The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nattapob.ma, 2022-01-25 23:17:12

ชินนสาสมาธิ

คู่มือ
หลักสูตร ชินนสาสมาธิ




คํานํา
เพอื่ ใหก้ ารปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องคณะอนกุ รรมการหลกั สตู รชนิ นสาสมาธิ ที่ได้รับแต่งตั้งตามประกาศ คณะกรรมการบริหาร หลักสูตร สถาบันพลังจิตตานุภาพ ฉบับที่ 3/2564 ลงวันที่ 1 มถิ นุ ายน 2564 เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ ตามหน้าที่ จึงได้จัดทาคู่มือหลักสูตรชินนสาสมาธิ (สมาธิเพื่อ ชนะใจตนเอง) เพื่อการบริหารจัดการให้สถาบันพลังจิตตานุ ภาพทุกสาขาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติงานตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ หลักสูตรให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เป็นไปอย่างมีคุณภาพ สะดวก รวดเร็ว และใช้เป็นคู่มืออ้างอิงการทางานซึ่งจะส่งผล ให้เกิดการส่งเสริมการทาสมาธิอย่างแพร่หลายตามแนวทาง ของท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระญาณวชิโรดม หลวงพ่อ วิริยัง ค์ สิรินฺธโร หลักสูตรชินนสาสมาธิ เป็นหลักสูตรระยะสั้น จึง เหมาะสมเป็นหลักสูตรนาร่องด่านแรก เพื่อเป็นการ ประชาสมั พนั ธ์ ใหเ้ กดิ ความสนใจใครร่ ู้ หรอื เปน็ การเปดิ ใจ ให้ ผสู้ นใจทวั่ ไปไดท้ ราบวธิ กี ารปฏบิ ตั สิ มาธแิ บบงา่ ยๆและยงั เปน็ หลักสูตรที่เหมาะกับผู้ไม่เคยทาสมาธิมาก่อน ได้มาทาสมาธิ สะสมพลงั จติ เพอื่ การเอาชนะใจตนเองตามแนวทางของทา่ น เจา้ ประคณุ สมเดจ็ -พระญาณวชโิ รดม หลวงพอ่ วริ ยิ งั ค์ สริ นิ ธฺ โร และเมอื่ บคุ คลไดท้ า สมาธแิ ลว้ เกดิ ความสนใจมคี วามศรทั ธา หรอื มคี วามประทบั ใจกเ็ ปน็ การงา่ ยในการทบี่ คุ คลเหลา่ นนั้ จะ


จะไดส้ มคั รเรยี นในหลกั สตู รอนื่ ๆ ของสถาบนั พลงั จติ ตานภุ าพ ด้วยความสมัครใจและเต็มใจเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครวั สงั คม ประเทศชาตแิ ละเปน็ ไปตามเจตนารมณข์ อง ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระญาณวชิโรดม หลวงพ่อวิริยังค์ สิ รินฺธโร ที่ประสงค์จะให้ทุกคนทาสมาธิ สะสมพลังจิต เพ่ือให้ เกิดความสันติสุขของชาวโลกยิ่งข้ึนต่อไป
คณะกรรมกํารบริหํารหลักสูตร มูลนิธิสถําบันพลังจิตตํานุภําพ หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร




สํารบัญ
ตอนท่ี หน้ํา
1
บทท่ี 1 บทนํา 1-7 • ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตร
• วัตถุประสงค์
• ขอบเขตงาน
• หน้าท่ีความรับผิดชอบ ของสาขา
• แนวปฏิบัติเกี่ยวกับคู่มือ • ประโยชน์ของคู่มือ


ตอนท่ี หน้ํา
2
บทท่ี 2 ระเบียบปฏิบัติ 8-19 และระบบกํารศึกษํา
• คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม • การคัดเลือกผู้เข้าอบรม • ข้อปฏิบัติของผู้เข้าอบรม • ระบบการศึกษา
• หลักสูตรชินนสาสมาธิ 1 • หลักสูตรชินนสาสมาธิ 2 • การจบหลักสูตร
3
บทที่ 3 ภําพรวมกํารดําเนินงําน 20-23 • ข้ันตอนการทางาน
• การจัดทาแผนรายปี
• งบประมาณจัดอบรม


สํารบัญ
ตอนที่ หน้ํา
4
บทที่ 4 กํารดําเนินกํารก่อนกํารอบรม 24-27 • การขออนุมัติเปิดอบรม
• การเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ
ก่อนการจัดอบรม
• การจัดทาตารางอบรม
• การประชาสัมพันธ์รับสมัครอบรม
• การรับลงทะเบียนเข้าอบรม
• การประกาศรายช่ือผู้มีสิทธิ์เข้าอบรม


ตอนที่ หน้ํา
5
บทที่ 5 กํารดําเนินกํารจัดกํารอบรม 28-33 • การปฐมนิเทศและมอบตัว
เป็นศิษย์
• การบริหารจัดการห้องเรียน
• การออกรหัสประจาตัวผู้เข้าอบรม • การควบคุมเวลาภาควิชาการ
และภาคปฏิบัติ
• เอกสารและสื่อที่ใช้ในหลักสูตร • การตอบคาถามผู้อบรม


สํารบัญ
ตอนที่ หน้ํา
6
บทที่ 6 บุคคลํากรที่เกี่ยวข้อง 34-40 และหน้ําท่ีควํามรับผิดชอบ
• ผู้บริหารสาขา และหน้าที่ความรับผิดชอบ
• หน้าที่ความรับผิดชอบ • คณะทางาน
และหน้าที่ความรับผิดชอบ • คณะพี่เลี้ยง
และหน้าที่ความรับผิดชอบ


ตอนท่ี หน้ํา
7
ภําคผนวก 41-89 • ก. ตารางอบรม
หลักสูตรชินนสาสมาธิ 1 • ข. ตารางอบรมหลัก
สูตรชินนสาสมาธิ 2 • ค. ตัวอย่าง
แผ่นภาพประชาสัมพันธ์
• ฆ. แบบสรุปรายงานการจัดอบรม • ง. ใบแสดงความรู้สึกผู้อบรม
• จ.เอกสารประกอบการอบรม
• ฉ. ตัวอย่างสคริปต์พิธีกร
หลักสูตร ชินนสาสมาธิ 1
• ช. ตัวอย่างสคริปต์พิธีกรวันปัจฉิมนิเทศ
หลักสูตรชินนสาสมาธิ 2




บทนํา ควํามเป็นมํา
สืบเนื่องจํากท่ํานเจ้ําประคุณสมเด็จพระญําณวชิโร ดม หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร ได้สร้ํางศูนย์สมําธิวิริยํานุ ภําพ ต้ังอยู่บริเวณด้านข้างของวัดธรรมมงคลเถาบุญนนท วิหาร ใกล้กับ พระวิริยะมงคลมหาเจดีย์ศรีรัตนโกสินทร์ ท่านได้ถือฤกษ์มหามงคลเปิดศูนย์แห่งน้ี ในวันคล้ายกับ วันเกิดของท่าน คือ วันท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2542 โดยมี วัตถุประสงค์ 3 ประกําร
ประกํารแรก เพ่ือใช้เป็นสถานท่ีพักท่ีมีความเป็นสัปปา ยะ เหมาะสมที่จะทาการฝึกอบรมสมาธิได้อย่างต่อเน่ือง ให้เกิดความสงบและสุขใจ เพ่ิมสมรรถนะทางใจให้มีความ แกร่ง มีความสาเร็จในหน้าที่การงานและการดาเนินชีวิต ให้แก่ประชาชนท่ัวไปและผู้ที่เรียนจบหลักสูตรครูสมาธิจาก สถาบันพลังจิตตานุภาพ
บทท่ี 1
1


ประกํารที่ 2 เพราะยังมีผู้สนใจต้องการศึกษาเรื่อง สมาธอิ กี จา นวนมาก แตม่ ขี อ้ จา กดั ในเรอื่ งของเวลาเนื่องจาก การอบรมหลักสูตรครูสมาธิ ซึ่งท่านเมตตาเปิดสอนครั้งแรก ในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ.2540 ณ สถาบันพลังจิตตานุ ภาพ วัดธรรมมงคลเถาบุญนนทวิหาร การอบรมในแต่ละรุ่น ต้องใช้เวลาอบรมต่อเนื่องยาวนาน 6 เดือน จึงทาให้มี ผู้สนใจส่วนหนึ่งไม่สามารถจัดสรรเวลามาอบรมได้
ประกํารที่ 3 เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อญาติโยมผู้มา ทาบุญใส่บาตรตอนเช้า พระอาจารย์หลวงพ่อฯ จึงเมตตา แสดงธรรมให้ญาติโยมฟัง เป็นแบบนี้ทุกวันอาทิตย์ จนเกิด ความเคยชินเป็นปกติ
ด้วยเหตุผลดังกล่ําว ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระญาณ วชิโรดม หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร จึงดาริให้มีการจัดอบรม หลักสูตรระยะสั้นทุกวันอาทิตย์ คือ หลักสูตรชินนสาสมาธิ แปลว่า สมาธิเพื่อชนะใจตนเอง เป็นหลักสูตร 1 วัน อบรม ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ณ ศูนย์สมาธิ-วิริยานุภาพ ระหว่างเวลา 09.00–16.00 น. อบรมฟรี ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ มีเอกสารประกอบการบรรยาย มีอาหารกลางวันเล้ียง ต้อนรับอย่างครบถ้วน ซึ่งนับเป็นหลักสูตรที่ 2 นับแต่ก่อตั้ง สถาบันพลังจิตตานุภาพ
2


...
หลักสูตรชินนสําสมําธิ เป็นหลักสูตรระยะสั้น สําหรับนําร่องเพื่อกํารประชําสัมพันธ์ ให้เกิดควําม สนใจใคร่รู้ หรือเป็นกํารเปิดใจให้ผู้สนใจท่ัวไป ทั้งท่ี เคยหรือไม่เคยทําสมําธิมําก่อน ได้เข้ําใจและทรําบวิธี ปฏิบัติสมําธิแบบง่ํายๆ ตํามแนวทํางของท่ํานเจ้ํา ประคุณสมเด็จพระญําณวชิโรดม หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร
ควํามเข้ําใจเก่ียวกับ หลักสูตร
3


หลักสูตรชินนสําสมําธิ มี 2 หลักสูตร ได้แก่
หลักสูตรชินนสําสมําธิ 1 และ หลักสูตรชินนสําสมําธิ 2
4


กํารจัดอบรมหลักสูตรชินนสําสมําธิ มี 2 รูปแบบ ได้แก่
1.การจดั อบรมภายในสาขาหมายถงึ จดั อบรมทห่ี อ้ งเรยี น สถาบันพลังจิตตานุภาพของแต่ละสาขา
2.การจดั อบรมภายนอกสาขาหมายถงึ เปน็ การจดั อบรม ภายนอกสาขาสถาบนั พลงั -จติ ตานภุ าพใหแ้ กห่ นว่ ยงานตา่ งๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
...
เพอื่ การบรหิ ารจดั การใหส้ ถาบนั พลงั จติ ตานภุ าพทกุ สาขา ใชเ้ ปน็ แนวทางปฏบิ ตั งิ านตงั้ แตเ่ รม่ิ ตน้ จนจบหลกั สตู ร ใหเ้ ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั เปน็ ไปอยา่ งมคี ณุ ภาพสะดวกรวดเรว็ และ ใช้เป็นคู่มืออ้างอิงการทางาน
วัตถุประสงค์
5


...
1.จดั อบรมหลกั สตู รชนิ นสาสมาธิตามทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั จิ าก คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
2. ประชาสัมพันธ์ ให้เกิดความสนใจใคร่รู้ เรื่องการทา สมาธิให้แก่บุคคลท่ัวไป
3. การประสานความร่วมมือกับกลุ่มสาขา/สาขา และ คณะอนุกรรมการท่ีเกี่ยวข้อง ในการบริหารงาน การจัดการ ปัญหาและการพัฒนางาน
หน้ําท่ีควํามรับผิดชอบของสําขํา
1. หนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สถาบนั พลงั จติ ตานภุ าพ โดย การจัดอบรมหลักสูตรชินนสาสมาธิตามแนวทางของ สมเด็จ พระญาณวชโิ รดมหลวงพอ่ วริ ยิ งั ค์สริ นิ ธฺ โรและสถาบนั พลงั จติ ตานุภาพ
2. หน้าท่ีความรับผิดชอบต่อนักศึกษา โดยการจัดระบบ งานและพฒั นาบคุ ลากรเพอ่ื ดแู ลใหน้ กั ศกึ ษามคี วามรู้ มที กั ษะ การปฏบิ ตั สิ มาธิมคี วามสขุ ในการเรยี นและสนใจการนา สมาธิ ไปปฏิบัติในชีวิตประจาวัน
3. หน้าท่ีความรับผิดชอบต่อกลุ่มสาขาโดยการประสาน ความร่วมมือตามหลักการบริหารงานท่ีดี ท้ังในการวางแผน การดาเนินงาน และการพัฒนางาน
ขอบเขตงําน
6


แนวปฏิบัติเกี่ยวกับคู่มือ
1. ทกุ สาขาของสถาบนั พลงั จติ ตานภุ าพทไ่ี ดร้ บั การอนมุ ตั ิ ให้เปิดอบรมหลักสูตรชินนสาสมาธิ ต้องปฏิบัติตามคู่มือนี้
2. หากสาขาใดมเี หตจุ า เปน็ ทไี่ มส่ ามารถปฏบิ ตั ติ ามคมู่ อื นไี้ ด้ จะตอ้ งไดร้ บั การอนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร สถาบันพลังจิตตานุภาพ จึงจะดาเนินการได้
3. การปรบั ปรงุ แกไ้ ขคมู่ อื ทา ไดโ้ ดยคณะกรรมการบรหิ าร หลักสูตรเป็นผู้นาเสนอประเด็นการแก้ไข ปรับปรุง เสนอให้ คณะกรรมการสถาบันพลังจิตตานุภาพเป็นผู้อนุมัติปรับปรุง
4. ใหเ้ รมิ่ ใชค้ มู่ อื นี้ ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 ตลุ าคม 2564 เปน็ ตน้ ไป
ประโยชน์ของคู่มือ
1. ช่วยเสริมสร้างความมั่นใจในการทางาน 2. ลดข้ันตอนการทางานที่ซ้าซ้อน
3. ได้งานที่มีคุณภาพตามที่กาหนด
4. ผู้ปฏิบัติงานไม่เกิดความสับสน
5. เจ้าหน้าที่สามารถทางานทดแทนกันได้
6. ลดขอ้ ผดิ พลาดจากการทา งานทไี่ มเ่ ปน็ ระบบ 7. ลดความขัดแย้งที่อาจเกิดข้ึนในการทางาน
7


บทที่ ระเบียบปฏิบัติ
2 คุณสมบัติของผู้เข้ําอบรม
และระบบกํารศึกษํา
1. บุคคลท่ัวไปหรือตามที่คณะกรรมการบริหาหลักสูตร พิจารณาอนุมัติ
2. มีความตั้งใจเรียนวิชาสมาธิเพื่อการพัฒนาตนเอง ไม่ใช่การเรียนเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ทางการเมือง ธุรกิจ หรืออื่นๆ
3. ไม่เป็นโรคต้องห้ามและไม่เป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน
4. สามารถศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติสมาธิตาม แนวทางของสถาบันพลังจิตตานุภาพได้
5. มีวินัยและปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันพลังจิต ตานุภาพ
กํารคัดเลือกผู้เข้ําอบรม
1. คณะกรรมการสาขาพิจารณาเอกสารการสมัครอบรม และคุณสมบัติของผู้สมัคร
2.คณะกรรมการคดั เลอื กตามแนวทางของสถาบนั พลงั จติ ตานุภาพและแนวทางของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
8


ข้อปฏิบัติของผู้เข้ําอบรม
1. ตั้งใจศึกษาภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ และกิจกรรม ตาม แนวทางของสถาบันพลังจิตตานุภาพ
2. ปิดเครื่องสื่อสารทุกชนิด หรือตั้งระบบสั่น ระหว่างฟัง การบรรยายและปฏิบัติสมาธิ
3.แตง่ กายสภุ าพเรยี บรอ้ ยเชน่ ไมส่ วมกางเกงขาสนั้ เสอื้ กล้าม เส้ือสายเดี่ยว ไม่แต่งกายล่อแหลม
4. เข้าเรียนและปฏิบัติตรงต่อเวลา
5. ห้ามดื่มสุรา เสพสิ่งเสพติด และเล่นการพนันทุกชนิด ในสถาบันฯ
6. ห้ามแจกจ่ายเอกสาร ห้ามเรี่ยไร ห้ามขายสินค้า ที่ไม่ ได้รับอนุญาตจากสาขา
7. ห้ามบันทึกภาพ PowerPoint และเสียงบรรยายของ อาจารย์ในชั้นเรียน
9


ระบบกํารศึกษํา
หลักสูตรชินนสําสมําธิ มี 2 หลักสูตร คือ
หลักสูตรชินนสําสมําธิ 1 และ หลักสูตรชินนสําสมําธิ 2
หลักสูตรชินนสําสมําธิ 1
หลักสูตรชินนสาสมาธิ 1 แบ่งเป็น 3 หลักสูตร ดังนี้
1. หลักสูตรชินนสาสมาธิ 2 ช่ัวโมง 2. หลักสูตรชินนสาสมาธิ 3 ชั่วโมง 3. หลักสูตรชินนสาสมาธิ 6 ช่ัวโมง
10


...
เป็นหลักสูตรอบรมที่ไม่มีกํารพักแรมค้ํางคืน จัด อบรมได้ทั้งภํายในและภํายนอกสําขํา การอบรมไม่มีพิธี มอบตัวเป็นศิษย์และไม่มีการสอบ เน้นฟังบรรยาย จากอาจารย์ผู้สอนโดยไม่มีการฟังเทปบรรยาย ของพระ อาจารย์หลวงพ่อ ชมวีดิทัศน์ ประวัติพระอาจารย์หลวงพ่อ และวีดิทัศน์ พระอาจารย์หลวงพ่อตอบคาถามเกี่ยวกับ เนอ้ื หาวชิ าหลกั สตู รชนิ นสาสมาธิ ปฏบิ ตั เิ ดนิ จงกรม นงั่ สมาธิ มีการแสดงความรู้สึกของผู้เข้าอบรมโดยการเขียนหรือการ พูด ผู้ผ่านการอบรมจะได้รับใบประกาศนียบัตร (E-Certifi- cate) ซ่ึงสามารถนาไปเป็นหลักฐานใช้สมัครอบรมต่อใน หลักสูตรชินนสาสมาธิ 2 ได้ทุกสาขาท่ัวประเทศ
1.1 ภําคทฤษฎี หมายถึง เน้ือหาวิชาการจากหนังสือ หลักสูตรครูสมาธิ 3 เล่ม หรือ วีดิทัศน์ หรือเอกสารอื่นๆ ท่ีพระอาจารย์หลวงพ่อฯ ได้เขียนหรือแสดงพระธรรมเทศนา รวม 6 หัวข้อวิชํา ได้แก่
1) จุดประสงค์ของการทาสมาธิ 4) ประโยชน์ของสมาธิ
2) อิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง นอน 5) สมาธิกับการควบคุมอารมณ์ 3) การบริกรรม 6) วิทิสาสมาธิ
1.2 ภําคปฏิบัติ การปฏิบัติเดินจงกรมและน่ังสมาธิในชั้น เรียน ตามตารางอบรม
1. โครงสร้ํางหลักสูตร
11


2. ข้ันตอนกํารสอนภําค
...
12


3. รํายละเอียดกํารศึกษํา ภําควิชํากํารของหลักสูตร ชินนสําสมําธิ 1
การศึกษาภาควิชาการของหลักสูตรชินนสาสมาธิ 1 ประกอบด้วย หัวข้อบรรยาย 6 หัวข้อวิชา เป็นเน้ือหา วิชาการจากหนังสือหลักสูตรครูสมาธิ 3 เล่ม หรือวีดิทัศน์ หรือเอกสารอ่ืนๆ ที่ พระอาจารย์หลวงพ่อได้เขียนหรือแสดง พระธรรมเทศนา เนื้อหาวิชาและระยะเวลาการบรรยาย มีดังน้ี
13


3. รํายละเอียดกํารศึกษํา ภําควิชํากํารของ หลักสูตรชินนสําสมําธิ 1 (ต่อ)
14


หลักสูตรชินนสําสมําธิ 2 (3 วัน 2 คืน)
...
เป็นหลักสูตรอบรมท่ีมีกํารพักแรมค้ํางคืน ระยะ เวลําอบรม 3 วัน 2 คืน รายละเอียดตามตารางอบรม หลักสูตรชินนสาสมาธิ 2 จัดอบรมได้ทั้งภายในและ ภายนอกสาขาสถาบันพลัง-จิตตานุภาพ เน้นฟังบรรยาย จากอาจารย์ผู้สอน สวดมนต์ ทาวัตรเช้า ทาวัตรเย็น ชมวีดิทัศน์ สารคดีและประวัติพระอาจารย์หลวงพ่อฯ ชมวีดิทัศน์พระอาจารย์หลวงพ่อแสดงพระธรรมเทศนา ชม วีดิทัศน์พระอาจารย์หลวงพ่อตอบคาถามเก่ียวกับเนื้อหา วิชาหลักสูตร ชินนสาสมาธิ ปฏิบัติ เดินจงกรม นั่งสมาธิ มกี ารแสดงความรสู้ กึ ของผเู้ ขา้ อบรมโดยการเขยี นหรอื การพูด
1. โครงสร้ํางหลักสูตร
15


1.1 ภําคทฤษฎี หมายถึง เนื้อหาวิชาการจากหนังสือ หลักสูตรครูสมาธิ 3 เล่ม หรือวีดิทัศน์ หรือเอกสารอื่นๆ ที่พระอาจารย์หลวงพ่อได้เขียนหรือแสดงพระธรรม-เทศนา รวม 8 หัวข้อวิชํา มีดังนี้
หัวข้อที่ 1 ทบทวนเนื้อหาวิชาหลักสูตรชินนสาสมาธิ 1 หัวข้อท่ี 2 ลักษณะของสมาธิ
(สมาธิธรรมชาติ สมาธิสร้างข้ึน) หัวข้อท่ี 3 สมาธิตื้น
หัวข้อท่ี 4 สมาธิลึก
หัวข้อท่ี 5 การเพ่ิมของสมาธิ หัวข้อที่ 6 หนทางให้สมาธิเส่ือม หัวข้อท่ี 7 สมาธิกับการรวมคณะ หัวข้อที่ 8 สมาธิกับการงาน
1.2 ภําคปฏิบัติ หมายถึง การปฏิบัติเดินจงกรมและ นั่งสมาธิในชั้นเรียน ตามตารางสอน
16


2. ข้ันตอนกํารสอนภําควิชํากําร
17


...
กํารอบรมภําควิชํากํารของหลักสูตรชินนสําสมําธิ 2 ประกอบด้วย หัวข้อบรรยําย 8 หัวข้อวิชํา เปน็ เนอื้ หา วชิ าการจากหนงั สอื หลกั สตู รครสู มาธิ 3 เลม่ หรอื วดี ทิ ศั น์ หรอื เอกสารอน่ื ๆทพ่ี ระอาจารยห์ ลวงพอ่ ไดเ้ขยี นหรอื แสดงพระธรรม เทศนา เนอื้ หาวชิ าและระยะเวลาการบรรยาย มดี งั นี้
3. รํายละเอียดกํารอบรม
ภําควิชํากํารของหลักสูตร
ชินนสําสมําธิ 2 (3 วัน 2 คืน)
18


กํารจบหลักสูตร
1.นกั ศกึ ษําตอ้ งเขํา้ อบรมทงั้ ภําคทฤษฎแี ละภําคปฏบิ ตั ิ และทํากิจกรรมครบตํามตํารํางอบรมจึงจะถือว่ําจบ หลกั สตู ร ผํา่ นกํารอบรม
2. นกั ศกึ ษําทผี่ ํา่ นกํารอบรมหลกั สตู รชนิ นสําสมําธิ 1 และ 2 จะไดร้ บั ประกาศนยี บตั รแสดง การจบหลกั สตู ร (E-Cer- tificate)
19


ภําพรวมกํารดําเนินงําน
ขั้นตอนกํารทํางําน
1.การขออนมุ ตั เิปดิ อบรมหลกั สตู รโดยขออนมุ ตั ิ ตอ่ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร
2. ประชาสมั พนั ธร์ บั สมคั รอบรม
3. การจดั ทา แผนและตารางอบรม
4. การรบั ลงทะเบยี นเขา้ อบรม
5 . ก า ร ป ร ะ ก า ศ ร า ย ช อ่ ื ผ ม้ ู สี ทิ ธ เิ ์ ข า้ อ บ ร ม
6. การปฐมนเิ ทศและมอบตวั เปน็ ศษิ ย์
7.การบรหิ ารจดั การสถานทอี่ บรม
8. การออกรหสั ประจา ตวั ผเู้ ขา้ อบรม
9. การสง่ ทะเบยี นรายชอื่ ผลู้ งทะเบยี นอบรม
10. การจดั กจิ กรรมระหวา่ งอบรม
11. การปจั ฉมิ นเิ ทศ
12.การสรปุ ผลการอบรมและแจง้ รายชอื่ ผผู้ า่ นการอบรม 13. การดา เนนิ การเกยี่ วกบั ประกาศนยี บตั ร
14.สรปุ รายงานการจดั อบรมเสนอคณะอนกุ รรมการ
บรหิ ารหลกั สตู ร
บทที่ 3
20


กํารจัดทําแผนรํายปี
กํารจดั ทํา แผนรํายปีเปน็ กํารกํา หนดกรอบภํารกจิ เปํา้ หมํายและกจิ กรรมตํา่ งๆในกํารเรยี นตํามหลกั สตู รซง่ึ ถอื วา่ มีความสาคัญต่อการบริหารจัดการ และพัฒนาการเรียนการ สอนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลยงิ่ ขนึ้ โดยการประสาน ความรว่ มมอื ในกลมุ่ สาขาใหเ้ กดิ การวางแผน การดา เนนิ งาน และการพฒั นางานรว่ มกนั
21


สําระในแผนรํายปี ประกอบด้วย
...
1. 2 . 3.
4. 5.
6.
7. 8.
จา นวนหลกั สตู รและจา นวนรนุ่ ทจ่ี ะเปดิ อบรมในปนี น้ั เ ป า้ ห ม า ย จ า น ว น ผ เ้ ู ข า้ อ บ ร ม ใ น แ ต ล่ ะ ร น่ ุ แผนการประชาสมั พนั ธ์ เพอื่ หาผสู้ มคั รเรยี นและขยายงาน
ตามแนวทางของสถาบนั พลงั จติ ตานภุ าพ และสอดคลอ้ งกบั ชมุ ชน
แผนการบรหิ ารเพอื่ ใหน้ กั ศกึ ษาจบหลกั สตู รใหไ้ ด้ สดั สว่ นมากทสี่ ดุ
แผนพฒั นาบคุ ลากรทเี่ กยี่ วขอ้ ง โดยการศกึ ษาความ ต อ้ ง ก า ร ข อ ง บ คุ ล า ก ร ผ บ้ ู ร หิ า ร แ ล ะ ฝ า่ ย อ น่ ื ท เี ่ ก ยี ่ ว ข อ้ ง และมแี ผนพฒั นาทสี่ อดคลอ้ งกบั ผลการศกึ ษา ความตอ้ งการขา้ งตน้
แผนงบประมาณโดยสงั เขป ตามแนวทางของ คณะกรรมการการเงนิ
แผนงานอน่ื ตามทส่ี าขา / กลมุ่ สาขา พจิ ารณาเพม่ิ เตมิ สาขา กลมุ่ สาขา จดั ทา แผนและสง่ แผนราย ปใี หค้ ณะ อนกุ รรมการหลกั สตู รชนิ นสาสมาธิภายในวนั ที่15 ธนั วาคม ของทกุ ปีหากมกี ารเปลย่ี นแปลงสาระในแผนสาขา/ กลมุ่ สาขาตอ้ งแจง้ โดยเรว็ ทส่ี ดุ
22


9.การประเมนิ ตดิ ตามและพฒั นา
9.1 จดุ มงุ่ หมายของการประเมนิ ตดิ ตาม เพอ่ื รสู้ ภาพ
ปจั จบุ นั และการพฒั นาทตี่ รงประเดน็
9.2 การประเมนิ ตดิ ตามและพฒั นา ดา เนนิ การเปน็
รายปี
9.3 คณะกรรมการประเมนิ และตดิ ตามประกอบดว้ ย
ตวั แทนสาขา ตวั แทนกลมุ่ สาขาและคณะบคุ คล
ทเี่กยี่ วขอ้ งเปน็ คณะกรรมการประเมนิ ตดิ ตาม
9.4 คณะกรรมการประเมนิ จดั ทา รายงานเสนอ
ในกลมุ่ สาขาและคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร เพอื่ การพฒั นารว่ มกนั
งบประมําณจัดอบรม
สาขาสามารถเบกิ จา่ ยงบประมาณการจดั อบรมหลกั สตู ร ชนิ นสาสมาธิ 1 และ 2 ไดต้ ามหลกั เกณฑท์ สี่ ถาบนั ฯ กา หนด แตท่ งั้ นตี้ อ้ งเปน็ การจดั อบรมทสี่ าขาไดร้ บั อนมุ ตั แิ ลว้ เทา่ นนั้
23


กํารดําเนินกําร 4 ก่อนกํารอบรม
กํารขออนุมัติเปิดอบรม
สาขาที่ต้องการเปิดอบรมหลักสูตรชินนสาสมาธิ ให้ทา หนังสือขออนุมัติการอบรมจากคณะกรรมการบริหาร หลักสูตร โดยทาหนังสือส่งไปยังเจ้าหน้าท่ีมูลนิธิฯ เพื่อส่ง ให้คณะกรรมกํารบริหํารหลักสูตร พิจํารณําอนุมัติต่อ ไป
กํารเตรียมควํามพร้อมด้ําน ต่ํางๆ ก่อนกํารจัดอบรม
1. ด้ํานอําคํารสถํานท่ี เตรียมความพร้อมเกี่ยวกับ อาคารสถานที่ให้พร้อมต่อการเรียนการสอน เช่น โต๊ะลง ทะเบียน โต๊ะเก้าอี้สาหรับอาจารย์และนักศึกษา สถานที่เดิน จงกรม สถานท่ีนั่งสมาธิ สถานที่รับประทานอาหาร ระบบ แสง เคร่ืองปรับอากาศ และอื่นๆ
บทท่ี
24


2. ด้ํานวิชํากําร เตรียมความพร้อมและประสานงาน ด้านวิชาการ เช่น จัดทาตารางเรียน ตารางสอน ประสาน อาจารย์ผู้นาเสนอการบรรยาย เตรียมกาหนดการต่างๆ ตลอดจนงานเอกสารด้านวิชาการต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
3. ด้ํานบุคลํากร ประสานงานและเตรียมความพร้อม ด้านบุคลากรทั้งอาจารย์และพ่ีเล้ียงทุกฝ่าย เพ่ือให้การเรียน การสอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามกาหนดการ
4. ด้ํานสื่อกํารสอน เตรียมอุปกรณ์และส่ือท่ีเกี่ยวข้อง เช่น เครื่องเสียง เคร่ืองคอมพิวเตอร์พร้อมอุปกรณ์ เครื่อง ฉายโปรเจคเตอร์พร้อมจอภาพ ส่ือการสอน วีดิทัศน์ประวัติ พระอาจารย์หลวงพ่อ เพลงประจาสถาบันพลังจิตตานุภาพ และอ่ืนๆ
25


กํารจัดทําตํารํางอบรม
สําขําดําเนินกํารจัดทําตํารํางอบรม ตํามแผนกํารอบรม ที่สําขําได้รับอนุมัติแล้วจํากคณะกรรมกํารบริหําร หลักสูตร และในรํายละเอียดให้ถือปฏิบัติตํามคู่มือนี้
กํารประชําสัมพันธ์รับสมัครอบรม
สาขาดาเนินการประชาสัมพันธ์ตามแนวทางของคณะ กรรมการสื่อสารและประชาสัมพันธ์
ช่องทํางกํารติดตํามและติดต่อสอบถําม เก่ียวกับกํารรับสมัคร
2.1 ติดต่อสอบถามด้วยตนเอง ณ สาขาท่ีสมัครอบรม
2.2 โทรศัพท์และสื่อออนไลน์ เช่น ไลน์ อีเมล์ เป็นต้น
2.3 ไปรษณีย์
26


กํารรับลงทะเบียนนักศึกษํา
สมัครอบรมทํางออนไลน์ โดยกรอกใบสมัครในระบบ ลงทะเบียนอบรม (Google Form) หรือสมัครอบรมที่ สําขําสถําบันฯ ตํามวัน เวลํา ที่กําหนด
กํารประกําศรํายชื่อผู้มีสิทธ์ิเข้ํา
คณะกรรมการสาขา พิจารณาคุณสมบัติผู้สมัคร เข้าอบรมตามใบสมัครและหลักฐานการสมัคร แล้วทาการ ประกาศรายช่ือผู้มีสิทธ์ิเข้าอบรม ก่อนวันอบรม 1 สัปดาห์
27


กํารดําเนินกําร 5 จัดกํารอบรม
ปฐมนิเทศ และมอบตัวเป็นศิษย์
(ภาคผนวก 1. พิธีปฐมนิเทศหลักสูตรครูสมาธิ / หลักสูตรวิทันตสาสมาธิ)
1.หลักสูตรชินนสําสมําธิ 1
ไม่มีการปฐมนิเทศ ไม่มีการมอบตัวเป็นศิษย์
2.หลักสูตรชินนสําสมําธิ 2
มีพิธีปฐมนิเทศ และมอบตัวเป็นศิษย์ ดาเนินการโดยสาขาโดยใช้รูปแบบ ของสถาบันพลังจิตตานุภาพ
กํารบริหํารจัดกํารห้องเรียน
กํารบริหํารจัดกํารห้องเรียน หมายถึง การเตรียม ความพร้อมของสถานท่ีและบุคคลากร ให้เอ้ืออานวยต่อการ เรียนการสอนในแต่ละวัน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ หลักสูตรและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
บทที่
28


กํารบริหํารจัดกํารห้องเรียน
การบริหารจัดการห้องเรียน ประกอบด้วย
1. ด้ํานสถํานที่ จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ และระบบ ต่างๆ ให้พร้อมต่อการเรียนและปฏิบัติสมาธิ
2. ด้ํานบุคคลํากร จัดเตรียมบุคลากรและมอบภารกิจ ท่ีเก่ียวข้องตลอดหลักสูตร
กํารออกรหัสประจําตัวผู้เข้ําอบรม
สาขาดาเนินการตามรูปแบบของคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรท่ีกาหนดไว้
29


กํารควบคุมเวลําภําควิชํากําร และภําคปฏิบัติ
เพ่ือให้เกิดความพร้อมเพรียง จึงมีระบบควบคุมเวลา โดยใช้สัญญาณระฆัง ดังน้ี
ภําควิชํากําร :
กํารฟังบรรยําย
ลาดับแรก ตี 2 ครั้ง เพื่อเตือนให้เข้ารับฟังกาบรรยาย ลาดับท่ีสอง ตี1ครั้งเพ่ือเตือนผู้บรรยายให้สรุปจบ
ก่อนหมดเวลาบรรยาย 5 นาที ลาดับที่สาม ตี2ครั้งเมื่อครบเวลาบรรยาย
ลาดับที่ส่ี ตี 3 ครั้ง เมื่อเกินเวลาที่ครบแล้ว 3 นาที
ภําคปฏิบัติ :
กํารเดินจงกรม
ลาดับแรก ตี 1 คร้ัง กล่าวคาอธิษฐาน และเร่ิมเดินจงกรม
ลาดับท่ีสอง ตี 1 ครั้ง จบการเดินจงกรม และกล่าวคาแผ่เมตตา
30


กํารเดินจงกรม
ลาดับแรก ตี 1 ครั้ง กล่าวคาอธิษฐาน และเร่ิมนั่งสมาธิ
ลาดับท่ีสอง ตี1ครั้งจบการนั่งสมาธิ และกล่าวคาแผ่เมตตา
เอกสํารและสอื่ ทใี่ ชใ้ นหลกั สตู ร
สําขําสถําบันฯ สํามํารถเลือกใช้เอกสํารและสื่อ ต่ํางๆ ได้ตํามควํามเหมําะสม ดังนี้
1. แผ่นภาพโปสเตอร์ และวีดิทัศน์ ประชาสัมพันธ์เชิญชวน ให้มาอบรมหลักสูตรชินนสาสมาธิ
2. วีดิทัศน์ เล่าประสบการณ์ผู้อบรมหลักสูตรชินนสาสมาธิ
3. ชุดเตรียมการสอน ที่คณะอนุกรรมการหลักสูตร
ชินนสาสมาธิได้จัดทาไว้
4. วีดิทัศน์บทสวดทาวัตรเช้า ทาวัตรเย็น บทสวดลักขี
บทสวดรัตนสูตร บทสวดรัตนปริตร บทสวดพลจักร
รัตนสูตร
5. วีดิทัศน์ประวัติพระอาจารย์หลวงพ่อ
6. วีดิทัศน์พระอาจารย์หลวงพ่อฯ เดินจงกรม และนั่งสมาธิ 7. วดี ทิ ศั นส์ ารคดเี ผยแพรเ่ กยี รตคิ ณุ สมเดจ็ พระญาณวชโิ รดม
หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร
31


8. วีดิทัศน์พระอาจารย์หลวงพ่อแสดงพระธรรมเทศนา 9. วีดิทัศน์วิริยังคานุสาสนี “หลวงพ่อสอนว่า...”
10. วีดิทัศน์เจาะใจแสงแรก พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์
สิรินฺธโร
11. วีดิทัศน์พระอาจารย์หลวงพ่อฯ ตอบคาถามเกี่ยวกับ
เน้ือหาวิชาหลักสูตรชินนสาสมาธิ
12. เพลงอรุณทอแสง เพลงไชนิ่งซัน (Shining Sun)
เพลงกราบนมัสการหลวงพ่อวิริยังค์
13. ตารางบันทึกการปฏิบัติวิทิสาสมาธิ
14. เอกสารแผ่นข้ันตอนการเดินจงกรมและข้ันตอน
การน่ังสมาธิ (ภาคผนวก)
15. เอกสารแผ่นวิทิสาสมาธิ 16.เอกสารแผ่นพับหลักสูตรชินนสาสมาธิ (ภาคผนวก) 17.สคริปต์พิธีกรหลักสูตรชินนสาสมาธิ1 (ภาคผนวก) 18. สคริปต์พิธีกร วันปัจฉิมนิเทศ (ภาคผนวก)
32


กํารตอบคําถํามผู้อบรม
1. เปิดวีดิทัศน์พระอําจํารย์หลวงพ่อ ตอบคาถาม เก่ียวกับเน้ือหาวิชาหลักสูตรชินนสาสมาธิ
2. สําขําสํามํารถค้นหําคําตอบได้ ทางเคร่ืองมือ ค้นหาคาตอบท่ีสถาบันฯ ได้จัดทาไว้
3. สําขําสํามํารถตอบคําถํามได้ โดยตอบตามแนว ปฏิบัติและคาสอนของพระอาจารย์หลวงพ่อฯ โดยระบุ ท่ีมาของข้อมูล และไม่ตอบคาถามเร่ืองท่ีไม่อยู่ในหลักสูตร
4. กรณีสําขําไม่สํามํารถตอบได้ ให้ส่งคาถามมาท่ี คณอนุกรรมการกล่ันกรองงานวิชาการ
33


บทท่ี บุคลํากรที่เกี่ยวข้อง
6
และหน้ําท่ีควํามรับผิดชอบ
ผู้บริหํารสําขํา
และหน้ําที่ควํามรับผิดชอบ
ผู้บริหํารสําขํา หมายถึง ผู้ดูแลสาขา ผู้ช่วยผู้ดูแล สาขาสถาบันพลังจิตตานุภาพ
หน้ําที่ควํามรับผิดชอบ
จัดทาแผนอบรมหลักสูตรชินนสาสมาธิ 1 และ/หรือ หลักสูตรชินนสาสมาธิ 2
อานวยการ ควบคุมประสานงาน ให้ฝ่ายต่างๆ ปฏิบัติ หน้าท่ีให้เป็นไปตามเป้าหมายของ การจัดอบรมหลัก สูตรชินนสาสมาธิ
แก้ไข ช่วยเหลือฝ่ายต่างๆ เมื่อเกิดปัญหาในระหว่าง การอบรม ประสานงานระหว่างหน่วยงานฝึกอบรมของสถาบัน พลังจิตตานุภาพ เพ่ือพัฒนาการฝึกอบรมให้มีคุณภาพ และมาตรฐานตามนโยบายของพระอาจารย์หลวงพ่อฯ
34


รายงานผลการจัดอบรมส่งคณะกรรมการบริหาร หลักสูตร (ผ่านคณะอนุกรรมการหลักสูตรชินนสาสมาธิ ภายใน 7 วัน หลังส้ินสุดการจัดอบรมแต่ละคร้ัง)
...
คณะทํางําน และหน้ําที่ควํามรับผิดชอบ
1. ฝ่ํายทะเบียน
ฝ่ํายทะเบียน ประกอบด้วยผู้ช่วยผู้ดูแลสาขา, อาจาริย สาสมาธิ, ครูสมาธิ (ผู้ที่เรียนจบหลักสูตรครูสมาธิ หรือเรียน จบหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ) ที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้ดูแล สาขา ให้เป็นคณะทางานฝ่ายทะเบียน
หน้ําที่ควํามรับผิดชอบ
เตรียมโต๊ะลงทะเบียน สมุดลงทะเบียน หรือลทะเบียน สมัครโดยใช้ Google Form
เตรียมเอกสารประกอบการอบรม อุปกรณ์เครื่องเขียน โบรชัวร์ต่างๆ
35


เตรียมใบเซ็นชื่อผู้เข้าอบรม
ต้อนรับผู้เข้าอบรมแนะนาขั้นตอนการลงทะเบียนโดยใช้บัตร ประชาชน หรือบัตรอื่นที่หน่วยงานราชการออกให้ เพื่อลงทะเบียน และ แจกเอกสารประกอบการอบรม/โบรชัวร์ต่างๆ
แนะนาสถานที่อบรม ห้องอาหาร ห้องน้า บริเวณที่เดินจงกรม นั่ง สมาธิ ฯลฯ
ในกรณีผู้เข้าอบรมต้องการใบรับรองการอบรม ให้ผู้เข้าอบรมกรอก ข้อมูลประวัติลงในแบบฟอร์มที่กาหนดโดยให้แจ้งตั้งแต่วันแรกที่ลง ทะเบียน การออกเอกสารใบรับรองให้
ผู้ดูแลสาขา เป็นผู้ลงนามรับรอง
ตรวจเช็กจานวนเอกสารท่ีใช้ประกอบการอบรมและโบรชัวร์ทุกชนิด ให้เพียงพอแก่ผู้เข้าอบรม
จัดเตรียมเอกสารที่ใช้ประกอบการอบรมและโบรชัวร์ทุกชนิด เพ่ือ เตรียมแจกจ่ายแก่ผู้เข้าอบรมในครั้งต่อไป
ตามแผนการจัดอบรม
จัดทาสรุปรายงานจานวนผู้เข้าอบรม แยกประเภท ชาย หญิง เด็ก พระภิกษุ สามเณร แม่ชี ส่งผู้ดูแลสาขา ภายใน 3 วัน หลังสิ้นสุดการ อบรมแต่ละครั้ง
1. ฝ่ํายสถําน
ฝ่ํายสถํานท่ี ประกอบด้วยผู้ช่วยผู้ดูแลสาขา, อาจาริย สาสมาธิ, ครูสมาธิ (ผู้ที่เรียนจบหลักสูตรครูสมาธิ หรือเรียน จบหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ) ที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้ดูแล สาขา ให้เป็นคณะทางานฝ่ายสถานที่
36


หน้ําที่ควํามรับผิดชอบ
จัดเตรียมโต๊ะลงทะเบียน เก้าอ้ี และต้อนรับผู้เข้าอบรม บริเวณหน้าห้องเรียน
จัดเตรียมเก้าอ้ีน่ังให้เพียงพอตามจานวนผู้เข้าอบรม
ดูแลความสะอาด ห้องเรียน ห้องน้า ห้องอาหาร สถานท่ีเดินจงกรม-น่ังสมาธิ
จัดเตรียมเบาะน่ังสมาธิให้เพียงพอแก่ผู้เข้าอบรมพร้อม ดูแลความสะอาดของเบาะนั่ง
เตรียมเบาะนั่งสมาธิ กระด่ิง/ระฆัง นาฬิกาจับเวลา สาหรับใช้ในภาคปฏิบัติ
ประสานเร่ืองการจัดเตรียมอาหารตามจานวนให้เพียง พอแก่ผู้เข้าอบรม
จัดเก็บโต๊ะลงทะเบียน เก้าอี้ เบาะน่ังสมาธิ กระดิ่ง/ ระฆัง นาฬิกาจับเวลา เข้าที่เดิมให้เรียบร้อยหลังส้ินสุดการ อบรมแต่ละคร้ัง
3. ฝ่ํายโสตทัศนูปกรณ์
ฝ่ํายโสตทัศนูปกรณ์ ประกอบด้วยผู้ช่วยผู้ดูแลสาขา, อาจาริยสาสมาธิ, ครูสมาธิ (ผู้ท่ีเรียนจบหลักสูตรครูสมาธิ หรือเรียนจบหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ) ที่ได้รับการแต่งตั้ง จากผู้ดูแลสาขาให้เป็นคณะทางานฝ่ายโสตทัศนูปกรณ์
37


หน้ําที่ควํามรับผิดชอบ
จดั เตรยี มเครอ่ื งเสยี งไมโครโฟนติดต้ังโน้ตบุ๊ค โปรเจกเตอร์ ให้พร้อมใช้งาน
ทดสอบระบบเสียง และระบบภาพ
เปิดวีดิทัศน์/เพลง ของสถาบันพลังจิตตานุภาพ เปิดวีดิทัศน์ ประวัติพระอาจารย์หลวงพ่อฯ
เตรยี ม PowerPoint หวั ขอ้ บรรยาย สา หรบั อาจารยท์ กุ คน ท่ีจะบรรยายในหลักสูตรชินนสาสมาธิ 1 และชินนสาสมาธิ 2
4. ฝ่ํายพิธีกร
ฝ่ํายพิธีกร ประกอบด้วยผู้ช่วยผู้ดูแลสาขา, อาจาริยสาสมาธิ, ครูสมาธิ (ผู้ท่ีเรียนจบหลักสูตรครูสมาธิ หรือเรียนจบหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ) ท่ีได้รับการแต่งตั้ง จากผู้ดูแลสาขา ให้เป็นคณะทางานฝ่ายพิธีกร
หน้ําท่ีควํามรับผิดชอบ
กาหนดการตารางเวลาและหัวข้อการอบรม
นัดหมาย วัน-เวลา หัวข้อการอบรมกับอาจารย์ ผู้บรรยาย
ต้อนรับอาจารย์ผู้บรรยาย แนะนาประวัติอาจารย์ ผู้บรรยาย
38


Click to View FlipBook Version