จากปดิ ทองหลงั พระฯ
ซงึ่ สามารถเกบ็ ไขไ่ ดว้ นั ละเกอื บรอ้ ยฟอง สว่ นหนงึ่ เปน็ อาหาร
ผู้ป่วย ส่วนที่เหลือจ�ำหน่ายให้กับบุคลากรของโรงพยาบาล
ทต่ี อ้ งสงั่ จองควิ ลว่ งหนา้ ๑-๒ สปั ดาหเ์ ลยทเี ดยี ว

นายแพทย์ประธานกล่าวย้ิมๆ ว่า คงต้องเล้ียงไก่
เพิ่มอีก แล้วต่อยอดสร้างแบรนด์ การันตีว่าเป็นไข่จาก
โรงพยาบาล น่าจะขายดี ตอนนี้ก�ำลังศึกษาหาวิธีลด
ตน้ ทนุ อาหารไก่ เอาหยวกกลว้ ย ผกั มาผสมดู

ปีแรก คือ การทดสอบพลังกาย พลังใจของทุกคน
วา่ จะสามารถผา่ นพน้ ไปไดไ้ หม ดว้ ยการปลกู ผกั เลยี้ งปลานลิ
เลี้ยงไก่ ทำ� น�้ำหมกั ชวี ภาพ เพยี งสามเดอื นเทา่ นน้ั กพ็ สิ ูจน์
ไดว้ า่ ทกุ คนสามารถผา่ นบททดสอบไดอ้ ยา่ งไมย่ ากเยน็ ปที สี่ อง
แปลงผกั จงึ ขยายเพม่ิ มากขนึ้ และเกดิ นาขา้ วในพนื้ ทส่ี บิ ไรข่ นึ้
ในโรงพยาบาล

เรอื่ งเล่า ชาวปิดทอง 83

ก�ำลังปรึกษาวางแผนกับปิดทองฯ ให้ได้ผลผลิต
มากพอ ใหท้ งั้ รอ้ ยเปอรเ์ ซน็ ต์ เปน็ ผลผลติ ของโรงพยาบาลเอง
มพี น้ื ทวี่ า่ งตรงไหน กจ็ ะขยายตอ่ ไปอกี

ผอู้ ำ� นวยการโรงพยาบาลรอ่ งคำ� กลา่ วตอ่ ไปวา่ นอกจากชว่ ย
ลดรายจ่าย สร้างรายได้ส�ำหรับเป็นเงินหมุนเวียนในการท�ำ
เกษตรแลว้ ผลพลอยไดท้ ส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ ทท่ี กุ คนไดร้ บั คอื ความสขุ

เครยี ดจากงาน บา่ ยๆ ลงมาเดนิ ดกู ม็ คี วามสขุ แลว้
และยังเป็นธรรมชาติบ�ำบัดส�ำหรับคนไข้ด้วย เดินเข้ามาดู
ทงุ่ ขา้ ว เหน็ ขา้ วเขยี วๆ ทำ� ใหร้ สู้ กึ สดชนื่ อาการปว่ ยกห็ าย
ไปแลว้ ครงึ่ หนง่ึ ไมต่ อ้ งใชย้ า

นายแพทยป์ ระธาน วาดแผนไกลไปถงึ อนาคตวา่ ถา้ แปลง
เกษตรของโรงพยาบาลไปได้ดี และได้รับความร่วมมือจาก
ภาคี อาจสร้างรายไดใ้ ห้กบั โรงพยาบาลอยา่ งเปน็ กอบเป็นก�ำ
ทงั้ จากการจำ� หนา่ ยผลผลติ เปน็ จดุ เชก็ อนิ เปน็ ทพี่ กั ผอ่ นหรอื
โฮมสเตย์ เป็นรายได้ให้โรงพยาบาลสามารถพัฒนาอาคาร
ผู้ป่วยทั้งคนไข้นอก คนไข้ใน พัฒนาความสามารถและ
มาตรฐานในการใหบ้ ริการ รวมทงั้ อปุ กรณท์ างการแพทยใ์ ห้ดี
ยงิ่ ขน้ึ เปน็ ทป่ี ระทบั ใจของประชาชน ดว้ ยยทุ ธศาสตร์ “ใชน้ า
ใชส้ วนล้อมโรงพยาบาล”

84 เร่อื งเลา่ ชาวปดิ ทอง


Click to View FlipBook Version