The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2555

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-21 01:09:33

รายงานประจำปี 2555

รายงานประจำปี 2555

Keywords: รายงานประจำปี 2555

“...การพัฒนาประเทศจะบรรลุผลตามเป้าหมายได้มากน้อยเพียงใดน้ัน ย่อมขึ้นอยู่กับปัจจัยประกอบการ
หลายอย่าง. อย่างแรก  ต้องมีคนดี คือมีปัญญา มีความรับผิดชอบ มีความวิริยะอุตสาหะ  เป็น
ผ้ปู ฏบิ ัต.ิ  อยา่ งที่สอง ต้องมีวทิ ยากรท่ีดีเป็นเครือ่ งใชป้ ระกอบการ. อย่างที่สาม ตอ้ งมีการวางแผนทด่ี ี
ให้พอเหมาะพอควรกับฐานะ เศรษฐกิจและทรัพยากรท่ีมีอยู่  โดยคำ�นึงถึงประโยชน์อันพึงประสงค์
ของประเทศและประชาชนเป็นหลักปฏบิ ัต.ิ ..”

พระบรมราโชวาท พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว
ในพิธพี ระราชทานปรญิ ญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วนั พฤหสั บดที ่ี ๒๕ กรกฎาคม  ๒๕๓๙

สารบญั ๓
๑๔
สรุปผู้บรหิ าร
ความเปน็ มา มลู นธิ ิปดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำาริ ๑๗
และสถาบนั สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ๑๙
คณะกรรมการ ๒๑
หลกั การดาำ เนินงานและแนวทางปฏบิ ตั ิงาน ๒๔
กรอบการดำาเนินงานตามมตคิ ณะกรรมการ ๗๘
สรปุ การดาำ เนินงานปดิ ทองหลงั พระฯ ๙๖
งบการเงนิ ปี ๒๕๕๕ ๑๐๗
แผนงานในปีงบประมาณ ๒๕๕๖
ภาคผนวก

2
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

๑ สรปุ ผู้บรหิ าร

๒๕๕๕ ม่งุ สคู่ วามก้าวหน้าอยา่ งยง่ั ยืน

การดำาเนินงานของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ ในปี ๒๕๕๕
อันเป็นปีที่ ๓ ของการส่งเสริมการพัฒนาตามแนวทางพระราชดำาริ กล่าวได้ว่า เป็นปีที่มี
ความกา้ วหนา้ เป็นอย่างมาก

จากตน้ แบบการพฒั นาใน ๔ พื้นท่ี ๒ จงั หวัด คอื น่าน และอดุ รธานี ท่ยี ดึ องคค์ วามรู้
ตามพระราชดำาริใน ๖ มติ ิ (นำ้า ดิน เกษตร ป่า พลังงานทดแทน สิง่ แวดลอ้ ม) ซึง่ สอดคลอ้ ง
กับภูมิสังคมและภูมิปัญญาท้องถ่ิน แล้วสร้างระบบพัฒนาที่ยึดพื้นท่ีเป็นหลัก (Area based
Development Approach) มงุ่ เนน้ ทช่ี มุ ชน โดยยดึ ถอื ความคดิ เหน็ ความตอ้ งการ และศกั ยภาพ
ของชาวบ้านเป็นตัวตั้ง ตามแนวพระราชดำาริ เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา ให้ชาวบ้านร่วมคิด
ร่วมทำาและเปน็ เจ้าของ

๓ ปีเตม็ ในการนอ้ มนาำ แนวพระราชดำารหิ รอื ศาสตรพ์ ระราชาแปรสู่การปฏิบตั ิ สามารถ
สร้างการพัฒนาที่มั่นคงและยั่งยืนให้แก่ชุมชน โดยมีตัวช้ีวัดความสำาเร็จได้อย่างเป็นรูปธรรม
ทง้ั ในเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ กลา่ วคอื ชาวบา้ นในพน้ื ทต่ี น้ แบบปดิ ทองหลงั พระฯ ในจงั หวดั นา่ น
และอดุ รธานี มคี วามสขุ มชี วี ติ ความเปน็ อยทู่ ด่ี ขี น้ึ สามารถเพม่ิ รายไดล้ ดรายจา่ ย ชาำ ระหนส้ี นิ ได้

3
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

มีเงินออมเพิ่มข้ึน ที่สำาคัญท่ีสุด คือ เกิดการรวมตัวของชุมชน จัดตั้งกองทุนท่ีชุมชนบริหารจัดการ
กนั เองไดอ้ ยา่ งเข้มแขง็ อันเปน็ ทศิ ทางการพัฒนาทีจ่ ะนาำ ไปสู่ความยง่ั ยืนได้อยา่ งแท้จริง

ที่จังหวัดน่าน ผลจากการส่งเสริมให้ชุมชนลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ด้วยการขุดนาข้ันบันได
ปรับปรุงสภาพดิน สร้างฝายเพ่ือการเกษตร ฝายเพ่ือการอนุรักษ์ บ่อพวงสันเขา ระบบคลอง
และท่อส่งน้ำา ส่งเสริมการปลูกพืชผักสวนครัว พืชหลังนา และเลี้ยงสัตว์ พัฒนาศักยภาพคน
ดว้ ยการศึกษาดูงานและฝกึ อบรมถ่ายทอดความรู้และทักษะด้านตา่ งๆ ทาำ ให้ฐานะทางเศรษฐกจิ ของ
คนใน ๓ พนื้ ที่ตน้ แบบเปล่ียนแปลงไปดงั ตาราง

ขอ้ มลู สภาพเศรษฐกิจและสังคม พนื้ ท่ีตน้ แบบโครงการปิดทองหลงั พระฯ จังหวัดน่าน

ก ุล่ม ุขน ่นาน ก ่ลุม ้บาน ำน้า ้ปาก กลุ่ม ้บานยอด ปี พ.ศ. รายได้ ค่าใช้จา่ ย หนีส้ นิ ทรพั ย์สิน เงนิ ออม
๒๕๕๒ ๑๒,๔๐๙,๕๖๘ ๑๖,๔๕๓,๙๒๕ ๓๑,๓๐๕,๔๖๖ ๔๘,๙๕๕,๑๐๖ ๑,๓๙๖,๘๙๓
๒๕๕๓ ๑๙,๘๗๕,๑๖๑ ๑๘,๔๕๑,๘๒๙ ๒๗,๑๒๖,๗๒๕ ๕๔,๑๕๘,๙๗๒ ๑๘,๑๓๓,๗๖๕
๒๕๕๔ ๔๑,๙๐๕,๘๖๔ ๒๙,๑๘๓,๐๐๗ ๒๘,๐๕๔,๗๑๕ ๑๔๓,๗๘๓,๙๘๙ ๑๔,๕๓๔,๑๔๐
รอ้ ยละของค่าเฉลย่ี ต่อปี
๒๕๕๒ ๑๑๘.๘๔ ๓๘.๖๘ -๕.๑๙ ๙๖.๘๕ ๔๗๐.๒๓
๒๕๕๓ ๑๘,๐๗๗,๖๘๗ ๑๕,๘๔๔,๘๖๐ ๑๓,๘๑๗,๔๑๖ ๓๘,๕๖๖,๓๒๕ ๑,๙๐๑,๔๗๐
๒๕๕๔ ๒๘,๗๗๔,๕๓๘ ๑๑,๗๖๓,๒๖๔ ๑๑,๗๖๐,๕๘๒ ๓๙,๑๔๖,๓๒๕ ๑,๖๖๗,๖๐๐
ร้อยละของคา่ เฉลี่ยตอ่ ปี ๒๔,๖๖๙,๘๓๖ ๘,๒๐๘,๙๘๑ ๔,๖๔๕,๔๐๐ ๓๔,๘๒๗,๘๑๕ ๓,๙๒๗,๓๙๐
๒๕๕๒
๒๕๕๓ ๑๘.๒ -๒๔.๑ -๓๓.๒ -๔.๘ ๕๓.๓
๒๕๕๔ ๔๗,๔๘๙,๔๐๖ ๓๐,๖๐๙,๑๐๓ ๑๓,๘๔๙,๗๘๔ ๑๕๔,๘๗๐,๙๘๑ ๒๒,๒๕๓,๔๐๕
ร้อยละของค่าเฉลย่ี ต่อปี ๑ ๘๒,๖๐๕,๒๔๕ ๕๒,๗๒๙,๙๑๕ ๑๒,๗๗๐,๙๒๐ ๑๘๖,๙๕๐,๐๑๑ ๒๗,๒๖๓,๙๑๒
๙๕,๔๔๒,๖๙๓ ๔๘,๕๑๐,๒๔๑ ๑๓,๗๓๕,๑๘๐ ๒๑๑,๐๗๕,๙๓๔ ๒๖,๘๘๔,๙๕๑

๕๐.๔๙ ๒๙.๒๔ -๐.๔๑ ๑๘.๖๒ ๑๐.๔๑

หมายเหตุ ๑ รอ้ ยละของค่าเฉล่ยี ตอ่ ปี คาำ นวณจาก (คา่ เฉลย่ี ของผลต่างต่อปี x ๑๐๐) ÷ ตัวเลขเศรษฐกิจของปี ๒๕๕๒

4
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

นอกจากน้ี ยังมีการรวมตัวกันจัดตั้งกองทุนต่างๆ ได้แก่ กองทุนสุกร กองทุนเคร่ือง
บดข้าวโพด กองทุนเมล็ดข้าวโพด กองทุนพืชหลังนา กองทุนเมล็ดพันธ์ุข้าว กองทุน
ไตรโคเดอร์ม่าและเชื้อบีที กองทุนโรงสีข้าว กองทุนถั่วเหลือง กองทุนปุ๋ย กองทุนยาและ
สขุ ภาพสัตว์ กองทนุ กระเทยี ม กองทนุ อาหารสตั ว์ กองทนุ นา้ำ พริกลาบ

ท่ีบา้ นโคกลา่ มและบ้านแสงอร่าม ตำาบลกุดหมากไฟ อำาเภอหนองววั ซอ จังหวัดอุดรธานี
การปรับปรุงระบบส่งนำ้าอ่างเก็บน้ำาห้วยคล้ายอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ และทำาแปลงเกษตร
สาธิต ปลูกพืช ๓ ระดับ โดยองค์ความรู้จากฟาร์มตัวอย่างในสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชนิ นี าถ สง่ เสรมิ การเล้ียงหมู เปด็ และปลา

เปรยี บเทียบผลผลติ ระหว่างปี ๒๕๕๔-๒๕๕๕

ผลผลติ ปี ๒๕๕๔ ปี ๒๕๕๕

ข้าว ๓๕ ถงั ตอ่ ไร่ ๖๐ ถงั ต่อไร่
สุกร ๓,๙๒๐,๐๐๐ บาท ๑๓,๑๗๔,๐๓๕ บาท
แปลงเกษตรตามแนวฟารม์ ตวั อยา่ ง
กองทุน - ๑,๐๑๐,๐๑๕ บาท
- ๑๕๓ แปลง
- ๙ กองทุน

ในเวลาเพียงสองปีมีกองทุนท่ีเกิดจากความคิดและการร่วมมือร่วมใจกันของชาวบ้านถึง
๙ กองทนุ ที่สามารถเช่ือมโยง เออ้ื ประโยชน์แกก่ นั และกนั อย่างครบวงจร คือ กองทนุ ผ้ใู ชน้ ำา้
กองทุนเมล็ดพันธผุ์ ัก กองทนุ เมล็ดพนั ธข์ุ า้ ว กองทนุ สุกร กองทุนเปด็ กองทนุ ยาและเวชภณั ฑ์
กองทุนปยุ๋ กองทุนแมบ่ ้านศึกษาดงู าน และกองทุนการตลาด

5
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

ขณะเดียวกัน การดำาเนินการตามแนวทางปิดทองฯ ของทีมปฏิบัติการระดับจังหวัด
และระดับอำาเภอในพื้นท่ีขยายผลตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นท่ีประยุกต์ตามพระราชดำาริ
๑๗ พ้ืนที่ ๑๐ จังหวัด (เชียงราย เชียงใหม่ พิษณุโลก สิงห์บุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์
เลย ตราด ยะลา และน่าน) ในปี ๒๕๕๕ ก็มีความก้าวหน้าอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิง
ที่ตำาบลห้วยสัก อำาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างจังหวัดเชียงราย
มหาวิชชาลัยพุทธเศรษฐศาสตร์ และมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ เพ่ือสร้างต้นแบบการพัฒนาที่
ประยุกต์พระพุทธศาสนาเข้ากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยผนวกการพัฒนาตามแบบ
ปดิ ทองหลงั พระฯ ด้วยกระบวนการเขา้ ใจ เขา้ ถงึ พฒั นา ควบคกู่ บั การพัฒนาจติ ใจ ดว้ ยการ
อบรมหลักธรรมของพระพุทธศาสนา

ในปี ๒๕๕๕ ภายใต้แผนพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนท่ีประยุกต์ตามพระราชดำาริ พ้ืนที่บ้าน
โป่งลึก-บางกลอย สถานการณค์ วามขัดแยง้ ระหวา่ งคนกบั คน คนกบั ปา่ และคนกับสตั วป์ ่า ใน
พื้นทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติแกง่ กระจานท่เี ปน็ มาตลอดหลายปี ไดร้ บั การแกไ้ ขใหค้ ล่ีคลายลงได้ ดว้ ย
การพฒั นาเพ่ือยกระดบั คุณภาพชีวติ ชนกลุ่มน้อยใหพ้ ่งึ พาตนเองไดใ้ นระดบั ทอี่ ยูร่ อด โดยไมข่ ัด
กบั กฎระเบยี บของอทุ ยานฯ ควบคู่ไปกับการพัฒนาอาชพี ดว้ ยการทาำ แปลงสาธติ ชาวบา้ นปลกู
ผักกินเอง ให้ชาวบ้านมีอาหารรับประทานเพียงพอ พัฒนาระบบน้ำาสำาหรับทำาการเกษตรและ

6
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

เลี้ยงสัตว์ ด้วยการสร้างฝายพร้อมระบบท่อส่งนำ้า ขุดสระเก็บน้ำา จัดการที่ดินและที่ทำากินให้
ชาวบ้านบางส่วนท่ียังไม่มีท่ีดินทำากิน ขุดนาข้ันบันได ปรับปรุงดิน สนับสนุนพันธ์ุเมล็ดข้าว
ออกแบบแผนการเพาะปลูกท่ีจะให้ผลผลิตได้ตลอดท้ังปี ให้ชาวบ้านเลือกตามความต้องการ
และเหมาะสมกบั สภาพพ้นื ที่

พ้ืนที่ขยายผลอื่นๆ ภายใต้แผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นท่ีประยุกต์ตามพระราชดำาริ ก็มี
ความคืบหนา้ เชน่ กนั ไมว่ ่าจะเปน็ บ้านอมแรด อาำ เภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชียงใหม่ ชาวบ้านร่วมกนั
ดูแลแหล่งนำ้า โดยการทำาฝายอนุรักษ์ เข้าใจการใช้ประโยชน์จากป่าและอยู่กับป่าอย่างเกื้อกูล
มีการลดการใช้ปุ๋ยเคมีแล้วใช้การปรับปรุงดินโดยวิธีธรรมชาติแทน ลดการเผาพ้ืนท่ีลง และ
เร่ิมต้นเลี้ยงสุกรลูกผสมเหมยซาน มีการนำาครูภูมิปัญญาไปถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกร
บา้ นทา่ ลอบ อาำ เภอคา่ ยบางระจนั จงั หวดั สงิ หบ์ รุ ี ในการปอ้ งกนั และกาำ จดั เพลยี้ กระโดดสนี า้ำ ตาล
และการเพมิ่ ผลผลติ ขา้ วโดยใชน้ ำ้าหมกั จลุ นิ ทรยี ป์ รบั ปรงุ ดนิ ทำาใหไ้ ดผ้ ลผลติ ขา้ วเพม่ิ ขนึ้ จากเดมิ
๘๐ ถังต่อไร่ เป็นอย่างน้อย ๑๐๐ ถังต่อไร่ ลดรายจ่ายในครัวเรือนจากการทำาสบู่ แชมพู
นำา้ ยาลา้ งจาน นา้ำ ยาซักผ้าใช้เอง มีรายได้เสริมจากการขายพืชผกั เพมิ่ ขนึ้ และมกี ารรวมตัวตัง้
เปน็ กลุ่มกองทนุ ต่างๆ เชน่ กองทุนหมู กองทุนข้าว กองทนุ ผัก และมแี ผนทจ่ี ะตงั้ รา้ นคา้ ชุมชน
เป็นศูนยจ์ ำาหน่ายสินค้าทช่ี าวบา้ นผลติ ได้

จงั หวดั พษิ ณโุ ลก มกี ารกอ่ ตง้ั โรงเรยี นชาวนาขน้ึ ทโี่ รงเรยี นบา้ นเจรญิ ผล และมกี ารถา่ ยทอด
ความร้ใู ห้ชาวบา้ นในเร่ืองการเพมิ่ ผลผลติ การปรบั ปรุงบาำ รงุ ดิน การปลูกพืชไร่ การปลูกพืชสวน
การทำานา ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนจากการทำาผลิตภัณฑ์ของใช้ในครัวเรือนเอง ลดต้นทุน
ในการซื้อปยุ๋ เคมแี ละยาฆา่ แมลง จากการทำาจลุ นิ ทรีย์หนอ่ กล้วย ฮอรโ์ มนไขส่ ำาหรบั พชื และสัตว์
และนาำ้ หมกั ชีวภาพใชเ้ อง ทาำ ให้ผลผลิตข้าวหอมมะลิ เพม่ิ จาก ๔๕ ถังตอ่ ไร่ เปน็ ๖๐ ถงั ต่อไร่
และขา้ วพิษณุโลกจาก ๕๐ ถงั ตอ่ ไร่ เปน็ ๗๐ ถังต่อไร่

7
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

จังหวดั ตราด มกี ารดาำ เนินงานโครงการโดยชาวบา้ นมีส่วนร่วม เชน่ ธนาคารปุ๋ยอนิ ทรยี ์
ท่ีให้สมาชิกมานำาปุ๋ยจากธนาคารไปใช้ โดยนำาเศษวัสดุจากธรรมชาติสำาหรับทำาปุ๋ยมาแลกใน
อัตราส่วน วัสดุ ๒ กิโลกรัม จะไดป้ ๋ยุ ๑ กิโลกรัม เปน็ ตน้

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชาวบ้านนำาองค์ความรู้จากพ้ืนท่ีต้นแบบกลับมาประยุกต์ใช้ใน
พื้นทข่ี องตนเอง เชน่ ทำาเกษตรผสมผสาน และร้ขู อ้ มูลสภาพการใชท้ ี่ดนิ และแหล่งนา้ำ ในหมู่บา้ น
จังหวัดเชียงราย ชาวบ้านสนใจเรียนรู้การทำาเกษตรแบบปลอดสารพิษ ผลิตแบบพึ่งพาตนเอง
นำาความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดกิจกรรมเดิม และบูรณาการงบประมาณในหมู่บ้านมาสนับสนุน
กิจกรรมของชุมชน

การขยายผลการดำาเนินการตามแนวทางปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ

พ้ืนท่ีตน้ แบบ พื้นทขี่ ยายผล พน้ื ที่แหล่งน้าำ ขนาดเลก็ พื้นที่ความร่วมมือ พ้นื ทคี่ วามร่วมมอื
( ๒ จังหวดั ) ( ๑๐ จังหวดั ) ( ๑๔๒ แห่ง ๔๖ จังหวัด) กับองคก์ รปกครอง กบั กองทพั บก
สว่ นท้องถน่ิ ( ๒๕ แห่ง
๙ จงั หวัด)

นา่ น เชียงราย เชียงใหม่ กาญจนบุรี กาฬสนิ ธ์ุ กำาแพงเพชร อุทัยธานี กาฬสินธุ์
อุดรธานี นครราชสีมา
ตราด น่าน ขอนแกน่ ชยั ภมู ิ เชียงราย เชียงใหม่ บรุ ีรมั ย์
มหาสารคาม
ประจวบครี ขี นั ธ์ ตรัง ตาก นครพนม นครราชสีมา ศรสี ะเกษ
สกลนคร
พษิ ณโุ ลก นราธิวาส น่าน บึงกาฬ บุรีรัมย์ ขอนแกน่
ชยั ภมู ิ
เพชรบุรี ยะลา ประจวบครี ขี นั ธ์ ปตั ตานี พะเยา พทั ลงุ สุรินทร์
หนองคาย
เลย สงิ หบ์ รุ ี พิษณุโลก เพชรบุรี เพชรบูรณ์ แพร่

มหาสารคาม มุกดาหาร แมฮ่ อ่ งสอน

ยโสธร ยะลา ร้อยเอ็ด ราชบรุ ี ลพบรุ ี

ลำาปาง ลาำ พูน เลย สกลนคร สงขลา

สตลู สระบรุ ี สโุ ขทยั สรุ นิ ทร์ หนองคาย

หนองบัวลำาภู อุดรธานี อุตรดิตถ์

อทุ ัยธานี อุบลราชธานี

รวมทง้ั หมด ๑๘๙ พน้ื ที่ ๔๙ จงั หวดั

แผนงานตอ่ ไป คอื การผลกั ดันให้มีการเปลยี่ นผา่ นแผนพัฒนาชนบทเชงิ พ้นื ทีป่ ระยกุ ต์
ตามพระราชดำาริให้เป็นระบบปกติของราชการ ซ่ึงนายกรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว และ
มอบหมายใหส้ าำ นกั นายกรฐั มนตรี รว่ มกบั สาำ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ (ก.พ.ร.)
ยกร่างระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาพื้นท่ีเชิงประยุกต์ พ.ศ......ขึ้น โดยมูลนิธิ
ปิดทองหลังพระฯ สนับสนุนบุคลากรด้านองค์ความรู้ตามแนวพระราชดำาริ และให้คำาปรึกษา
การปฏิบตั ิงาน

การก้าวสูป่ ีท่ี ๔ ของปิดทองหลงั พระฯ จึงเปน็ กา้ วสาำ คัญยิ่งยวด ทจ่ี ะพลิกอนาคตของ
ประเทศไทยใหม้ ัน่ คงและยง่ั ยนื ดว้ ยพลังชุมชนทเ่ี ขม้ แข็งอยา่ งแท้จริง

8
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

สารจากประธานกรรมการ
มูลนิธปิ ดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำาริ

มูลนธิ ปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ ได้ดำาเนินงานมาก้าวเขา้ สูป่ ที ี่ ๔ ตลอดระยะเวลาทผ่ี ่านมา
มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ ยดึ มน่ั ในวตั ถปุ ระสงคท์ จ่ี ะมงุ่ การจดั การความรแู้ ละสง่ เสรมิ การพฒั นาตามแนวพระราชดาำ ริ
ตลอดจนการเชื่อมโยงองค์ความรู้และบูรณาการความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ เพื่อที่จะทำาให้แนวพระราชดำาริ
เปน็ แนวทางหลกั ในการแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาประเทศอย่างเป็นระบบและยัง่ ยืน

ในช่วงการดำาเนินงานของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ยังคงพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ
จังหวัดน่านและอุดรธานีอย่างต่อเน่ือง พร้อมท้ังขยายงานไปสู่ภูมิภาคต่างๆ เพ่ือเป็นตัวอย่างและแนวทางให้
หน่วยงาน ชุมชนมคี วามพรอ้ มไดศ้ กึ ษาเรียนรู้แนวทางการทาำ งานแบบปิดทองหลงั พระฯ ไปแก้ไขปัญหาและพฒั นา
ปัจจัยพื้นฐานของพี่น้องประชาชน ท้ังนี้ กระทรวงหลักที่รับผิดชอบเห็นความสำาคัญจึงได้บรรจุปรัชญาและวีธีการ
ทำางานแบบปิดทองหลงั พระฯ ไว้ในแผนบรหิ ารราชการแผน่ ดิน

นอกจากน้ี มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ยังเป็นทีมพ่ีเลี้ยงแก่หน่วยงานต่างๆ ชุมชน ชาวบ้านท่ีนำาแนวทาง
ของปดิ ทองหลงั พระฯ ไปแกไ้ ขปญั หาและพัฒนาชมุ ชน รว่ มสร้างกระบวนการเรียนรูร้ ว่ มกัน เพ่อื ให้เกิดความเป็น
เจ้าของมากทีส่ ุด ดังน้ันงานสาำ คญั ของมูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระฯ ในขนั้ ต่อไป คือการเพ่มิ ความสำาคญั ในการสง่ เสริม
ให้ชุมชนเป็นผู้ขับเคล่ือนงานพัฒนาตามแนวพระราชดำาริ โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนเกิดความพร้อมใน
การนำาแนวพระราชดำาริไปใช้แกไ้ ขปัญหาและพัฒนาทอ้ งถ่ินดว้ ยตนเองอย่างเปน็ ระบบ

ผมขอยกตัวอย่างผลสำาเร็จที่เกิดข้ึนท่ีจังหวัดน่าน ชาวบ้านที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงพื้นที่ดำาเนินงานปิดทอง
หลังพระฯ ในพื้นท่ี ๓ อำาเภอต้นแบบ เหน็ ผลความสาำ เร็จที่เกดิ ขนึ้ ของชาวบ้านที่ได้นาำ แนวพระราชดาำ รไิ ปใชแ้ กไ้ ข
ปัญหาและพัฒนาชุมชน จึงได้เข้าไปเรียนรู้และศึกษาแนวทางการพัฒนาของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ และนำาไป
ขยายผลตอ่ ซงึ่ พ้ืนที่ ๓ อาำ เภอตน้ แบบเป็นเพียงจดุ เลก็ ๆ ทอี่ ยากใหท้ กุ ทา่ นเห็นว่าแนวทางการพัฒนาของปิดทอง
หลังพระฯ สามารถแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนได้จริง โดยเร่ิมท่ีจุดเล็กๆ แล้วจึงค่อยๆ ขยายให้กว้างขึ้น
ตามลาำ ดับข้ันตอน นคี่ อื ผลสำาเร็จจากการสร้างตน้ แบบการพัฒนาตามแนวพระราชดำาริไดป้ ระจกั ษ์ เหน็ ผลแล้วนั้น

9
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

ในนามมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ ผมจงึ ขอเปน็ กาำ ลงั ใจใหท้ กุ ทา่ น ทกุ หนว่ ยงาน ทร่ี ว่ มกนั สนบั สนนุ การทาำ งาน
ของปดิ ทองหลงั พระฯ มกี าำ ลงั ใจในการทาำ งาน กา้ วผา่ นปญั หาตา่ งๆ ไปไดด้ ว้ ยดี เพอ่ื นาำ ความอยดู่ มี สี ขุ มาสปู่ ระชาชน
และเปน็ การสืบสานแนวพระราชดำาริตามเบ้อื งพระยุคลบาทของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั สมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ที่ทรงอุตสาหะ ทรงงานเพื่อประโยชน์สุขของชาวไทยมา
เปน็ เวลานาน

(ศาสตราจารย์เกยี รติคุณนายแพทย์เกษม วฒั นชยั )
ประธานกรรมการมูลนิธปิ ดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำาริ

10
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

สารจากประธานกรรมการ
สถาบันสง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรม
ปดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ

สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ ได้น้อมนำาแนวพระราชดำาริ
หรือศาสตร์พระราชา แปรสกู่ ารปฏิบัติเพื่อสร้างการพฒั นาที่มัน่ คงและย่งั ยนื ใหแ้ กช่ ุมชนต่างๆ มาตลอดระยะเวลา
๓ ปเี ตม็ และมกี ารขยายพน้ื ทดี่ าำ เนนิ การจากพน้ื ทต่ี น้ แบบ ๒ จงั หวดั สพู่ นื้ ทข่ี ยายผลตามแผนพฒั นาชนบทเชงิ พน้ื ท่ี
ประยุกตต์ ามพระราชดำาริ ๑๐ จงั หวัด

จากการประเมินโดยนักวิชาการของมหาวิทยาลัยมหิดลและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชาวบ้านในพ้ืนท่ี
ปดิ ทองหลงั พระฯ มีชีวติ ความเปน็ อยทู่ ดี่ ขี ึน้ สามารถเพม่ิ รายได-้ ลดรายจา่ ย ชำาระหน้สี ิน มีเงินออมเพิ่มขนึ้ และ
พัฒนาไปส่กู ารรวมตัวจดั ตั้งกองทนุ ต่างๆ ทบ่ี ริหารจดั การกนั เองได้อย่างเข้มแข็งม่ันคง

ปี ๒๕๕๕ ผลของการดาำ เนินงานในพื้นท่ีต้นแบบจังหวัดนา่ นและจังหวดั อดุ รธานี เปน็ ทีน่ า่ พอใจ ทาำ ให้เกิด
การขยายงานสรู่ ะบบราชการ กลา่ วคอื ๔ หนว่ ยงานหลกั ไดแ้ ก่ สาำ นกั ปลดั สาำ นกั นายกรฐั มนตรี กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม นำาปรัชญาและวิธีการ
ของปิดทองหลังพระฯ บรรจุเป็นแผนบริหารราชการแผ่นดินปี ๒๕๕๕-๒๕๕๘ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี ๖
กันยายน ๒๕๕๔ ภายใต้ช่ือ “แผนพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนที่ประยุกต์ตามพระราชดำาริ” จึงนับเป็นปีเริ่มต้นของ
การขบั เคลอื่ นการพฒั นาตามแนวพระราชดาำ รโิ ดยภาคราชการ ทมี่ แี ผนบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ รองรบั หนว่ ยราชการ
เริ่มจัดทำาแผนงานและแผนงบประมาณภายใต้แผนดังกล่าว ซ่ึงนับได้ว่าเป็นก้าวแรกที่มีความสาำ คัญในเชิงระบบ
และสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ในอันท่ีจะส่งเสริมการพัฒนาตามแนวพระราชดำาริ
อยา่ งกวา้ งขวางจนเปน็ แนวทางหลกั ของประเทศในอนาคต

วาระสาำ คญั ในปี ๒๕๕๕ ไดแ้ ก่ งานพฒั นาในพนื้ ที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จงั หวดั เพชรบรุ ี ดงั เปน็ ท่ี
ทราบกันดีวา่ พ้นื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตแิ กง่ กระจาน อยูใ่ นวงั วนของความขดั แย้งระหวา่ ง คนกับคน คนกับปา่ และคน
กบั สตั ว์ ทไี่ มอ่ าจตดั สนิ ความถกู หรอื ความผดิ ได้ ระหวา่ งความชอบธรรมดว้ ยตวั บทกฎหมายกบั สทิ ธคิ วามเปน็ มนษุ ย์
ของชาวไทยเชอ้ื สาย “กะหรา่ ง”

11
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

ปิดทองหลังพระฯ เป็นคนกลางประสานงานให้เกิดการทำางานร่วมกันทุกหน่วยงานในจังหวัดเพชรบุรี
ภายใตแ้ ผนพัฒนาชนบทเชิงพน้ื ท่ีประยกุ ตต์ ามพระราชดำาริ พนื้ ทบี่ า้ นโป่งลึก-บางกลอย เม่ือปี ๒๕๕๕ สถานการณ์
ทกุ ด้านก็คลคี่ ลายได้ในทีส่ ุด

การพัฒนาบ้านโป่งลึกและบางกลอย เร่ิมด้วยการทำาแปลงสาธิต ชาวบ้านปลูกผักกินเอง เพื่อให้ชาวบ้าน
มีอาหารรบั ประทานเพียงพอ จากน้นั เป็นการพฒั นาระบบนา้ำ ขุดนาขัน้ บันได ๓๖๕ ไร่ ปรับปรุงดิน ออกแบบแผน
การเพาะปลูก ใหช้ าวบา้ นเลอื กไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับความตอ้ งการและสภาพพ้นื ท่ี ให้ผลผลิตไดต้ ลอดทัง้ ปี
เล้ียงสตั วท์ ี่ไมม่ ผี ลกระทบตอ่ พน้ื ทอี่ ทุ ยาน และใชว้ ตั ถุดิบในหมู่บา้ นเปน็ อาหาร เพอื่ ลดรายจ่ายและเป็นแหลง่ อาหาร
ของชมุ ชน ปรบั ปรงุ ทอ่ี ยอู่ าศยั เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ โดยไมข่ ดั กบั กฎระเบยี บของอทุ ยานฯ ควบคไู่ ปกบั การพฒั นา
อาชพี ตามแนวพระราชดาำ ริสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ นี าถ

สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ให้ความสำาคัญกับการพัฒนาบุคลากรในทุกระดับ
เพื่อสืบสานแนวพระราชดำาริ โดยการร่วมมือกับที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยท่ีมีความพร้อม
ตลอดจนองคก์ รไมแ่ สวงหากาำ ไร เชน่ โครงการรากแกว้ รวมถงึ นกั เรยี นทนุ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหน้ กั ศกึ ษา
มปี ระสบการณ์ทำางานเพ่อื แกไ้ ขปัญหาชมุ ชนและพัฒนาพืน้ ท่ีตามแนวพระราชดำาริ

การทำางานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ได้รับความร่วมมือด้วยดี จากภาครัฐ
เอกชน สถาบนั การศกึ ษา องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ท้องที่ ส่อื มวลชน และชมุ ชน ซึ่งมแี นวทางรว่ มกนั ในการนำา
แนวพระราชดำาริไปแก้ไขปัญหาและความต้องการของประชาชน และประชาชนยอมรับว่าแนวทางพระราชดำาริ
สามารถช่วยแก้ปัญหาและความต้องการของประชาชนได้จริง ผมจึงขอขอบคุณมา ณ ที่นี่ และหวังว่าจะสร้าง
ความมั่นคงและย่ังยนื ให้แกป่ ระเทศชาตติ อ่ ไป

(หม่อมราชวงศด์ ศิ นัดดา ดิศกลุ )
ประธานกรรมการสถาบันส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปิดทองหลังพระ
สบื สานแนวพระราชดำาริ

12
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

สารจากปลัดสาำ นักนายกรฐั มนตรี

มติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ เห็นชอบให้สำานักงานปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี
เป็นหนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบการจดั ตัง้ มลู นิธปิ ิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ และสถาบันสง่ เสริมและพฒั นา
กิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ เพื่อใหร้ บั ผดิ ชอบภารกจิ ดา้ นการจดั การความรู้ และการสง่ เสรมิ
การพัฒนาตามแนวทางพระราชดำาริออกไปสู่ชุมชนอย่างเป็นระบบกว้างขวาง เพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจนของ
ประชาชนเป็นหลัก

โครงการปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำาริ จงั หวดั นา่ น โครงการปิดทองหลังพระฯ จังหวัดอุดรธานี
และโครงการปิดทองหลังพระฯ ในพ้ืนที่ขยายผลท่ัวประเทศ เป็นการพัฒนาและแก้ไขปัญหาความยากจน
โดยการเช่ือมโยงการใช้ความรู้ตามแนวพระราชดำาริ และบูรณาการการทำางานกับหน่วยงานของรัฐในทุกระดับท่ี
เก่ียวข้อง ซึ่งนับได้ว่าเป็นมิติของการบริหารจัดการท่ีจะช่วยในเกิดการย่ังยืนในการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพ
ของภาคราชการไปพรอ้ มๆ กัน

ในปี ๒๕๕๕ เปน็ ชว่ งเวลาทส่ี าำ คัญ โดยสาำ นักงานปลัดสาำ นักนายกรัฐมนตรี ได้ร่วมกับ ๓ กระทรวงหลกั
ได้แก่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
เห็นชอบนาำ ปรัชญาและวิธีการของปิดทองหลังพระบรรจใุ นแผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ ในช่อื
“แผนพฒั นาชนบทเชงิ พน้ื ท่ีประยกุ ตต์ ามพระราชดำาริ”

การดาำ เนนิ งานของปดิ ทองหลงั พระฯ ทผี่ า่ นมา เกดิ การรบั รแู้ ละขยายผล ตอ่ ยอด สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์
สำาคัญของการจัดตั้งมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ จึงเป็นเคร่ืองสะท้อนความต้ังใจของทุกฝ่ายที่จะร่วมกันสืบสานแนว
พระราชดำาริ

ในฐานะหน่วยงานรบั ผดิ ชอบมูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระฯ และสถาบันส่งเสรมิ พัฒนากจิ กรรมปดิ ทองหลังพระฯ
ผมจงึ ขอขอบคุณทุกๆ หน่วยงาน ทีน่ ำาแนวทางของปดิ ทองหลงั พระฯ ไปแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาชุมชน เพอ่ื ความ
อยู่ดีมีสุขของประชาชน พร้อมกันนี้สำานักงานปลัดสำานักนายกรัฐมนตรีมีความยินดีท่ีจะสนับสนุนงานสืบสาน
แนวพระราชดาำ รอิ ยา่ งเต็มกำาลังความสามารถต่อไป

(ศาสตราจารยพ์ เิ ศษธงทอง จนั ทรางศ)ุ
ปลดั สำานกั นายกรัฐมนตรี

13
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

๒ ความเปน็ มา
มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ และ
สถาบันส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมปิดทองหลังพระ
สืบสานแนวพระราชดำาริ

     มติคณะรัฐมนตรใี นการประชมุ เมอื่ วนั ท่ี ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๒ เหน็ ชอบใหส้ าำ นักงาน
ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี ดำาเนินการจัดต้ัง  “มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ”
และ “สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ” มีการ
จดทะเบยี นจดั ตง้ั มูลนธิ ปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ เม่ือวันท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๕๓

พนั ธกจิ
จัดการความรู้และส่งเสริมการพัฒนาตามแนวพระราชดำาริของพระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยหู่ วั สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ ีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ โดยเช่ือมโยง
องค์ความรู้และบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานสืบสานแนวพระราชดำาริต่างๆ ภาครัฐ
เอกชน วิชาการ ท้องถิ่น ชุมชน และประชาสังคม เพ่ือให้เกิดการแก้ไขปัญหาและพัฒนา
จนเปน็ แนวทางหลกั ในการพัฒนาประเทศอยา่ งเป็นระบบและยั่งยืน

วัตถุประสงค์
๑. จัดต้ังและสนับสนุนการดำาเนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทอง
หลงั พระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ ซงึ่ เปน็ หนว่ ยปฏบิ ตั ขิ องมลู นธิ ิ ใหด้ าำ เนนิ การไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล
ประสทิ ธภิ าพ สอดคลอ้ งกบั เจตนารมณ์แห่งการจดั ต้งั

๒. ให้สถาบัน โดยมมี ลู นธิ ิสนบั สนนุ ใหท้ ุนดาำ เนินงาน มวี ัตถุประสงค์ ดงั นี้
๒.๑) สนับสนุนส่งเสริมและให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนา
แกอ่ งคก์ ร ชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ องคก์ รภาครัฐ
องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ ภาคธุรกิจในการดำาเนินงานที่สอดคล้อง
กับมิติการพัฒนาตามแนวพระราชดำาริ เพ่ือให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่
ทด่ี ีขึน้ รวมถงึ สง่ ผลตอ่ การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม
๒.๒) สนบั สนนุ การจดั การความรตู้ ามแนวพระราชดำาริ โดยประสานความรว่ มมือ
กบั ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาโครงการสว่ นพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์
โครงการหลวง โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำาริ องค์กรชุมชน
ประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ องค์กร
ทางสังคม  สถาบนั วชิ าการ ภาคธรุ กจิ เพอื่ ให้เกิดคลังความรู้ การยกระดบั
ความรู้ การต่อยอดชุดความรู้ใหม่ การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาในและ
นอกระบบ ตลอดจนการขยายผลเชอื่ มโยงส่กู ารนำาไปปฏบิ ตั อิ ย่างกว้างขวาง

14
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

๒.๓) ส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการ ภารกิจและกิจกรรมของสถาบันกับแผนชุมชน
แผนองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน แผนพฒั นาจังหวัด แผนหน่วยงานภาครัฐ
ที่เก่ียวข้อง และนโยบายรัฐบาล

๒.๔)  สนับสนุน ส่งเสรมิ แนะนาำ และช่วยเหลือ องค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ
ภาคธุรกิจ เพ่ือให้น้อมนำาแนวพระราชดำาริไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์และ
เปน็ แนวทางหลักในการพัฒนาทกุ ระดบั ของประเทศ

๒.๕) สรา้ งการรบั รู้ ความเข้าใจ และความรว่ มมอื ดำาเนินการตามแนวพระราชดาำ ริ
อยา่ งตอ่ เนอื่ ง

๓. เพอ่ื สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ การศกึ ษา และทศั นศกึ ษาทเี่ กย่ี วกบั การนาำ แนวพระราชดาำ ริ
ไปประยุกตใ์ ช้และขยายผลส่ชู ุมชน

๔. เพื่อส่งเสริมการประสานการดำาเนินงานร่วมกับองค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสงั คม สถาบนั วิชาการ ภาคธรุ กจิ เพือ่ กิจกรรม
พฒั นาและกิจกรรมสาธารณประโยชน์

๕. ไมด่ าำ เนินการเกย่ี วข้องกบั การเมืองแต่ประการใด

15
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

ผลผลิตจากการดาำ เนนิ งาน
๑. เกิดแนวทางที่หลากหลายในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศตามภูมิสังคมอย่าง
ยั่งยนื ตามแนวพระราชดาำ ริ

๒. เกดิ การมสี ว่ นรว่ มจากภาคที กุ ภาคสว่ นในการพฒั นายทุ ธศาสตรช์ าติ และยทุ ธศาสตร์
สาขาตามแนวพระราชดาำ ริ

๓. เกิดการรับรู้ เข้าใจ และความรว่ มมอื สนับสนนุ จากภาครฐั วชิ าการ เอกชน ทอ้ งถิน่
ชุมชน  ประชาสังคม และนานาชาติ ในการร่วมสร้างภมู ิค้มุ กันและร่วมแก้ไขปญั หาพ้นื ฐานท่ี
สาำ คัญของประเทศตามแนวพระราชดำาริ

16
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

๓ คณะกรรมการ
มูลนธิ ปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ

ในการประชุมคณะผู้ก่อตั้งมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ เมื่อวันที่
๕ มกราคม ๒๕๕๓ ไดม้ ีการพิจารณาผู้ดำารงตำาแหน่งกรรมการมูลนธิ ิปิดทองหลังพระ สืบสาน
แนวพระราชดาำ ริ ซึ่งท่ปี ระชุมมีมตเิ ห็นชอบใหต้ ้งั กรรมการมลู นิธปิ ิดทองหลงั พระฯ ดังมีรายนาม
ของกรรมการ ดงั น้ี

นายเกษม วฒั นชัย
ประธานกรรมการ

นายสเุ มธ ตนั ตเิ วชกุล นายจิรายุ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ท่านผ้หู ญงิ บุตรี วรี ะไวทยะ
กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ท่านผู้หญิงจรงุ จิตต์ ทขี ะระ นายจตุรงค์ ปัญญาดิลก นายวิรไท สันตปิ ระภพ
กรรมการ กรรมการ กรรมการและเหรญั ญิก

หม่อมราชวงศด์ ศิ นัดดา ดศิ กุล
กรรมการและเลขาธกิ าร
17
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

คณะกรรมการ
สถาบนั ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลงั พระ
สืบสานแนวพระราชดำาริ

ในการประชมุ คณะกรรมการมูลนธิ ิปดิ ทองหลังพระฯ ครัง้ ที่ ๑/๒๕๕๓ เม่อื วันที่ ๑๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๓
และครั้งท่ี ๒/๒๕๕๓ เม่ือวันท่ี ๘ เมษายน ๒๕๕๓ ได้มีการพิจารณาแต่งต้ังกรรมการสถาบันส่งเสริมและ
พฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลังพระฯ จาำ นวน ๑๖ คน และคณะกรรมการมลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระฯ ได้มมี ตเิ ม่ือวนั ท่ี ๓๐
พฤษภาคม ๒๕๕๔ เหน็ ชอบใหแ้ ต่งตง้ั กรรมการสถาบันฯ เพิ่มอีกจำานวน ๒ คน ดังมรี ายนามคณะกรรมการฯ ดงั น้ี

๑. หม่อมราชวงศด์ ิศนดั ดา ดิศกุล ประธานกรรมการ
๒. ทา่ นผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ รองประธานกรรมการ
๓. นายสุเมธ ตนั ติเวชกลุ กรรมการ
๔. นายจริ ายุ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา กรรมการ
๕. ท่านผหู้ ญงิ จรงุ จิตต์ ทขี ะระ กรรมการ
๖. นายวริ ไท สันตปิ ระภพ กรรมการ
๗. ปลดั สำานักนายกรัฐมนตรี กรรมการ
๘. ปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการ
๙. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการ
๑๐. ปลัดกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม กรรมการ
๑๑. ประธานคณะกรรมการสถาบันพฒั นาองค์กรชุมชน (องคก์ ารมหาชน) กรรมการ
๑๒. เลขาธกิ ารคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ
กรรมการ
อนั เนื่องมาจากพระราชดำาริ (กปร.) กรรมการ
๑๓. ผ้บู ญั ชาการทหารบก กรรมการ
๑๔. นายกสมาคมองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั แห่งประเทศไทย กรรมการ
๑๕. นายกสมาคมสนั นบิ าตเทศบาลแห่งประเทศไทย กรรมการ
๑๖. นายกสมาคมองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำาบลแห่งประเทศไทย กรรมการ
๑๗. นายกสมาคมกำานัน ผใู้ หญบ่ า้ นแห่งประเทศไทย กรรมการ
๑๘. ผอู้ ำานวยการสถาบันสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระ

สบื สานแนวพระราชดำาริ

18
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

๔ หลักการดำาเนนิ งานและแนวทางปฏบิ ตั งิ าน

มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำาริ มีหลกั ในการดาำ เนินงานและแนวทาง
การปฏิบัติงาน โดยการน้อมนำาเอาองค์ความรู้ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาปฏิบัติ
ยึดหลักการทรงงานของพระองคท์ ่าน ดงั น้ี

๑. หลักการองคค์ วามรู้ ๖ มติ ิ
คอื มติ ดิ า้ นน้ำา ดา้ นดนิ ดา้ นเกษตร ดา้ นพลงั งานทดแทน ดา้ นปา่ และดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม
โดยปรับให้สอดรับเป็นไปตามสภาพของภูมิสังคมและพื้นที่ท่ีมีปัญหาความยากจน เชื่อมโยง
ความรไู้ ปส่กู ารแกไ้ ขปญั หาและส่งเสริมให้เกิดการพฒั นาใหเ้ ปน็ ไปได้อยา่ งยัง่ ยนื

๒. หลกั การพัฒนา “เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พัฒนา”
ต้องมกี ารทาำ ความเข้าใจในชมุ ชน เขา้ ใจในสภาพพ้นื ท่แี ละภมู สิ งั คม การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู
การเกบ็ ขอ้ มลู ทเี่ ปน็ จรงิ และนาำ ขอ้ มลู มาวเิ คราะห์ แลว้ จงึ เรมิ่ การพฒั นาโดยการนาำ องคค์ วามรใู้ ห้
ชาวบา้ นลงมอื ทำาดว้ ยตนเอง ปดิ ทองหลังพระฯ เปน็ ผ้เู ชอ่ื มความรจู้ ากหนว่ ยงานทมี่ อี งคค์ วามรู้
จากครูภูมปิ ัญญา ไปใหก้ ับชาวบา้ น

19
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

๓. หลักการทรงงานและหลกั การโครงการ ๒๓ ขอ้

หลักการโครงการ หลกั การทรงงาน

๑. ระเบิดจากภายใน ๑. จะทาำ อะไรต้องศกึ ษาขอ้ มูลใหเ้ ป็นระบบ
๒. แก้ปญั หาจากจดุ เล็ก ๒. ทาำ งานแบบองค์รวม
๓. ทาำ ตามลำาดับขน้ั ๓. ไม่ติดตำารา
๔. ภมู สิ ังคม ๔. ประหยดั
๕. บริการท่ีจุดเดียว ๕. ทาำ ให้ง่าย
๖. ใช้อธรรมปราบอธรรม ๖. การมีส่วนร่วม
๗. การพ่ึงตนเอง ๗. ต้องยดึ ประโยชนส์ ่วนรวม
๘. พออยู่พอกิน ๘. ใช้ธรรมชาตชิ ่วยธรรมชาติ
๙. ความซ่อื สัตย์สุจรติ จรงิ ใจต่อกัน ๙. ปลูกป่าในใจคน
๑๐. ขาดทุนคือกาำ ไร
๑๑. เศรษฐกจิ พอเพยี ง
๑๒. ทาำ งานอย่างมีความสุข
๑๓. ความเพยี ร
๑๔. รู้ รกั สามคั คี

20
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

๕ กรอบการดาำ เนนิ งานตามมติคณะกรรมการ

คณะกรรมการมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ได้วางกรอบการดำาเนินงานของสถาบันส่งเสริม
และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ไวด้ ังน้ี

๑. นำาเสนอแผนดำาเนินงาน ให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาความ
ยากจน การส่งผลผลิตจาำ แนกกลมุ่ เป้าหมายเปน็ ๒ ระดบั ระดับศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นา โครงการ
สว่ นพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์ โครงการหลวง โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาำ ริ
และระดบั องคก์ รชุมชน ประชาสงั คม องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ องคก์ รภาครัฐ องค์กรทาง
สงั คม สถาบันวชิ าการ ภาคธุรกิจ

๒. แผนงบประมาณจะจำาแนกเป็น ๓ ระดบั คอื ระดบั แผนงาน ระดบั โครงการ และ
ระดบั กจิ กรรม โดยระดบั แผนงานจะสอดคลอ้ งกบั ผลผลติ ท่ีกำาหนดไว้

๓. จาำ แนกแผนงานออกเปน็ ๔ แผนงาน คือ
๓.๑ งานจัดการความรู้ ประกอบด้วย การรวบรวมองค์ความรู้ตามแนวพระราชดำาริ
เป็นคลังความรู้ การนำาองค์ความรู้จากโครงการพระราชดำาริ ไปช่วยแก้ไขปัญหาให้ชาวบ้าน
การจัดทำาคู่มือ ขั้นตอนการพัฒนาและการบริหารโครงการ การติดตามประเมินผล เพื่อเป็น
ตัวอย่างสำาหรับโครงการขยายผลในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ การจัดทำาความรู้พร้อมใช้ที่ประชาชนสามารถ
นำาไปปรับใช้กับภูมิสังคมได้ การเชื่อมโยงองค์ความรู้โดยการจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่าง
ชาวบา้ น ผู้นำาชมุ ชน ปราชญ์ชาวบา้ น และผ้เู ชย่ี วชาญ การเช่ือมความรจู้ ากสถาบันการศึกษา
สชู่ มุ ชน โดยมคี วามร่วมมอื ในรปู แบบตา่ งๆ กบั สถาบันอดุ มศกึ ษา

21
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

๓.๒ งานส่งเสริมการพัฒนา ประกอบด้วย โครงการส่งเสริมการบูรณาการระดับพื้นท่ี
และโครงการพัฒนาระบบความร่วมมือภาคีเครือข่ายสืบสานแนวพระราชดำาริ มุ่งส่งเสริม
ความรว่ มมอื กบั ภาคพี ฒั นาทกุ ภาคสว่ น ในการแกไ้ ขปญั หาความยากจน ฟนื้ ฟทู รพั ยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม โดยต้องนำาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวพระราชดำาริ สนับสนุนให้ชุมชน
ท้องถ่ินร่วมเป็นกลไกขับเคล่ือนหลัก และเป็นเจ้าของการพัฒนา ท้ังน้ีการพัฒนาน้ัน
ต้องสอดคล้องกับภูมิสังคมและสามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริมความร่วมมือกับ
ภาคีพัฒนา ทั้งหนว่ ยงานพ้นื ท่ี หน่วยงานภารกจิ หนว่ ยงานนโยบาย และท้องถ่นิ ชมุ ชน องคก์ ร
ทางสงั คม เพอ่ื ใหม้ โี ครงการตน้ แบบการพฒั นาอยา่ งเหมาะสม และสนบั สนนุ ใหม้ โี ครงการขยาย
ผลในระดับจังหวัด โดยมีแนวทางหลักคือ ควรเป็นพ้ืนที่ที่มีการต่อยอดโครงการที่ชุมชน
ได้ดำาเนินการตามแนวพระราชดำาริอยู่แล้ว หรือชุมชนมีความเข้มแข็งและต้องการดำาเนินการ
ตามแนวพระราชดำาริ และควรกระจายตวั ตามภูมภิ าคต่างๆ ไมซ่ ้าำ พ้นื ที่เดมิ

๓.๓ งานส่ือสารและภาคีสัมพันธ์ ประกอบด้วย โครงการส่งเสริมการรับรู้และเข้าใจ
แนวพระราชดาำ รขิ องประชาชน สอื่ มวลชน สง่ เสรมิ การสอ่ื สารเพอื่ การรบั รเู้ ขา้ ใจ การปรบั ทศั นคติ
ท้ังในระดับส่วนกลาง ระดับจังหวัด และชุมชน ตลอดจนบทบาทในการเชื่อมโยงส่ือมวลชน
เรียนรู้ชนบท นำาสื่อมวลชนลงพ้ืนที่ต้นแบบและพ้ืนท่ีขยายผลปิดทองหลังพระฯ การเผยแพร่
กจิ กรรมของมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลังพระฯ ใหเ้ ป็นทีร่ บั รขู้ องสาธารณชน

๓.๔ งานบริหารจัดการสำานักงาน ประกอบด้วย การติดตามสนับสนุนงานฝ่ายต่างๆ
และงานโครงการอย่างต่อเน่ือง การบริหารการเงิน ควบคุมดูแลค่าใช้จ่าย จัดทำางบการเงิน
ประจำาปี การบริหารสำานักงาน อำานวยความสะดวกต่อการทำางาน การติดตามประเมินผล
โดยการพฒั นาระบบสารสนเทศ การจดั ประชมุ คณะกรรมการ และคณะอนกุ รรมการ งานธรุ การ
ต่างๆ คณะกรรมการสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนว
พระราชดาำ ริ เห็นชอบกับการทำายทุ ธศาสตร์การดำาเนนิ งาน ดงั น้ี

22
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

วสิ ยั ทศั น์

เป็นองค์กรขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ โดยขยายผลแนวพระราชดาำ รใิ หเ้ กดิ ประโยชนแ์ ก่
ประชาชนอย่างกวา้ งขวาง

กลยทุ ธ์หลัก

“เชอื่ มโยง และ ร่วมเรยี นรู”้ (Link & Learn)

ยุทธศาสตร์

๑ ๒ ๓ ๔ ๕

สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ พฒั นาโครงการ สรา้ งภาคี สือ่ สารกบั ภาคี พฒั นาระบบ
การพฒั นาเชงิ พ้นื ที่ ขยายผล แนวร่วม พัฒนาและ บรหิ ารจัดการ
(Extension สาธารณชน
แบบบูรณาการ project) องคก์ ร
(Area based

project)

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์

๑. สร้างพ้ืนท่ีต้นแบบ ๑. ชุมชนได้ความรู้ท่ี ๑. เพ่ิมหน่วยงาน ๑. ใหส้ าธารณชน รบั ๑. พฒั นากระบวนการ
การบรู ณาการเชอ่ื มโยง สามารถนาำ ไปประยกุ ต์ องค์กรท่ีจะเป็นแนว รู้ว่าแนวพระราชดำาริ หลักเพ่ือรองรับการ
ความรู้มาใช้แก้ปัญหา ใชไ้ ดเ้ รว็ รว่ มเชงิ ยทุ ธศาสตร์กบั สามารถแก้ปัญหาและ ทำางานทั้ง 4 ด้านให้
ไดจ้ รงิ ๒. ชุมชนสามารถ สถาบนั ฯ พัฒนาชีวิตความเป็น รวดเรว็ ถูกต้อง
๒. มีระบบการบรหิ าร แบ่งปนั แลกเปลี่ยน ๒. มีโครงการความ อยไู่ ด้จริง ๒. พัฒนาระบบสาร
การพัฒนาโดยความ เรยี นรู้ การแกไ้ ขปญั หา ร่วมมือกับหน่วยงาน ๒. ให้ภาคีรับรู้ เขา้ ใจ สนเทศและฐานข้อมูล
ร่วมมือหลายฝ่าย และพัฒนารว่ มกับ ภาคี แ ล ะ ข ย า ย ผ ล สู่ ก า ร พัฒนาทักษะบุคลากร
ชุมชนอน่ื ปฏิบัติจรงิ ในการทาำ งาน
๓. เกิด อปท.นาำ รอ่ ง
ท่ีมีความพรอ้ มในการ
ขยายผลความสำาเรจ็

ค่านิยมร่วม (shared value)

๑) ศรัทธาในแนวพระราชดาำ ริ
๒) เชื่อในพลังของการเรียนรู้
๓) ขบั เคลื่อนดว้ ยความรว่ มมือของท้องถนิ่ /ชมุ ชน
๔) ประชาชนต้องไดร้ ับประโยชนจ์ ากการดำาเนนิ งานขององค์กร

23
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

๖ สรุปการดาำ เนนิ งานปดิ ทองหลงั พระฯ
การดำาเนนิ งานของมลู นิธิปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ และสถาบันสง่ เสริม
และพฒั นากจิ กรรมปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำาริ ในปงี บประมาณ ๒๕๕๕ นบั วา่
เปน็ ความก้าวหน้าอยา่ งมีนยั สำาคัญในภารกิจทกุ ด้าน เปน็ ท่ียอมรบั โดยกวา้ งขวาง
ความสำาเรจ็ ของมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ ในการฟน้ื ฟแู ละอนรุ กั ษป์ า่ ตน้ นำ้าในระดบั ลมุ่ น้าำ
โดยยดึ หลักการบริหารจดั การนำ้าตามแนวพระราชดาำ ริ และการมสี ่วนร่วมของหน่วยงานราชการ
องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นและชุมชน โดยมตี ัวอยา่ งความสาำ เรจ็ คือ โครงการบรหิ ารจัดการนาำ้
อยา่ งยงั่ ยนื อา่ งเกบ็ นา้ำ หว้ ยคลา้ ยอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาำ ริ จงั หวดั อดุ รธานี และโครงการพฒั นา
พื้นท่ีต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นท่ีจังหวัดน่านตามแนวพระราชดำาริ ทำาให้
คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพ่ือวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรนำ้า (กยน.) พร้อมด้วย
คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพ่ือการฟ้ืนฟูและสร้างอนาคตประเทศ (กยอ.) และผู้ทรงคุณวุฒิ
ประกอบด้วย ดร.วีรพงษ์ รามางกูร ดร.วิษณุ เครืองาม ดร.บวรศักด์ิ อุวรรณโณ ดร.สุวิทย์
เมษิณทรีย์ ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี เลขาธิการคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพ่ือวางระบบการ
บริหารจัดการทรัพยากรน้ำา เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน รองเลขาธิการคณะ
กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุ
พืช อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั และผูแ้ ทนผบู้ ัญชาการทหารบก เดนิ ทางไปศกึ ษา
ดูงานทจี่ งั หวดั อุดรธานี นา่ น และเชียงราย เม่ือวนั ท่ี ๒๗-๒๙ มกราคม ๒๕๕๕ เพ่ือเป็นข้อมลู
ประกอบการพิจารณาจดั ทาำ แผนงานโครงการฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าตน้ นา้ำ ระดับประเทศและระดับ
ลุม่ นำา้ โดยยึดหลกั การบรหิ ารจัดการนำ้าตามแนวพระราชดาำ ริ

24
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

การดาำ เนนิ งานด้านการจัดการความรู้ ปี ๒๕๕๕

ภารกจิ ของงานจัดการความรู้ คอื จัดหาองคค์ วามรู้ท่ีพสิ ูจน์แล้ววา่ สามารถแก้ปัญหา
ความยากจนของชาวบ้านให้พ้นจากภาวะกู้กินกู้ใช้ สู่การมีชีวิตอยู่อย่างพอมีพอกินและพึ่งพา
ตัวเองไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืนดว้ ยองค์ความรู้ ๓ ประเภท คือ องค์ความร้จู ากแนวพระราชดำาริทง้ั ๖ มติ ิ
(น้ำา ดิน ป่า เกษตร พลังงานทดแทน และส่ิงแวดล้อม) องค์ความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น
และองคค์ วามรู้ทีเ่ ป็นสากล เพ่ือให้ชาวบา้ นเกดิ ความมน่ั ใจในการนำาความร้ไู ปประยกุ ต์ใชแ้ ก้ไข
ปัญหาของตนเอง และสรา้ งเปน็ ความรใู้ หม่ทเ่ี หมาะสมกับภมู สิ ังคมของตน

องคค์ วามรูด้ งั กลา่ ว มกี ารนำาไปใชใ้ น ๓ รปู แบบ คือ
๑. นาำ ไปใชป้ ฏบิ ตั ใิ นพนื้ ทต่ี น้ แบบ จงั หวดั นา่ นและจงั หวดั อดุ รธานี และในพน้ื ทข่ี ยายผล
๑๗ พื้นที่ ๑๐ จังหวัด
๒. นำาไปส่ือสาร สร้างการเรียนรู้แก่ประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือ
หน่วยงานต่างๆ
๓. นาำ ไปสอนในสถาบันการศกึ ษา โดยปรบั ใหม้ ีรปู แบบทเ่ี หมาะสมกับสถาบันการศกึ ษา
ในระดับต่างๆ
การดาำ เนนิ งานในปีงบประมาณ ๒๕๕๕ มกี จิ กรรมและผลการดำาเนนิ งาน ดังนี้

๑. การใชอ้ งคค์ วามรู้สนบั สนุนการพัฒนาพ้นื ที่

๑.๑ พืน้ ท่ตี น้ แบบ
• พัฒนาศกั ยภาพ อสพ. และชาวบา้ นในพื้นทีโ่ ครงการต้นแบบ จงั หวดั นา่ น
- นำาเจ้าหน้าทป่ี ศสุ ตั วใ์ นพื้นที่ต้นแบบ ๓ อาำ เภอและชาวบ้าน ๓๐ คน มาฝึกอบรม

การผสมเทยี มและการสขุ าภิบาลสตั ว์ ณ มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ จังหวดั เชยี งใหม่
- อบรมการสร้างตลาดและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากสุกรอินทรีย์ ณ ศูนย์การเรียนรู้

และบรกิ ารวิชาการ เครอื ขา่ ยแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย (จงั หวัดน่าน)
- นำาชาวบ้านตำาบลขุนน่านศึกษาดูงานพืชหลังนา ณ บ้านดอนมูลและศูนย์ส่งเสริม

พฒั นาอาชีพจังหวดั น่าน เพ่ือดเู กษตรกรตวั อย่างปลูกบรอ็ กโคล่ี
- นาำ ชาวบา้ นและเจา้ หนา้ ทเ่ี ขา้ รบั การอบรมการแปรรปู ตา๋ ว ทศ่ี นู ยก์ ารเรยี นรแู้ ละบรกิ าร

วิชาการ เครือข่ายแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั (จงั หวัดนา่ น) เพ่อื รอแปรรปู ในช่วง
ฤดกู ารเกบ็ เก่ียวต๋าว
- นำา อสพ.และเกษตรกร ศึกษาดูงานการรวมกลุ่มเกษตรกรท่ีบ้านดอนมูล
อำาเภอเมือง และบ้านวังผา อำาเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน ซ่ึงประสบความสำาเร็จ
ในการปลูกพืชหลังนาระยะสั้น เช่น บร็อกโคล่ี กะหลำ่าปลี กะหลำ่าดอก พริก
มะเขือ คะน้า กวางตุ้ง และศึกษาเร่ืองการบริหารจัดการกลุ่ม ประโยชน์ของ
การตัง้ กลุ่มการผลติ และระบบตลาดเกษตรปลอดภัย

25
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

- นำา อสพ.และชาวบ้านในพื้นท่ีต้นแบบ ๓ อำาเภอ ไปศึกษาและฝึกปฏิบัติที่
ศูนย์เรียนรู้การทำาเกษตรธรรมชาติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีศูนย์เครือข่าย
เรียนร้กู ารเลย้ี งสตั ว์ (นายพงษ์พันธ์ุ นันทขวา้ ง) จังหวดั ลาำ พูน รวมทั้งการทาำ น้ำาหมัก
จุลินทรีย์ ๗ ชนิด ยากำาจัดศัตรูพืชโดยใช้สมุนไพร การผลิตเชื้อราขาว การผลิต
อาหารสตั วจ์ ากธรรมชาติ เพอ่ื ลดตน้ ทนุ ในการทาำ เกษตร โดยวทิ ยากรจากจงั หวดั ลาำ พนู
เดินทางมาติดตามผลการเรียนรู้ในพ้ืนที่จำานวน ๙ ครั้ง และศึกษาการทำาปุ๋ยหมัก
แบบไมก่ ลับกองจากมหาวทิ ยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่

- นำากลุ่มเกษตรกรปลูกหน่อไม้ฝร่ัง ในพ้ืนที่ต้นแบบ ๓ อำาเภอ ศึกษาดูงานท่ี
ประสบผลสำาเร็จในพ้ืนท่ีต่างๆ คือ ดูงานด้านเกษตรอินทรีย์ของกลุ่มเกษตรกร
ในจังหวัดราชบุรี การปรับปรุงดินเสื่อมโทรมจนแข็งเป็นดานให้ทำาการเกษตร
ได้ของสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ การปลูกหน่อไม้ฝรั่งและเกษตรผสม
ผสานในโครงการชั่งหัวมัน การบริหารจัดการกองทุนโรงสีข้าว สุกร เป็ด ไก่
การปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ท่ีศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ
และการบำาบัดน้ำาเสียจากฟาร์มสุกร ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต
กำาแพงแสน จังหวัดนครปฐม

- อบรมโครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี ๒๕๕๕
รุ่นที่ ๑๒ หลักสูตร “ขบวนการจัดการผลิตหน่อไม้ฝร่ังและพริก” แบบครบวงจร
ณ ห้องประชุมศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดน่าน (พืชสวน)
โดยมี รศ.ดร.รวี เสรฐภักดี คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต
กำาแพงแสน จังหวัดนครปฐม และอาจารย์วีระ ภาคอุทัย ภาควิชาเศรษฐศาสตร์
การเกษตร มหาวิทยาลยั ขอนแก่น เปน็ ผู้ถา่ ยทอดองค์ความรู้

26
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

- อบรมการปลูกมะนาวนอกฤดู โดย รศ.ดร.รวี เสรฐภกั ดี คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัย
เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาำ แพงแสน จงั หวดั นครปฐม ถา่ ยทอดความรูท้ ัง้ ด้านทฤษฎี
และปฏิบตั ิ และทดลองทำาท่ีอำาเภอสองแคว ที่บ้านยอด ๙๙ ตน้ เกษตรกรเขา้ รว่ ม
๑ ราย บ้านผาหลัก ๑,๒๐๕ ต้น เกษตรกร ๕๓ ราย

- อบรมการปลูกพริกให้แก่เกษตรกรบ้านนำ้าป้าก โดย อาจารย์วีระ ภาคอุทัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อให้ชาวบ้านผู้ปลูกพริกมีความรู้ด้านการเพาะการปลูก
การดแู ลรกั ษา การเกบ็ เกีย่ ว และการเลือกช่วงเวลาปลกู พริกใหไ้ ด้ราคาดี

- ศึกษาดูงานเร่ืองพริก ท่ีอำาเภอเวียงสาและอำาเภอหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่ เพื่อดู
ตัวอย่างการเตรียมแปลงปลูก การคลุมพลาสติก การเจาะรูพลาสติก วิธีการปลูก
การใหน้ ้าำ หลงั จากทีป่ ลกู เสรจ็ และการดแู ลพริก

- ดงู านการผลติ เชอ้ื แบคทเี รียกำาจัดแมลง (BT) เพอื่ ปอ้ งกันและกำาจัดโรคพชื และแมลง
ควบคุมตัวอ่อนของหนอนเจาะ โดยไม่มีสารพิษที่เป็นอันตรายของกลุ่มเกษตรกร
ผู้ผลติ หนอ่ ไม้ฝรั่ง อำาเภอกาำ แพงแสน จังหวดั นครปฐม

- อบรมการเพ่ิมประสิทธิภาพและปรับปรุงคุณภาพส้มเขียวหวาน กลุ่มเกษตรกร
บ้านนาำ้ ปา้ ก

- อบรมถา่ ยทอดความรกู้ ารจดั ทาำ บญั ชคี รวั เรอื นและบญั ชสี ขุ ภาพ โดยปราชญช์ าวบา้ น
จังหวัดชุมพร ท่ีประสบความสำาเร็จในการทำาบัญชีครัวเรือน และนำาข้อมูลมาใช้ใน
การพัฒนาชุมชน ขณะนี้มีชาวบ้าน ๒๖ ราย ทำาเป็นตัวอย่าง คือ บ้านน้ำาป้าก
๑๐ ราย บ้านยอด ๑๐ ราย บ้านนำ้ารี ๒ ครัวเรือน บ้านเปียงซ้อ ๒ ครัวเรือน
บา้ นด่าน ๑ ครัวเรอื น และบา้ นน้าำ ชา้ ง ๑ ครวั เรอื น

27
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

- อบรมเพ่ิมความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์ให้บุคลากรในองค์กร ได้แก่
ความรพู้ น้ื ฐานเกยี่ วกบั คอมพวิ เตอรใ์ หแ้ ก่ อสพ. ๔๐ คน

- ศึกษาดูงานด้านการจัดการระบบข้อมูล Scorecard Cockpit ณ พระตำาหนัก
ภพู ิงคราชนิเวศน์ มี อสพ.เขา้ ร่วม ๑๒ คน

ผลทเี่ กดิ ขน้ึ จากการฝกึ ปฏบิ ตั ทิ าำ เกษตรธรรมชาตติ ามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง และเกษตร
อินทรีย์ ทำาให้ อสพ.นำาความรู้กลับมาทำาท่ีบ้านของตนเอง ช่วยเพ่ิมผลผลิต และลดรายจ่าย
ของครวั เรอื นได้ ความรจู้ ากการศึกษาดูงาน มีการนาำ มาปรับใช้ทีบ่ ้านของตนเอง ๔๐ ราย ท่ี
อำาเภอท่าวงั ผา ๑๐ ราย อาำ เภอสองแคว ๖ ราย และอาำ เภอเฉลมิ พระเกยี รติ ๒๔ ราย โดยทาำ
เกษตรผสมผสาน ทำาปุ๋ยหมักแบบไมก่ ลับกอง ทาำ นา้ำ หมักจุลนิ ทรยี ์ ๗ ชนดิ ยากาำ จดั ศัตรูพืช
โดยใช้สมนุ ไพรผลติ เช้อื ราขาว ผลิตอาหารสัตว์จากธรรมชาติ ชว่ ยลดต้นทนุ ในการทำาเกษตร

• ถอดความรพู้ รอ้ มใช้จากครูภมู ปิ ัญญาและ อสพ. ในพืน้ ท่ตี น้ แบบจงั หวัดอุดรธานี
สถาบันฯ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี และชาวบ้านโคกล่าม-แสงอร่าม
ถอดความรแู้ ละประสบการณจ์ ากการปฏบิ ตั ทิ ปี่ ระสบความสาำ เรจ็ จากเกษตรกรในพนื้ ทโ่ี ครงการ
๒๐ ราย รวมท้งั องคค์ วามรู้ในมิตินาำ้ ดิน และเกษตร จัดพิมพ์เปน็ หนงั สือ “ท่นี ีบ่ า้ นโคกล่าม
-แสงอร่าม” เป็นการเผยแพร่ความรู้พร้อมใช้ เพ่ือให้เกษตรกรในพื้นที่อ่ืน นำาไปปรับใช้ให้
เหมาะสมกับภมู สิ ังคมของตนเอง และเกดิ เปน็ ความรูใ้ หม่

๑.๒ พน้ื ท่ีขยายผล
• การถ่ายทอดความรู้ ในปี ๒๕๕๕ มีถ่ายทอดองค์ความรู้ให้พ้ืนที่ขยายผลใน
๙ อาำ เภอ จาำ นวน ๓๐ ครัง้ เชน่
- ถ่ายทอดความรู้ดา้ นการพัฒนาระบบน้ำา ปรบั ปรงุ ฝายเดิม ให้บา้ นน้ำาแขว่ง อำาเภอ

นาหมื่น ผลทีเ่ กดิ ข้นึ ทำาให้ชาวบา้ น ๘๔ ครวั เรือน ๓๓๖ ราย มนี ำา้ ทำาการเกษตร
และอุปโภคบริโภค นอกจากนี้ บ้านท่าควาย ซึ่งเป็นหมู่บ้านใกล้เคียงได้
รับประโยชน์จากฝายน้ีอีก ๑๖ ครัวเรือน รวมท้ังโครงการหลวงได้ใช้นำ้าจากฝาย
เพาะพนั ธกุ์ ลา้ ทาำ แปลงสาธิต เพอ่ื สง่ เสริมการเกษตรใหช้ าวบ้านในพ้นื ที่นี้
- ถ่ายทอดองค์ความรู้ในการใช้เครื่อง GPS สำารวจสภาพกายภาพให้แก่เจ้าหน้าท่ี
ของมลู นิธิเมอื งน่าน และชาวบ้านหาดเคด็ ตาำ บลเมอื งจัง อาำ เภอภเู พียง
- ถ่ายทอดองค์ความรู้ในการสร้างฝายอนุรักษ์ ให้แก่นักเรียนและอาจารย์โรงเรียน
มธั ยมแมจ่ รมิ อาำ เภอแมจ่ รมิ ๗๕ คน โดยร่วมกันสร้างฝาย ๓ ตัว

• การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้ระหว่างครูภูมิปัญญา ท่ีนำาแนวพระราชดำาริ
ไปประยุกต์ใช้และประสบความสำาเร็จ เพ่ือนำาประสบการณ์ความรู้ของครูภูมิปัญญาไปใช้
ในการแกป้ ัญหาของชาวบา้ นในพื้นทีข่ ยายผล ได้แก่ จังหวดั เชยี งใหม่ สิงหบ์ ุรี และพิษณุโลก

28
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

- จังหวัดเชียงใหม่ นำาครูภูมิปัญญาในจังหวัดเชียงใหม่ ๑๘ คน มาแลกเปล่ียน
ประสบการณ์กับชาวบ้านในพื้นที่ขยายผลโครงการปิดทองหลังพระฯ ๒ พ้ืนท่ี คือ
บา้ นอมแรด อาำ เภอแม่แจ่ม และบ้านปาง อาำ เภอไชยปราการ

- จังหวัดสิงห์บุรี เชิญครูภูมิปัญญาในจังหวัดสิงห์บุรี ๒๒ คน มาแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์กับชาวบ้านในพื้นท่ีขยายผลบ้านท่าลอบ อำาเภอค่ายบางระจัน และ
ลงไปให้ความรู้ภาคปฏิบัติแก่เกษตรกรบ้านท่าลอบ ในเร่ืองการป้องกันและกำาจัด
เพลี้ยกระโดดสีน้ำาตาล และการเพ่ิมผลผลิตข้าวโดยใช้นำ้าหมักจุลินทรีย์ปรับปรุง
ดิน ชาวบ้านท่ีนำาองค์ความรู้ไปปฏิบัติ ๒๐ ราย ทุกคนมีรายได้จากการปลูกผัก
ปลอดสารพิษขายวันละ ๒๐๐ บาท โดยมีแม่ค้าจากตลาดบางระจันมารับซ้ือผัก
ถึงหมู่บ้านทุกวัน และชาวบ้านได้รวมกลุ่มจัดต้ังกองทุนสุกร กองทุนข้าวและ
กองทุนผัก มีกฎกติกาท่ีชาวบ้านร่วมกันคิดและมีส่วนร่วม ทำาให้กองทุนมีเงิน
หมุนเวียนใช้จ่ายอย่างต่อเน่ือง เช่น กองทุนข้าวและกองทุนผัก มีกติกาให้สมาชิก
นาำ เมลด็ พนั ธไ์ุ ปปลูกและส่งคืนรอ้ ยละ ๕๐ ของมูลค่าเมลด็ พันธทุ์ ี่นำาไปจากกองทนุ
เมอื่ เกบ็ เกย่ี วผลผลติ แลว้ ปจั จบุ นั กองทนุ สกุ ร มเี งนิ ในกองทนุ ประมาณ ๑๔,๐๐๐ บาท
กองทนุ ข้าว มีเงนิ ในกองทุน ๗๐,๐๐๐ บาท และกองทนุ ผัก มเี งนิ ในกองทนุ ประมาณ
๑๐,๐๐๐ บาท

- จังหวัดพิษณุโลก เชิญครูภูมิปัญญาในจังหวัดพิษณุโลก ๒๒ คน มาแลกเปล่ียน
ประสบการณ์กับชาวบ้านในพื้นท่ีขยายผลบ้านหนองพระและเจริญผล ตำาบล
หนองพระ ทำาให้มีการตั้งโรงเรียนชาวนาขึ้นท่ีโรงเรียนบ้านเจริญผล โดยอาจารย์

29
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

พัฒน์ สันทัด ครูภูมิปัญญาผู้ก่อต้ังโรงเรียนชาวนา มาอบรมให้ความรู้เร่ือง
การเพ่ิมผลผลิต การปรบั ปรงุ บาำ รงุ ดนิ การปลกู พชื ไร่ การปลกู พืชสวน การทาำ นา
การปศสุ ัตว์ การทาำ จุลนิ ทรีย์จากหน่อกล้วย ฮอร์โมนไข่พืชและสัตว์ การดแู ลสุขภาพ
ด้วยไข่ดองฮ่องเต้และฮอร์โมนไข่เพื่อสุขภาพ ปัจจุบันมีการทำาของใช้ในครัวเรือน
ใชก้ นั เองและจาำ หนา่ ยในงาน OTOP ตา่ งๆ เชน่ นำ้ายาลา้ งจาน นาำ้ ยาถพู นื้ สบทู่ องคาำ
ข้าวกล้องหอมมะลิปลอดสาร ข้าวกล้องหอมนิลปลอดสาร เป็นต้น และยังขยาย
ความร้ไู ปสู่หมู่บา้ นหนองปรอื ตำาบลบ้านกลาง อำาเภอวังกระทุ่ม

๒. บรกิ ารเช่ือมโยงองคค์ วามรใู้ หแ้ กอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๒.๑ เปิด “คลินิกเกษตร” ร่วมกับมูลนิธิพระดาบสในโครงการพระดาบสสัญจร เพื่อ
เช่ือมโยงองค์ความรู้แนวพระราชดำาริใน ๖ มิติ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๑๓ แห่ง
(อบต. ๗ แหง่ และเทศบาลตาำ บล ๖ แหง่ ) ใน ๑๑ จงั หวัด ไดแ้ ก่ จันทบรุ ี ลำาพนู เชยี งใหม่
นครนายก ประจวบคีรขี นั ธ์ กาฬสินธ์ุ รอ้ ยเอ็ด ชยั นาท สระบุรี อดุ รธานี และลพบุรี โดยสำานกั
วิชาการจากสถาบันการศึกษาและหน่วยงานราชการ ลงไปให้คำาแนะนำาการแก้ไขปัญหาต่างๆ
เชน่ การปอ้ งกนั โรคพชื และแมลงศตั รพู ชื การเพมิ่ ผลผลติ ขา้ ว การควบคมุ เพลยี้ กระโดดสนี าำ้ ตาล
การปรับปรุงบำารุงดิน การผลิตข้าวอินทรีย์ การลดต้นทุนการผลิต การจัดการข้าววัชพืชแบบ
ผสมผสาน การจัดการแปลงเกษตรอย่างเหมาะสม การตรวจดิน เป็นต้น ทำาให้เกิดช่องทาง
การถ่ายทอดองค์ความรู้จากสถาบันการศึกษา และหน่วยงานราชการ ให้ไปสู่การรับรู้ของ
ชาวบา้ นโดยตรง ลดช่องว่างระหวา่ งหน่วยงานราชการกับชุมชน

๒.๒ สถาบันฯ ร่วมกับโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเน่ือง
มาจากพระราชดำาริ จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเพิ่มศักยภาพองค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถ่ินในการพฒั นาชมุ ชนตามแนวพระราชดำาริ” ระหวา่ งวันที่ ๒๐-๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๕
ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ เพ่ือติดตามผลการเช่ือมโยงองค์ความรู้ของเทศบาล และ อบต.
ท่ีดำาเนินการในปี ๒๕๕๔ และสร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องให้แก่เทศบาล และ อบต.ท่ี
เข้าร่วมโครงการปี ๒๕๕๕ ในการนำาหลักองค์ความรู้ตามแนวพระราชดำาริทั้ง ๖ มติ ิ ไปประยกุ ต์
ใช้ในพื้นท่ีชุมชนท้องถ่ิน เป็นต้นแบบการเรียนรู้แก่พ้ืนท่ีอื่นๆ ได้ เพื่อให้องค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถน่ิ ๖๐ แหง่ ๓๙ จงั หวดั เรียนร้กู ารทำางานตามแนวพระราชดำาริทงั้ ๖ มิติ (น้าำ ดนิ ป่า
เกษตร พลงั งานทดแทน และสง่ิ แวดล้อม) และปรับแนวทางเสนอโครงการแกไ้ ขปัญหาใหต้ รง
กับความตอ้ งการของชุมชน โดยมีตัวชวี้ ดั ความสาำ เรจ็ ทีช่ ัดเจน

๓. สนับสนุนการนำาองคค์ วามรู้เข้าไปใช้ในสถาบนั การศึกษา

๓.๑ พนื้ ทเ่ี รยี นรู้ ห้องปฏิบตั กิ ารทางสังคม (Social lab)
• สนับสนุนการประกวดผลงานของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการ SIFE
Thailand (Student in Free Enterprise) โดยนาำ แนวทางของปิดทองหลงั พระฯ ไปใช้ในการจดั
ทำาโครงการของนักศึกษาผู้มีจิตอาสาช่วยพัฒนาสังคม เปิดโอกาสให้นักศึกษาลงพื้นท่ีจริง

30
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

เก็บข้อมูล รู้ปัญหาชาวบ้านอย่างถ่องแท้ และร่วมกับชาวบ้านนำาเสนอโครงการพัฒนาชนบท
อย่างยั่งยืน แก้ปัญหาอย่างตรงจุด มีประสิทธิผล สามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยมี
กิจกรรมรว่ มกับสถาบันฯ ดงั นี้

- จดั อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารโครงการ SIFE ประจาำ ปี ๒๕๕๕ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๐-๒๔ มกราคม
๒๕๕๕ ณ โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติปางมะหัน และโครงการพัฒนา
ดอยตุงอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ จังหวัดเชียงราย เพื่อให้อาจารย์ท่ีปรึกษา
และนักศึกษาท่ีเข้าร่วมโครงการ SIFE ตระหนักถึงความสำาคัญของการพัฒนาโดย
มีคนเป็นศูนย์กลาง และความสำาคัญของการสำารวจปัญหาและความต้องการ
ของชมุ ชน โดยศกึ ษาเรยี นรจู้ ากความสำาเรจ็ จากโครงการปลกู ปา่ ถาวรเฉลมิ พระเกยี รติ
ปางมะหนั และโครงการพฒั นาดอยตงุ ฯ เพอ่ื นาำ ไปเปน็ แนวทางในการพฒั นาโครงการ
SIFE ของมหาวิทยาลัย โดยมีผู้เข้าร่วมอบรม ๑๑๖ คน จาก ๔๐ มหาวิทยาลัย
ท่วั ทกุ ภมู ภิ าคในประเทศ

- จดั กิจกรรมต่อเนอื่ ง เพอ่ื แนะนำาการวางแผนและพัฒนาโครงการ หรือ SIFE Clinic
ใหแ้ ก่สถาบนั อดุ มศึกษาท่ีเข้าร่วมโครงการ SIFE ปี ๒๕๕๕ รวม ๕ ครง้ั ระหวา่ ง
วันท่ี ๘ มีนาคม–๒ เมษายน ๒๕๕๕ โดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากมูลนิธิปิดทอง
หลังพระฯ มลู นิธแิ มฟ่ า้ หลวงฯ มูลนิธริ ากแกว้ SIFE ประเทศไทย และปราชญช์ มุ ชน
ให้คำาแนะนำาแกน่ ิสติ นกั ศึกษาและอาจารยร์ วม ๒๘๐ คน จากสถาบันอุดมศึกษา
๓๒ แหง่ ทวั่ ประเทศ

- จดั การประกวดระดบั ประเทศ “2012 SIFE Thailand National Exposition” ระหว่าง
วันท่ี ๒๘-๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมิตร
เพอ่ื คดั เลอื กผลงานจากสถาบนั อดุ มศกึ ษาทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ ๒๘ แหง่ สง่ เขา้ ประกวด
ระดับโลกตอ่ ไป

• มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ นำานักศึกษาโพธิวิชชาลัย ๔ คน ฝึกงานเรียนรู้
กระบวนการ เขา้ ใจ เข้าถงึ พัฒนา ระหวา่ งวนั ที่ ๑๓ มถิ นุ ายน–๑๑ กนั ยายน ๒๕๕๕ ในพื้นที่
โครงการปิดทองหลังพระฯ ทั้ง ๓ จังหวัด คือ ตำาบลห้วยสัก อำาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
บ้านเปียงซ้อ อำาเภอเฉลมิ พระเกียรติ บ้านยอด อำาเภอสองแคว และบา้ นนำา้ ป้าก อำาเภอท่าวังผา
จงั หวดั นา่ น และบา้ นโคกลา่ ม–แสงอรา่ ม ตาำ บลกดุ หมากไฟ อาำ เภอหนองววั ซอ จงั หวดั อดุ รธานี

• นักเรียนทุนโครงการเศรษฐกิจพอเพียง รุ่นที่ ๑ เข้าค่าย เพ่ือศึกษาแนวทาง
การดำาเนินงานของสถาบันฯ เรียนรู้วิถีชีวิตชุมชนในพ้ืนที่ต้นแบบ บ้านร่องเบ้อ ตำาบลห้วยสัก
อำาเภอเมือง จงั หวดั เชียงราย ๑๘ วัน ระหว่างวันที่ ๘-๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕

๓.๒ พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนในสถาบันอุดมศึกษา ตามแนวทางปิดทอง
หลังพระฯ เชน่ สำานักงานจัดการศกึ ษาท่วั ไป จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย เปิดวชิ า “การพัฒนา
ชมุ ชนบนฐานปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง” ทัง้ ภาคภาษาไทยและภาษาองั กฤษ สำาหรบั ปริญญาตรี
๓ หน่วยกติ โดยสถาบนั ฯ จดั หาสถานที่ให้นิสติ ไดศ้ กึ ษาวิถชี วี ิต ความเปน็ อยขู่ องผู้ท่นี ้อมนำา
เศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาำ วนั ไดป้ ระสบความสาำ เรจ็ เชน่ เกษตรกรรอบศนู ย์

31
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ จังหวัดเพชรบุรี และเกษตรกรรอบศูนย์ศึกษาการพัฒนา
เขาหินซ้อนฯ จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

๓.๓ ถอดความรู้เกษตรกรรอบศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาและพ้นื ทขี่ ยายผล
สถาบันการศกึ ษา ๘ แห่ง รว่ มถอดความรจู้ ากครูภมู ปิ ญั ญาทนี่ ำาแนวพระราชดำารไิ ปปรับ
ใช้และประสบความสำาเร็จ ในปี ๒๕๕๕ รวบรวมไดท้ งั้ สน้ิ ๑๐๐ ราย ดังนี้
• มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สำารวจข้อมูลเกษตรในหมู่บ้านขยายผลและหมู่บ้าน
รอบศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาพกิ ุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดาำ ริ จังหวดั นราธวิ าส ๓๐ ราย
• มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น ถอดความรู้ครูภูมิปัญญาบ้านท่าร้องขี้ควาย (หมู่บ้าน
เฉลมิ พระเกยี รต)ิ หมู่ ๓ ตำาบลสนั ผีเส้อื อำาเภอเมือง จังหวดั เชยี งใหม่ ๑ ราย
• มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น ถอดบทเรียนองค์
ความรู้การนำาแนวพระราชดำาริมาประยกุ ตใ์ ช้ เพอื่ ขยายผลในพนื้ ทจ่ี ังหวดั เชียงใหม่ ๔ ราย
• มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครและนกั วจิ ยั อสิ ระ เก็บขอ้ มูลเกษตรกรหมู่บ้านขยายผล
และหมู่บ้านรอบศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ จังหวัดสกลนคร
พรอ้ มท้งั ถอดบทเรยี นและจัดทาำ ชดุ ความร้เู กษตรกรตน้ แบบฯ ๑๐ ราย
• มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ราชนครนิ ทร์ ถอดความรคู้ รภู มู ปิ ญั ญารอบศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นา
เขาหนิ ซ้อนฯ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ๒๕ ราย
• มหาวทิ ยาลยั นอรท์ เชยี งใหม่ ถอดบทเรยี นและรวบรวมองคค์ วามรเู้ กษตรกรตน้ แบบ
ตามแนวพระราชดำาริ ในพื้นท่ีจงั หวดั ลำาพนู และเชยี งใหม่ ๔ ราย
• มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ถอดความรคู้ รภู มู ปิ ญั ญารอบศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยทรายฯ
จังหวัดเพชรบรุ ี ๑๙ ราย
• สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ ถอดความรคู้ รภู มู ปิ ญั ญารอบศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นา
อ่าวค้งุ กระเบนฯ จังหวดั จันทบุรี ๗ ราย
ทั้งน้ี ข้อมูลและองค์ความรู้ที่รวบรวมมา ได้จัดส่งให้ กปร.และศูนย์ศึกษาการพัฒนา
อนั เนอื่ งมาจากพระราชดาำ รทิ งั้ ๖ แหง่ เป็นขอ้ มลู ประกอบการทำางาน และสง่ ให้ครภู มู ิปญั ญา
เจา้ ขององคค์ วามรู้ เปน็ เอกสารบอกเลา่ เรอ่ื งราวประวตั คิ วามเปน็ มาของครภู มู ปิ ญั ญาแตล่ ะทา่ น
ผลทเี่ กดิ ขนึ้ จากการเชอื่ มโยงความรว่ มมอื สถาบนั การศกึ ษาลงไปถอดความรเู้ กษตรกร และพฒั นา
หลักสูตรการเรียนการสอนในสถาบันอุดมศึกษา รวมท้ังให้นักศึกษาลงไปฝึกงาน หรือพัฒนา
โครงการทเี่ ป็นประโยชน์แก่ชุมชน ทำาให้นกั ศึกษาไดเ้ รยี นรวู้ ิถชี วี ติ และสภาพปญั หาของชาวบ้าน
นำาไปสู่การค้นหาองค์ความรู้ในมหาวิทยาลัย ท่ีสามารถนำามาแก้ไขปัญหาของชาวบ้านได้อย่าง
เหมาะสม

32
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

๔. การปรบั เปลย่ี นวธิ คี ดิ และมมุ มองของขา้ ราชการในการทาำ งานรว่ มกบั ชมุ ชน

สถาบันฯ ร่วมกับกระทรวงมหาดไทย โดยสถาบันดำารงราชานุภาพ และมูลนิธิ
แม่ฟ้าหลวงฯ จัดทำา “หลักสูตรผู้ปฏิบัติงานพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำาริ” (พชร.)
เพอื่ สรา้ งทมี ปฏบิ ตั งิ านระดบั อาำ เภอ ทม่ี คี วามเขา้ ใจการพฒั นาตามแนวพระราชดาำ ริ ปรบั เปลยี่ น
วิธคี ิดและมมุ มองในการทำางานของข้าราชการ ใหล้ งไปทาำ งานรว่ มกับชาวบ้านในพ้ืนท่ี โดยยดึ
ผลลัพธส์ ุดทา้ ยทปี่ ระโยชนข์ องประชาชน และพฒั นากระบวนการปฏิบัตงิ านของราชการ โดยมี
ประชาชนร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมทำา เพื่อลดช่องว่างและความเหล่ือมลำ้าระหว่างประชาชน
กบั ราชการ ใหส้ ามารถแกป้ ญั หาและตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ที่ โดยยดึ หลกั
ประหยดั เรียบงา่ ย ไดป้ ระโยชน์สงู สดุ

กลุ่มเป้าหมายทีเ่ ข้ารบั การอบรม ประกอบด้วย ข้าราชการระดบั จงั หวัด เชน่ สำานกั งาน
จงั หวดั ชลประทานจังหวดั สำานักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมจงั หวดั ระดบั อำาเภอ
เช่น นายอำาเภอ เกษตรอำาเภอ พัฒนาการอำาเภอ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำาบล เทศบาล
ผู้อำานวยการโรงเรียน และผู้นำาชาวบ้าน ในพ้ืนที่ที่รับประโยชน์จากอ่างเก็บน้ำาตามแนว
พระราชดำาริ ในปี ๒๕๕๕ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้คัดเลือกบุคลากรจากพื้นที่แหล่งน้ำาขนาดเล็กอันเนื่อง
มาจากพระราชดาำ ริ ทีย่ ังใชป้ ระโยชนไ์ มเ่ ตม็ ศักยภาพ ๓๕ แหง่ จาก ๓๑ อาำ เภอ ๒๔ จงั หวัด
จดั แบ่งการอบรมเป็น ๖ รุน่ รุ่นละ ๕ วัน ดาำ เนนิ การระหวา่ งวันท่ี ๒๕ มิถุนายน-๗ กนั ยายน
๒๕๕๕ ทศ่ี นู ย์ฝกึ อบรม อาำ เภอเมืองน่าน และอาำ เภอภูเพยี ง จงั หวดั นา่ น รวมผู้เขา้ รบั การอบรม
ทัง้ หมด ๖๙๓ คน

เม่อื จบหลกั สูตรอบรม ๕ วัน ผู้เข้ารับการอบรมในฐานะทมี ปฏบิ ัติการระดบั อาำ เภอ จะ
กลับไปทำางานจริงในพ้ืนท่ีแหล่งนำ้าขนาดเล็กอันเน่ืองมาจากพระราชดำาริ และเกิดผลผลิตคือ
“แผนพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนท่ีประยุกต์ตามพระราชดำาริ” ท่ีมาจากความต้องการของชาวบ้าน
ในพ้นื ที่และการมีส่วนรว่ มของชมุ ชน ที่แกไ้ ขปัญหาของชาวบ้านไดจ้ ริง

33
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

การดาำ เนินงานด้านการสง่ เสริมการพฒั นา ปี ๒๕๕๕

รูปธรรมการดาำ เนนิ งานในโครงการสำาคญั
ผลการดำาเนินงานตามแผนการปฏิบัติงานโครงการพัฒนา
พน้ื ทตี่ น้ แบบบรู ณาการแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาพน้ื ทจ่ี งั หวดั นา่ น
ปี ๒๕๕๕

โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพ้ืนท่ีจังหวัดน่าน ได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถาบันฯ ให้ดำาเนินงานตามแผนงานและงบประมาณ ในปี
๒๕๕๕ รวม ๗ โครงการ งบประมาณรวม ๑๐,๗๐๙,๕๗๐ บาท ดงั นี้

๑. โครงการจดั การใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรนาำ้ อย่างยง่ั ยนื
๒. โครงการปรับปรุงบำารุงดินให้เหมาะสมกับการเพาะปลูก โดยส่งเสริมให้ปลูกพืช

ตระกูลถั่ว เพื่อลดการใช้สารเคมี การปรับปรุงพ้ืนที่บริเวณคันนาของนาข้ันบันได
ขดุ ใหม่ ด้วยการปลูกตะไคร้ และดอกไม้จีน
๓. โครงการสง่ เสริมการปลูกพชื เศรษฐกจิ และพชื หลงั นา
๔. โครงการแปรรปู และเพ่ิมมูลคา่ ผลผลิตทางการเกษตร
๕. โครงการการจัดตั้งและการบริหารจดั การกองทนุ
๖. โครงการพฒั นาบคุ ลากร
๗. โครงการพัฒนาเพอื่ ความพอเพียง
ผลการปฏิบัติงานตามแผนงานท่ีได้รับการอนุมัติ มีการใช้งบประมาณไปท้ังส้ิน
๓,๗๒๒,๙๙๐ บาท จาำ แนกเปน็ มติ นิ ้ำา ๒,๐๑๕,๙๓๐ บาท มติ ดิ นิ ๓๖๐,๐๐๐ บาท มติ ิเกษตร
๘๗๗,๐๖๐ บาท และการพัฒนาบคุ ลากร ๔๗๐,๐๐๐ บาท ดังรายละเอยี ดต่อไปนี้

๑. มิตินาำ้

การพัฒนาระบบนำ้าปี ๒๕๕๕ ประกอบด้วย การส่งนำ้าและกระจายนำ้าด้วยระบบท่อ
รวมระยะทาง ๑๕,๒๐๐ เมตร สร้างฝายเกษตร ๖ ตัว ขุดบ่อพวง ๔ บ่อ รวมมีพ้ืนท่ีรับนำ้า
เพ่มิ ขน้ึ ๖๗๐ ไร่ ผ้รู บั ประโยชน์ ๑๖๓ ราย งบประมาณทใี่ ช้ในการพัฒนาระบบนาำ้ ในปี ๒๕๕๕
จาำ นวน ๒,๐๑๕,๙๓๐ บาท ดงั นี้

พนื้ ท่ี ฝาย บอ่ พวง ระบบท่อ พ้ืนทีร่ บั นำ้า ผู้รับประโยชน์
เกษตร สนั เขา (เมตร) (ไร)่ (ราย)
อาำ เภอสองแคว (๓ หมบู่ ้าน) ๑ ๔ ๒,๕๐๐ ๔๓๗ ๑๑๘
อำาเภอท่าวังผา (๓ หมู่บ้าน)
อ(๑าำ ๔เภอหเมฉบู่ ล้ามิ นพ)ระเกียรติ - - ๑,๒๐๐ ๑๓๗ ๙
รวม ๕ - ๑๑,๕๐๐ ๙๖ ๓๖

๖ ๔ ๑๕,๒๐๐ ๖๗๐ ๑๖๓

34
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

รวมทั้งมีการตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำารวม ๒๕ กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีคณะกรรมการเหมืองฝาย
มีกฎระเบียบการใช้นำ้า และการเก็บเงินเข้ากองทุนสำาหรับซ่อมแซมระบบนำ้า ในอำาเภอท่าวังผา
๖ กลุ่ม ท่ีบ้านห้วยธนู ๓ กลุ่ม (ฝายหลังโรงเรียน ฝายผาบ่อง และฝายน็อกดาวน์) บ้าน
นำ้าปา้ ก ๒ กลมุ่ (ฝายลงุ กำา่ และฝายวังถ้ำา) และบา้ นหว้ ยม่วง ๑ กลุ่ม (ฝายช้างคบั ) มกี ารเกบ็
เงินจากผใู้ ช้น้ำาไร่ละ ๕๐ บาท อาำ เภอสองแคว ๑๔ กลมุ่ ตามจาำ นวนฝายเกษตร และอาำ เภอ
เฉลิมพระเกียรติ ๕ กลมุ่ (บา้ นดา่ น นาคุ นำ้ารี บวกอุ้ม และเปยี งซ้อ) ยงั ไม่มเี ก็บเงินเขา้ กลมุ่
เนอื่ งจากเพ่ิงเรม่ิ แตม่ ีเงนิ ทุนเรม่ิ ต้นทเ่ี ตรยี มไวใ้ ห้แต่ละกลมุ่ กลุม่ ละ ๒,๐๐๐ บาท

๒. มติ ิดิน

๒.๑ ขดุ นาขน้ั บนั ได เพมิ่ ๑๐๖ ไร่ ที่ ตาำ บลขนุ นา่ น อาำ เภอเฉลมิ พระเกยี รติ โดยสาำ นกั งาน
พัฒนาท่ีดินจังหวัด และสถานีพัฒนาการเกษตรท่ีสูงตามพระราชดำาริภูพยัคฆ์ สนับสนุนวัสดุ
อุปกรณแ์ ละรถขดุ ชาวบา้ นออกค่าน้าำ มันรถขดุ เอง

๒.๒ ปรับปรุงดนิ โดยหวา่ นเมล็ดปอเทืองและโดโลไมท์ โดยการสนบั สนนุ จากสำานกั งาน
พัฒนาที่ดินจังหวัด ๒๕,๐๐๐ กิโลกรัม จัดสรรให้พ้ืนท่ีในอำาเภอท่าวังผา ๓,๗๕๐ กิโลกรัม
อาำ เภอสองแคว ๗,๕๐๐ กิโลกรมั และ อาำ เภอเฉลิมพระเกยี รติ ๑๓,๗๕๐ กโิ ลกรัม

๒.๓ ปรบั ปรงุ คนั นาดว้ ยตะไครแ้ ละดอกไมจ้ นี ในพน้ื ทต่ี าำ บลขนุ นา่ น อาำ เภอเฉลมิ พระเกยี รติ
ตอ่ ยอดจากปี ๒๕๕๔ โดยซอ้ื ตน้ พนั ธจุ์ ากชาวบา้ นทป่ี ลกู ไปกอ่ นแลว้ ในราคากโิ ลกรมั ละ ๓ บาท

๒.๔ กองทุนผลิตป๋ยุ มกี ารจัดตัง้ กองทนุ ป๋ยุ นำ้าพอี ารใ์ นพื้นท่ีทั้ง ๓ อาำ เภอ คือ
• อำาเภอท่าวังผา ต่อยอดจากกองทุนปุ๋ยเคมีบ้านนำ้าป้าก บริหารจัดการโดย อสพ.
และชาวบ้านร่วมกัน มชี าวบ้านซื้อปยุ๋ จากกองทุน ๒๐๘ ราย ในปี ๒๕๕๕ เปลย่ี นเปน็ กองทุน
ผลิตป๋ยุ PR โดยใชม้ ลู ววั เป็นส่วนผสม เพื่อใหไ้ ดป้ ยุ๋ อนิ ทรยี ค์ ณุ ภาพสงู มีเงินในกองทนุ ณ เดอื น
กนั ยายน ๒๕๕๕ รวม ๒๙,๖๙๐ บาท มอบใหช้ าวบ้านบริหารจัดการเองทั้งหมด
• อำาเภอสองแคว จัดตั้งกลุ่มบ้านยอดและมอบให้กลุ่มผลิตปุ๋ยดำาเนินการเอง
มีคณะกรรมการกลุ่ม และทีมงานให้คำาแนะนำา ผลิตปุ๋ยได้ท้ังหมด ๕,๐๒๐ กิโลกรัม ขาย
ใหเ้ กษตรกร กโิ ลกรัมละ ๙ บาท ปุ๋ย PR คุณภาพสงู กิโลกรมั ละ ๑๒ บาท นอกจากขายให้
เกษตรกรแลว้ ยงั ขายใหม้ ลู นิธแิ ม่ฟ้าหลวงฯ นำาไปใช้ในแปลงเพาะกลา้ มีเงินกองทุน ณ เดือน
กันยายน ๒๕๕๕ จำานวน ๑๘,๐๔๕ บาท และมเี งนิ สดหมุนเวียนในกองทุน ๑,๐๐๐ บาท
• อำาเภอเฉลิมพระเกียรติ ตำาบลขุนน่าน ดำาเนินการโดยทีมงาน สนับสนุนปุ๋ย PR
(แบบผสม) ปุ๋ย PR อินทรีย์คุณภาพสูง ปุ๋ย PR สูตรขี้ค้างคาวให้แก่ชาวบ้าน ๑๑ หมู่บ้าน
และมลู นธิ แิ มฟ่ า้ หลวงฯ รวม ๘,๖๐๑ กโิ ลกรมั ราคากโิ ลกรมั ละ ๑๐ บาท นอกจากนี้ ยงั สนบั สนนุ
ปุ๋ย ๘๐๐ กิโลกรัมให้แก่เกษตรกรตัวอย่างที่ปลูกข้าวนาข้ันบันไดที่บ้านบวกอุ้ม บ้านเปียงซ้อ
บ้านห้วยฟอง บ้านสะจุก และบ้านสะเกี้ยง มีเงินสดในกองทุน ณ เดือนกันยายน ๒๕๕๕
จำานวน ๒๙,๔๗๖ บาท
๒.๕ กองทุนสารชีวภัณฑ์ (ไตรโคเดอร์มาและบิวเวอร์เรีย) สำาหรับป้องกันโรคพืช
และแมลง จัดต้ังกองทุนที่บ้านนำ้าป้ากเมื่อปี ๒๕๕๔ โดยโครงการฯ มอบเคร่ืองเข่ียหัวเช้ือ

35
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

และจัดหาผู้เชี่ยวชาญถ่ายทอดความรู้ให้ อสพ. มีการเรียนรู้เพ่ิมเติมจากศูนย์เครือข่ายเรียนรู้
การเลย้ี งสตั วจ์ ังหวดั ลำาพูน ตอ่ ยอดความรกู้ ารทาำ ราขาวจากเชอื้ ราในทอ้ งถนิ่ เชน่ ตน้ ไผ่ ทาำ ให้
ผลติ หวั เชอ้ื ได้เอง และเรยี นรูเ้ ชอ้ื ราเขียวจาก อ.วีระ ภาคอทุ ยั มหาวิทยาลัยขอนแกน่

๒.๖ การผลิตเชอ้ื แบคทีเรยี กาำ จัดแมลง (BT) สาำ หรบั ป้องกนั และกาำ จดั โรคพืชและแมลง
ควบคุมตัวอ่อนของหนอนเจาะ โดยไม่มีสารพิษอันตราย โดยชาวบ้านเรียนรู้การผลิตเช้ือ BT
จากการศึกษาดูงานกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตหน่อไม้ฝรั่งท่ีกำาแพงแสน จังหวัดนครปฐม รายได้
จากการขายนาำ มาเปน็ เงนิ หมนุ เวียนสำาหรับซ้อื หัวเช้ือและวสั ดุอุปกรณ์ขยายหัวเช้อื

๓. มติ ิเกษตร

๓.๑ การสง่ เสรมิ ปลกู พชื เศรษฐกจิ และพชื หลงั นา โครงการฯ สง่ เสรมิ ใหช้ าวบา้ นปลกู พชื
หลังนาในรูปแบบการยืมปัจจัยการผลิต โดยต้ังเป็นกองทุนพืชหลังนา และคืนเงินค่าปัจจัย
การผลิตเมื่อจำาหน่ายผลผลิตได้ พืชหลังนาที่ส่งเสริมให้ปลูก ได้แก่ หน่อไม้ฝร่ัง บร็อกโคล่ี
พรกิ ซุปเปอร์ฮอท ฟักเขียว/แฟง ถว่ั ลันเตา ถว่ั หวาน เผอื ก และว่านหางจระเข้ ปลูกโดยไม่ใช้
สารเคมี และจาำ กดั ครัวเรอื นละไม่เกนิ ๑ ไร่ ให้เหมาะสมกับกาำ ลงั แรงงานของครวั เรือน รวมทง้ั
สนับสนุนตลาดรับซ้ือ ด้วยการชักชวนบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเจ้าของตลาด
ส่งออกมาร่วมสนับสนุน ตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ โดยบริษัทเป็นผู้ให้ความรู้และควบคุมคุณภาพ
การผลิต ตงั้ แต่เมล็ดพนั ธุ์ เทคนิควธิ กี ารปลูก การดูแล และเกบ็ เก่ียวให้ไดม้ าตรฐาน

36
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

ในปี ๒๕๕๕ มีการส่งเสริมการปลูกพืชหลังนาและพืชข้างนา ๕ ชนิด ในพื้นที่รวม
๑๒๐ ไร่ ๒ งาน ๔๙ ตารางวา ได้แก่ หนอ่ ไมฝ้ ร่งั ๕๗ ไร่ ๕๕ ตารางวา บรอ็ กโคลี่ ๗ ไร่
๓ งาน พริกซปุ เปอร์ฮอท ๒๙ ไร่ ถัว่ ลันเตาและถว่ั ลนั เตาหวาน ๒๖ ไร่ ๓ งาน ๙๔ ตารางวา
มีเกษตรกรเข้าร่วม ๑๔๑ ราย รายได้จากการขายผลผลิต รวม ๕๙๔,๙๓๙ บาท จำาแนก
ตามพ้นื ท่ี ดงั นี้

• อำาเภอสองแคว ส่งเสริมการปลูกพืชหลังนาในพ้ืนท่ีตำาบลยอด ๓๙ ไร่ ๒ งาน
๒๗ ตารางวา เกษตรกรเขา้ ร่วม ๒๗ ราย รวมรายได้ ๔,๔๙๓ บาท หน่อไม้ฝรัง่ ยงั ขยายผล
ไปทบ่ี า้ นสะเกนิ อกี ๑๖ ไร่ ผล ผลติ ทเ่ี กบ็ ขายแลว้ ไดแ้ ก่ บรอ็ กโคล่ี ๘๓๓ บาท พรกิ ซปุ เปอรฮ์ อท
ชาวบา้ นเก็บผลผลติ ตากแหง้ ไว้ รบั ประทานในครวั เรอื น และขายให้กลมุ่ ทาำ นำา้ พริกลาบ

• อำาเภอท่าวังผา ส่งเสริมการปลูกพริกซุปเปอร์ฮอท มีเกษตรกรท่ีเป็นสมาชิกรับ
เมล็ดพนั ธุไ์ ปปลูก ๒๕ ราย พนื้ ท่รี วม ๒๘ ไร่ ผลผลิตท่ีเก็บเกยี่ วได้ในปี ๒๕๕๕ รวม ๑๐,๓๕๐
กิโลกรมั เฉล่ยี ไรล่ ะ ๔๕๐ กิโลกรมั ขายเปน็ พริกสด ราคากิโลกรัมละ ๑๘ บาท สรา้ งรายได้
๑๘๖,๓๐๐ บาท แตส่ ว่ นใหญเ่ กษตรกรจะนยิ มขายเปน็ พรกิ แหง้ เพราะมลู คา่ สงู กวา่ โดยพรกิ แหง้
๔,๔๒๗.๕ กิโลกรมั จาำ หนา่ ยไดก้ โิ ลกรัมละ ๘๐ บาท รายไดจ้ ากการจาำ หน่ายท้ังพรกิ สดและพรกิ
แหง้ ในปี ๒๕๕๕ รวม ๕๔๐,๕๐๐ บาท

• อำาเภอเฉลิมพระเกียรติ ส่งเสริมการปลูกหน่อไม้ฝร่ัง บร็อกโคล่ี ถ่ัวลันเตาและ
ถั่วหวาน ในตำาบลขุนนา่ น รวมพนื้ ท่ี ๕๓ ไร่ ๑ งาน ๔๙ ตารางวา เกษตรกรเขา้ ร่วม ๘๙ ราย
มรี ายไดร้ วม ๔๙,๙๔๖ บาท

ชนดิ พืช ตำาบลยอด อาำ เภอสองแคว อาำ เภอท่าวังผา ตาำ บลขนุ น่าน อำาเภอ
เนอ้ื ที่ ผู้ รายได้ เฉลมิ พระเกยี รติ
หนอ่ ไมฝ้ รงั่ (ไร)่ ปลูก (บาท)
บร็อกโคล่ี เนื้อที่ ผู้ รายได้ เนื้อท่ี ผู้ รายได้
พริก (ไร)่ ปลกู (บาท) ไมป่ ลูก (ไร)่ ปลกู (บาท)
ถว่ั ลันเตา/ ไม่ปลูก
ถวั่ หวาน ๓๒-๐-๐ ๑๖ ยังไมใ่ ห้ ๒๕-๐-๕๕ ๓๒ ยงั ไมใ่ ห้
รวม ผลผลิต ผลผลติ

๑-๐-๐ ๒ ๘๓๓ บาท ๖-๓-๐ ๑๔ ๒๔,๓๘๓

บรโิ ภค / ๒๘-๐-๐ ๒๕ ๕๔๐,๕๐๐ ไม่ไดป้ ลูก
๑-๐-๐ ๑ ทาำ พรกิ แหง้

ขายกองทนุ

๕-๒-๐ ๘ ๓,๖๖๐ ไมไ่ ด้ปลูก ๒๑-๑-๙๔ ๔๓ ๒๖,๓๘๖

๓๒-๒-๐ ๑๖ ๔๔๙๓ ๒๘-๐-๐ ๒๕ ๕๔๐,๕๐๐ ๕๓-๑-๕๙ ๘๙ ๔๙,๙๔๖

37
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

นอกจากน้ี โครงการฯ ยังสนับสนุนต้นหน่อไม้ฝร่ังให้พื้นท่ีขยายผล ๔ อำาเภอ รวม
๙๘,๓๒๕ ต้น คิดเป็นมลู ค่า ๒๙๔,๙๗๕ บาท ไปปลูกในเนือ้ ท่ี ๒๙ ไร่ ๙๒ ตารางวา ผปู้ ลกู
๕๑ ราย ดังนี้

• อาำ เภอท่งุ ช้าง ๗ หมู่บ้าน ๔๗,๖๗๕ ต้น คิดเปน็ มลู คา่ ๑๔๓,๐๒๕ บาท ผูป้ ลกู ๓๐
ราย เนอื้ ท่ี ๙ ไร่ ๒ งาน ๖๐ ตารางวา

• อำาเภอสันติสขุ ๒ หมู่บ้าน ๙,๒๐๐ ต้น คดิ เปน็ มลู ค่า ๒๗,๖๐๐ บาท ผู้ปลูก ๔ ราย
เนอ้ื ท่ี ๓ ไร่

• อาำ เภอสองแคว บา้ นสะเกนิ ๔๑,๑๐๐ ตน้ คดิ เปน็ มลู คา่ ๑๒๓,๓๐๐ บาท ผปู้ ลกู ๑๖ ราย
เน้ือที่ ๑๖ ไร่ ๑ งาน ๗๖ ตารางวา

• อาำ เภอบอ่ เกลอื ศนู ยภ์ ฟู า้ ฯ ๓๕๐ ตน้ คดิ เปน็ มลู คา่ ๑,๐๕๐ บาท เนอ้ื ท่ี ๕๖ ตารางวา
๓.๒ ส่งเสรมิ การปลูกพชื ผกั สวนครวั โดยทำาแปลงเพาะปลกู ในศนู ยก์ ารเรยี นรู้ปิดทอง
หลังพระฯ ปลูกผกั บ้งุ กวางตุง้ มะเขอื พืชผักตามฤดกู าล และเลย้ี งสตั ว์ ดำาเนินการในพืน้ ที่
ต้นแบบ ๓ อำาเภอ สำาหรับเป็นอาหารของเจ้าหน้าที่และเป็นแบบอย่างให้กับชาวบ้าน รวมท้ัง
สนับสนุนในรูปแบบกองทนุ เมลด็ พนั ธ์ผุ กั ให้ชาวบา้ นนาำ ไปปลกู ในพื้นท่วี ่างของครัวเรือน ๑,๕๔๓
ครวั เรอื น ชว่ ยลดค่าใช้จ่ายเดือนละ ๓๐๐ บาท สร้างรายได้ให้ครอบครวั วนั ละ ๑๐ บาท
๓.๓ การแปรรปู และเพ่ิมมลู คา่ ทางการเกษตร
• อำาเภอสองแคว ทบ่ี ้านยอด กล่มุ แปรรปู นาำ้ พริกลาบมะแขวน่ มีเงินในบัญชีธนาคาร
ณ เดือนกันยายน ๘๑,๖๑๗ บาท เงินหมุนเวียน ๕,๑๖๐ บาท บ้านผาหลักมีเงินในธนาคาร
๘๘,๙๔๙ บาท เงนิ หมนุ เวยี น ๕๔,๐๙๙ บาท ปจั จบุ นั กาำ ลงั เสนอยกระดบั ผลติ ภณั ฑใ์ หเ้ ปน็ สนิ คา้
OTOP โดยโครงการฯ สนบั สนุนงบประมาณในการต่อเตมิ อาคารโรงเรือนเดมิ ใหไ้ ดม้ าตรฐาน
• อาำ เภอเฉลมิ พระเกยี รติ มกี ารแปรรปู กลว้ ยเหลอื งนวล มาทาำ กลว้ ยฉาบ โดยโครงการฯ
ประสานกับมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรพ์ ัฒนาคุณภาพผลิตภณั ฑใ์ ห้ดียงิ่ ขึน้
๓.๔ การจัดตั้งและบริหารจัดการกองทุน โครงการฯ สนับสนุนการจัดตั้งกองทุน
ตา่ งๆ เพือ่ ลดต้นทนุ ปจั จยั การผลิต และสง่ เสรมิ อาชีพให้ชาวบา้ น ๑๑ กองทุน ซึง่ แตล่ ะพนื้ ที่
มคี วามกา้ วหนา้ ในการดาำ เนนิ งานแตกตา่ งกนั ดงั น้ี (ผลการดาำ เนนิ งานกองทนุ ณ เดอื นกนั ยายน
๒๕๕๕)
• กองทนุ สกุ ร

- อำาเภอท่าวังผา มกี องทุนสุกรทัง้ ๓ หมูบ่ า้ น สมาชกิ ๑๐๘ ราย บ้านนำา้ ป้าก
๕๖ ราย บ้านห้วยธนู ๔๕ ราย และบ้านห้วยม่วง ๗ ราย มลี กู สกุ รคืนให้กองทนุ
๑๑๙ ตวั ขยายให้ชาวบ้านน้าำ ป้าก บา้ นหว้ ยธนู และอาำ เภอเฉลมิ พระเกียรติ และ
จาำ หนา่ ย รวมรายได้จากการจำาหนา่ ยลกู สุกร ๗๘๗ ตวั ๘๒๐,๔๗๗ บาท นำาไป
ซ้ือพ่อพันธ์ุมาเพิ่มเพื่อลดปัญหาเลือดชิด ซ้ืออาหารและรำาละเอียด มีเงินเหลือ
ในกองทนุ ๖,๗๓๕ บาท

38
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

- อำาเภอสองแคว มีการดำาเนนิ งาน ๕ หมูบ่ า้ น (รวมบ้านขยายผล) มีสมาชิก ๑๕๕
ราย คือ บ้านยอด ๕๔ ราย บ้านนำ้าเกาะ ๙ ราย บ้านผาหลัก ๕๒ ราย
บ้านสะเกิน ๒๑ ราย และบ้านผาสิงห์ ๑๙ ราย รวมสุกรที่ส่งมอบต้ังแต่ปี
๒๕๕๒-๒๕๕๕ จาำ นวน ๑๓๙ ตัว เกิดลูกสกุ ร ๘๙๙ ตวั ส่งคืนใหก้ องทนุ แลว้
๑๘๓ ตัว นาำ ไปขยายและจำาหนา่ ยให้ชาวบา้ นในพ้ืนท่ี อำาเภอสองแคว ห้วยคาำ
นำ้าป้าก และปัว และนำาเงินไปซื้ออาหารสุกร และพ่อแม่พันธ์ุเพ่ือลดปัญหา
เลือดชิด มีเงนิ เหลือในกองทนุ ๓,๗๓๒ บาท สมาชิก ๓ หมูบ่ า้ น ยกเว้นบา้ น
นำ้าเกาะและบ้านผาสิงห์ (ที่ยังไม่มีรายได้ในรอบการสำารวจ) มีรายได้จากการ
จาำ หน่ายลูกสกุ ร ๔๑๐,๙๕๐ บาท

- ตาำ บลขนุ นา่ น มีกองทุนสกุ ร ๑๔ หมูบ่ ้าน สมาชกิ รวม ๔๖๐ ราย มากที่สุด คอื
บ้านนำา้ ช้าง ๖๕ ราย รองลงมา คอื บา้ นหว้ ยกานตแ์ ละบ้านสะเกย้ี ง ๔๕ ราย
นอ้ ยทสี่ ดุ คอื บา้ นห้วยฟอง ๑๒ ราย นอกจากนี้ ยังมีชาวบา้ น ข้าราชการ และ
โรงเรียนนำาสุกรเหมยซานไปขยายผลอีก ๑๕ ราย เกษตรกรส่งมอบลูกสุกร
เข้ากองทุน ณ เดอื นมกราคม ๒๕๕๕ รวม ๗๐ ตวั และขยายผลให้เกษตรกร
รายอน่ื ๆ เล้ียงต่อ ๔๘ ตวั จำาหนา่ ยเพ่อื นาำ เงินเขา้ กองทนุ ๑๓ ตวั ในราคา
ตัวละ ๕๗๓ บาท เป็นเงิน ๗,๔๔๙ บาท ท่ีผ่านมาเกษตรกรมีรายได้จาก
การจำาหนา่ ยสกุ รไปแล้ว ๑๒๒,๖๓๕ บาท (ราคาจำาหน่ายตัวละ ๗๒๖ บาท)

39
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

• กองทนุ อาหารสัตว์
- อำาเภอสองแคว ที่บ้านยอด มีทุนสนับสนุนก่อตั้ง ๔,๐๐๐ บาท ปัจจุบันมี
เงินหมุนเวียนในกองทุน ๙,๓๕๔ บาท เพ่ือใช้ในการจัดซื้อวัตถุดิบอาหารสัตว์
อาทิ ราำ ขา้ ว หวั อาหาร ใหก้ ับสมาชกิ กองทนุ ซ่งึ เป็นกลมุ่ ผเู้ ลย้ี งหมูของบา้ นยอด
- อำาเภอเฉลมิ พระเกยี รติ ท่ีตาำ บลขนุ น่าน มเี งนิ กองทุนรวม ๖๗,๖๐๐ บาท ไดร้ ับ
การสนับสนุนจากกองทุนเครื่องบดข้าวโพด ๑๐,๖๘๐ บาท และโครงการฯ
มอบอาหารสตั ว์เป็นกองทุนประจำาหมบู่ ้าน ๕,๒๐๐ กโิ ลกรัม มูลคา่ ๖๗,๖๐๐ บาท
จำาหนา่ ยใหก้ บั เกษตรกรผู้เลี้ยงสกุ รในราคา ๑๓ บาทตอ่ กโิ ลกรัม สาำ หรับผสมเอง
เมอื่ อาหารสัตว์หมด โดยใชว้ ัตถดุ บิ ทห่ี าไดจ้ ากทอ้ งถน่ิ

• กองทุนเครือ่ งบดข้าวโพด
- อำาเภอทา่ วงั ผา โครงการฯ มอบเคร่อื งบดขา้ วโพดมูลค่า ๒๑,๐๐๐ บาท ใหท้ ง้ั
๓ หมู่บ้าน โดยบ้านน้ำาป้ากติดต้ังและดำาเนินการรับบดข้าวโพด มีรายได้
ในปี ๒๕๕๕ รวม ๑,๓๐๐ บาท ส่วนบ้านห้วยธนูและห้วยม่วงยังไม่มีความ
เคล่อื นไหวของกองทุน
- อำาเภอสองแคว โครงการฯ สนับสนนุ เคร่ืองบดขา้ วโพดมูลค่า ๒๑,๐๐๐ บาท ให้
ทง้ั ๓ หมบู่ า้ น (บา้ นยอด บา้ นผาหลกั และบา้ นนาำ้ เกาะ) ตงั้ แตป่ ี ๒๕๕๔ ปจั จบุ นั
มีบ้านผาหลักดำาเนินการอยู่ และมีเงินคงค้างในกองทุนบ้านยอด ๓๕๖ บาท
และกองทนุ บา้ นผาหลกั ๑๐๕ บาท
- อำาเภอเฉลิมพระเกียรติ โครงการฯ สนบั สนนุ เครื่องบดขา้ วโพดในกองทนุ อาหาร
สัตว์ ให้ ๑๓ หมบู่ ้าน ในตาำ บลขนุ นา่ น โดยมเี กษตรกรใชบ้ ริการรวม ๗๒ คน

40
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

ปริมาณการบดขา้ วโพด ณ เดอื นตุลาคม ๒๕๕๕ รวม ๕,๔๒๐ กโิ ลกรัม คิด
คา่ บริการกโิ ลกรัมละ ๒ บาท รวมรายได้เขา้ กองทุน ๑๐,๘๔๐ บาท (ยังไม่หัก
คา่ ใชจ้ า่ ย)

• กองทุนยาและสุขภาพสตั ว์
- อำาเภอท่าวังผา มีกองทุนท่ีบ้านนำ้าป้าก ให้บริการสมาชิกกองทุนผู้เล้ียงหมูทั้ง
๓ หมู่บ้าน ยอดการให้บริการรักษาสัตว์ถึงวันท่ี ๑๒ กันยายน ๒๕๕๕ รวม
๗๕๗ ตวั มีรายไดจ้ ากการเกบ็ ค่าบริการเข้ากองทนุ ๖,๙๘๒ บาท นำาไปซ้อื ยา
และอปุ กรณ์
- อาำ เภอสองแคว กองทนุ เฉพาะหมบู่ า้ นยอดใหบ้ รกิ ารทง้ั ๕ หมบู่ า้ น มกี ารใหบ้ รกิ าร
ยาและเวชภณั ฑ์ รวม ๑๒๖ ครั้ง ประเภทสัตวท์ ่ีรับบริการ ไดแ้ ก่ สุกร โค สนุ ัข
มรี ายได้เข้ากองทุน ๒,๔๓๕ บาท
- อาำ เภอเฉลมิ พระเกยี รติ ทตี่ าำ บลขนุ นา่ น ตอ่ ยอดจากกองทนุ เดมิ มกี ารออกหนว่ ย
บริการรกั ษาสขุ ภาพสตั ว์ ๓๒,๑๙๓ ตวั โดยเก็บค่าบริการจากชาวบา้ นในราคา
ตน้ ทุน มีเงนิ ในกองทุน ๘๖๐ บาท

• กองทุนเมลด็ พันธุ์ข้าวโพด
- อาำ เภอท่าวงั ผา มีกองทนุ เมลด็ พนั ธุ์ขา้ วโพดทั้ง ๓ หมบู่ า้ น มีทนุ สนบั สนนุ เรม่ิ ตน้
๖๘๑,๖๖๐ บาท เพื่อซื้อเมล็ดพันธ์ุ มีสมาชิก ๑๓๓ ราย อยู่ในบ้านนำ้าป้าก
๓๐ ราย บ้านหว้ ยธนู ๗๕ ราย และบา้ นห้วยม่วง ๒๘ ราย สามารถเก็บเงนิ คืน
ไดค้ รบถ้วนในปี ๒๕๕๔ สว่ นปี ๒๕๕๕ อยรู่ ะหว่างการรอเกบ็ ผลผลติ ปัจจุบัน
ทง้ั ๓ หมบู่ า้ นไดร้ วมกองทนุ เมลด็ พนั ธข์ุ า้ ว และเมลด็ พนั ธถุ์ ว่ั เหลอื ง เขา้ กบั กองทนุ
เมลด็ พันธุข์ า้ วโพด ทาำ ใหม้ เี งนิ กองทุนเมลด็ พนั ธ์ุทัง้ ๓ หมู่บา้ นรวม ๗๙๖,๑๗๒
บาท จำาแนกเป็นบ้านนำ้าป้าก ๑๙๓,๒๒๒ บาท ห้วยธนู ๕๐๗,๙๓๐ บาท
และบา้ นห้วยม่วง ๙๕,๐๒๐ บาท
- อาำ เภอสองแคว มีกองทนุ ท้งั ๓ หม่บู า้ น ทุนสนับสนุน ๓๔๐,๗๖๐ บาท สมาชิก
รวม ๑๐๒ ราย กองทุนจะจัดซือ้ เมล็ดพนั ธขุ์ า้ วโพดแก่สมาชกิ โดยเก็บคา่ บรหิ าร
จัดการกระสอบละ ๓๐ บาท ผลการดำาเนินงานปี ๒๕๕๕ จำาแนกได้ดังนี้
บา้ นยอด มีสมาชิกกองทนุ ๗๑ ราย ซอ้ื เมลด็ พันธข์ุ ้าวโพดเป็นเงนิ ๖๕,๒๖๐ บาท
บ้านน้าำ เกาะ สมาชิกกองทนุ ๑๑ ราย ซ้อื เมลด็ พนั ธ์ุข้าวโพดเป็นเงิน ๗๒,๒๐๐
บาท คงเหลอื เงนิ ในบัญชี ๑,๗๒๕ บาท บา้ นผาหลัก มีสมาชิก ๒๐ ราย ซื้อเมล็ด
พนั ธขุ์ า้ วโพดเปน็ เงิน ๖๙,๗๕๐ บาท

• กองทนุ เมลด็ พนั ธุข์ ้าว
- อำาเภอทา่ วงั ผา มีกองทนุ ท้งั ๓ หม่บู ้าน สมาชิกรวม ๘๐ ราย อยู่ท่บี า้ นนำ้าป้าก

41
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

๓๙ ราย บา้ นหว้ ยธนู ๒๖ ราย บ้านห้วยม่วง ๑๕ ราย เงนิ กองทนุ ในปี ๒๕๕๔
รวม ๑๐๐,๖๔๐ บาท จำาแนกเป็น บ้านน้าำ ป้าก ๓๙,๐๐๐ บาท หว้ ยธนู ๔๖,๐๐๐
บาทและหว้ ยม่วง ๑๕,๖๔๐ บาท ปจั จบุ ันท้ังสามหมู่บ้าน รวมบญั ชีกองทุนเมลด็
พันธุ์ขา้ วกับกองทนุ เมลด็ พันธขุ์ ้าวโพดเข้าด้วยกันแล้ว
- อำาเภอสองแคว มีกองทุนข้าวที่บ้านผาหลักแห่งเดียว โดยมีเงินทุนสนับสนุน
๑๕,๐๐๐ บาท สาำ หรบั ซื้อเมล็ดพนั ธ์ุขา้ วให้แก่สมาชกิ ๑๗ ราย มยี อดค้างจา่ ย
กองทุนเมลด็ พนั ธขุ์ า้ วโพด ๗,๑๒๐ บาท
• กองทุนโรงสขี ้าว
- อาำ เภอทา่ วังผา โครงการฯ สนบั สนุนโรงสีข้าวให้ทงั้ ๓ หมู่บา้ น บ้านหว้ ยม่วง
มกี ารดาำ เนนิ งานต่อเนอ่ื ง มเี งนิ ในกองทนุ ๑๐,๘๘๙ บาท สว่ นโรงสขี ้าวบา้ น
หว้ ยธนแู ละบา้ นนาำ้ ปา้ กมปี ญั หาขาดทนุ เนอ่ื งจากเครอ่ื งสกี นิ นา้ำ มนั มาก โรงสขี า้ ว
บา้ นหว้ ยธนจู งึ ไมเ่ คลอื่ นไหวมาตง้ั แตเ่ ดอื นกรกฎาคม ๒๕๕๔ โดยมเี งนิ ในกองทนุ
๗,๐๖๐ บาท โรงสขี า้ วบา้ นนาำ้ ปา้ ก มเี งนิ คงทใ่ี นกองทนุ ตงั้ แตเ่ ดอื นตลุ าคม ๒๕๕๔
จาำ นวน ๕,๘๙๐ บาท ผู้นำาชมุ ชนและกลุม่ บรหิ ารจดั การโรงสขี ้าว แก้ไขปญั หา

42
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

โดยปรบั เปลยี่ นการบรหิ ารจดั การในรปู แบบการเปดิ ประมลู โดยมคี ณะกรรมการ
กองทนุ กาำ กับดแู ล เรม่ิ มาตัง้ แต่เดือนพฤศจกิ ายน ๒๕๕๕
- อาำ เภอสองแคว โครงการฯ สนบั สนุนการก่อต้งั โรงสี ๒ หมบู่ า้ น คอื บา้ นยอด
และบ้านน้ำาเกาะ โรงสีข้าวบา้ นยอด มีเงินในการดำาเนนิ งาน ๒,๑๓๔ บาท และ
มีการปรับเปล่ียนผู้ดำาเนินการสีข้าว โดยมีข้อตกลงสมทบเงินเข้ากองทุนปีละ
๓,๐๐๐ บาท บ้านนำ้าเกาะ ก็มีการปรับเปลี่ยนผู้ดำาเนินการ โดยจ่ายเงินสมทบ
เข้ากองทนุ ปีละ ๓,๐๐๐ บาท
- อาำ เภอเฉลมิ พระเกยี รติ โครงการฯ สนบั สนนุ โรงสขี า้ วใน ๓ หมบู่ า้ น คอื บา้ นดา่ น
เปยี งซอ้ และนา้ำ รี ตาำ บลขุนนา่ น โรงสที งั้ ๓ แหง่ สขี ้าวรวม ๔๓๕ กระสอบ
คิดค่าสีข้าว ๒๕ บาท/กระสอบ โดยโรงสขี ้าวบ้านเปยี งซอ้ มผี มู้ าสขี า้ ว ๑๓ ราย
๖๙ กระสอบ มีรายได้ ๑,๓๐๕ บาท โรงสีข้าวบ้านด่าน เป็นโรงสีท่ีมีสมาชิก
มาใช้บรกิ ารมากที่สุด ๑๓๕ ราย มยี อดการสีขา้ ว ๓๑๒ กระสอบ มีเงินในกองทุน
๕,๒๒๐ บาท และโรงสีข้าวนำ้ารี เหลือเงินในกองทุน ๗,๖๕๐ บาท มผี ู้มาสขี ้าว
๑๙ ราย ๕๔ กระสอบ

• กองทุนกระเทียม
กองทุนกระเทียมบ้านยอด อำาเภอสองแคว เริ่มดำาเนินการเม่ือปี ๒๕๕๓ ด้วย

เงนิ ทุนสนับสนนุ จากโครงการฯ ๓๑,๗๐๐ บาท ในปแี รกมสี มาชกิ ๑๗ ราย ปจั จบุ นั สมาชิกเพม่ิ
เปน็ ๓๙ ราย ปี ๒๕๕๕ มียอดค้างชำาระสะสมจากสมาชกิ รวม ๑๓,๔๐๐ บาท และยงั ไมม่ ี
การดำาเนนิ การใดๆ ของกองทุน

• กองทุนถว่ั เหลอื ง
เร่ิมก่อต้ังกองทุนถ่ัวเหลืองท่ีบ้านยอดในปี ๒๕๕๒ มีเงินสนับสนุน ๓๔,๐๐๐ บาท

มสี มาชิกรวม ๖๒ ราย มีเงนิ อยู่ในบัญชธี นาคาร ๒๗,๖๐๐ บาท ตง้ั แต่ปี ๒๕๕๓ และมสี มาชิก
ค้างจ่ายปี ๒๕๕๔ จาำ นวน ๖,๓๒๐ บาท

• กองทุนนำ้าพริกลาบ
มีการดำาเนินงานเฉพาะที่บ้านยอดและบ้านผาหลัก อำาเภอสองแคว ทุนสนับสนุน

การกอ่ ต้ังทัง้ ๒ หม่บู า้ น รวม ๒๖๐,๐๐๐ บาท (หมู่บา้ นละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท และคา่ วตั ถุดบิ
มะแขว่นทส่ี นับสนุนครงั้ แรก ๖๐๐ กิโลกรัม) ปัจจบุ นั ทั้งสองหมู่บ้านมีผลติ ภณั ฑ์น้าำ พริก ๒ ชนิด
ไดแ้ ก่ น้าำ พรกิ ขา่ และนำา้ พริกลาบมะแขวน่ มาฝากขายทสี่ ำานักงานโครงการปดิ ทองหลังพระฯ
นอกจากการขายนำ้าพริกแล้ว ยังมีรายได้อีกส่วนหนึ่งจากการขายมะแขว่นแห้งด้วย เมื่อรวม
รายได้หกั ค่าใช้จา่ ยแล้ว กลมุ่ บ้านยอดมเี งินหมุนเวยี น ๘๑,๖๑๗ บาท บา้ นผาหลกั ๑๓๙,๔๔๘
บาท ซงึ่ มกี ารแบ่งเงินปนั ผลใหส้ มาชิกแลว้ ๓๐,๑๐๐ บาท

43
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

• กองทนุ พชื หลงั นา
โครงการฯ ส่งเสริมให้ชาวบ้านปลูกพืชหลังนาในรูปแบบของการยืมปัจจัยการผลิต

โดยตั้งเป็นกองทุนพืชหลังนา ท่ีคืนเม่ือจำาหน่ายผลผลิตได้ พืชหลังนาท่ีส่งเสริมให้ปลูก ได้แก่
หน่อไม้ฝรั่ง บร็อกโคลี่ พริกซุปเปอร์ฮอท ฟักเขียว/แฟง ถ่ัวลันเตา ถั่วหวาน เผือก และ
วา่ นหางจระเข้

๔. การพฒั นาศักยภาพคน

การพัฒนาบุคลากร ประกอบด้วย การศึกษาดูงานและฝึกอบรมถ่ายทอดความรู้ให้แก่
อสพ. และเกษตรกรในพนื้ ทโ่ี ครงการฯ ใหม้ คี วามรแู้ ละทกั ษะในการผลติ รวมถงึ การจดั ทาำ ขอ้ มลู
ในปี ๒๕๕๕ มกี ารอบรมถ่ายทอดความรูแ้ ละการศกึ ษาดูงาน รวม ๒๑ คร้งั ทั้งด้านปศุสตั ว์
เกษตรพืช การทำาบัญชีครัวเรือน และเพิ่มศักยภาพด้านการใช้คอมพิวเตอร์ โดยมีเกษตรกร
และ อสพ.เขา้ รว่ มอบรม/ศึกษาดงู าน ๑๐๐ คน ใชง้ บประมาณทั้งหมด ๔๗๐,๐๐๐ บาท

ความรว่ มมอื จากหนว่ ยราชการต่างๆ

ในการดาำ เนินงาน โครงการฯ ยังได้รบั ความร่วมมอื จากหน่วยงานราชการต่างๆ คือ
• สำานกั งานพัฒนาท่ีดินจงั หวัด สถานพี ฒั นาการเกษตรทีส่ ูงตามพระราชดาำ รภิ ูพยคั ฆ์

สนับสนุนวัสดุปรับปรุงดิน ได้แก่ ปอเทือง โดโลไมท์ การทำาแนวคอนทัวร์ขุดนา
ขน้ั บนั ได และขุดนา ๑๐๖ ไร่ ท่บี า้ นนาำ้ รี นำ้าช้าง ห้วยกานต์ ตำาบลขุนน่าน อาำ เภอ

44
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

เฉลมิ พระเกยี รติ โดยชาวบา้ นออกคา่ นาำ้ มนั รถขดุ เอง และโครงการฯ สนบั สนนุ ระบบ
ทอ่ ส่งน้าำ จากบ่อพวงในพนื้ ท่โี ครงการฯ เข้าสพู่ น้ื ท่เี กษตร
• สำานักงานโครงการชลประทานน่าน ให้คำาแนะนำาการปรับระบบน้ำาที่ต่อจากนำ้าว้า
มาเข้าบ่อที่บ้านเปยี งซอ้ ทุกบอ่
• สำานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สร้างฝายอนุรักษ์ในพื้นท่ีอำาเภอท่าวังผา
๑,๘๘๔ ตวั
• เทศบาลตาำ บลยอด อาำ เภอสองแคว สนับสนนุ งบประมาณซ่อมแซมฝายเกษตร ๒ ตัว
• ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพทางการเกษตรจังหวัดน่าน ให้ใช้สถานที่เพาะกล้าไม้
และห้องเยน็ เก็บรักษาผลผลิต สนบั สนนุ ต้นกล้าไผ่ มะนาว มะม่วง มะละกอ ชะอม
๒๒,๐๐๐ กลา้ และอบรมใหเ้ กษตรกร/อสพ.มคี วามรเู้ รอ่ื งการปลกู พรกิ และหนอ่ ไมฝ้ รง่ั

นอกจากน้ี ในการประชมุ คณะทาำ งานระดบั จงั หวดั การประชมุ หวั หนา้ สว่ นราชการระดบั
อาำ เภอทง้ั สามอาำ เภอตน้ แบบ และการประชมุ กาำ นนั ผใู้ หญบ่ า้ นในสามอาำ เภอตน้ แบบ มกี ารบรรจุ
วาระโครงการปิดทองหลังพระฯ ในการประชุมทุกเดือน เพื่อให้เจ้าหน้าที่โครงการฯ รายงาน
ความคืบหนา้ และปรกึ ษาหารือความร่วมมอื งานในพ้นื ที่

การเช่อื มโยงความร่วมมือกับส่วนราชการต่างๆ ทาำ ให้เกดิ อาำ เภอขยายผลอกี ๑๒ อำาเภอ
ดำาเนินการตามแนวทางโครงการปิดทองหลังพระฯ และให้การสนับสนุนการขับเคล่ือนงานใน
พืน้ ที่ เนอ่ื งจากสว่ นราชการทีม่ ารว่ มประชมุ ด้วยทกุ เดอื น เริ่มมีความเข้าใจกระบวนการทำางาน
ของโครงการ หากมีข้อติดขัดในการดำาเนินงานจะทำาหนังสือขอความร่วมมือมาที่สำานักงาน
โครงการปิดทองหลงั พระฯ จงั หวัดน่าน ขอใหส้ ่งเจา้ หนา้ ทีไ่ ปใหค้ าำ แนะนำา เชน่

• อำาเภอเมือง บ้านห้วยปุกร่วมกระบวนการขยายผลที่บ้านใหม่สาระสุขสันต์
ชาวบ้านสร้างฝายอนรุ กั ษ์ แลว้ โดย อบต.สนบั สนนุ งบประมาณ

• อำาเภอนาหม่ืน ขยายผลจากบ้านนำ้าอูนท่ีอำาเภอดำาเนินการ ไปสู่บ้านนำ้าแขว่ง
ซึ่งชาวบ้านเห็นตัวอย่างจากบ้านน้ำาอูน และเริ่มกิจกรรมส่งเสริมอาชีพโดย
โครงการหลวง เชน่ เลีย้ งหมู ปลา

• อำาเภอบ้านหลวง เหน็ ตัวอยา่ งของพื้นทีใ่ นอำาเภออื่นทร่ี ายงานความคืบหน้าโครงการ
ปิดทองหลังพระฯ ในพื้นท่ี จึงเริ่มดำาเนินงานโครงการ โดยขอความร่วมมือมาที่
สาำ นกั งานโครงการปดิ ทองหลงั พระฯ ไปใหอ้ งคค์ วามรเู้ รอ่ื งการทาำ ฝาย และขดุ บอ่ พวง

• บ้านนาอุดม ตาำ บลศรีภมู ิ อาำ เภอทา่ วังผา ซง่ึ เข้ารว่ มอบรม พชร. เริ่มทำากระบวน
การเขา้ ใจ เขา้ ถงึ และกจิ กรรมแกป้ ญั หาเรง่ ดว่ น คอื พฒั นาระบบนาำ้ ตอ่ ทอ่ จากฝายเดมิ
ขุดลอกหน้าฝาย โดยใช้แรงงานชาวบ้านและงบประมาณจากจังหวัดสำาหรับซื้อท่อ
ตอ่ นา้ำ ประปาเขา้ พืน้ ทเ่ี กษตร

• อาำ เภอเฉลมิ พระเกยี รติ ขยายผลไปทบ่ี า้ นปางหก ตาำ บลหว้ ยโกน๋ ชาวบา้ นขบั เคลอ่ื น
งานเองโดยใช้งบจังหวัดสร้างฝาย ทำาระบบน้ำา (งบจังหวัด ๑๒ ล้าน หมู่บ้านละ
๖๒๐,๐๐๐ บาท) ขอความรว่ มมอื ใหท้ มี ปดิ ทองฯ เป็นพ่ีเลี้ยง

45
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

• นายอำาเภอสองแคว สนับสนุนงบประมาณในการขับเคล่ือนขยายผลให้เต็มพื้นท่ี
ตำาบลยอด ซึ่งเป็นผลจากการดำาเนินงานท่ีบ้านสะเกิน โดยนำาผู้ใหญ่บ้านผาสิงห์
บา้ นปางสา้ น ตำาบลยอด และบ้านหว้ ยเลา ตำาบลชนแดน ไปศึกษาเรยี นร้กู ารปรบั
แต่งอ่างพวง ปูผ้าพลาสติกท่ีบ้านสะเกิน และจัดงบประมาณส่วนอ่ืนของอำาเภอ
มาใช้ในการขดุ บอ่ บา้ นผาสงิ ห์ ส่วนระบบทอ่ อาจจะใชง้ บภยั แลง้ และ SML

• บ้านกอก ตำาบลเชียงกลาง อำาเภอเชียงกลาง ถ่ายทอดองค์ความรู้ในเร่ืองของ
การปูพลาสติกบ่อพวงสันเขา ๒ บ่อ และการต่อระบบน้าำ เขา้ บอ่ พวงสนั เขา

การบูรณาการความร่วมมอื กับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

พน้ื ทต่ี น้ แบบอาำ เภอสองแคว ทงั้ ๓ หมบู่ า้ น มกี ารประสานความรว่ มมอื กบั เทศบาลตาำ บล
ยอดในทุกกิจกรรม ต้ังแต่เริ่มดำาเนินงานโครงการในปี ๒๕๕๒ ส่งผลให้เทศบาลตำาบลยอด
นาำ ปญั หาและความตอ้ งการของชาวบา้ นยอด บา้ นผาหลกั และบา้ นนาำ้ เกาะ บรรจไุ วใ้ นแผนพฒั นา
เทศบาลตำาบลยอด พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๗ และ พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๘ โดยกิจกรรมที่ดำาเนนิ การ
แล้วในปี ๒๕๕๕ จำานวน ๖ โครงการ รวมงบประมาณ ๑,๑๑๔,๘๐๐ บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๖.๖๕
ของประมาณการงบประมาณเทศบาล ในปี ๒๕๕๕ ประกอบดว้ ย

การเชื่อมโยงกบั สถาบนั การศกึ ษา และภาคเอกชน

๑) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย (EDP) มอบทุนสนับสนุนการศึกษาดูงานจำานวน
๕๐,๐๐๐ บาท เม่ือเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ โครงการฯ นำาไปสร้างฝายบ้านยอด
๒๐,๐๐๐ บาท สมบทกองทนุ ปยุ๋ PR บา้ นน้ำาปา้ ก ๒๐,๐๐๐ บาท และทส่ี ว่ นที่เหลือ
สนบั สนุนอปุ กรณก์ ารศกึ ษามอบให้โรงเรยี นบ้านผาหลกั

ที่ โครงการ หมู่ที่ งบประมาณ บาท)
๔๓,๘๐๐
๑ โครงการซอ่ มแซมคลองสง่ นาำ้ เข้านารูปตวั ยู ๒ ๒๖๐,๐๐๐
๒ ๕,๗๐๐
๒ โครงการขุดลอกห้วยนำา้ ยอด ๓ ๙๙,๐๐๐
๓ ๖๒๕,๐๐๐
๓ โครงการขุดลอกคลองส่งนา้ำ เข้านาหว้ ยผีปา่ ๓
๓๐,๐๐๐
๔ โครงการขุดลอกหน้าฝายนำา้ ยอด, หว้ ยนาำ้ เกาะ ๓
๑,๑๑๔,๘๐๐
๕ โครงการขดุ ลอกหว้ ยจอก

๖ โครงการหมบู่ า้ นขยายผลโครงการปิดทองหลังพระฯ จงั หวัดนา่ น
(ขยายครัวเรอื นต้นแบบ)

รวม

46
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

๒) โรงเรียนอนุบาลอยู่วิทยา สร้างฝายอนุรักษ์บ้านนำ้าเกาะ ๘๔ ตัว ระบบท่อส่งน้ำา
เขา้ พนื้ ทก่ี ารเกษตรอีก ๗๐๐ เมตร และสรา้ งบ่อพวงทีบ่ ้านราษฎรร์ ฐั พฒั นา อำาเภอ
สนั ตสิ ุข ซงึ่ เปน็ พื้นทขี่ ยายผลของโครงการ จำานวน ๓ บอ่ ทาำ ให้ชาวบ้านไม่ต้องขน้ึ
ไปรกุ ท่ที าำ กินบนเขา และคนื เปน็ พืน้ ท่ีปา่ อนรุ ักษ์ ๒,๐๐๐ ไร่

๓) สโมสรโรตารนี่ า่ น และสโมสรโรตารเี วยี งสา สนบั สนนุ งบประมาณสร้างฝายอนรุ ักษ์
อาำ เภอสองแคว ๔๐ ตวั

๔) บริษัทโตชบิ า สนับสนนุ งบประมาณกองทนุ สกุ ร ๕๐,๐๐๐ บาท
๕) บริษัท เจริญโภคภัณฑโ์ ปรดิวส์ จาำ กดั กลมุ่ ธุรกิจพืชครบวงจร เครือเจรญิ โภคภณั ฑ์

ทำาโครงการธรรมชาตปิ ลอดภยั จงั หวดั นา่ น ณ หมูบ่ ้านราษฎร์-รฐั พัฒนา ตาำ บลพงษ์
อาำ เภอสนั ตสิ ขุ ซงึ่ เปน็ พนื้ ทขี่ ยายผลโครงการปดิ ทองหลงั พระฯ จงั หวดั นา่ น โดยมอบ
กลา้ และกจิ กรรมปลูกปา่ สร้างฝายอนรุ กั ษ์ ปลกู ต้นไม้ตามรอ่ งห้วย ปลูกหญา้ แฝก
๖) มูลนิธิ SCG สนับสนนุ ขุดบ่อพวงสันเขาบ้านผาหลกั อำาเภอสองแคว ๑ บ่อ พร้อม
ระบบท่อ งบประมาณสนับสนุน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ชาวบ้านผู้รับประโยชน์ ๒๐ ราย
พ้นื ที่รับนำ้าทง้ั หมด ๙๑ ไร่
๗) นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๗๐ คน ลงพ้ืนที่บ้านยอด อำาเภอสองแคว และ
บา้ นนา้ำ ป้าก อาำ เภอท่าวงั ผา เพ่ือศึกษาข้อมลู สาำ หรบั ทำาแผนธุรกจิ
๘) นกั ศกึ ษาฝกึ งาน เชน่ นกั ศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี
๑๓ คน และนักศึกษาจากวิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
จงั หวดั สระแกว้ ๔ คน เขา้ ร่วมเรยี นรหู้ ลกั สูตรฝกึ อบรมผู้ปฏิบตั งิ านพฒั นาชนบท
ตามแนวพระราชดำาริ (พชร.) รุ่นที่ ๓ และเรียนรู้งานในพ้ืนที่โครงการปิดทอง
หลังพระฯ จังหวัดนา่ น

แผนปฏิบตั กิ าร ๒๕๕๖

โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพ้ืนที่จังหวัดน่าน ได้
กำาหนดแผนงานทจี่ ะดาำ เนนิ การในปี ๒๕๕๖ ไว้ ดังนี้

๑. การส่งเสรมิ การพฒั นา
๑.๑ การพฒั นาระบบนา้ำ
• สร้างฝายเกษตร เพ่ือให้มีน้ำาเพียงพอสำาหรับการเกษตรในฤดูทำานาและพืช
หลังนาครอบคลมุ ท้งั พน้ื ที่ มีเปา้ หมายสรา้ งเพิม่ ๖ ตัว พืน้ ท่ีรบั นำ้า ๑๘๐ ไร่
๑ งาน ๓๕ ตารางวา ผรู้ บั ประโยชน์ ๒๘ ราย
• ซอ่ มแซมฝาย ๑๗ ตัว โดยใชแ้ รงงานชาวบา้ นทั้งหมด
• ขดุ ลอกตะกอนหนา้ ฝาย เพอ่ื เปดิ ทางใหน้ าำ้ ไหลลงบอ่ พวง ๑๕๓ ตวั โดยใชแ้ รงงาน
ชาวบ้าน
• ซอ่ มแซมระบบทอ่ และตอ่ ทอ่ สง่ นาำ้ เขา้ พนื้ ทกี่ ารเกษตรทย่ี งั ไมไ่ ดร้ บั นาำ้ โดยเจา้ ของ
แปลงนาลงทุนซ้ือท่อต่อเข้าแปลงนาของตัวเอง มีเป้าหมายต่อระบบท่อเพ่ิมเติม
๙,๗๙๘ เมตร

47
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

• ซ่อมแซมผ้าพลาสติกคลุมบ่อพวง ซ่ึงชำารุดฉีกขาด ๑๕ บ่อ ในพื้นท่ีอำาเภอ
เฉลิมพระเกยี รติ เพือ่ ใหเ้ กบ็ กกั นำ้าไวใ้ ช้ในการทำาการเกษตรไดต้ ลอดท้ังปี

• ติดตามกลุ่มผู้ใช้นำ้า ๒๕ กลุ่ม ให้ดำาเนินงานตามกฎระเบียบอย่างต่อเน่ือง
เพื่อใหช้ าวบา้ นสามารถดแู ลบริหารจดั การนาำ้ และซ่อมแซมระบบส่งน้ำาไดเ้ อง

• การปรบั ภมู ทิ ศั นบ์ อ่ พวง เชน่ ปลกู พชื รอบบอ่ และลอ้ มรวั้ เพอื่ รองรบั การทอ่ งเทย่ี ว
เชงิ อนรุ กั ษ์ สบื สานแนวพระราชดำาริ ใหช้ าวบา้ นมีรายได้

๑.๒ ปรับปรุงดินให้เหมาะสมกับพืชท่ีเพาะปลูก พ้ืนที่ ๒,๕๓๔ ไร่ ประกอบด้วย
หวา่ นเมลด็ ปอเทอื ง ๘๗๙ ไร่ และโดโลไมท์ ๘๕๕ ไร่ โดยสาำ นกั งานพฒั นาทด่ี นิ จงั หวดั สนบั สนนุ
การปรับปรุงดินนาขั้นบันได โดยปลูกพืชตระกูลถั่ว ๕๐๐ ไร่ ปรับปรุงคันนาโดยปลูกตะไคร้
และดอกไม้จีน ๑๐๐ ไร่ ส่งเสริมการใช้ไตรโคเดอร์มาและบิวเวอร์เรีย เพื่อป้องกันโรคพืช
และแมลง และสง่ เสรมิ การใช้ปยุ๋ นาำ้ ๒๐๐ ไร่

๑.๓ สง่ เสรมิ การเกษตรและปศสุ ตั ว์ เพือ่ เสริมรายได้ ลดตน้ ทุนการผลติ และสรา้ ง
อาชีพให้แกช่ าวบ้าน

• สง่ เสรมิ พชื หลงั นา ๑๗ ชนดิ ในพน้ื ท่ี ๕๔๔ ไร่ ไดแ้ ก่ หนอ่ ไมฝ้ รง่ั พรกิ ซปุ เปอรฮ์ อท
พริกข้ีหนู พริกหัวเรือ บีทรูท บร็อกโคล่ี ถั่วลันเตา ถ่ัวลันเตาหวาน ถั่วลิสง
กระเจ๊ยี บแดง ข่าขาว ฟักทอง ตะไคร้ วา่ นหางจระเข้ มนั ฝรั่ง และงา ซึง่ เพาะ
กลา้ ท่ศี นู ย์เพาะเมล็ดบา้ นตีนตก อำาเภอปัว มเี กษตรกรทส่ี นใจเตรยี มแปลงแล้ว
๓๖๗ ราย สามารถสร้างรายได้ตลอดทั้งปี ๑๑,๑๙๘,๖๐๐ บาท เฉลี่ยไร่ละ
๒๐,๕๘๖ บาท

48
รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๕
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

• ส่งเสริมปลูกพืชผักสวนครัว การเพาะเห็ดหอม ๔,๐๐๐ ก้อน และการเข่ียเช้ือ
เห็ดหอม โดยใช้วัสดุในพื้นที่ เริ่มทำาท่ีศูนย์เรียนรู้ปิดทองหลังพระฯ เพ่ือให้
ชาวบา้ นเห็นตัวอยา่ งรปู ธรรมความสาำ เร็จ และนำาไปปฏบิ ตั ิตาม

• ส่งเสริมการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรในลักษณะการรวมกลุ่มและกองทุน
เช่น กลุ่มแปรรปู กลว้ ยเหลอื งนวล กล่มุ แปรรปู ต๋าว และกลมุ่ แปรรูปหมู

• การพฒั นาคุณภาพผลผลติ ทางการเกษตรทแี่ ปรรูปแล้วในปี ๒๕๕๕ เชน่ นาำ้ พริก
ลาบมะแขวน่ โดยปรบั ปรงุ โรงเรือนทผ่ี ลิตเพอื่ ใหไ้ ดต้ ามมาตรฐาน

• ติดตามผลการส่งเสริมพืชเศรษฐกิจท่ีปลูกอยู่แล้วในพ้ืนท่ี เช่น มะนาว ส้มโอ
มะแขวน่ สม้ เขียวหวาน ให้ผลผลติ ดี มคี ุณภาพเป็นท่ตี อ้ งการของตลาด

• ติดตามผลการดำาเนินงานกองทุนต่างๆ เพ่ือให้มีการดำาเนินงานต่อเนื่อง และ
จะสง่ มอบกองทนุ ท้ังหมดใหช้ าวบ้านบรหิ ารจัดการเอง ในปี ๒๕๕๖

• สร้างตลาดชมุ ชน ๓ แหง่ (หว้ ยธนู ผาหลกั เปียงกอ่ ) เปน็ จดุ รวมผลผลิตทาง
การเกษตรและการแปรรูปของชุมชน และเป็นจุดแวะพักบริการนักท่องเที่ยว
เพื่อให้ชาวบ้านมีรายได้จากการขายผลผลิต และเป็นศูนย์ถ่ายทอดความรู้ใน
การคั่วกาแฟจากมูลนิธิแมฟ่ ้าหลวงฯ

49
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

๒. การแกไ้ ขปัญหา
๒.๑ ปรับปรงุ ระบบเครื่องสีขา้ วของโรงสี ๕ แหง่ (ห้วยธนู นา้ำ ปา้ ก บ้านยอด น้ำาเกาะ

เปยี งซอ้ ) เนอื่ งจากกนิ นา้ำ มนั มาก รวมทงั้ สนบั สนนุ ใหม้ รี ะบบบรหิ ารจดั การโรงสี ทเี่ นน้ บรกิ ารคน
ในชมุ ชนมากขึน้

๒.๒ ปรับปรุงพันธุ์สกุ ร โดยการผสมเทยี มและเปลี่ยนพอ่ พันธ์ุใหม่ โดยใช้พอ่ พันธใุ์ น
พื้นทอี่ ่ืนของโครงการฯ

๓. การถา่ ยทอดองคค์ วามรู้
๓.๑ อบรมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเกษตรกรที่ประสบความสำาเร็จด้าน

การเกษตรปศสุ ตั ว์ การแปรรปู ผลิตภัณฑ์ การทำาบัญชีครวั เรอื น เพื่อนาำ ไปปรับใช้และต่อยอดใน
พ้ืนท่ีตนเอง ให้ชาวบา้ นแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาผลผลิตให้ดีขึ้น ๑๘ ครั้ง

๓.๒ สนับสนนุ องคค์ วามรู้ให้แก่พืน้ ทขี่ ยายผลและสถานศึกษา ๑๖ ครั้ง
๓.๓ พัฒนาบุคลากรในองค์กรให้มีทักษะความสามารถในการทำางานสนับสนุน
ชาวบ้าน โดยอบรมทกั ษะในการใชค้ อมพิวเตอร์ การอา่ นแผนท่ี และการตรวจวเิ คราะหด์ นิ

๔. งานริเริม่ ใหม่
๔.๑ โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ต่อยอดการพัฒนาร่วมกับศูนย์ประสานงาน

ประชาคมนา่ น (๗ พน้ื ที)่ มลู นธิ ฮิ กั เมอื งน่าน และกลมุ่ ฮกั เมอื งนา่ น (พระครูพทิ ักษ์นนั ทคุณ)
เพื่อต่อยอดการพัฒนาในหมู่บ้านที่มีความเข้าใจและมีความพร้อมด้านการพัฒนาในมิติต่างๆ
แล้ว เช่น การถ่ายทอดองค์ความรู้ในการพัฒนาระบบน้ำา การสร้างฝาย ระบบส่งนำ้า ระบบ
เก็บกักน้าำ เปน็ ต้น

๔.๒ พฒั นาระบบตดิ ตามผลการปฏบิ ตั งิ านและจดั ทาำ ฐานขอ้ มลู ดว้ ยระบบ Scorecard
Cockpit เพื่อให้ผู้บริหารมีระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจวางแผนการพัฒนา และควบคุม
การดำาเนินงานให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ขององค์กร โดยได้รับความร่วมมือจากพระตำาหนัก
ภูพิงคราชนเิ วศน์

๕. ขยายความร่วมมอื กบั ภาคี ทง้ั หนว่ ยงานราชการ ท้องถน่ิ ทอ้ งที่ เอกชน ประชาสังคม
และสถาบันการศึกษา

50
รายงานประจำาปี ๒๕๕๕
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ


Click to View FlipBook Version