The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำแนะนำการขุดปรับรูปแปลงตามหลักวิศวกรรม อาจารย์รักษ์เผ่า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Joom Jaruwan, 2021-03-17 04:49:13

คำแนะนำการขุดปรับรูปแปลงตามหลักวิศวกรรม อาจารย์รักษ์เผ่า

คำแนะนำการขุดปรับรูปแปลงตามหลักวิศวกรรม อาจารย์รักษ์เผ่า

คำแนะนำกำรใช้แบบและเทคนคิ กำรขุดปรับพนื้ ที่
ตำมหลักวศิ วกรรม

เรยี บเรียงโดย อ. รักษ์เผา่ พลรัตน์
ท่ีปรึกษาชมรมโคกหนองนา วศิ วะ ม.ขอนแกน่

หลกั กำรบรหิ ำรจดั กำรเพื่อปรับพ้นื ทีโ่ คกหนองนำ

หลกั กำรบรหิ ำรโครงกำรโคกหนองนำโมเดล
• กำรออกแบบแนวคิดโคกหนองนำโมเดล ( Conceptual Design )
• กำรพฒั นำแบบเพ่อื กำรปรบั พื้นท่ี ( Engineering / Construction Design )
• กำรปรบั พ้ืนท่ี ( Project Execution)

• ประเมนิ ความเสย่ี ง แผนการบรหิ ารจัดการความเส่ยี ง ( Risk Assessment )
• การวางแผนปฏบิ ตั งิ าน ( Project Execution Plan)
• การสารวจพน้ื ท่ี ( Site Survey )
• ปรบั แบบเพอ่ื การดาเนินการ ( Approved For Construction Design)
• การเตรียมการเขา้ พน้ื ทป่ี ฏบิ ัติงาน ( Mobilization and Site Clearance )
• การปฎิบัตงิ านตามแผนงาน ( Construction )
• แผนการควบคุม, กากับติดตาม และประเมนิ ผล ( Project Control , Monitoring and Assessment)
• การตรวจสอบ, ทดสอบการใช้งาน ก่อนการส่งมอบงาน ( Commissioning )

• กำรส่งมอบและตรวจรบั งำน ( Project Handover )
• โคกหนองนำสูก่ ำรปฏบิ ตั ิ ( Operation )

ข้นั ตอนกำรออกแบบแนวคดิ โคกหนองนำโมเดล

ด้วยแนวคดิ ประยกุ ตก์ าร
ออกแบบทางภมู สิ งั คมท่เี น้น
ปัจจยั การออกแบบทม่ี ีความ
สอดคล้องทั้งลักษณะทาง
กายภาพหรอื ภมู ศิ าสตร์กบั
สภาพทางสังคม ชีวติ ความ
เปน็ อยู่ ศลิ ปะวฒั นะธรรม ท่ี
สะท้อนภมู ปิ ญั ญาบรรพบรุ ษุ
ท่ีปรับใหเ้ ข้ากบั ความคิด
ริเร่ิมสงั สรรค์ตามยคุ สมยั ได้
อยา่ งลงตัว

ขั้นตอนกำรสร้ำงแบบวศิ วกรรมเพ่อื กำรขออนุญำตและปรบั พนื้ ท่ี

เปน็ ขั้นตอนการท่ีมีการประยุกตแ์ บบแนวความคิดสู่แบบดา้ นวิศวกรรมเพื่อการขออนุมัตกิ าร
ปรบั พน้ื ท่ี (Permit, Approve For Con.) ตามกฎหมายกาหนดและถูกต้องตามหลกั วิศวกรรม

แบบมำตรฐำนด้ำนวศิ วกรรม

แบบมำตรฐำนด้ำนวศิ วกรรม

แบบมำตรฐำนด้ำนวศิ วกรรม

ตวั อยำ่ งแบบวศิ วกรรม

กำรใชง้ ำนแบบมำตรฐำน

ประเภทแบบมำตรฐำน
1) แบบมาตรฐานตามสัดส่วนพ้นื ที่ (แกไ้ ขขอ้ ความ)
2) แบบบ่อหรือหนองมาตรฐาน (แบบ Catalog) ขนาดเดมิ
3) แบบบอ่ หรือหนองมาตรฐาน ( แบบ Catalog) ที่มีการ
ลดขนาดความกวา้ งบอ่ ไม่เกิน 8 เมตร

แบบมำตรฐำนตำมสัดสว่ นพ้นื ที่ (แก้ไขขอ้ ควำม)

แบบบ่อหรอื หนองมำตรฐำน (แบบ Catalog) ขนำดเดมิ

แบบบอ่ หรอื หนองมำตรฐำน ( แบบ Catalog)
ที่มีกำรลดขนำดควำมกวำ้ งบ่อไมเ่ กิน 8 เมตร

กำรใชง้ ำนแบบมำตรฐำน

ข้อกำหนดกำรใชง้ ำนแบบรำยละเอยี ดกำรปรับรูปแบบแปลงท่ีดนิ
1. แบบมาตรฐานไดจ้ ัดทาข้ึนตามหลักวชิ าชีพสถาปัตยกรรมศาสตร์และ

วศิ วกรรมศาสตร์ โดยยดึ หลกั การตามทฤษฎีใหมแ่ ละพืน้ ฐานการออกแบบเชิง
ภมู สิ ังคม หากมกี ารเปลี่ยนแปลงแบบผอู้ อกแบบควรจะตอ้ งเป็นผู้ท่ีมคี วามรู้
และความเข้าใจในหลักการออกแบบเชงิ ภูมิสงั คม, วิชาชพี สถาปัตยกรรม
ศาสตรแ์ ละวศิ วกรรมศาสตร์
2. แบบมาตรฐานไม่มีข้อกาหนดหรือข้อบงั คบั สาหรับ ขนาดหรอื รปู รา่ งของ รอ่ ง
นา้ , คลองไส้ไก่ หรือคลองต่าง ๆ ผใู้ ชส้ ามารถออกแบบใหมไ่ ด้โดยไม่ต้องให้
วิศวกรเซ็นรบั รอง แนะนาให้มกี ารขุดหน้าตดั เป็นรปู ส่ีเหลีย่ มคางหมูเพอื่
ปอ้ งกนั ดนิ พังทลาย และง่ายในการคานวณปรมิ าตรดนิ ขดุ และควรมีความลกึ
ไม่ควรเกนิ 3 เมตร

กำรใชง้ ำนแบบมำตรฐำน

ขอ้ กำหนดกำรใช้งำนแบบรำยละเอียดกำรปรับรูปแบบแปลงที่ดนิ

3. การเปลีย่ นแปลงแบบท่ีต้องการการออกแบบและเซน็ รับรองโดยวิศวกร คือ การเปล่ียนรปู ทรง
หนอง หรือขนาดของหนองทีท่ าให้ปริมาตรดินขุดเปลย่ี นไปจากปริมาตรดนิ ที่ไดร้ ะบใุ นแบบ

และการกระทาดังต่อไปนี้ไม่ถือว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบทีต่ อ้ งใหว้ ศิ วกรเซ็นรบั รอง

• การลดหรอื เพ่มิ จานวนหนอง (แบบมาตรฐาน) โดยจะตอ้ งไมก่ ระทบกบั ปรมิ าตรดนิ ขดุ
• การปรบั เปลีย่ นรปู แบบหรือขนาดของ คลอง,ร่องน้า, คลองไส้ไก่
• การปรับหมนุ ทศิ ของหนอง
• การปรับตาแหนง่ ของ โคก, หนอง หรอื นา
• การปรบั รูปทรงแปลงนาจากแบบมาตรฐาน
• การลดความลกึ ของหนอง

• หากใชแ้ บบหนองมาตรฐานตาม Catalog ท่มี กี ารคานวณปริมาณดินขุดทุก 50 เซนติเมตร สามารถขออนมุ ตั ิการเปลย่ี นแบบ
จากผู้มอี านาจไดเ้ ลย

• หากใช้แบบมาตรฐานเดิม จะต้องมกี ารคานวณปรมิ าตรดินขดุ ใหม่ และแจ้งผูม้ อี านาจเพ่ืออนมุ ตั กิ ่อนการเปลี่ยนแบบ

กำรใช้งำนแบบมำตรฐำน

ข้อกำหนดกำรใช้งำนแบบรำยละเอียดกำรปรบั รูปแบบแปลงทดี่ นิ
4. รูปทรงของหนองใหเ้ ปน็ ไปตามแบบแนวคดิ ทางภูมิสังคม (เลยี นแบบธรรมชาต)ิ หากมีความตอ้ งการ
เปลยี่ นแปลงขนาดหรอื รูปทรงของหนองเจา้ ของพ้นื ทจ่ี ะเป็นผ้รู บั ผดิ ชอบในการจัดทาแบบใหมต่ ามความตอ้ งการ
ของตนเองและต้องแจง้ ขอยกเลกิ การใชแ้ บบมาตรฐาน
5. ปรมิ าณน้าฝนเฉล่ีย, จานวนหนอง,ขนาด หรือปรมิ าตรดนิ ขุดท่ีระบุในแบบแนวคิดทางภมู ิสังคม (รูปกราฟฟิก)
ไมส่ ามารถนาไปอา้ งองิ ในการขุดปรบั พ้ืนทไ่ี ด้
6. ผู้ใช้งานแบบโดยความยนิ ยอมจากเจ้าของท่สี ามารถปรับเปลีย่ นตาแหน่งของหนอง, นาและโคกไดต้ ามข้อจากดั
ในพืน้ ท่ี เชน่ มตี ้นไมข้ วาง แตห่ ้ามเปล่ยี นรปู ทรงและขนาดของหนองเพราะจะมีผลต่อการคานวณปริมาตรดนิ ขดุ
หากมีการปรบั รูปทรงจะถือวา่ แบบมาตรฐานใช้อ้างองิ ไม่ได้
7. แบบทางวศิ วกรรมจะเป็นแบบที่ให้รายละเอยี ดงานปรบั รปู แปลงทดี่ นิ ท่ไี ด้รบั การออกแบบและคานวณปริมาตร
ดินขดุ ที่จะใช้ในการตรวจรับงาน ดังน้นั หากเจา้ ของพื้นท่เี ลอื กใช้แบบมาตรฐานในการปรับรูปแปลงที่ดนิ และขดุ
หนองเปน็ ไปตามรูปทรง, ขนาดท่ีระบใุ นแบบมาตรฐานวิศวกรรมนั้น ให้คิดปรมิ าตรดินขุดท่ีเกิดจากการขดุ หนอง
ตามทร่ี ะบใุ นแบบมาตรฐานวศิ วกรรมนัน้ ๆ

กำรใชง้ ำนแบบมำตรฐำน

ขอ้ กำหนดกำรใช้งำนแบบรำยละเอยี ดกำรปรบั รปู แบบแปลงท่ีดนิ
8. จานวนของหนองไม่จาเปน็ จะตอ้ งขุดตามจานวนทรี่ ะบใุ นแบบมาตรฐานวิศวกรรม โดยปรมิ าตรดนิ ขุดในการ
ตรวจรบั งานจะคดิ จาก

8.1 ปรมิ าตรดินขุดหนองตามจานวนหนองทีข่ ดุ จริงในพื้นท่ีที่เข้าโครงการ เช่น ในแบบมาตรฐานวิศวกรรม
ระบุ 2 หนอง แต่เจา้ ของท่ีตอ้ งการขุดแค่ 1 หนอง เพราะฉะน้นั ปริมาตรดนิ ขุดหนองจะคิดแคห่ นองเดียว
ส่วนปริมาตรดินขดุ ของหนองท่ีไม่ได้ขุดสามารถนาไปขุดร่องน้า, คลอง หรอื คลองไส้ไก่ ในพนื้ ทที่ ี่เข้า
โครงการได้ แต่ตอ้ งมปี ริมาตรดนิ ขุดรวมกันทั้งหมดไม่เกินทกี่ าหนดในแบบมาตรฐานวิศวกรรม
8.2 ปรมิ าตรดินท่ขี ดุ ได้จริงจากคลอง, คลองไส้ไก่หรอื ร่องนา้ (รูปทรงสเี่ หลี่ยมคางหมู)
8.3 ปริมาตรดนิ ทีไ่ ม่ไดข้ ดุ หนองสามารถนาไปใชใ้ นการขดุ คลอง, คลองไสไ้ ก่ หรือร่องน้า แตป่ รมิ าตรดนิ รวม
ตอ้ งไม่เกินปรมิ าตรดนิ รวมทร่ี ะบุในแบบ เชน่ พืน้ ทีข่ นาด 3 ไร่ ท่ีระบปุ ริมาตรดนิ ขุด 4,000 ลบ.ม มีการระบุ
จานวนหนอง 2 หนอง แตเ่ จ้าของทไ่ี มต่ อ้ งการขดุ หนองเนือ่ งจากมีอยูแ่ ลว้ ดงั น้นั เจ้าของท่ีสามารถขุดรอ่ งน้า
, คลอง หรือคลองไส้ไก่ ในพ้นื ท่ที ี่เข้าโครงการได้ แตต่ ้องมีปริมาตรดินขดุ รวมไมเ่ กนิ 4,000 ลบ.ม

กำรใช้งำนแบบมำตรฐำน

ข้อกำหนดกำรใชง้ ำนแบบรำยละเอียดกำรปรบั รปู แบบแปลงที่ดิน
9. รูปทรงของคลองไส้ไก่ใหข้ ดุ ภาคตัดขวางเปน็ รปู สีเ่ หลี่ยมคางหมูเพื่อสะดวกในการคานวณและตรวจนบั ปรมิ าตร
ดนิ ขุด
10. การขุดดินหรือขนดินนอกพนื้ ที่ท่กี าหนดเข้าโครงการ ถงึ แม้จะเปน็ ท่ีดนิ แปลงเดยี วกนั ขอใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินจิ
ของผ้ตู รวจรบั มอบงาน เชน่ เขา้ โครงการ 3 ไร่ แตพ่ ื้นท่ดี นิ ท้ังแปลง 10 ไร่ การขดุ หนองหรือคลอง,รอ่ งน้าควรขดุ
ปรับในพน้ื ท่ี 3 ไร่ เท่าน้นั
11. ในสว่ นการออกแบบความลาดเอยี งหนองในแบบมาตรฐานวศิ วกรรม วิศวกรใชข้ ้อมูลคณุ สมบตั ดิ นิ ตามคา่
มาตรฐานชดุ ดิน จึงไมส่ ามารถใช้ค่าความลาดเอยี ง, ขนาดตะพักชานพกั หรือความลึกในแบบมาตรฐานวิศวกรรม
เปน็ การยนื ยันการปอ้ งกนั การพงั ทะลายของดินได้ หากเจ้าของพืน้ ที่ต้องการทราบเสถียรภาพของดนิ อย่างชัดเจน
เจา้ ของพน้ื ทส่ี ามารถนาดินในพ้ืนท่ีไปตรวจสอบคณุ สมบตั ทิ ่ีสถาบนั ตรวจสอบคณุ สมบัตดิ ินมาตรฐาน เช่น ใน
ห้องปฏบิ ัติการมหาวิทยาลัย แลว้ นาไปคานวณคา่ เสยี รภาพของดินโดยวิศวกร
12. หากเจ้าของพนื้ ที่มีการเปลยี่ นแปลงรูปทรงหนอง, ขนาดของหนอง เจ้าของพน้ื ท,่ี ผคู้ วบคมุ งาน และผู้ตรวจรับ
มอบงาน ไมส่ ามารถใชแ้ บบมาตรฐานวิศวกรรมในการอา้ งองิ ใด ๆท้ังส้ิน

ข้นั ตอนกำรใชแ้ บบมำตรฐำน

ข้นั ตอนกำรใชแ้ บบมำตรฐำน

ข้นั ตอนกำรใชแ้ บบมำตรฐำน

ข้นั ตอนกำรใชแ้ บบมำตรฐำน

ข้นั ตอนกำรใชแ้ บบมำตรฐำน

ข้นั ตอนกำรใชแ้ บบมำตรฐำน

ข้นั ตอนกำรใชแ้ บบมำตรฐำน

คำแนะนำกำรตรวจรับงำน

กำรประเมินควำมเสีย่ งในกำรปรับพื้นท่ี

ควำมเสย่ี งและกำรบริหำรจดั กำร

ควำมเสี่ยง แนวทำงปฏบิ ัติเพ่อื ลดควำมเสยี่ ง

สภาพพนื้ ทเี่ ข้าถึงได้ยาก มอี ุปสรรคในการเขา้ ถึง เชน่ ทางเขา้ ออก • สารวจพ้ืนที่และวางแผนการเขา้ พนื้ ทีพ่ รอ้ มประสานงานกบั พ้นื ที่
พื้นที่มขี อ้ จากดั รอบข้างให้เรยี บร้อย

ราคาการปรับพื้นที่เกนิ งบประมาณ เนื่องจากปริมาณงานหรือเวลาใน • กาหนดขอบเขตในการทางาน เง่อื นไขการทางานให้มคี วาม

การทางานล่าช้าไม่เป็นไปตามแผนงาน ชัดเจนและมเี อกสารหรือสัญญากาหนด

• มีการตรวจสอบ ติดตามประเมิณผลพรอ้ มรายงานสมา่ เสมอ

สภาพภูมิอากาศ, สภาพแวดล้อมในการทางานท่เี ปน็ อปุ สรรค เชน่ • หลกี เล่ยี งการขดุ ปรบั ในช่วงฤดูมรสุม
การขดุ ปรับในช่วงหนา้ ฝน, สภาพพ้ืนทน่ี า้ ท่วมขังตลอดเวลา • เตรยี มขอ้ มลู ดา้ นการพยากรณ์และคาดการสภาพอากาศ เพือ่ ใช้

ในการวางแผนการทางาน

การขดุ ปรบั ส่งผลกระทบต่อแปลงรอบขา้ ง เชน่ ดินทรุดตัว, นา้ ซึมจาก • ควรมีการขออนญุ าตขดุ อยา่ งถกู ต้องตามกฎหมาย

แปลงดา้ นขา้ ง • ควรมกี ารส่อื สารแปลงรอบขา้ งให้รับทราบ

เคร่อื งจกั รเสียระหว่างการทางาน • มีการตรวจสอบสภาพเครอ่ื งจกั รสมา่ เสมอ

อบุ ตั ิเหตุจากการทางาน เช่น คนทางานใกล้เครื่องจักร, ดนิ โคลนถล่ม • มกี ารประเมนิ การทางานคน-เครือ่ งจกั ร และชี้บง่ สถานท่ีอันตราย

กำรวำงแผนกำรปฎบิ ัตงิ ำน

ตวั อย่ำงแผนกำรปฎิบัตงิ ำน

งำนสำรวจพ้นื ท่เี พื่อกำรประเมนิ ควำมเส่ยี งและแผนกำรปฏบิ ตั งิ ำน

กำรสำรวจพืน้ ทเี่ พ่อื กำรประเมนิ ควำมเสี่ยง
และแผนปฏิบัตงิ ำน
• ทศิ ทางลมและแสง
• ลักษณะของพ้นื ดินและประเภทดนิ
• ความลาดเอียงสูงต่าในพืน้ ท่ี
• ร่องน้า, ทางน้า, จดุ นา้ ทว่ มขงั
• ตาแหนง่ ของตน้ ไม้, ประเภทตน้ ไม้, พันธไ์ ม้
• ทางเข้าออกพ้ืนท่ี
• พนื้ ทโ่ี ดยรอบ
• แหล่งน้าสาธารณะ
• ถนนสาธารณปู โภคในพืน้ ท่แี ละพืน้ ที่

โดยรอบ
• จุดพกั สาหรบั ผปู้ ฏิบัติงาน

กำรเตรียมพืน้ ท่ีก่อนเข้ำปฏิบัตงิ ำน

กำรเตรียมพืน้ ทีใ่ นกำรปฎิบตั งิ ำน
• ทางเขา้ สาหรับเคร่อื งจกั ร
• พน้ื ทพ่ี กั สาหรบั ผปู้ ฏิบัติงาน
• การกาหนดจดุ การขุดปรับโดย

การใช้ปูนขาว หรือวัสดอุ นื่ ๆ
• จุดจอดซอ่ มบารุงเครอื่ งจักร

วศิ วกรรม โคก
หนองนา

เทคนคิ กำรขดุ ปรับตำมหลักวศิ วกรรมโคกหนองนำ

หลักกำรกำรขดุ ปรบั โคกหนองนำ

หลกั กำรขดุ หนอง
• ขุดหนองเป็นรูปทรงอสิ ระ เลียนแบบธรรมชาติ
• ขุดหนองแบบเล็กแตล่ กึ กระจายตัวท่ัวพื้นที่

และเชอื่ มกันดว้ ยคลองไสไ้ ก่
• หนองต้องมีความลกึ แตกต่างกัน
• หนองต้องมีตะพักหรือชานพกั เพอ่ื ให้เป็นที่อยู่

และแหลง่ อาหารของปลา
• จะตอ้ งมีการป้องกันการระเหยของน้า (น้าจะ

ระเหยจากแสงแดด วนั ละ 1 เซนตเิ มตร)
• จะต้องมีการป้องกันการซมึ น้าในกรณดี นิ ทราย
• เมอ่ื ขุดเจอหินหรือเจอน้าซมึ นา้ ซับตอ้ งหยดุ ขดุ

เพือ่ ทาการประเมนิ ก่อน

เทคนิคกำรขดุ ปรบั ในกรณมี ีตน้ ไม้เดมิ ในพ้ืนที

เพ่อื เปน็ กำรอนุรักษต์ ้นไม้
ในพืน้ ท่ีและปอ้ งกนั กำรทรุด
ตัวในอนำคต ก่อนกำร
กำหนดแนวขุดจะตอ้ งมกี ำร
สำรวจต้นไมใ้ นจุดทจ่ี ะทำ
กำรขุดปรับ โดยจะต้องเว้น
ระยะรน่ จำกแนวตน้ ไมว้ ดั
จำกแนวทรงพมุ่ ห่ำงออกมำ
3 – 5 เมตร เพือ่ ปอ้ งกัน
ไม่ให้เครอื่ งจกั รมโี อกำส
ทำลำยรำกไมแ้ ละหนำ้ ดนิ

เทคนิคกำรปรับแตง่ ตะพักเพื่อชะลอดนิ พงั

กำรปรับควำมลำดเอยี งของขอบ
หนองเพอ่ื ป้องกนั ดินพงั ใหพ้ จิ ำรณำ
ตำมลกั ษณะประเภทของดิน
1) ดนิ เหนียว ควำมลำดเอยี ง

ประมำณ 53 ๐ หรอื อตั รำ 2:1
2) ดนิ ร่วนปนทรำย ควำมลำดเอียง

ประมำณ 45 ๐หรืออตั รำ 1:1
3) ดนิ ทรำย ควำมลำดเอียง

ประมำณ 34 ๐หรอื อัตรำ 1:2
ท้ังนคี้ วำมลึกของหนองจะขน้ึ กับ
ขนำดควำมกว้ำงของหนองและควำม
ลำดเอียงของตะพักหรือชำนพกั

กำรทดสอบประเภทของดนิ B

A ดินเหนียว (>1.5 Ton / ft2) จะคงรปู ไม่
เปล่ยี นหรอื หลุดรว่ งเม่อื ป้นั เปน็ รูปดินสอ
B ดินรว่ มปนทรำย (0.5 - 1.5 Ton / ft2) ปน้ั
เปน็ รปู ดินสอได้ แตเ่ มือ่ ยกขี้นจำดและหลุด
C ดนิ ทรำย (<0.5 Ton / ft2 )ไมส่ ำมำถขน้ึ
เปน็ รปู ดนิ สอได้

A

ประโยชน์ของตะพักและกำรขุดหนองที่มรี ะดับควำมลกึ แตกตำ่ งกัน

กำรออกแบบหนองที่เลียนแบบธรรมชำติด้วยกำรสร้ำงตะพกั หรอื ชำนพัก เพือ่ ใหเ้ กิดระบบนิเวศที่สมดลุ ในน้ำและสรำ้ งแหล่งอำหำรและที่
วำงไข่ให้กบั ปลำ สำหรำ่ ยจะทำหนำ้ ทีส่ งั เครำะห์แสงเพ่อื สรำ้ ง O2 และสำหร่ำยยงั เป็นอำหำรของไรแดงหรือแพลงตอนซึ่งเป็นอำหำรของ
ปลำหรอื สตั วน์ ำ้ อ่ืน กำรขุดให้มคี วำมลึกแตกต่ำงกนั ก็เพื่อใหเ้ กิดกำรหมนุ เวยี นของกระแสนำ้ และกำรถ่ำยเท O2 ทำใหน้ ำ้ ไม่เน่ำเสีย

เทคนคิ กำรปรับแตง่ ตะพกั เพอ่ื ชะลอดนิ พงั 1

กำรปรบั ระดบั ของตะพกั หรอื ชำนพักให้มีควำมลำดเอียงเขำ้ หำขอบหนองเลก็ น้อย
(ตำมรปู ) แลว้ ใช้แรงกดของรถขุดบดอัดใหแ้ น่น จะช่วยชะลอกำรพงั ของหนำ้ ดนิ

กำรปรบั ควำมลำดเอยี งเพ่ือ
ชะลอน้ำฝนกัดเซำะชำนพัก
ในแนวระนำบ และทำให้ดนิ
บริเวณนัน้ เซต็ ตวั แบบ
uniform

เทคนคิ กำรปรับแตง่ ตะพกั เพอ่ื ชะลอดนิ พงั 1

กำรปรบั ระดบั ของตะพกั หรอื ชำนพักให้มีควำมลำดเอียงเขำ้ หำขอบหนองเลก็ น้อย
(ตำมรปู ) แลว้ ใช้แรงกดของรถขุดบดอัดใหแ้ น่น จะช่วยชะลอกำรพงั ของหนำ้ ดนิ

กำรปรบั ควำมลำดเอยี งเพ่ือ
ชะลอน้ำฝนกัดเซำะชำนพัก
ในแนวระนำบ และทำให้ดนิ
บริเวณนัน้ เซต็ ตวั แบบ
uniform

เทคนิคกำรปรบั แตง่ ตะพกั เพื่อชะลอดนิ พงั 2

ตำรำงคำนวณควำมลำดเอยี งขอบหนองตำมประเภทของดิน

ตำรำงควำมลำดเอยี งขอบหนอง,ควำมลกึ , จำนวนตะพัก ตำมประเภทดนิ

ตำรำงคำนวณเสถยี รภำพของดนิ ตำมควำมลำดเอยี ง

กำรคำนวณพ้นื ท่ขี องระดบั ชั้นควำมสูงโดยวิธเี ส้นกริด

กำรคำนวณปรมิ ำตรดนิ ขดุ วิธีเส้นชัน้ ควำมสูง

If volumes are needed quickly, and the only information that is available consists of contours from a topographic map, the
method of contours can be used. This involves identifying on a topographic map the area that will be cut or filled, and
determining the area of the contour that will be enclosed. The area of each contour that will be covered will need to be
determined. To obtain the volume, the areas of adjacent contours are averaged and multiplied but the contour interval
(Crawford, 2008).

ปรมิ าตรดนิ ขดุ = ระดบั ความตา่ งเสน้ ความส
คา่ เฉลยี่ ผลรวมพนื้ ทหี่ น้าตดั ของเสน้ ชน้ั คว

where C is the contour interval, A1 is the area enclosed by one contour and A2 is the area enclosed by the
next contour. As shown in section 3, this is an approximation not a precise approach.

กำรคำนวณปรมิ ำตรดินขุดวิธเี ส้นชน้ั ควำมสูง

กำรคำนวณปรมิ ำตรดินขุด ด้วยกำรใชว้ ธิ ี Contour Method

หลกั การคานวณ คอื การใช้พื้นทห่ี นา้ ตดั แตล่ ะ Layer ในการหาปริมาตรดินขุด โดยสูตรดังนี้
ปรมิ าตรดินขดุ = ½ x (พ้นื ทห่ี น้าตัดบน + พน้ื ทีห่ น้าตดั ลา่ ง) x ความสงู หรือความลึกในแตล่ ะ Layer

ตวั อยา่ ง Layer ท่ี 1 = ½ x ( 37.98 + 29.83 ) x 0.71 = 24.07 ลบม.

คลองเชื่อมหนอง

คลองเชื่อมหนอง

กำรคำนวณปรมิ ำตรดนิ ขุดของคลองเช่อื มหนอง

กำรซมึ น้ำของหนอง

กำรลดอตั รำกำรซมึ นำ้ ของหนองแบบคนจน ดว้ ยภูมปิ ญั ญำบรรพบรุ ษุ
(เทคนิค ข.ส.ฟ. – ขเ้ี สรมิ ฟำง)

กำรลดอตั รำกำรซมึ น้ำดว้ ยทฤษฎีหญำ้ แฝก


Click to View FlipBook Version