The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข่าวปิดทอง ฉบับที่1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-24 02:59:35

ข่าวปิดทอง ฉบับที่1

ข่าวปิดทอง ฉบับที่1

Keywords: ข่าวปิดทอง ฉบับที่1

PIDTHONG NEWS
สาระเพื่อการพัฒนาชนบทอย่างยั่งยืน ฉบบั ท่ี 1 / มกราคม 2565

ปิดทองฯ จบั มือ 8 องคก์ ร บางโปก่งลลอกึย
ชี้ แนวพระราชด�ำริ ชว่ ยสร้างภูมคิ ุ้มกัน พ้นเกณฑค์ วามยากจน
พร้อมพัฒนาตอ่ ยอดเป็น
“อยรู่ อด และยง่ั ยืน หลังโควิด”
SOCIAL LAB
ปดิ ทองหลังพระฯ
รับมอบรางวลั มะพรา้ วน้ำ� หอมตน้ เตีย้

“กาลพฤกษ์ทองค�ำ” พืชเศรษฐกจิ เติมชวี ติ หลงั เกษียณอยา่ งยง่ั ยนื

บทบรรณาธิการ

สวสั ดปี ใี หมผ่ อู้ า่ นทกุ ทา่ น ขอตอ้ นรบั เขา้ สู่ “จดหมายขา่ วปดิ ทอง” รายไตรมาส
ฉบับปฐมฤกษ์ โฉมใหม่ ในรูปแบบ E-BOOK ท่จี ะเป็นอีกหน่งึ ช่องทางการเผยแพร่
ข่าวสาร กิจกรรม ความรู้ และผลการดำ�เนินงานของมูลนิธิฯและสถาบันฯ
เพื่อเผยแพร่แนวทางและวิธีการพัฒนาชนบทเชิงประยุกต์ตามแนวพระราชดำ�ริ
รวมถงึ สาระความรแู้ ละเคลด็ ลบั ทางการเกษตรทน่ี า่ สนใจจากเกษตรกรพน้ื ทต่ี น้ แบบ
และในยุคโควดิ -19 แบบนี้ ปดิ ทองหลังพระฯ เปดิ ชอ่ งทางการตดิ ตามขา่ วสารข้อมูล
ท่ีเป็นประโยชน์เพิ่มขึ้นท่ี LINE OFFICIAL และ TIKTOK พบกับกิจกรรมสนุก
และข่าวสาร สาระความรมู้ ากมาย สามารถสแกน QR Code ง่ายๆ ไดเ้ ลย

สุดท้ายนี้ ขอให้ทุกท่านมีความสุข มีแรงกายแรงใจในการท�ำ หน้าที่ของตนเอง
ในทุกๆ วัน ทส่ี �ำ คญั หา่ งไกลโควดิ กันทกุ คน

เจ้้าของ | มููลนิิธิิปิิดทองหลัังพระ สืืบสานแนวพระราชดำ�ำ ริิ สำำ�นัักงานปลััดสำำ�นัักนายกรััฐมนตรีี ทำำ�เนีียบรััฐบาล เลขที่� 1 ถนนนครปฐม เขตดุุสิิต กรุุงเทพมหานคร 10300
สถาบัันส่่งเสริมิ และพััฒนากิจิ กรรมปิิดทองหลังั พระ สืบื สานแนวพระราชดำำ�ริิ เลขที่� 989 อาคารสยามพิวิ รรธน์์ ชั้้�น 26 ถนนพระราม 1 แขวงปทุุมวันั เขตปทุมุ วันั กรุงุ เทพมหานคร 10330
โทรศััพท์์ 0-2611-5000 โทรสาร 0-2658-1413 | ที่�่ปรึึกษากองบรรณาธิิการ นายการััณย์์ ศุุภกิิจวิิเลขการ, นายจํําเริิญ ยุุติิธรรมสกุุล, นายวีีรเทพ พิิรโรจน์์
| บรรณาธิิการ นางสาวพิิจิิตรา ยิ้้�มจัันทร์์ | กองบรรณาธิิการ นายณััฐพล ภััททกวงศ์์ นางสาวหทััยรััตน์์ พ่่วงเชย นายณััฏฐพล จิิระสกุุลไทย นางสาวอารีีรััตน์์ สาลัักษณ์์
นายสุุชาติิ ถนอม ผู้้�จััดทำำ� | บริิษััท แอร์์บอร์์นพริินต์์ จำำ�กััด 1519/21 ซอยลาดพร้้าว 41/1 ถนนลาดพร้้าว แขวงสามเสนนอก เขตห้้วยขวาง กรุุงเทพมหานคร 10310
โทรศััพท์์ 0-2939-9700 โทรสาร 0-2512-2208 E-mail : [email protected], [email protected]

สารบัญั

ข่า่ วพื้้�นที่่ป� ิิ ดทอง

ปิดิ ทองฯ จับั มืือ “กรมชลฯ-สทนช.” 4 ปดิ ทองหลังพระฯ รับมอบรางวัล 6
พััฒนาแหล่ง่ น้ำำ��ชุุมชนลุ่่�มน้ำำ��มูลู “กาลพฤกษ์ทองคำ� ” 9

ปิดิ ทองฯ ใช้แ้ อปพลิิเคชััน 8 โคกลา่ ม-แสงอร่าม พร้อม ”ปลูกกญั ชง” 11
ช่ว่ ยงานพััฒนาชุมุ ชน ลดค่า่ ใช้้จ่า่ ย พืชเศรษฐกจิ ตัวใหม่ของชมุ ชน

ธนาคารชุุมชนทุ่่�งโป่ง่ กิิจการก้้าวหน้า้ 10 ปัตตานฝี ่าวกิ ฤตฯ ดว้ ยแนวพระราชดำ� ริ
เงิินหมุุนเวียี นพุ่่�งกว่า่ 5 แสนบาท พัฒนาระบบสูบน�้ำพลงั งานแสงอาทิตย์
ปลกู พืชผกั สวนครัวลดรายจ่าย-เพิ่มรายได้

เรื่อ่� งจากปก Pidthong's infographic

โป่ง่ ลึึก-บางกลอย พ้้นเกณฑ์ค์ วามยากจน ผลการดำำ�เนินิ งานพื้้�นที่่�ต้น้ แบบ 9 จัังหวัดั ปีี 2564
พร้อ้ มพััฒนาต่อ่ ยอดเป็น็ Social Lab
12 มูลู นิธิ ิิปิดิ ทองหลัังพระฯ 16

เรื่อ่� งเล่า่ ปิิ ดทองฯ 18 รายงานพิิเศษ 22

ชีวี ิิตที่่�เติมิ เต็็มได้ด้ ้ว้ ยความรู้้�และความรััก ปิดิ ทองฯ จัับมือื 8 องค์ก์ ร
ของ นููรีีซันั อภิิบาลแบ ชี้้� แนวพระราชดำำ�ริิ ช่ว่ ยสร้้างภููมิคิ ุ้้�มกันั
“อยู่่�รอด และยั่่�งยืืน หลัังโควิิด”

เรื่อ่� งเล่า่ จากน้ำำ� เกษตรอิินเทรนด์์

ทำำ�น้้อยได้้มาก 750 เมตร แห่่งความสุุขของ มะพร้้าวน้ำำ��หอมต้้นเตี้้�ย

26ชุมุ ชนบ้า้ นหนองจิิกแห่่งแก่ง่ กระจาน 28พืืชเศรษฐกิจิ เติมิ ชีีวิิตหลังั เกษียี ณอย่า่ งยั่่�งยืืน

ต่อยอด สรา้ งผลิตภณั ฑ์

ต่่อยอดพััฒนา สู่่�หลาก “แบรนด์์” 31 - “HOEM” ชาดอกกาแฟ โป่งลึก-บางกลอย 32
จากผลิิตภััณฑ์ช์ ุมุ ชน - ไก่ประดู่หางด�ำ มข.55
กล้ว้ ยส้้มฉาบ ณ ทุ่่�งข้า้ วปวง

ข่า่ วพื้้�นที่ป่� ิิ ดทองฯ

นายจ�ำเรญิ ยตุ ธิ รรมสกลุ ภารกิจสำ�คัญอย่างหน่ึงของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทอง
รองผู้อ�ำนวยการสถาบันปิดทองหลงั พระฯ หลังพระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ คอื การพัฒนาปรบั ปรุงแหล่งนำ�้ เพราะถือเป็น
หัวใจหลักของการทำ�เกษตรที่จะช่วยสง่ ผลใหเ้ กษตรกรนั้นมีวิถชี ีวิตทด่ี ขี ้ึน
4
สถาบนั ปิดทองหลงั พระฯ จงึ ได้ร่วมกบั หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้อง ปรบั ปรงุ พัฒนาแหลง่ น�ำ้
ในพื้นท่ีต้นแบบตลอดมา โดยขณะน้ีกำ�ลังดำ�เนินงานในโครงการพัฒนาปรับปรุงแหล่งนำ้�
ขนาดเลก็ ด้านทรพั ยากรน�ำ้ พน้ื ท่ี 9 จังหวัดลมุ่ น้ำ�มลู ประกอบไปดว้ ย จังหวดั นครราชสีมา
บรุ รี ัมย์ มหาสารคาม ยโสธร รอ้ ยเอด็ ศรสี ะเกษ สุรินทร์ อำ�นาจเจริญ และอุบลราชธานี
อันเป็นส่วนหนึ่งในโครงการฝ่าวิกฤตด้วยเศรษฐกิจและสังคมฐานรากให้พัฒนาก้าวไป
ตามแนวพระราชด�ำ ริ ในพ้ืนที่ 9 จงั หวัดล่มุ น�ำ้ มูล

นายจ�ำ เรญิ ยุตธิ รรมสกุล รองผู้อำ�นวยการสถาบนั ฯ กลา่ ววา่ งานชิ้นน้ีเปน็ งานพิเศษ
เนื่องจากปิดทองหลังพระฯ ทำ�ภารกิจเรื่องนำ้�มาเยอะ ส่วนตนเองก็อยู่ในคณะกรรมการ
ทรัพยากรน้ำ�แห่งชาติ ซึ่งเห็นว่าลุ่มน้ำ�มูลเป็นลุ่มนำ้�ท่ีแล้งมาก หากแก้ไขปัญหาตรงนี้ได้

ข่า่ วพื้�้นที่ป่� ิิ ดทองฯ

จะช่วยให้เกษตรกรและประชาชนในพื้นที่มีสภาพความ ส่วนชาวบ้านต้องสละแรงงานมาร่วมแรงร่วมใจกัน
เป็นอยทู่ ่ีดขี น้ึ ซ่อมแซม”

ปิดทองหลังพระฯ จึงมีแผนระยะที่ 4 ซึ่งคณะ ในการสำ�รวจ พัฒนา ปรับปรุงแหล่งนำ้�ชุมชนตาม
รัฐมนตรีอนุมัติโครงการเพื่อซ่อมแซมแหล่งนำ้�ปีละ 125 แนวพระราชดำ�ริให้มีประสิทธิภาพนั้น เน้นยึดหลักระบบ
โครงการ โดยกรมทรัพยากรน้ำ�จะเป็นหน่วยงานที่ต้ัง การบริหารจัดการแผนงานโครงการและฐานข้อมูลสำ�หรับ
งบประมาณผ่านไปยังกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ บูรณาการแผนเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ�ของ
และส่ิงแวดล้อม เพื่อให้รัฐบาลอนุมัติงบประมาณลงมา ประเทศไทย (Thai Water Plan) ซ่ึงเป็นพื้นท่ีที่ต้อง
เพื่อใช้ซอ่ มแซมแหล่งน�ำ้ ทเ่ี สนอโครงการไว้ ได้รับการแก้ไขปัญหาภัยแล้งซ้ำ�ซาก เพ่ือให้ประชาชน
มีนำ้�เพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร
ขณะน้ีความคืบหน้าในโครงการพัฒนาปรับปรุง อยา่ งเร่งด่วน 
แหล่งนำ้�ขนาดเล็กด้านทรัพยากรน้ำ�พื้นที่ 9 จังหวัด
ลุ่มนำ้�มูล ถึงขั้นตอนที่ร่วมกับทางจังหวัด อำ�เภอ และ ท้ังนี้ก่อนจะลงมือปฏิบัติจริงจังในปี 2565 ปิดทอง
ตำ�บล ออกไปสำ�รวจแหล่งน้ำ�เพ่ือคัดเลือกเข้าโครงการ หลังพระฯ ได้ร่วมมือกับกรมชลประทาน (ชป.) และ
โดยแหลง่ นำ้�จะมี 2 ประเภทหลกั คือ แหลง่ น้ำ�ท่ีถ่ายโอน สำ�นักงานทรัพยากรน้ำ�แห่งชาติ (สทนช.) เปิดอบรม
ให้กับองค์กรปกครองท้องถิ่นแล้วกับแหล่งน้ำ�ธรรมชาติ ปลัดอำ�เภอ เจ้าหน้าท่ีด้านช่างขององค์กรปกครอง
ที่ชาวบ้านเป็นเจ้าของ มีการคัดเลือก 132 โครงการ สว่ นทอ้ งถน่ิ และเจา้ หนา้ ทปี่ ดิ ทองหลงั พระฯ เพอื่ เสรมิ สรา้ ง
เพ่ือต้ังงบประมาณ 2566 โดยให้ทางท้องถ่ินสำ�รวจ ศักยภาพบุคลากรด้านการซ่อมแซม เสริมศักยภาพ
ออกแบบ และหางบประมาณในการซอ่ มแซม แหล่งน้ำ�ชุมชนขนาดเล็ก และจัดการระบบข้อมูลนำ้�
ใหเ้ ปน็ เอกภาพ รวมถงึ วางแผนและบรหิ ารจดั การเพอ่ื แกไ้ ข
“ขอย้ำ�ว่าสิ่งที่ปิดทองฯ ทำ�จะไม่เหมือนหน่วยงาน ปัญหาภัยแล้ง ให้มีนำ้�เพียงพอต่อการอุปโภคบริโภค
ราชการ คือ เราออกงบประมาณซ้ือวัสดุอุปกรณ์ให้ การเกษตร และกิจกรรมด้านอ่นื ๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
และย่ังยืน ซึ่งผู้เข้าร่วมอบรมจะได้ความรู้ด้านการพัฒนา
หนึ่งในแหล่งน�้ำท่ีเขา้ รว่ มโครงการ แหลง่ นำ้�ชมุ ชนขนาดเลก็ ประเภทตา่ งๆ อย่างครบถ้วน

ระบบการบริหารจัดการแผนงานโครงการและฐาน
ข้อมูลสำ�หรับบูรณาการแผนเพื่อบริหารจัดการทรัพยากร
น้ำ�ของประเทศไทย (Thai Water Plan) สามารถด�ำ เนิน
การใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์ของ สทนช. การใช้ประโยชน์
ของระบบ Thai Water Plan การเขียนแผนงานโครงการ
ให้ตอบโจทย์ สทนช. กระบวนการเตรียมความพร้อมการ
พฒั นาแหลง่ น�ำ้ ขนาดเลก็ ในชมุ ชน แนวทางและหลกั เกณฑ์
การพิจารณา ปรับปรุง เพ่ิมประสิทธิภาพโครงการพัฒนา
แหลง่ น�ำ้ ขนาดเลก็ เดมิ การตรวจวเิ คราะหข์ อ้ มลู ส�ำ หรบั งาน
พฒั นา ปรบั ปรงุ แหลง่ น�้ำ ขนาดเลก็ เพอ่ื การส�ำ รวจ ออกแบบ
และประมาณราคา ท่ีสำ�คัญได้มีโอกาสเข้าไปเรียนรู้และ
ฝกึ ปฏบิ ัตใิ นพน้ื ที่จรงิ

5

ข่า่ วพื้้�นที่ป่� ิิ ดทองฯ

การพฒั นาในพื้นท่ีต�ำบลทงุ่ โปง่
อ�ำเภออบุ ลรัตน์ จงั หวดั ขอนแกน่

ปิดทองหลงั พระฯ คณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ประกาศรางวลั
รบั มอบรางวลั กาลพฤกษ์ทองคำ� ประจำ�ปี 2564 ประเภทนิติบุคคลหรือ
องค์กร คอื มูลนธิ ปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ

“กาลพฤกษท์ องคำ� ” ผลจากการท่ีปิดทองหลังพระฯ เป็นองค์กรท่ีมีปณิธาน
ในการน้อมนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่พระบาท
สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช

บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ผู้ทรงเป็นพระบิดาแห่งการเกษตรไทย

ได้พระราชทานไว้ นำ�ไปประยุกต์ใช้กับชุมชนเกษตรกรในพ้ืนท่ี

ต้นแบบ เพ่ือการพัฒนาการเกษตรที่ย่ังยืนอันเป็นรากฐานของ

การพฒั นาประเทศ

ปิดทองหลังพระฯ เป็นองค์กรที่มีวิสัยทัศน์ในการพัฒนาชุมชน

พ้ืนที่ต้นแบบและพ้ืนท่ีขยายผล จนสามารถสร้างอาชีพให้กับ

ชุมชน เกิดรายได้ในครัวเรือน สร้างวิถีชีวิตท่ีมีความพอเพียง

และเกิดความยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ในการทำ�งาน ปิดทองหลังพระฯ ได้บูรณาการความร่วมมือกับ

หน่วยงานภาครัฐและเอกชน มีการน้อมนำ�การพัฒนาตามแนว

6

ข่า่ วพื้�้นที่ป่� ิิ ดทองฯ

พระราชดำ�ริมาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม ขยายผล เกิดความต่อเน่ืองในการทำ�งาน และส่งผลการพัฒนา
สิ่งแวดล้อม และบริบทท่ีเปลี่ยนแปลง โดยมีการคัดเลือกพื้นที่ ทเี่ กิดขึ้นโดยตรงกับชุมชนในพืน้ ท่ีเปา้ หมาย
ตน้ แบบเพ่อื ปฏิบตั ิงาน
“ด้วยพันธกิจที่เน้นเร่ืองการจัดการความรู้และการส่งเสริม
ในการนำ�หลักการพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนท่ีประยุกต์ตามแนว การพฒั นาตามแนวพระราชด�ำ รอิ ยา่ งเปน็ ระบบกวา้ งขวาง จนกระทงั่
พระราชดำ�ริมาปรับใช้ดำ�เนินการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบในลักษณะ เป็นแนวทางการพัฒนาหลักของประเทศ และมีเป้าหมายให้
ของห้องปฏิบัติการทางสังคม ห้องทดลองการแก้ปัญหาและ ประชาชนพึ่งแนวทางการพัฒนา เริ่มต้ังแต่ครัวเรือนพึ่งพาตนเอง
การพฒั นาหมบู่ า้ น ปดิ ทองหลงั พระฯ ไดร้ ว่ มกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ชุมชนรวมกลุ่มพ่ึงตนเองได้และเช่ือมโยงชุมชนออกสู่ภายนอก
สถาบันการศึกษา เกษตรกร และประชาชน มีการจัดการความรู้ โดยกระบวนการและวิธีการทำ�งานอาศัยยุทธศาสตร์พระราชทาน
นำ�แบบแผนการพัฒนาไปขยายผล ท่ีสามารถใช้เป็นแนวทางหลัก เขา้ ใจ เข้าถงึ และพฒั นา”
ในการพัฒนาประเทศ
ปิดทองหลังพระฯ เร่ิมดำ�เนินโครงการพัฒนาและจัดหาน้ำ�
พ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริของปิดทอง ในต�ำ บลท่งุ โปง่ อำ�เภออบุ ลรตั น์ จงั หวัดขอนแกน่ ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์
หลังพระฯ ปัจจุบันมีท้ังหมด 9 จังหวัด 82 หมู่บ้าน ครอบคลุม การพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภาคการเกษตร
ทุกภูมิภาคของประเทศไทย มีการบริหารจัดการตามสภาพพื้นที่ และชนบท ต้ังแต่ปี 2559 เริ่มต้นจาก 10 หมู่บ้าน ในตำ�บล
จนเกิดผลสำ�เร็จ เกิดการขยายผล มีการจัดการเรียนรู้ เผยแพร่ ทุ่งโป่ง ส่วนพ้ืนท่ีอื่นในจังหวัดภาคอีสานอีก 2 แห่ง คือ อุดรธานี
แนวพระราชดำ�ริ สร้างรูปแบบแนวทางการพัฒนาเชิงพื้นท่ีและ และกาฬสินธุ์

สง่ เสริมเกษตรกรเลี้ยงไก่ประดู่หางด�ำ มข55 ผลจากการพัฒนาตำ�บลทุ่งโป่งร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สามารถจัดหาและพัฒนาแหล่งน้ำ�เพ่ือการเกษตร เพ่ิมพื้นที่
รับประโยชน์จากเดิม 2,476 ไร่ เป็น 10,339 ไร่ หรือ 4.18 เท่า
เกิดผู้รับประโยชน์ 625 ครัวเรือน มีการส่งเสริมการทำ�เกษตร
ระบบนำ้�หยดเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพกระจายนำ้�ในแปลงเกษตร
มากยิ่งข้ึน นอกจากกักเก็บนำ้�ในแปลง ช่วยพัฒนาอาชีพการเกษตร
สมัยใหม่ ส่งเสริมปลูกพืชเศรษฐกิจมูลค่าสูงที่มีตลาดรองรับ
และพัฒนากลุ่มการผลิตเพ่ือก้าวสู่การเป็นวิสาหกิจเพื่อสังคม
กลุ่มอาชีพ กลุ่มกองทุน และธนาคารชุมชนท่ีสามารถบริหารจัดการ
ด้วยตนเองได้ ทำ�ให้เกิดรายได้ภาคการเกษตรต้ังแต่ปี 2559-
ปี 2564 รวม 164,110,471 บาท

มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ (มข.) คัดเลือกผู้พัฒนาชมุ ชนแบบยั่งยืน
ตามแนวพระราชดำ�ริ รางวัลกาลพฤกษ์ทองคำ� เป็นไปตามแนวทาง
การดำ�เนินนโยบายของมหาวิทยาลัยขอนแก่นในการเสริมสร้างขวัญ
กำ�ลังใจให้แก่บุคลากรที่ประพฤติตนและมีผลการปฏิบัติงาน
ท่ีโดดเด่น ตลอดท้ังยกย่องบุคคลหรือนิติบุคคลและองค์กรท่ี
ไดท้ �ำ ประโยชนต์ อ่ มหาวทิ ยาลยั และสงั คม โดยมกี ารพจิ ารณาคดั เลอื ก
เปน็ ประจำ�ทุกปี

7

ข่า่ วพื้�้นที่ป่� ิิ ดทองฯ

ปดิ ทองน�ำเทคโนโลยีร่วมท�ำงานในพื้นท่ี

นางสาวภัทธริ า เหลือสขุ เจา้ หน้าทีส่ ง่ เสรมิ การพฒั นา นำ� “LING APP” นายอดิเรก แสนสวะ
เทคโนโลยีทันสมัยมาปรับใช้ในการทำ�งานสำ�รวจวัดขนาดพ้นื ท่ี เพื่อประเมิน เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยสง่ เสริมพัฒนา
ความคุ้มค่าในการลงทุนโครงการพัฒนาปรับปรุงแหล่งน้ำ�ขนาดเล็กด้าน
ทรพั ยากรนำ�้ พ้นื ที่ 9 จังหวดั ลุ่มน�ำ้ มูล พืน้ ท่จี งั หวดั ยโสธร นายอดิเรก แสนสวะ เจ้าหน้าท่ีฝ่าย
ส่งเสริมพัฒนา กล่าวว่า จากโครงการ
ภัทธิรากล่าวว่า “LING APP” มีประโยชน์มาก โดยใช้มาต้ังแต่เป็นนักส่งเสริม วิจัยเชิงพัฒนาการปลูกพืชมูลค่าสูง
อยทู่ างภาคเหนือ เพราะชว่ ยในการทำ�งานไดม้ าก เดมิ ทีหากตอ้ งการทราบขนาดพนื้ ที่ (กัญชง) ที่ได้จัดอบรมการปลูกกัญชง
แปลงเกษตร เจ้าหน้าท่ีจะต้องเดินทางเข้าไปในพื้นที่ และใช้เครื่อง GPS เดินสำ�รวจ ร่ ว ม กั บ ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ โ จ้ แ ล้ ว น้ั น
และนำ�ขอ้ มูลมาประเมินผลซ่ึงเสยี เวลาและมคี า่ ใชจ้ ่ายในการเดนิ ทาง ปจั จบุ นั ไดอ้ ยใู่ นขน้ั ตอนการเตรยี มความ
พร้อมให้กับผู้ช่วยนักวิจัยในโครงการ
แต่เม่ือได้นำ� “LING APP” มาใช้ ทำ�ให้ช่วยลดข้ันตอนไปได้เยอะ เพราะ จำ�นวน 25 ราย ทไี่ ดท้ ำ�การคัดเลือกจาก
น�ำ ภาพฐานขอ้ มลู จากแผนทดี่ าวเทยี มมาชว่ ยค�ำ นวณ เพยี งแตเ่ ราก�ำ หนดหรอื ระบพุ กิ ดั เกษตรกรท่สี นใจ
พ้ืนท่ีที่ต้องการจะวัด โดยวาดรูปขอบเขตแปลงที่ดินลงไปในแผนท่ีให้ถูกต้อง จากนั้น
แอปกจ็ ะค�ำ นวณผลขอ้ มลู ขนาดพนื้ ทใ่ี หเ้ รารบั รไู้ ดท้ นั ที ชว่ ยประหยดั เวลา ประหยดั เงนิ โดยเร่ิมกิจกรรม ติดตามและฝึกดูแล
และ Share ข้อมลู ผา่ น Social Media ได้ด้วย ต้นกัญชง ทดลองสภาพพื้นท่ี อากาศ แสง
ตามวธิ กี ารดแู ล การใหน้ �้ำ ใหป้ ยุ๋ สงั เกตโรคพชื
อย่างไรกต็ าม ภทั ธิรากล่าวว่า การใชง้ านแอปพลิเคชนั อาจจะมีความคลาดเคล่ือน และแมลง เพ่ือให้ผู้ช่วยนักวิจัยได้เกิดการ
ของข้อมูลอยู่บ้าง ต้องนำ�ผลข้อมูลที่ได้ไปสอบถามกับเกษตรหรือหน่วยงานเพื่อตรวจ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ซ่ึงขณะนี้อยู่ในข้ัน
สอบความถูกต้องอกี ครง้ั

ขณะน้ี ภัทธิรายงั ไดแ้ นะนำ� “LING APP” ใหป้ ลัดอ�ำ เภอ นายชา่ ง อปท. ผู้น�ำ
ชุมชน และเกษตรกรที่สนใจในจังหวัดยโสธรได้ทดลองใช้ พบว่ามีความสนใจกันมาก
เป็นเครื่องมือที่ใช้งานง่าย ช่วยคำ�นวณพ้ืนที่แปลงเกษตรและพ้ืนท่ีรับประโยชน์
จากน้ำ�ได้ทันที

8

ข่า่ วพื้้�นที่ป่� ิิ ดทองฯ

โคกล่าม-แสงอร่าม พรอ้ ม สำ�เร็จจะสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรในพื้นท่ี
ได้อย่างยั่งยืน และพื้นท่ีบ้านโคกล่าม-แสง
”ปลกู กญั ชง” อร่าม จะเป็นโมเดลในการปลูกพืชมูลค่าสูง
ให้กบั พ้ืนท่ภี าคอสี านอีกดว้ ย”
พชื เศรษฐกจิ ตวั ใหม่ของชุมชน
ขณะนี้ โครงการปลูกพืชกัญชงเชิง
เตรียมความพร้อม หากการขออนุญาตปลูก เจ้าหน้าท่แี ละผู้ช่วยนกั วจิ ยั เข้าอบรมปลกู กัญชง พาณิชย์น้ัน อยู่ในช่วงการเตรียมการศึกษา
พ้ืนท่ีปลกู ระบบเปดิ วิจัยเชิงพัฒนาปลูกกัญชง ซึ่งเป็นพืชท่ีมี
และผลิตกัญชงเรียบร้อยแล้ว เกษตรกร มูลค่าสูงและตลาดมีความต้องการ เพื่อ
เป็นทางเลือกในการประกอบอาชีพ โดยใช้
จะสามารถนำ�ความรู้ท่ีได้รับไปใช้ได้ทันที ประโยชน์จากระบบชลประทานอัจฉริยะ
(Smart Irrigation System) ทนี่ ำ�นวตั กรรม
โดยคาดว่าจะสามารถดำ�เนินการปลูกจริงได้ เทคโนโลยี 5G เข้ามาช่วยเสริมเพ่ิม
ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการนำ้�ชุมชน
ในเดือนมนี าคม 2565 ที่จะถึงน ้ี ให้สามารถวางแผนการใช้นำ้�เพื่อการเกษตร
ได้อย่างตอ่ เน่ืองในทกุ ฤดกู าล รวมทัง้ พฒั นา
“ในปัจจุบัน มูลค่ากัญชงน้ัน ช่อดอก กองทุนและกลุ่มวิสาหกิจชุมชนให้เชื่อมโยง
ทส่ี ามารถน�ำ ไปท�ำ สารสกดั ใชใ้ นเครอ่ื งส�ำ อาง กับภายนอก ทั้งด้านการตลาด แหล่งทุน
และเครื่องดื่ม มีราคาต้ังแต่ 2,000-7,500 นวัตกรรมและเทคโนโลยอี ย่างเหมาะสม
บาทต่อกิโลกรัม ข้ึนอยู่กับคุณภาพ ส่วน
เมลด็ พันธ์ุ ทีป่ ลกู ระบบเปิด จะนำ�ไปหีบสกัด การปลูกพืชกัญชงแบ่งเป็น 2 รูปแบบ
นำ้�มันใช้ในเวชภัณฑย์ า ราคาอยู่ท่ี 110 บาท คือ 1. ปลูกระบบโรงเรือนภายใต้ระบบน้ำ�
ต่อกิโลกรัม ส่วนท่ีเหลือจะทดลองนำ�ไป อัจฉริยะ จำ�นวน 3 โรงเรือน แบ่งเป็น
แปรรูปทำ�ผงนัว ใช้ปรุงอาหาร ขณะนี้ โรงเพาะกลา้ จ�ำ นวน 1 โรงเรอื น และโรงปลกู
พืชกัญชงยังคงอยู่ในช่วงการวิจัย ซึ่งหาก จำ�นวน 2 โรงเรือน

2. ปลูกพื้นที่ระบบเปิด (กลางแจ้ง)
จำ�นวน 3 แปลง ในพื้นที่โครงการบริหาร
จัดการนำ้�อย่างย่ังยืนฯ บ้านโคกล่าม-
แสงอรา่ ม จงั หวัดอุดรธานี

9

ข่า่ วพื้�้นที่ป่� ิิ ดทองฯ

ธนาคารชุมุ ชนทุ่่�งโป่ง่ กิจิ การก้า้ วหน้้า
เงินิ หมุุนเวีียนพุ่่� งกว่า่ 5 แสนบาท

พันโท วริ ัตน์ วงศส์ ถิตย์ ประธานธนาคารชุมชนทุง่ โปง่ อ.อุบลรัตน์ จ.ขอนแกน่ กจิ กรรมของสมาชิกธนาคารท่งุ โป่ง
เปดิ เผยว่า ชมุ ชนบ้านทงุ่ โป่งก่อตัง้ ธนาคารชมุ ชนทงุ่ โปง่ ข้ึนตัง้ แต่ปี 2561 เนือ่ งจาก
ชาวบ้านและเกษตรกรในพื้นท่ีจำ�เป็นต้องลงทุนในการทำ�อาชีพ แต่ไม่มีหลักทรัพย์ โดยเนน้ ประชาสมั พนั ธว์ า่ ธนาคารชมุ ชนแหง่
หรือโฉนดที่ดินเพื่อไปขอกู้ธนาคารพาณิชย์ จำ�เป็นต้องไปกู้นอกระบบ ทำ�ให้ น้ีแตกต่างจากธนาคารพาณิชย์ท่ัวไป เพราะ
เสียดอกเบยี้ แพง และบางครง้ั ถูกข่มขู่ เสยี เกยี รตแิ ละศกั ด์ิศรีความเป็นมนษุ ย์ เสียค่าสมาชกิ ครัง้ เดยี ว 30 บาท หลังจากนัน้
ไม่เสียอะไรเลย ไม่มีค่าใช้จ่ายอย่างเช่น
การระดมทุนด้วยการออมและให้ กว่าบาท มีเงินอยู่ระหว่างปล่อยกู้ 1 ค่ารักษาบัญชี นอกจากน้ีจะให้ดอกเบี้ย
สมาชิกกู้ โดยได้รับการสนับสนุนจาก แสนกว่าบาท โดยคิดดอกเบ้ียถูก ร้อยละ สำ�หรับผู้ที่นำ�เงินมาออม ซึ่งทางธนาคารเอง
สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทอง 1 บาทต่อปี ท่ีผ่านมามีสมาชิกในกลุ่มไก่ มี ร า ย ไ ด้ จ า ก ก า ร ใ ห้ ส ม า ชิ ก บ า ง ส่ ว น กู้ ”
หลังพระสืบสานแนวพระราชดำ�ริ พื้นที่ และวิสาหกิจชุมชนกลุ่มอ้อยมาขอกู้ด้วย พนั โท วริ ัตน์กลา่ วและวา่
ต้นแบบ จ.ขอนแก่น ให้ใช้สถานที่ และ ซึ่งทางธนาคารชุมชนทุ่งโป่งได้ใช้สถาบัน
ทางเครือซีพีให้ความรู้และคำ�แนะนำ�ต่างๆ สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระฯ หลังจากก่อต้ังธนาคารชุมชนแห่งนี้
โดยแรกเรม่ิ ระดมทนุ ไดแ้ ค่ 17,000 บาท จาก ประจำ� จ.ขอนแก่น เป็นจุดรับฝากเงินและ ปรากฏว่าไม่ได้ยินเสียงมอเตอร์ไซค์ที่เคยมา
สมาชิก 32 คนต่อมามีการเลือกประธาน ขอกู้ ในวนั ท่ี 5 ของทกุ เดือน แลว้ นำ�ไปฝาก ทวงหนนี้ อกระบบอกี เลย แตกต่างจากเดมิ ท่ี
ซ่ึงตนได้รับการโหวตจากสมาชิก และ ยัง ธกส. สมาชิกบางคนนำ�มาฝากเดือนละ จะมีเข้ามาทวงหนี้นอกระบบในหมู่บ้านเป็น
ต้งั กรรมการขึน้ มาชว่ ยกันท�ำ หน้าทต่ี า่ งๆ 1,000 บาท จนไดเ้ งนิ เกบ็ เกอื บแสนบาทแลว้ ประจำ� ซ่ึงถือว่าเป็นเรื่องท่ีดีของหมู่บ้านอีก
เร่ืองหนง่ึ เลยทีเดียว
ปั จ จุ บั น ธ น า ค า ร ชุ ม ช น ทุ่ ง โ ป่ ง มี “สำ�หรับปี 2565 น้ี ธนาคารจะเชญิ ชวน
สมาชิก 131 คน มีเงินหมุนเวียน 5 แสน ให้คนในพื้นที่เข้ามาเป็นสมาชิกเพ่ิมข้ึน

10

ข่า่ วพื้�้นที่ป่� ิิ ดทองฯ

นายมฮู ัมมะยไู ว ดอเลาะ นายกองค์การบรหิ ารส่วนตำ�บล ชาวบ้านสบู น�้ำเขา้ พ้ืนท่ีการเกษตร
บา้ นนอก อ�ำ เภอปะนาเระ จงั หวดั ปตั ตานี เปดิ เผยวา่ ชาวบา้ น
ในพ้ืนที่นี้ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักคือการทำ�นาปลูกข้าว นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านนอก กล่าวเพ่ิมเติมว่า
เพยี งอยา่ งเดียว หลังโครงการของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ เข้ามาต่อยอด ทำ�ให้
ชาวบ้านในพื้นท่ีได้ใช้นำ้�เต็มประสิทธิภาพ จากสมาชิก 30 ราย
เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและสร้างรายได้เสริมให้ชาวบ้าน ตอนน้ี 40 ราย ปัจจุบันนี้กิจกรรมดังกล่าวก็ได้รับการฟื้นฟู และ
มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน จึงได้ใช้เงินส่วนตัวและงบประมาณของ อยู่ระหว่างการขยายพ้ืนท่ีเพาะปลูกให้ชาวบ้านได้เข้ามาปลูกเป็น
องค์การบริหารส่วนตำ�บล ขุดแหล่งน้ำ� ซ้ือเครื่องสูบนำ้� พัฒนา รายได้เสริมจาก 10 ไร่ ขยายเพิ่มเป็น 20 ไร่ ส่งเสริมให้ชาวบ้าน
พ้ืนท่ีว่างเปล่าบริเวณริมคลองชลประทาน หวังให้ชาวบ้านในพื้นที่ ปลกู มันส�ำ ปะหลงั พชื ใช้น้ำ�นอ้ ยเพมิ่ อนาคตหากโครงการฝ่าวกิ ฤตฯ
และชาวบ้านที่กลับมาจากประเทศมาเลเซีย เนื่องจากตกงานเพราะ ของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ยังดำ�เนินการต่อเนื่อง ต้ังใจเสนอ
สถานการณ์โควดิ -19 ไดใ้ ชป้ ระโยชน์ และด�ำ เนินกิจกรรม “ปลกู พชื เพอื่ จะขอรบั การสนบั สนนุ อกี 2 จดุ เพอ่ื พฒั นาแหลง่ น�ำ้ ใหค้ รอบคลมุ
ผักสวนครวั ลดรายจ่าย เพิม่ รายได้” บนพื้นที่ 10 ไร่ สมาชกิ 30 ราย และทั่วถึง ชาวบ้านจะได้มีทุนหลักเรื่องน้ำ�ในการทำ�การเกษตร
ดำ�เนินการปลูกพืชผักสวนครัว พริก ต้นหอม ข้าวโพด ถั่วฝักยาว จนสามารถประกอบเป็นอาชีพหลักได้ นอกจากน้ีพร้อมวางแผนทำ�
ทำ�นาขา้ ว ฯลฯ กระชังเล้ียงปลาในพ้ืนท่ีกิจกรรม เพื่อให้เยาวชนเข้ามาเรียนรู้และ
เล้ียงเป็นรายได้เสริม และใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ ส่วนตัวภูมิใจ
กระท่ังกิจกรรมดงั กล่าวเกือบจะตอ้ งจบลง เพราะพ้ืนทีม่ ปี ญั หา และยินดีมากที่เห็นชาวบ้านมีน้ำ�ใช้ โครงการตัวน้ีมาแก้ปัญหาได้
เรื่องนำ้�ไม่เพียงพอ ทำ�ให้ไม่ได้ผลผลิต จึงประสานงานกับหน่วยงาน หลายเรอ่ื ง
ทเี่ กย่ี วขอ้ งและเสนอโครงการฝา่ วกิ ฤตฯ ของมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ
จนได้รับการสนับสนุนระบบสูบนำ้�พลังงานแสงอาทิตย์ หอถัง และ “เหน็ ชาวบา้ นมีน�้ำ ใช้ มผี กั กนิ เหลอื ขายกม็ รี ายได้ สว่ นคนทไ่ี มม่ ี
วัสดุอุปกรณ์ท่อส่งน้ำ� โดยมีชาวบ้านทั้งหญิงและชายร่วมกันสละ แรง ไมม่ เี งินซื้อป๊ัมสูบนำ้�กป็ ลกู ได้…สว่ นผักท่ปี ลูกไดก้ ็มพี ่อคา้ ในพ้ืนที่
แรงงานเพื่อช่วยกันทำ�การพัฒนา ซ่อมแซม จนแล้วเสร็จภายใน ทอี่ าสารบั ผกั ของสมาชกิ ตดิ รถไปจ�ำ หนา่ ยให้ อยากขอบคณุ หนว่ ยงาน
ระยะเวลาประมาณ 4 เดอื น และชาวบ้านที่ช่วยกัน อนาคตอยากขยายไปให้ครอบคลุมเพ่ิมข้ึน
และอยากให้โครงการมีต่อเนื่อง เพราะมองว่าทุนหลักคือแหล่งน้ำ�
เกษตรกรสามารถใช้น้ ้ำ�ำ�ได้้อย่า่ งเต็็มประสิทิ ธิิภาพ สว่ นปยุ๋ เมลด็ พนั ธุ์ ชาวบา้ นหาเองได”้ นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บล
บ้านนอก จ.ปัตตานี กลา่ ว

11

เรื่อ่� งจากปก
นายณฐั วฒุ ิ เพ็ชรพรหมศร ผ้วู า่ ราชการจังหวัดเพชรบรุ ี เข้าร่วมประชมุ กบั ปดิ ทองหลงั พระ

12

เรื่อ่� งจากปก

โป่งลกึ
บางกลอย

พ้ นเกณฑ์ความยากจน
พรอ้ มพัฒนาต่อยอดเป็น

SOCIAL LAB

ปิดทองหลังพระฯ คืนข้อมูลพ้ืนท่ีโป่งลึก-บางกลอย พ้นเกณฑ์
ความยากจนกว่าร้อยละ 81 ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี ยืนยัน จับมือ
ปิดทองฯ ม.ราชภัฏเพชรบุรี พร้อมพัฒนาต่อยอดชุมชนให้เป็น Social
Lab ในอนาคต

ปิดทองหลังพระฯ ร่วมกับจังหวัดเพชรบุรี ประชุมคณะทำ�งานบูรณาการ
ขับเคล่ือนโครงการพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนท่ีประยุกต์ตามพระราชดำ�ริ บ้านโป่งลึก
-บางกลอย โดยนายณัฐวุฒิ เพ็ชรพรหมศร ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี เป็น
ประธานการประชุม

นายการัณย์ ศุภกิจวิเลขการ  ผู้อำ�นวยการสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม
ปิดทองหลังพระฯ ได้กล่าวสรุปโครงการพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนที่ประยุกต์
ตามพระราชด�ำ ริ บา้ นโป่งลึก-บางกลอย จังหวดั เพชรบรุ ี ว่าจากการด�ำ เนินโครงการ
ตั้งแต่ปี 2555 เพ่ือแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำ�ทำ�การเกษตร ดินขาดความ
อุดมสมบูรณ์ ผลผลิตทางการเกษตรตำ่� มีข้าวและแหล่งอาหารไม่เพียงพอ
การบริโภคในครัวเรือน ส่งผลให้อาจเกิดการบุกรุกทำ�ลายป่า ล่าสัตว์ป่า
เพอ่ื การดำ�รงชีวิตนั้น

13

เรื่อ่� งจากปก

หลังจากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านนำ้�
ท�ำ ใหร้ าษฎรมีน�ำ้ อปุ โภค-บรโิ ภคทกุ ครวั เรอื น และมีน�ำ้
ทำ�การเกษตรในพ้ืนที่ 606 ไร่ 143 ราย คิดเป็น
ร้อยละ 63 ของพื้นที่การเกษตร ผลจากการพัฒนา
ระบบน้ำ�และส่งเสริมการเกษตรทฤษฎีใหม่ สามารถ
สรา้ งรายไดภ้ าคการเกษตรใหแ้ กค่ รวั เรอื นทร่ี ว่ มโครงการ
เพ่ิมขน้ึ จากเดมิ ในปี 2555 รายไดเ้ ฉล่ยี 6,842 บาท
ต่อครัวเรือน เพิ่มเป็น 54,407 บาทต่อครัวเรือน
ในปี 2563 หรือเพม่ิ ขึน้ 8 เท่า ทั้งน้ี ชาวบา้ นโปง่ ลึก-
บางกลอยยังพ้นเกณฑ์ความยากจนจากร้อยละ 2.78
เป็นร้อยละ 81 และเกิดกลุ่มกองทุนในชุมชนกว่า
14 กลุ่ม พร้อมการเช่ือมโยงความรู้ เทคโนโลยี และ
แหล่งทุนจากภายนอกสู่ชุมชน โดยการคืนข้อมูลใน
คร้ังน้ีก็เพื่อให้คณะทำ�งานเห็นข้อมูลท่ีแท้จริงในพ้ืนที่
เพอ่ื น�ำ ขอ้ มลู ชดุ นใ้ี ชบ้ รู ณาการการท�ำ งานรว่ มกนั ตอ่ ไป

ชาวบา้ นโปง่ ลกึ -บางกลอยพานักท่องเท่ยี วล่องแพชมต้นน�้ำเพชรบรุ ี

14

เรื่อ�่ งจากปก

ส่่งเสริิมการปลูกู ทุเุ รียี นและกาแฟเป็น็ พืชื เศรษฐกิจิ

ด้านนายณัฐวุฒิ เพ็ชรพรหมศร ผู้ว่าราชการ ปิดทองหลังพระฯ และมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

จงั หวดั เพชรบุรี ไดก้ ลา่ วว่า จากปญั หาตา่ งๆ ท่ีเกดิ ขน้ึ เพ่ือเป็นกลไกสนับสนุนตามแนวทางการส่งมอบ ซ่ึง

ในพื้นที่บ้านโป่งลึก-บางกลอยนั้น จังหวัดเพชรบุรี จะพัฒนาต่อยอดใช้พ้ืนที่โป่งลึก-บางกลอย ให้เป็น

โดยหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องได้ร่วมบูรณาการการทำ�งาน ห้องปฏิบัติการทางสังคม (Social Lab) ด้านธุรกิจ

รว่ มกบั ปดิ ทองฯ อยา่ งจรงิ จัง เพือ่ ให้เกิดการแกป้ ัญหา การเกษตร ด้านสิทธิมนุษยชน และการท่องเท่ียว

ท่ียัง่ ยนื จนชมุ ชนมคี วามแขง็ แกร่งนัน้ ซึ่งจะเป็นแหล่งเรียนรู้ของหน่วยงานหรือบุคคล

จากผลการประเมินตามตัวช้ีวัดการพัฒนาตาม ภายนอก และจะช่วยสร้างศักยภาพความเข้มแข็ง

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถาบันส่งเสริม ของชาวบ้านโป่งลึก-บางกลอย ให้มีศักยภาพและ

และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนว คณุ ภาพชีวติ ทดี่ ีข้ึนอยา่ งย่ังยืน

พระราชดำ�ริ เพชรบุรีเป็นหน่ึงในจังหวัดต้นแบบที่

ผ่านการพัฒนาตามเกณฑ์ ท่ีสามารถยกระดับ

ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ช า ว บ้ า น ใ ห้ พ้ น ค ว า ม เ ดื อ ด ร้ อ น ไ ด้

และพร้อมที่จะส่งมอบการพัฒนาให้แก่หมู่บ้านได้

บริหารจัดการตนเองร่วมกับหน่วยงานราชการใน

พืน้ ที่ โดยเห็นชอบแนวทางการสง่ มอบ และทำ�บันทึก

ข้อตกลงร่วมกัน (MOU) ระหว่างจังหวัดเพชรบุรี

15

Pidthong's infographic

ผลการดำำ�เนิินงานพื้้� นที่่ต� ้น้ แบบ 9 จังั หวัดั ปีี 2564
มูลู นิธิ ิิปิิดทองหลังั พระฯ

พื้้� นที่�ต่ ้น้ แบบ 9 จังั หวัดั เชีียงใหม่่ เชียี งราย น่า่ น
(น่า่ น อุุดรธานีี เพชรบุรุ ีี อุทุ ัยั ธานีี กาฬสิินธุ์� ขอนแก่่น ยะลา แม่่ฮ่อ่ งสอน พะเยา
ป ััตตานีี นราธิิวาส)
- 82 หมู่่�บ้้าน 17 ตำำ�บล 15 อำ�ำ เภอ
- ประชาชนได้ร้ ับั ประโยชน์์ 5,278 ครััวเรืือน

พื้ นทท่ี ม่ี ปี ัญหาความมน่ั คง 7 จงั หวดั อุุดรธานีี
( เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา แมฮ่ อ่ งสอน ยะลา นราธิวาส ปัตตานี)
พน้ื ที่จงั หวัดชายแดนภาคเหนือ 4 จังหวดั กาฬสินิ ธุ์�
(เชียงใหม่ เชยี งราย พะเยา แมฮ่ อ่ งสอน)
- 141 หมบู่ า้ น 33 ต�ำบล 19 อ�ำเภอ ขอนแก่่น
- ประชาชนได้รับประโยชน์จาก
โครงการแก้ไขปญั หาเรง่ ดว่ น 19 โครงการ 6,894 ครัวเรอื น อุุทัยั ธานีี
- พื้นทรี่ ับประโยชนจ์ ากน�้ำ 7,115 ไร่ เพชรบุุรีี
พนื้ ทแ่ี ผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่
3 จงั หวัดชายแดนภาคเหนอื (เชยี งใหม่ เชยี งราย พะเยา)
- 3 หม่บู ้าน 3 ต�ำบล 3 อ�ำเภอ
- พื้นที่รบั ประโยชน์จากน�้ำ 1,781 ไร่ 3 งาน
- ประชาชนไดร้ บั ประโยชน์ 559 ครวั เรอื น
พื้นท่ีโครงการเพ่ิมประสิทธภิ าพการผลิตสินค้าเกษตร
ให้ได้คณุ ภาพตามศาสตรพ์ ระราชา 3 จงั หวัดชายแดนภาคใต้
(ยะลา ปัตตานี นราธวิ าส)
- 57 ต�ำบล 18 อ�ำเภอ 3 จงั หวัด
- พน้ื ทร่ี วม 1,290 ไร่
- ตน้ ทเุ รียนในโครงการ 25,406 ตน้
- เกษตรกรไดร้ บั ประโยชน์ 564 ราย

พื้้� นที่�โ่ ครงการฝ่า่ วิิกฤติดิ ้ว้ ยเศรษฐกิิจ ปััตตานีี
และสัังคมฐานรากให้้พัั ฒนาก้า้ วไปตามแนวพระราชดำำ�ริิ ยะลา นราธิิวาส

(น่่าน อุุดรธานีี เพชรบุรุ ีี อุุทัยั ธานีี กาฬสิินธุ์� ขอนแก่่น ยะลา
ปััตตานีี นราธิิวาส)
- 103 หมู่่�บ้า้ น 75 ตำ�ำ บล 43 อำ�ำ เภอ
- พื้้�นที่่�รัับประโยชน์์จากน้ำ�ำ� 173,318 ไร่่
- เพิ่�มปริิมาณน้ำ�ำ� กัักเก็บ็ 96.5 ล้า้ นลููกบาศก์เ์ มตร

16

สร้้างมูลู ค่า่ ทางเศรษฐกิจิ Pidthong's infographic
ใน 9 จังั หวััดพื้�้นที่่ต� ้น้ แบบ
โครงการทเุ รียนคุณภาพ
รวม 109,911,556 บาท 3 จงั หวัดชายแดนภาคใต้

รายได้จ้ ากการเกษตร สรา้ งรายไดใ้ หเ้ กษตรกร
และธุุรกิจิ ชุมุ ชน
564ราย
65,571,848 บาท
สร้า้ งรายได้ร้ วม
โครงการฝ่ าวิกฤตเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคมฐานรากใหพ้ ัฒนากา้ ว 116.43 ล้า้ นบาท
ไปตามแนวพระราชดำ� ริ
ปี 2564 โครงการด้า้ นความมั่่น� คง
ในพื้้�นที่่� 4 จังั หวััดชายแดนภาคเหนืือ
เกิดิ โครงการ เชียี งราย เชียี งใหม่่
แม่ฮ่ ่่องสอน แพร่่
539 โครงการ
ราษฎรรัับประโยชน์์
สร้้างประโยชน์์
ให้้ประชาชน 6,894 ครััวเรืือน

39,119 เกิิดโครงการพัั ฒนา
เร่ง่ ด่่วน
ครััวเรืือน
19 โครงการ
สร้า้ งรายได้ร้ วม
- รายได้เ้ กษตรกร คาดการณ์ม์ ููลค่่าทางเศรษฐกิิจที่่เ� กิดิ ขึ้้�น

1,113 ล้า้ นบาท 49,808,500 บาท

- เกิิดการจ้า้ งงาน 17
591 คน
มูลู ค่า่ การจ้้างงาน

16.1 ล้า้ นบาท

เรื่อ่� งเล่า่ ปิิ ดทองฯ

18

เรื่อ�่ งเล่า่ ปิิ ดทองฯ

ชีวิตท่เี ตมิ เตม็ ได้ด้วย
ความรู้และความรัก

ของ นูรีซนั อภิบาลแบ

เม่ือ 10 ปีก่อน “นูรีซัน อภิบาลแบ” เกษตรกรพื้นท่ี ตำ�บลบาเจาะ
อำ�เภอบันนังสตา จังหวัดยะลา คือ อีกหน่ึงชีวิตที่จำ�ใจต้องจากบ้านเกิด
ไปทำ�งานในประเทศมาเลเซีย เพราะรายได้จากงานรับจ้างรายวัน
ไม่เพียงพอเลี้ยงครอบครัวได้ การไปทำ�งานต่างบ้านต่างเมืองจึงเป็น
ทางออกทตี่ อบโจทยช์ วี ิต “นูรซี ัน” ในเวลานน้ั

19

เรื่อ่� งเล่า่ ปิิ ดทองฯ

“ตอนนั้นรายได้ต่อเดือนมันไม่แน่นอน มีใช้แค่
เดือนชนเดือนเท่าน้ัน เพ่ือนเลยชวนไปทำ�งานเป็น
ผ้ชู ่วยพ่อครัวท่มี าเลเซยี ได้เงนิ เดือน 12,000 บาท ถงึ จะ
ไม่มาก แต่อยู่ร้านอาหาร ค่ากินค่าอยู่ไม่ต้องเสีย พอมี
เงินเหลือส่งกลับมาที่บ้านให้พ่อให้ลูกได้ แต่ข้อเสียคือ
ไมม่ เี วลาพกั เลย เคยโทรศพั ทก์ ลบั บา้ น ถามลกู วา่ อยากได้
อะไร ลูกตอบว่าไม่อยากได้อะไร อยากให้แม่กลับบ้าน
ตอนน้ันคิดถึงลูก คิดถึงครอบครัว ทำ�อยู่ได้ 5 ปี ก็
ตัดสนิ ใจกลับมาตั้งต้นชวี ติ ใหมท่ บี่ ้าน”

ในปี 2562 เมื่อพ่อของ “นูรีซัน” เข้าร่วมโครงการ
ทุเรียนคุณภาพกับปิดทองหลังพระฯ สวนทุเรียนท่ีท้ิง
ให้รกรา้ งจึงได้ฟืน้ คืนกลับมามชี วี ติ

20

เรื่อ�่ งเล่า่ ปิิ ดทองฯ

ทุเรยี นคณุ ภาพทีพ่ า “นรู ีซนั ” กลบั บ้าน

“เห็นพ่อกลับมาดูแลสวนทุเรียนอย่างจริงจัง
เลยสนใจอยากทำ�ทุเรียนคุณภาพด้วย พอทำ�ตามคำ�
แนะน�ำ ของปดิ ทองหลงั พระฯ อยา่ งจรงิ จงั จากทเี่ คยขาย
ทเุ รยี นไดป้ ลี ะแสน เพม่ิ เปน็ 3 แสนบาทเลย ท�ำ งานหาเงนิ
ส่งให้พ่อมากแค่ไหน พ่อยังไม่ภูมิใจเท่าเรากลับมาช่วย
ท�ำ ให้สวนทเุ รียนของพ่อมชี วี ติ ข้นึ มาอีกครง้ั ”

ส่งิ ที่ “นูรีซัน” เหน็ วา่ มคี า่ มากกวา่ เงิน คอื ความรู้
ทไี่ ดร้ บั จากปดิ ทองฯ “ตอนนป้ี ดิ ทองฯ แนะน�ำ ใหป้ ลกู พชื
หลายชนดิ เพอื่ ลดความเสยี่ ง เพราะราคาผลผลติ แตล่ ะปี
มีขึ้นลง แม้จะปลูกทุเรียนเป็นหลักก็ต้องมีอย่างอ่ืนด้วย
เลยวางแผนว่าจะทำ�เกษตรผสมผสาน และนำ�ความรู้
ที่ได้มาปรับใช้ต่อยอดกับการทำ�การเกษตรอย่างอื่น
ความรู้ท่ีปิดทองฯ ให้จะอยู่กับเราไปจนตายและช่วยให้
อย่ไู ด้อยา่ งยง่ั ยนื ”

ชวี ติ วันนข้ี อง “นูรีซนั ” ไดร้ ับการเตมิ เต็มแลว้
ด้วยความรู้และความรักความอบอุ่นในครอบครัว
ซง่ึ เปน็ สดุ ยอดปรารถนาแลว้

21

รายงานพิิเศษ

ปดิ ทองฯ จับมือ 8 องค์กร การเสวนาในช่วง“

ช้ี แนวพระราชด�ำริ ช่วยสร้างภูมคิ ้มุ กัน

“อยรู่ อด และยง่ั ยืน หลังโควดิ ”

ท่ามกลางวิกฤติที่ผู้คนทั่วโลกยังต้องประสบปัญหาภาวะ โรคโควิด-19 ทำ�ให้ต้องปรับเปล่ียนวิธีคิดใหม่ พร้อมนำ�ความรู้และ
การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ต่อเน่ืองจนเข้าสู่ปีท่ี 3 ทักษะท่ีมีอยู่ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีมาปรับใช้ในการทำ�อาชีพใหม่
แล้ว มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ จึงได้ จนกระทั่งประสบความสำ�เร็จเป็นอย่างดี ที่สำ�คัญได้นำ�แนว
ร่วมกับ 8 องค์กร จัดงานเสวนา “อยู่รอด และยั่งยืน หลัง พระราชด�ำ ริ “หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” มาปรับใช้ดว้ ย
โควิด” เพ่อื ระดมผู้ร้ใู นหลากหลายสาขาและผูม้ ีประสบการณ์ ช่วงที่ 2 เสวนาในหัวข้อ “คิดใหม่...ไทยก้าวต่อ” โดยคณะ
มารว่ มช่วยกันเสนอทางออกให้กบั สงั คมไทย นักวิจัยได้เปิดผลงานวิจัยทางวิชาการด้วยความร่วมมือของปิดทอง

โดยช่วงแรกได้เชิญคนในหลายช่วงวัยและจากหลากหลาย หลังพระฯ และ 8 องค์กร เสนอแนะแนวทางสร้างความอยู่รอด

สาขาอาชพี มารว่ มพดู คุยในหัวข้อ “งานใหม่ ชีวิตใหม่ ในโลกใหม่” แบบยงั่ ยนื ของไทยหลงั ตอ้ งเผชญิ วกิ ฤตกิ ารณโ์ ควดิ -19 ทง้ั ภาคเอกชน
ซึ่งทั้ง 4 ราย ล้วนได้รับผลกระทบจากปัญหาการแพร่ระบาดของ องค์กรท้องถ่ิน ท่ีได้จากการรับฟังความคิดเห็นจากภาคประชาชนใน

22

รศ.ดร.สมประวณิ มนั ประเสริฐ รายงานพิิเศษ
ผชู้ ่วยกรรมการผูจ้ ัดการใหญ่
5 ภูมิภาคท่ัวประเทศ ท่ีสามารถพึ่งพาตนเองให้อยู่รอดท่ามกลาง
ผู้บรหิ ารสายงานวจิ ัย วิกฤติการณ์โควิดได้ โดยแต่ละพ้ืนที่ต่างเสนอแนวทางการน้อมนำ�
ธนาคารกรงุ ศรอี ยุธยา จำ�กัด (มหาชน) แนวพระราชด�ำ ริมาประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม

“คดิ ใหม่...ไทยก้าวต่อ” โดยข้อสรุปที่ได้สามารถนำ�เสนอต่อภาครัฐท่ีเกี่ยวข้องเพื่อนำ�ไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั ท�ำ นโยบายใหท้ นั ตอ่ สถานการณ์ ในการขบั เคลอ่ื น
ดร.ณชา อนนั ตโ์ ชตกิ ลุ เศรษฐกิจและสังคมไทยในบริบทใหม่ อาทิ ควรมีการนำ�แนวพระ
ธนาคารแห่งประเทศไทย ราชด�ำ ริเรื่อง “เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พัฒนา” มาใช้เพือ่ ก�ำ หนดนโยบายทเ่ี นน้
การพัฒนาบนพ้ืนฐานความต้องการของแต่ละท้องถ่ินท่ีมีความ
หลากหลายแตกต่างกัน เป็นการระเบิดจากข้างในในการขับเคล่ือน
การพัฒนา ให้ประชาชนเป็นเป้าหมายหลักของการพัฒนา
เน่ืองจากประชาชนเป็นผู้รับประโยชน์ แทนการจัดทำ�นโยบายแบบ
เดิมที่หน่วยงานภาครัฐฯ เป็นผู้กำ�หนดลงไป “เป็นการสร้างการมี
ส่วนร่วมกับประชาชนเพื่อกำ�หนดทิศทางการพัฒนาตามสภาพ
ภูมิสังคมก่อน แล้วดำ�เนินการพัฒนาตามลำ�ดับไป ทำ�ให้ผลสำ�เร็จ
มคี วามย่งั ยืน”

รศ.ดร.สมประวิณ มันประเสริฐ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่
ผู้บริหารสายงานวิจัย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) ได้ช้ี
ใหเ้ ห็นภาพในปจั จุบนั และอนาคตว่า โลกเปล่ยี นไปมาก ดงั น้ันจะตอ้ ง
ปรับเปลี่ยนวิธีคิดและวิธีปฏิบัติใหม่ซึ่งมี 3 องค์ประกอบสำ�คัญคือ
1. ใช้ความรู้ที่เปล่ียนไป 2. ใช้ความสามารถท่ีเปล่ียนไป และ
3 .ต้องใช้เครื่องมือท่ีเปล่ียนไป ทั้งน้ี โควิด-19 คือเป็นตัวเร่งให้ส่ิงท่ี
เปลี่ยนไปเหน็ ชดั เจนยิ่งขึน้ ขณะทสี่ ภาพโลกทเี่ ปลยี่ นไปมีหลายเร่ือง

“คยี เ์ วริ ด์ ทสี่ �ำ คญั 3 ค�ำ คอื เรยี นรู้ ยอมรบั และปรบั ตวั แตท่ ง้ั หมด
น้ีข้ึนอยู่กับความไม่แน่นอน ฉะน้ันต้องมีคำ�ท่ี 4 เพ่ิมเข้าไป คือต้อง
ยืดหยุ่นให้มาก รวมถึงแนวพระราชดำ�ริของในหลวง รัชกาลที่ 9 ที่
พระราชทานไว้ให้ ซึ่งจะต้องให้นำ้�หนักมากข้ึนคือ การเติบโตพัฒนา
ต้องมาจากฐานรากท่ีมน่ั คง และการเตบิ โตพัฒนาจะต้องเกดิ จากการ
ระเบิดจากข้างใน พูดง่าย ๆ คือ การที่แต่ละคนมีของ จะทำ�ให้เรา
สามารถอยรู่ อดตอ่ ไปได้”

ด้าน ดร.ณชา อนันต์โชติกุล ธนาคารแห่งประเทศไทย ระบุว่า
การเปล่ียนแปลงของโลก บวกกับสถานการณ์โรคโควิด-19 รวมท้ัง
ปัญหาโครงสร้างเดิมของสังคมที่มีความเหล่ือมล้ำ� และปัญหา
สิ่งแวดล้อม ยิ่งซำ้�เติมผู้คนในสังคมไทยมากข้ึน เน่ืองจากที่ผ่านมา

23

รายงานพิิเศษ

การเสวนาในหัวขอ้ “ใครจะอยู่รอดในสงั คม และจะอยู่รอดอย่างไรท่ีย่งั ยนื ” ดร.วริ ไท สันติประภพ
กรรมการมลู นิธปิ ิดทองหลังพระ
เศรษฐกิจไทยเติบโตแบบไม่สมดุล ต้องพ่ึงพาปัจจัยภายนอก ไม่ว่า
จะเป็นเร่ืองการท่องเที่ยวหรือการส่งออก เมื่อมาเจอวิกฤติโควิด-19 สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
จงึ ปรบั ตวั ไมท่ นั ทง้ั ภาคการผลติ และภาคแรงงานกย็ งั อยใู่ นโลกยคุ เกา่
จงึ เกดิ ปญั หาในการพฒั นาและสรา้ งรายได้ นอกจากนย้ี งั สง่ ผลกระทบ
ไปถึงเดก็ จบใหมแ่ ละคนทำ�งานบางส่วนท่จี ะตอ้ งออกจากงานประจำ�

“การปรับตัวไม่ใช่เร่ืองง่าย โดยเฉพาะการปรับตัวในส่วนของ
โครงสร้างทางเศรษฐกิจ แต่ก็ไม่ใช่เป็นไปไม่ได้ บางประเทศสามารถ
ทำ�ได้อย่าง เช่น เกาหลีใต้ สิงคโปร์ และจีน ดังนั้น ต้องตระหนักรู้
ยอมรบั ปญั หาความเปลยี่ นแปลงท่ีเกิดข้ึนจรงิ และต้องท�ำ ความเขา้ ใจ
ว่าจะอยู่อย่างเดิมไม่ได้ ต้องปลดล็อกเพื่อเพ่ิมศักยภาพของตัวเอง
เช่ือว่าคนไทยเก่ง และพร้อมท่ีจะปลดปล่อย ถ้าได้รับการสนับสนุน
จากภาครัฐ ซ่ึงเห็นด้วยกับประโยคท่ีปิดทองฯ นำ�เสนอคือ คิดรู้
เรยี นรู้ ทำ�รู้ โดยจะตอ้ งลงมือท�ำ ให้เกิดข้นึ จริง”

ในงานเดยี วกนั น้ี ดร.วิรไท สันตปิ ระภพ กรรมการมลู นิธปิ ดิ ทอง
หลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่ง
ประเทศไทย และ ศ.ดร.ชาติชาย ณ เชียงใหม่ ท่ีปรึกษาสถาบัน

24

รายงานพิิเศษ

ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ

รว่ มกนั พดู คยุ ในหวั ขอ้ “ใครจะอยรู่ อดในสงั คม และจะอยรู่ อดอยา่ งไร
ที่ยั่งยืน” โดย ดร.วิรไท เกริ่นว่า คงไม่มีคำ�ตอบที่ฟันธงได้ชัดเจนว่า
ใครจะอยู่รอดในสังคม และจะอยู่รอดอย่างไรที่ย่ังยืน เพราะโลกมี

ความไม่แน่นอนสูง มีความผันผวนสูง แต่วิกฤติโควิดครั้งน้ีไม่ใช่

วิกฤตครั้งแรกและครั้งสุดท้ายของไทย เน่ืองจากเคยเผชิญมาแล้ว

เมื่อปี 2540 เพียงแต่ครั้งนี้กระทบวิถีชีวิตของทุกคน โจทย์ท่ีถามว่า

ใครจะอยู่รอด ใครจะยั่งยืน อยู่ที่ว่าใครจะสามารถปรับตัวให้รู้

เท่าทันความเปลี่ยนแปลงน้ันได้ ซ่ึงจะต้องสร้างภูมิคุ้มกันใน

หลากหลายรูปแบบ

“หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง รัชกาลที่ 9

หลักสำ�คัญคือ พอประมาณ สมเหตุสมผล และสร้างภูมิคุ้มกัน

จะเห็นได้ว่าวิกฤติรอบน้ี ส่ิงท่ีจะต้องเน้น คือ มิติที่ 3 การสร้าง

ภูมิคุม้ กนั เนอ่ื งจากโลกในวันข้างหน้าไม่แน่นอน และมคี วามผันผวน ศ. ดร.ชาตชิ าย ณ เชียงใหม่
สูง จึงต้องสร้างภูมิคุ้มกัน พร้อมกับหลักคุณธรรม ทั้งอดทน ทป่ี รึกษาสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม
วิริยะ ซ่ือสัตย์ และมีความรอบรู้ และในโลกแห่งความเป็นจริง ปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ

จะมอี าชีพเดียวไมไ่ ด้ จะตอ้ งกระจายความเส่ียง และตอ้ งปรับตวั ”

ดร.วิรไท บอกด้วยว่า จากสถานการณ์โควิด-19 ทำ�ให้ฐานะ ท้องถิ่นยังไม่ค่อยได้ช่วยดูแลชุมชนในเรื่องเศรษฐกิจมากนัก ดังนั้น
ทางการคลังของประเทศอ่อนแอลง ซึ่งภาครัฐเองยังต้องมีภาระ ภาครัฐควรเปิดโอกาสให้ท้องถิ่นเข้ามาดูแล โดยเฉพาะเรื่องอาชีพ
หลายอย่าง ท้ังในการดูแลผู้สูงอายุ ขณะท่ีภาคเศรษฐกิจใหญ่ก็จะให้ การทำ�มาหากิน “ในหลวง รัชกาลที่ 9 พระราชทานแนวพระด�ำ ริไว้
ภาครัฐดูแล ดังน้ัน จะทำ�อย่างไรให้คนไทยพ่ึงพาตัวเองได้ และมี หลายอย่างทั้ง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตร
แต้มต่อท่ีจะสร้างศักยภาพในการแข่งขันได้ นอกจากนี้ภาครัฐ ทฤษฎีใหม่ ฯลฯ ซ่ึงสะท้อนให้เห็นว่าคนเราจะพัฒนาตัวเองได้น้ัน
ต้องกระจายอำ�นาจและให้นำ้�หนักในการพัฒนาเชิงพื้นที่มากข้ึน ต้องรู้จักทำ�ชีวิตให้ประสบความสำ�เร็จ จะทำ�กิจการใดต้องมีความ
เพราะแต่ละพื้นที่มีความหลากหลาย โดยทำ�ให้เกิดแพลตฟอร์มที่ วริ ิยะ อุตสาหะ ไม่ย่อทอ้ จะทำ�ใหร้ อดตัวได้ตลอดเวลา ท้งั นี้ จะตอ้ ง
ประชาชนเข้าถึงได้ง่ายและต่อยอดได้ เพื่อจะทำ�ให้เกษตรกร สำ�รวจตัวเองด้วยว่ามีภูมิคุ้มกันที่ดีหรือยัง ไม่ว่าจะเป็นภูมิคุ้มกัน
ในเมืองรองสามารถพัฒนาและเติบโตได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ด้านสุขภาพ ด้านการเงิน และด้านสังคม รวมถึงทุกเร่ืองท่ีอยู่
ยังควรสนับสนุนประชาชนในท้องถิ่นท่ีต้องการการ reskill และ รอบๆ ตวั ”
upskill เพื่ออำ�นวยให้ประชาชนทุกเพศทุกวัยสามารถเรียนรู้ ทั้งหมดนี้คงทำ�ให้ได้เห็นชัดเจนแล้วว่าแนวพระราชดำ�ริ
ไดต้ ลอดชวี ิต
ในเรื่องต่างๆ ของในหลวง รัชกาลที่ 9 สามารถนำ�พาคนไทยฟันฝ่า
ดา้ น ศ. ดร.ชาตชิ าย มองวา่ ประชาชนในพน้ื ทมี่ คี วามหลากหลาย บรรดาวกิ ฤตินอ้ ยใหญ่ไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืน
และมีความรู้ แต่คนในพื้นท่ีอาจจะต้องเปล่ียนวิธีคิดท่ีจะพ่ึงพา

ภาครฐั อยา่ งเดยี ว จะตอ้ งท�ำ ใหป้ ระชาชนเชอื่ มน่ั ในศกั ยภาพของตวั เอง

และให้ภาครัฐร่วมคิดร่วมสนับสนุนเท่านั้น ท่ีผ่านมาองค์กรปกครอง

25

เรื่อ�่ งเล่า่ จากน้ำ�ำ

ทำ� นอ้ ย

ไดม้ าก

750 เมตร

แห่งความสุข
ของชุมชน
บ้านหนองจิก
แห่งแกง่ กระจาน

“น้ำ�มี แต่คลองส่งน้ำ�มันพัง กว่าจะมาถึง
ท่ีนาน้ำ�ก็หายหมด แทบไม่เหลือเลย” นายเสน่ห์
พันธ์นนั ผใู้ หญ่บ้าน ม.6 บา้ นหนองจิก ต.วังจนั ทร์
อ.แก่งกระจาน จ.เพชรบุรี บอกเล่าถึงสภาพความ
ลำ�บากในการทำ�การเกษตรในอดีต ที่แม้จะมี
อา่ งเกบ็ น�้ำ บา้ นซอ่ งพรอ้ มระบบสง่ น�ำ้ แตเ่ มอ่ื ใชง้ าน
ไปนานวนั เขา้ คลองสง่ น�ำ้ กท็ รดุ โทรม แตกพงั ท�ำ ให้
ใชง้ านได้ไม่เตม็ ประสิทธิภาพ

26

เรื่อ่� งเล่า่ จากน้ำ�ำ

“นำ้�จากอ่างเก็บนำ้�ถ้าไม่แล้งจัด ชาวบ้านก็พอใช้ทำ�นาได้อยู่ แต่พอคลอง โครงการขยายท่อส่งน้ำ�เพื่อการเกษตร ม.6
ส่งน�ำ้ พัง นำ้�ก็ไหลออกดา้ นขา้ งหมด บางทีคนท่ีอยไู่ กลกไ็ ดน้ ้�ำ น้อย หรอื รอนาน บ้านหนองจิก ต.วังจันทร์ อ.แก่งกระจาน จ.เพชรบุรี
หลายวันกว่าน้ำ�จะเข้าท่ีนาตัวเอง ก็เลยลำ�บากมาก อยากจะซ่อมให้กลับมาใช้ จึงได้เร่ิมดำ�เนินการโดยใช้งบประมาณในการซ่อมแซม
ไดเ้ หมือนเดมิ แตไ่ ม่มงี บประมาณ ก็เปน็ แบบนี้อย่หู ลายปี” 350,000 บาท ซึ่งเกษตรกรได้สละแรงงานจำ�นวน
80 คน ในการซ่อมแซม และใช้เวลาเพียง 1 วัน
จนในปี 2563-2564 สถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระฯ การดำ�เนินการขยายท่อส่งนำ้�เพ่ือการเกษตร ระยะ
ร่วมกับจังหวัดเพชรบุรี ดำ�เนิน “โครงการฝ่าวิกฤตด้วยเศรษฐกิจและ ทาง 750 เมตร จากอ่างเก็บน้ำ�ของชุมชนสู่พื้นที่
สังคมฐานรากให้พัฒนาก้าวไปตามแนวพระราชดำ�ริ จังหวัดเพชรบุรี” ที่ การเกษตรก็แล้วเสร็จด้วยความร่วมมือร่วมใจของ
นอกจากจะช่วยดำ�เนินการซ่อมแซมแหล่งน้ำ�ท่ีชำ�รุดเสียหายให้กลับมามี ชุมชน โดยมีเกษตรกรรับประโยชน์ 130 ราย พื้นที่
ประสิทธิภาพแล้ว ยังบรรเทาความเดือดร้อนจากผู้ว่างงานที่ได้รับผลกระทบ รับประโยชน์ 250 ไร่ คาดการณ์รายได้หลังจาก
จากการแพร่ระบาดของ COVID-19 ให้มีรายได้ด้วยการเป็นผู้ประสานงาน พัฒนาระบบน้ำ�เฉลี่ยไร่ละ 7,000 บาท รวมเป็น
โครงการดว้ ย 1,7500,000 บาทต่อปี

ตอนน้ันทาง อบต.วังจันทร์ มาแจ้งว่า โครงการน้ีมีงบประมาณซ่อมแซม “ถือเป็นโครงการที่ช่วยเกษตรกรได้เยอะมาก
แหล่งน้ำ�ที่เสยี หายอยู่ ลองยื่นขอไปดไู หม ซง่ึ จะมีงบประมาณมาให้ แต่ชาวบา้ น จากแตก่ อ่ นรอน�้ำ กนั หลายวนั แตต่ อนนไ้ี มถ่ งึ วนั น�้ำ กม็ า
ตอ้ งลงแรงซอ่ มแซมเอง ทางเกษตรกรผใู้ ชน้ �้ำ กไ็ ดท้ �ำ ประชาคมกนั และมคี วามเหน็ ถึงทีน่ าเลย นอกจากจะสะดวกแลว้ ผลผลติ ข้าวก็ดขี นึ้
ตรงกันว่า ถ้าได้งบประมาณมาซ่อมแซมจะเกิดประโยชน์อย่างมาก จึงตกลง เพราะได้รับนำ้�อย่างเพียงพอ ต่อไปนี้ก็เหลือแต่
ทำ�เรื่องเสนอขออนุมัติไป และได้รับเลือกเป็น 1 ใน 3 โครงการของจังหวัด คอยบำ�รงุ ดแู ล ไม่ใหท้ ่อสง่ น�ำ้ ชำ�รุดอีก กค็ งใช้กนั ไปได้
เพชรบรุ ี อีกนาน ถือว่าทำ�น้อย ได้มากจริงๆ” นายเสน่ห์
กลา่ วท้ิงทา้ ย
จดุ ปลอ่ ยน�้ำเข้าพน้ื ทกี่ ารเกษตร
ท้ังนี้ “โครงการฝ่าวิกฤตด้วยเศรษฐกิจและ
สังคมฐานรากให้พัฒนาก้าวไปตามแนวพระราชดำ�ริ
จังหวัดเพชรบุรี” น้ัน ได้ดำ�เนินการปรับปรุงซ่อมแซม
แหล่งน้ำ�ขนาดเล็กท่ีชำ�รุดเสียหายอีกหลายโครงการ
ใน 3 อำ�เภอ ได้แก่ อ.แก่งกระจาน อ.ชะอำ� และ
อ.บา้ นลาด เปน็ ตน้

27

เกษตรอิินเทรนด์์

มะพร้าว

นำ�้ หอม

ต้นเตี้ย

พื ชเศรษฐกิจ
เติมชีวิตหลงั เกษยี ณ
อยา่ งย่งั ยนื

28

เกษตรอิินเทรนด์์

“ใจคดิ อยากปลกู มะพรา้ วน�ำ้ หอมในพืน้ ทต่ี นเอง เพราะใหผ้ ลตอบแทน
ระยะยาว ไม่เหมือนการปลูกอ้อยปลูกมันที่ต้องปรับพื้นที่กันตลอดทุกรอบ
การปลูก”

คือความคิดของพันโท วิรัตน์ วงศ์สถิตย์ ประธานกลุ่มมะพร้าวนำ้�หอม

ต.ทุ่งโป่ง อ.อุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น ที่ตัดสินใจจะใชช้ ีวิตช่วงหลงั เกษยี ณอายรุ าชการ

ทหารในการเป็นเกษตรกรเต็มตัว และเล็งเห็นว่ากลุ่มผู้บริโภคในจังหวัดขอนแก่น

มีความต้องการมะพร้าวนำ้�หอมค่อนข้างมาก และในพ้ืนท่ีเกษตรกรไม่นิยมทำ�สวน

มะพร้าวกันนัก ส่วนใหญ่นำ�เข้ามาจากจังหวัดใกล้เคียงมาขายในพื้นท่ี การปลูก

มะพร้าวน้ำ�หอมน่าจะตอบโจทย์อาชีพหลังเกษียณราชการและสามารถสร้าง

รายไดใ้ หใ้ นอนาคต

พันโท วิรัตน์เล่าถึงอดีตว่า เดิมทีชาวบ้านท่ีทุ่งโป่งก็นิยมปลูกมะพร้าวไว้ตาม

หัวไร่ ปลายนา ส่วนใหญ่ต้นสูง หรือบางต้นยอดด้วน ไม่มีผลผลิต และดินมี

สภาพแย่มาก เพราะสมัยก่อนปลูกอ้อย ปลูกมันสำ�ปะหลัง มีการใช้ปุ๋ยเคมี แม้หลายคนจะบอกว่า พันโท วิรัตน์นั้นคิดผิดท่ี

และยาฆา่ แมลงอย่างหนกั หน่วง แต่ในปี 2561 สถาบันส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรม ปลูกมะพร้าว เพราะต้องใช้เวลานาน 5-6 ปี ถึงจะเกบ็

ปิดทองหลังพระฯ ได้ส่งเสริมให้เกษตรกรในพื้นที่ปลูกมะพร้าวน้ำ�หอม ด้วยความ ผลผลิตจำ�หน่ายได้ แต่ด้วยความเอาใจใส่และตั้งใจ

ทสี่ นใจในมะพรา้ วน�้ำ หอมอยกู่ อ่ นแลว้ จงึ ไดเ้ ขา้ รว่ มเปน็ หนงึ่ ในเกษตรกร “โครงการ บวกกับมีปิดทองหลังพระฯ คอยเป็นพ่ีเลี้ยงแนะนำ�

ปลูกมะพร้าวน�ำ้ หอมตน้ เตีย้ เชิงพาณชิ ย์” ซ่งึ ปิดทองหลงั พระ ได้เชอื่ มโยงกับ CP วิธีการปลูก ช่วยดูสภาพแวดล้อม รวมไปถึงการจัดหา

ในการนำ�เกษตรกรอบรม ให้ความรู้ต่างๆ ในการผลิตมะพร้าวนำ้�หอม ตั้งแต่วิธี แหล่งน้�ำ ท�ำ ให้ระยะเวลาเพยี ง 20-30 เดือน มะพรา้ ว

การปลกู การเตรียมดนิ วธิ ปี อ้ งกนั โรคและแมลง รวมถงึ ช่องทางการตลาด และได้มี นำ้�หอมเริ่มมีผลผลิตให้เก็บขายและสร้างรายได้

การจัดตง้ั “กลุ่มมะพร้าวน้ำ�หอม ต.ทุ่งโปง่ ” ดว้ ย หลกั หมืน่ บาทตอ่ เดือน

มะพร้าวน�้ำหอมตน้ เต้ียลูกดก

29

เกษตรอิินเทรนด์์

แม้พันโท วิรัตน์จะเริ่มมีรายได้จากการขายมะพร้าวและเร่ิมมีความชำ�นาญ
ในการผลิตมะพร้าวน้ำ�หอมแล้ว แต่ปิดทองหลังพระฯ ยังคงคอยให้คำ�ปรึกษา
และยังช่วยหาตลาดจำ�หน่ายผลผลิตให้กับกลุ่มมะพร้าวนำ้�หอม ต.ทุ่งโป่ง อย่าง
ต่อเน่ือง ส่งผลทำ�ให้กลุ่มมีความเข้มแข็ง มีสมาชิก 89 ราย พ้ืนท่ีปลูก 221 ไร่
ซึ่งผลจากการส่งเสริมให้ชาวบ้านมีอาชีพ สมาชิกได้เรียนรู้การจัดการผลผลิต
อย่างมีคุณภาพ ศึกษาการตลาดให้เกิดความชำ�นาญ เม่ือผลผลิตของกลุ่มสมาชิก
สามารถจำ�หน่ายได้ จะช่วยลดจดุ เสี่ยงการค้าขายทขี่ าดทนุ รว่ มกันซอื้ ร่วมกนั ขาย
มีรายได้ที่ชัดเจน เป็นอีกวิถีหน่ึงที่ปิดทองหลังพระฯ ได้เข้าไปสร้างภูมิคุ้มกันชีวิต
ให้กับเกษตรกรไดอ้ ยา่ งยั่งยืน

เลไทดูกค้มดนะกพิครง้า่าวยๆ 2 หลงั ปลูกมะพร้าวได้ 20 วนั
ใส่ปุย๋ สูตร 16-16-16
หา่ งโคนต้น 1 ฟุต
ในช่วงนีส้ ิ่งส�ำคญั ที่สุดคือ
ก�ำจดั วัชพืชรอบๆ โคนมะพรา้ ว
พร้อมทง้ั หาชนั โรงมาเลี้ยง
เพื่อชว่ ยทำ� หนา้ ทผ่ี สมเกสร
ให้มะพร้าวติดลูกดก

1 ระยะแรก เร่มิ จากปรับพื้นทีด่ ้วยการไถปรบั หนา้ ดิน 3 ระหว่างรอมะพร้าวโต พื้นที่รอบๆ
ผึ่งแดด ล่อให้วชั พืชงอก ในห้วงทีร่ อไถปรบั หนา้ ดิน
การไถชว่ งที่ 2 จะหา่ งจากชว่ งแรก 45 วนั สามารถปลูกพื ชอายุสัน้
คร้ังนีไ้ ถกลบั หน้าดนิ อีกครัง้ เช่น มันแกว พรกิ มะเขือ ผักนานาชนดิ
พร้อมยกร่อง ใส่ปุ๋ยคอก โดโลไมต์ แคลเซี่ยม โบรอน
เพื่อสร้างความอุดมสมบรู ณ์ในดิน นำ� ไปขายท�ำใหส้ ามารถมรี ายได้เสริม
แลว้ ขดุ หลมุ ระยะห่าง 6X6 เมตร ลึก 50 เซ็นติเมตร
ก้นหลุมรองดว้ ยปุ๋ยคอกผสมแกลบดิบ วัชพืชแหง้ ระหว่างรอมะพร้าวโตได้
จากนนั้ นำ� ดนิ มากลบและยกดนิ ใหเ้ ปน็ เนนิ สูงเหนอื หนา้ ดนิ แต่เมือ่ มะพร้าวเริม่ โต จะต้องหยดุ
จากนั้นนำ� พันธ์มุ ะพร้าวมาปลกู ให้เอียง 45 องศา เพราะใบมะพรา้ วจะบดบงั แสงแดด
หนั ยอดไปทางทิศตะวนั ออก ท�ำใหพ้ ืชผกั ที่ปลกู ไวโ้ ตชา้
แลว้ กลบดนิ เพียงครึง่ ลูกมะพร้าว และยงั เส่ยี งตอ่ การระบาดจากแมลงศตั รพู ืช
โดยชว่ งแรกควรให้น้ำ� ทกุ วนั

30

ต่อ่ ยอด สร้า้ งผลิติ ภัณั ฑ์์

ต่อยอดพัฒนา สู่หลาก “แบรนด์”
จากผลิตภัณฑช์ ุมชน

กล้วยสม้ ฉาบ
ณ ทงุ่ ขา้ วปวง

บา้ นแม่กอน ต.ทงุ่ ขา้ วพวง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ หนง่ึ ในพื้นที่
ตามแผนงานพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนที่ประยุกต์ตามพระราชดำ�ริ (พชร.)
3 จังหวัดชายแดนภาคเหนือ ชูจุดเด่นสินค้าชุมชน สร้างแบรนด์
“กล้วยสม้ ฉาบ ณ ทุ่งขา้ วปวง” รสชาตแิ ตกตา่ ง ใช้พันธ์ุกลว้ ยโบราณ
ประจำ�ถ่ินภาคเหนือ กลิ่นหอม รสอมเปร้ียว สร้างมูลค่าเพ่ิมจาก
ผลผลิตท่ีมีอยู่ในท้องถิ่น ช่วยให้ชุมชนมีรายได้เสริมนอกเหนือ
จากการเกษตรทีท่ �ำ อยู่แล้ว นอกจากนำ�กล้วยสม้ มาท�ำ “ข้าวตม้ มดั ”
แล้ว ชาวบ้านยังนำ�มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่ผสมผสาน
ความรู้ของคนร่นุ ใหม่เขา้ ไป กลายมาเปน็ “กลว้ ยสม้ ฉาบ” หลากรส
ทห่ี อมหวานตามธรรมชาติอกี ด้วย

สนใจอุดหนุนผลิตภัณฑ์ “กล้วยส้มฉาบ ณ ทุ่งข้าวปวง” ของ
ชาวบา้ นและเกษตรกรบ้านแม่กอน ตดิ ตอ่ ไดท้ ี่

โทร. 06-2525-6289
หรือ inbox ผา่ นเพจเฟซบุก๊ ณ ทงุ่ ขา้ วปวง

31

ต่อ่ ยอด สร้า้ งผลิติ ภัณั ฑ์์

“HOEM” ชาดอกกาแฟ
โป่ งลึก-บางกลอย

กาแฟเป็นพืชทางเลือกหน่ึงที่ได้รับการสนับสนุนจาก
หน่วยงานและปิดทองฯ เพ่ือให้เกษตรกรปลูกในพ้ืนท่ีต้นแบบ
บ้านโป่งลึก-บางกลอย อ.แก่งกระจาน จ.เพชรบุรี ด้วยสภาพ
พ้ืนที่ที่เหมาะสม ซึ่งนอกจากผลผลิตเมล็ดกาแฟที่ชุมชนส่ง
จ�ำหน่ายให้กับผู้รับซ้ือแล้ว ยังพัฒนาแบรนด์กาแฟ “HOEM”
และชาดอกกาแฟ ซึ่งเป็นอีกหนึ่งผลิตภัณฑ์แปรรูปกาแฟที่
ได้รับความสนใจ เน่ืองจากชาดอกไม้มีกล่ินหอมเฉพาะตัวและ
มีสรรพคุณของสารต้านอนุมูลอิสระในปริมาณสูง ช่วยป้องกัน
มะเร็ง ลดไขมันในเลอื ด ไมม่ ีแทนนินและกาเฟอีน

ท่า่ นใดสนใจ สามารถสั่�งซื้้อ� ผลิิตภััณฑ์จ์ ากกาแฟได้ท้ี่�
คุณุ ว้้า โทร. 08-1178-4896

ไกป่ ระดูห่ างดำ� มข.55

ไก่ประดู่หางดำ� มข.55 สายพันธุ์ไก่ท่ีถูกพัฒนาขึ้นโดยศูนย์วิจัย
และพัฒนาด้านการปรับปรุงพันธ์ุสัตว์ (ไก่พื้นเมือง) มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น เพ่ือให้เกิดไก่ที่มีคุณลักษณะเด่น 3 ประการ คือ “โตไว
ไขด่ ก อกกว้าง” เหมาะสมท่ีจะสนบั สนนุ ใหเ้ กษตรกรเลี้ยงเพ่ือต่อยอด
พฒั นาอาชพี สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ราษฎรในพนื้ ทต่ี น้ แบบปดิ ทองหลงั พระฯ
จังหวัดขอนแก่น เพราะเลี้ยงง่าย โตไว สามารถหาพันธ์ุพืชท้องถ่ิน
เพื่อทำ�อาหารซ่ึงช่วยลดต้นทุนการผลิตได้ หากสนใจไก่ประดู่หางดำ�
มข.55 สามารถตดิ ต่อได้ที่ คณุ ชะอม โทร. 08-9927-0082

ยังผลิตภัณฑ์ดีๆ ที่น่าสนใจของเกษตรกรในพ้ืนที่ต้นแบบ
ปดิ ทองฯ อีกมากมาย แล้วพบกนั ใหม่ฉบับหนา้

32


Click to View FlipBook Version