โครงสร้างเซลล์
Presented by:
ม.4/2
ชิดชนก ภูบุญอบ 7
ฐิตารีย์ พิมลลักขณากุล 9
ณัฐธยาน์ ระดมสุทธิศาล 14
ธนิดา อดทน 18
น้ำเพชร พรหมเดชไพบูลย์ 20
ปัณฑารีย์ คันทะสิทธิ์ 23
สารบัญ
เซลล์พืช VS เซลล์สัตว์ ออร์แกเนลล์ที่พบเฉพาะในเซลล์พืช
ออร์แกเนลล์ที่พบเฉพาะใน ออร์แกเนลล์ที่พบทั้งใน
เซลล์สัตว์ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืช VS เซลล์สัตว์
ออร์แกเนลล์ที่พบเฉพาะในเซลล์พืช
ผนังเซลล์ เซน
ทรัลแวคิวโอล
เป็นส่วนที่อยู่ด้านนอกของเยื่อหุ้มเซลล์พืช ทำหน้าที่ สะสมสารชนิด
ต่างๆ เช่น น้ำ แร่ธาตุ และ
ทำหน้าที่เชื่อมต่อระหว่าง 2 เซลล์ที่อยู่ติดกัน เกี่ยวข้องกับการรักษาแรง
ดันเต่งภายในเซลล์ด้วย
และเป็นเส้นทางลำเลียงสารของพืช
คลอโรพลาสต์
เป็นพลาสติกที่มีสีเขียวจากสารคลอโรฟิลล์(chlorophyll )เป็นแหล่งอาหารของเซลล์พืชและโพรทิสต์บางชนิดโดย
หน้าที่หลักของคลอโรพลาสต์คือการสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis) ซึ่งหมายถึงการสังเคราะห์อาหารในรูป
น้ำตาลจากการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ (fix carbondioxide) โดยแบ่งปฏิกิริยาออกเป็น 2 ปฏิกิริยาย่อย คือ
light reaction และ carbondioxide fixation.
ออร์แกเนลล์ที่พบเฉพาะในเซลล์สัตว์
เซนทริโอล
เป็นออร์เนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม บริเวณทียึดเส้นใยสปินเดิลช่วยในการเคลื่อนที่ของโครโมโซม (ในการแบ่งเซลล์)
ประกอบด้วยหลอดเล็กๆเรียกว่า ไมโครทิวบูล เรียงตัวกันกลุ่มๆละ 3 หลอด มีทั้งหมด 9 กลุ่ม(ไม่มีตรงกลาง) เรียกการ
เรียงตัวแบบนี้ว่า 9+0 บริเวณไซโทพลาสซึมที่อยู่ล้อมรบเซนทริโอลแต่ละคู่เรียกว่า เซนโทรโซม
หน้าที่ของเซนทริโอล
1. สร้างเส้นใยไมโทติก ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของโครโมโซมในการบวนการแบ่งเซลล์ของสัตว์ ในเซลล์
พืช จะมีโพลาร์แคป ทำหน้าที่คล้ายเซนทริโอลในเซลล์สัตว์ไมโทติกสปินเดิลประกอบด้วยไมโครทูบูลเรียง
2. ทำหน้าที่เป็นเบซัลบอดี สร้างและควบคุมการเคลื่อนไหวของซิเลีย และแฟลเจลลัม โดยเบซัลบอดีประกอบด้วย
ไมโครทูบูลเรียงตัวเป็น 9+0 (9+0 = 27 ) เหมือนเซนทริโอล
3. ให้กำเนิดซิเลียและแฟลเจลลัม ซิเลียต่างจากแฟลเจลลัมตรงที่ขนาดโดยทั่วไปซิเลียมีขนาดเล็กกว่าแฟลเจลลัม
และจำนวนซิเลียต่อเซลล์มักมีจำนวนมากกว่าแฟลเจลลัม
ออร์แกเนลล์ที่พบทั้งในพืชและสัตว์
เยื่อหุ้มเซลล์ ไรโบโซม
เป็นส่วนที่ห่อหุ้มส่วนต่างๆ ของเซลล์ไว้ทั้งหมด ไม่มีเยื่อหุ้ม มีขนาดเล็ก ประกอบด้วยโปรตีน และrRNA
ล้อมรอบไซโทพลาซึมให้คงรูปร่างและแสดงขอบเขตของเซลล์ ถ้าลอยอิสระในไซโทซอลมีหน้าที่สร้างโปรตีนใช้ในเซลล์ เเละถ้าเกาะบน
พบในเซลล์ทุกชนิด เยื่อหุ้ม RER มีหน้าที่สร้างโปรตีนใช้นอกเซลล์
โครงสร้างหลักประกอบด้วยโปรตีนเเละไขมัน ประกอบด้วยหน่วยย่อย 2 หน่วย คือ Large subunit เเละ Small subunit
กลุ่มฟอสโฟลิปิด เซลล์ของโปรคาริโอตมีขนาด 70S (S ย่อมาจาก Svedberg Unit)
มีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่านมีหน้าที่สำคัญในการควบคุมการลำเลียงสาร ประกอบด้วย 2 หน่วยย่อย คือ หน่วยย่อยใหญ่มีขนาด 50S และหน่วยย่อย
ผ่านเข้าออกเซลล์ เล็กมีขนาด 30S
รักษาสมดุลของสภาพแวดล้อมภายในเซลล์ เซลล์ของยูคาริโอตมีขนาด 80S ประกอบด้วย 2 หน่วยย่อย คือ หน่วยย่อย
มีโปรตีนตัวรับเป็นตัวรับสาร ทำให้มีปฏิกิริยา ตอบสนองต่อภูมิคุ้มกัน ใหญ่มีขนาด 60 และหน่วยย่อยเล็ก มีขนาด 40S
ออร์แกเนลล์ที่พบทั้งในพืชและสัตว์
นิวเคลียส กอลจิคอมเพล็กส์
นิวเคลียส (nucleus) เป็นโครงสร้างที่มักพบอยู่กลางเซลล์เมื่อ กอลจิบอดี มีรูปร่างเป็นลักษณะคล้ายชามซึ่งเรียกว่า ซิสเทอร์นา เป็น
ย้อมสีจะติดสีเข้มทึบ มีลักษณะเป็นก้อนทึบแสงเด่นชัดอยู่บริเวณ ถุงแบนๆ หรือเป็นท่อเรียงซ้อนกัน เป็นชั้นๆ มีจำนวนไม่แน่นอน มี
กลางๆ เซลล์โดยทั่วๆ ไปจะมี 1 นิวเคลียส นิวเคลียสมีความ ประมาณ 5-10 ชั้น มักพบ 2-8 อัน ตรงปลายของถุงมักโป่งออก ถุงเหล่านี้
สำคัญเนื่องจากเป็นที่อยู่ของสารพันธุกรรม จึงมีหน้าที่ควบคุมการ มีผนัง 2 ชั้น หรือยูนิตเมมเบรนเหมือนๆ กับเยื่อหุ้มนิวเคลียส และเยื่อหุ้ม
ทำงานของเซลล์ โดยทำงานร่วมกับไซโทพลาซึม เซลล์ และมีโครงสร้างคล้าย SER ภายในถุงมีของเหลวบรรจุอยู่ โดยทั่วไป
จะพบในเซลล์สัตว์ มีกระดูกสันหลัง มากกว่าสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง
1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส เป็นเยื่อบางๆ 2 ชั้น เรียงซ้อนกัน ที่เยื่อนี้จะมีรู
เรียกว่านิวเคลียร์พอร์ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของสารต่างๆ เก็บสะสมสารที่เซลล์สร้างขึ้นก่อนที่จะปล่อยออกนอกเซลล์มีการจัดเรียงหรือจัดสภาพใหม่ให้
เหมาะกับสภาพของการใช้งาน
2. โครมาทิน เป็นส่วนของนิวเคลียสที่ย้อมติดสี เป็นเส้นใยเล็กๆ พัน กอลจิบอดีเกี่ยวข้องกับการสร้างอะโครโซม ซึ่งอยู่ที่ส่วนหัวของสเปิร์ม โดยทำหน้าที่เจาะไข่ เมื่อ
เกิดปฏิสนธิ ในอะโครโซมจะมีน้ำย่อย ช่วยสลายเยื่อหุ้มเซลล์ไข่
กันเป็นร่างแห มีหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์และควบคุมการ เกี่ยวข้องกับ การสร้างนีมาโทซิส ( nematocyst) ของไฮดร้า
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตทั่วไป ทำหน้าที่เกี่ยวกับ การสร้างเมือกทั้งในพืช และสัตว์
ทำหน้าที่ขับสารประกอบต่างๆ เช่น ลิปิด ฮอร์โมน เอนไซม์ที่ส่วนต่างๆ ของเซลล์ สร้างขึ้นออก
3. นิวคลีโอลัส เป็นส่วนของนิวเคลียสที่มีลักษณะเป็นก้อนอนุภาคหนา ทางเยื่อหุ้มเซลล์
ทึบ ประกอบด้วย โปรตีน และ RNA
ออร์แกเนลล์ที่พบทั้งในพืชและสัตว์
ไมโทคอนเดรีย เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
-มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ชั้นในพับทบไปมาเรียก Cristae
-ภายในมีของเหลวบรรจุอยู่ เรียก Matrix -เยื่อหุ้ม 1 ชั้น
-มีเอนไซม์ เกี่ยวข้องกับการหายใจระดับเซลล์
และการเกิดวัฏจักร เครบส์ -แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
-พบในเซลล์ยูคาริโอตเกือบทุกชนิด Ex.เซลล์ตับ เซลล์กล้าม
เนื้อหัวใจ Rough endoplasmic reticulum; RER
หน้าที่ สร้างพลังงานในรูปของ ATP ให้กับเซลล์โดยผ่านกระบวนการสลายอาหาร ไรโบโซมเกาะติดอยู่บริเวณนั้นทำให้มองดูคล้ายผิวขรุขระ
เกี่ยวข้องกับการตายของเซลล์แบบตั้งโปรแกรม
บางชนิดยังมีความเกี่ยวข้องกับการให้ความร้อนได้ Smooth endoplasmic reticulum; SER
เป็นแหล่งผลิตเอนไซม์จำนวนมากเพื่อใช้ในกระบวนการเผาพลาญ
อาหารของทุกเซลล์ทั่วร่างกาย หน้าที่ RER - สังเคราะห์โปรตีน บริเวณไม่มีไรโบโซมเกาะ ผิวเรียบ
SER - สังเคราะห์ลิพิด Ex.สารสเตียรอยด์
ภายใน Matrix มีของเหลว ที่ทำหน้าที่เป็นเอนไซม์ ซึ่งเกี่ยวข้อง
ทำลายสารพิษ เป็นแหล่งสะสมของแคลเซียมไอออน
กับปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ในวัฏจักรเครปส์ (Krebs cycle)
มี DNA RNA เอนไซม์ และไรโบโซม การดูดซึมไขมันภายในลำไส้เล็ก
อยู่ภายในออร์แกเนลล์ ทำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนขึ้น ภายในออร์แกเนลล์ เกี่ยวข้องกับการสลายไกลโคเจนให้เป็นกลูกโคสในเซลล์ตับ
DNAที่อยู่ในนิวเคลียส ถอดรหัสเป็นmRNAส่งไปยัง
ไรโบโซมที่ติดอยู่ตรง RER แล้วไรโบโซมก็แปลรหัส
เกิดการสังเคราะห์เป็นโปรตีน โดยโปรตีนที่ถูกสังเคราะห์
ขึ้นนี้ จะถูกส่งไปที่ก็จิคอมเพล็กซ์ผ่านถุงขนาดเล็ก
เรียกว่า transport vesicle
ออร์แกเนลล์ที่พบทั้งในพืชและสัตว์
ไลโซโซม ไซโทสเกเลตอน
มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น เป็นถุง ๆ (เวสิเคิล) ที่สร้างมา เป็นเส้นใยโปรตีนที่เชื่อมโยงกันเป็นร่างแหเพื่อค้ำจุนรูปร่างของเซลล์
จากกอลจิคอมเพล็กซ์ และเป็นที่ยึดเกาะของออร์แกเนลล์
ภายในมีเอนไซม์ย่อย คาร์โบไฮเดรต โปรตีน แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
I ไมโครฟิลาเมนท์ การหดตัวของกล้ามเนื้อ การเคลื่อนที่ของอะมีบา เม็ดเลือดขาว
อินเทอร์มิเดียทฟิลาเมนท์ โครงร่างค้ำจุนเซลล์ พบในโปรตีน เคอราทิน
และไขมัน ไมโครทิวบูล ยึดและลาเลียงออร์เเกเนลล์ เป็นโครงสร้างของเส้นในสปินเดิล แกนของ
ทำลายสิ่งแปลกปลอมและออร์แกแนลล์ที่หมด ซิเลียและแฟลเจลลัม
อายุ
1.แฟลเจลลัม เป็นโครงสร้างที่ใช้ใ้นการเคลื่อนที่พบใน
เพอร็อกซิโซม โพรโทซัวบางชนิดเช่น ยูกลีนา ทริปพาโนโซมา ไตรโค
โมแนส มีลักษณะเป็นเส้นมีความยาวประมาณ 100-
มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น 200 ไมครอน มีจำนวนเพียง 1 หรือ 2 อัน
ภายในบรรจุเอนไซม์ catalase เพื่อกำจัดสาร
H2O2 (เป็นพิษ) จากกระบวนการ เมตาบอลิซึม 2.ซิเลีย พบในโพรโทซัวบางชนิดเช่นพารามีเซี
ของเซลล์ ให้กลายเป็นน้ำและออกซิเจน ยม วอร์ติเซลลา สเตนเตอร์ลักษณะคล้ายแฟล
พบในยอดพืช ตับสัตว์ เจลลัมแต่มีความยาวเพียง 2 -10 ไมครอน
และมีจำนวนมากกว่า
(((((( "กระบวนการภายในเซลล์"
การสังเคราะห์และการหลั่งสารพวกโปรตีน
เริ่มตั้งแต่ DNAที่อยู่ในนิวเคลียส ถอดรหัสเป็น mRNA ส่ง
ไปยังไรโบโซมที่ติดอยู่ตรง RER แล้วไรโบโซมก็แปลรหัส
เกิดการสังเคราะห์เป็นโปรตีน โดยโปรตีนที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นนี้
จะถูกส่งไปที่กอลจิคอมเพล็กซ์ผ่านถุงขนาดเล็ก เรียกว่า
transport vesicle ซึ่งเมื่อกอลจิคอมเพล็กซ์มีการดัดแปลง
โมเลกุลของโปรตีนที่สังเคราะห์ขึ้นแล้วก็จะส่งออกไปนอก
เซลล์ด้วยวิธีการลำเลียงแบบ exocytosis โดยนำโปรตีนที่ได้
บรรจุไปในถุง secretory vesicle
INTRACELLULAR PROCESSES