The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้ วิชา IS เทอม 1 ปี 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kritsahna Suwan, 2022-05-21 04:21:31

ใบความรู้ วิชา IS เทอม 1 ปี 65

ใบความรู้ วิชา IS เทอม 1 ปี 65

……………………….………………………………
…….. …... …….

คำนำ

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การศกึ ษาคนควาและสรางองคความรู รหัสวชิ า I 20201 ระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปที่ 2 จัดทำขึ้นเพ่ือเปนแนวทางในการจัดการเรียนรูรายวิชา IS ใหสอดคลองตามแนวทางการจัดการ
เรียนการสอนของหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล โดยไดศึกษาเอกสารหลักสูตร โครงสรางขอบขายการจัดการ
เรียนรู มาตรฐานและตัวชี้วัด เพ่ือกำหนดกรอบในการจัดการเรียนการสอน และบูรณาการการเรียนการสอนตาม
ความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพตามความมงุ หมายของสถานศึกษาตอไป

ผูจัดทำหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้จะเปนประโยชนแกผูเรียนและ
ผทู ี่สนใจตอไป

ผูจดั ทำ

สารบญั

หนา
คำนำ………………………………………………………………………………………………………………………………………. ก
สารบญั ……………………………………………………………………………………………………………………………………. ข
บนั ได 5 ขน้ั ของการพัฒนาผเู รยี นสูม าตรฐานสากล…………………………………………………………….………… 1
การศกึ ษาคนควาดวยตนเอง………………………………………………………………………………………………………. 2
รายงานทางวิชาการ………………………………………………………………………………………………………………….. 3
รูจกั ปญหา................................................................................................................................................ 5
การตง้ั คำถาม……………………………………………………………………………..……………………………………………. 6
การตง้ั สมมติฐาน………………………………………………………………………………………………………………………. 10
ตวั แปร…………………………………………………………………………………………………………………………………….. 14
การเลอื กประเดน็ ปญ หา…………………………………………………………………………………………………………….. 15
การตงั้ ชื่อเร่ือง………………………………………………………………………………………………………………………….. 19
ขอ มลู และการจำแนกขอ มลู ……………………………………………………………………………………………………….. 20
แหลง ขอ มูลหรือแหลง การเรยี นรู……………………………………………………………………….……………………….. 22
การเกบ็ รวบรวมขอ มูล.............................................................................................................................. 24
การจดั หมวดหมูขอมูล……………………………………………………………………………………………………………….. 29
การสรุปผลการจดั หมวดหม.ู ..…………………………………………………………………………………………………….. 33
การนำเสนอขอ มูล………………………………………………………………………………………………………………….…. 36
บรรณานุกรม............................................................................................................................................ 40

1

บันได 5 ขน้ั ของการพัฒนาผเู รยี นสมู าตรฐานสากล
(Five steps for student development)”

การจัดการเรียนการสอนเพ่ือใหผูเรียนมีคุณลักษณะและศักยภาพความเปนสากล คือ เปนบุคคลที่มี
คณุ ภาพ มีทกั ษะในการคน ควา แสวงหาความรูและมีความรูพื้นฐานทีจ่ ำเปน สามารถคิดวเิ คราะห สังเคราะห
สรา งสรรค สามารถส่อื สารอยางมีประสิทธผิ ล มีทักษะชวี ิต รวมมือในการทำงานกับผูอ ืน่ ไดเปนอยางดี จะตอง
มีกระบวนการจดั การเรยี นรอู ยา งตอเนอ่ื ง มีลำดับข้ันตอนทเ่ี หมาะสม และสอดคลอ งกบั พฒั นาการของผูเรยี น
ในแตละระดับช้ัน โดยมีกระบวนสำคัญในการจัดการเรียนรู เรียกวา บันได 5 ข้ันของการพัฒนาผูเรียนสู
มาตรฐานสากล (Five steps for student development) ไดแก

1. การตง้ั คำถาม/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
เปนการฝกใหผูเรยี นรูจกั คดิ สงั เกต ต้ังคำถามอยางมเี หตุผลและสรางสรรค ซ่ึงจะสง เสรมิ ใหผ ูเรียน

เกดิ การเรียนรใู นการต้ังคำถาม (Learning to Question)
2. การสืบคน ความรแู ละสารสนเทศ (Searching for Information)
เปน การฝกแสวงหาความรู ขอมูล และสารสนเทศจากแหลงเรียนรูอยา งหลากหลาย เชน หองสมุด

อินเทอรเน็ต หรือจากการฝกปฏิบัติ ทดลอง เปนตน ซ่ึงจะสงเสริมเกิดการเรียนรูในการแสวงหาความรู
(Learning to Search)

3. การสรา งองคค วามรู (Knowledge Formation)
เปนการฝกใหผูเรียนนำความรูและสารสนเทศที่ไดจากการแสวงหาความรู มาถกแถลง อภิปราย

เพ่ือนำไปสูการสรปุ และสรางองคค วามรู (Learning to Construct)
4. การสอ่ื สารและนำเสนออยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ (Effective Communication)
เปนการฝกใหผูเรียนนำความรูที่ไดมาสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพซ่ึงจะสงเสริมใหผูเรียนเกิดการ

เรยี นรูและมที ักษะในการส่ือสาร (Learning to Communicate)
5. การบรกิ ารสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service)
เปนการนำความรูสูการปฏิบัติ ซึ่งผูเรียนจะตองเช่ือมโยงความรูไปสูการทำประโยชนใหกับสังคม

และชุมชนรอบตัวตามวุฒิภาวะของผูเรียนและจะสงผลใหผูเรียนมีจิตสาธารณะและบริการสังคม (Learning
to Serve)

2

การศกึ ษาคนควาดวยตนเอง (Independent Study : IS)

การจัดกระบวนการเรยี นรตู ามบันได 5 ขั้น สามารถดำเนินการไดห ลากหลายวิธีและการใหผ ูเรียนได
เรียนรูสาระการศึกษาคนควาดวยตนเอง (Independent Study : IS) นับเปนวิธกี ารที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่ง
ที่ใชกนั อยางกวางขวางในการพัฒนาผูเรยี น เพราะเปน การเปดโลกกวางใหผ เู รยี นไดศ กึ ษาคนควา อยา งอิสระใน
เรื่องหรือ “การศึกษาคนควาดวยตนเอง (Independent Study : IS)”ซึ่งจัดเปนสาระการเรียนรู 3 สาระ
ประกอบดวย

IS 1 - การศึกษาคนควาและสรางองคความรู (Research and Knowledge Formation) เปน
สาระท่ีมุงใหผ ูเ รียนกำหนดประเด็นปญหา ตั้งสมมติฐาน คนควา แสวงหาความรูและฝก ทกั ษะการคิดวเิ คราะห
สังเคราะหแ ละสรางองคความรู

IS 2 - การสื่อสารและการนำเสนอ (Communication and Presentation) เปนสาระท่ีมุงให
ผูเรียนนำความรูที่ไดรับมาพัฒนาวิธีการการถายทอด/สื่อสารความหมาย/แนวคิด ขอมูลและองคความรู
ดวยวธิ กี ารนำเสนอทเ่ี หมาะสม หลากหลายรปู แบบ และมปี ระสิทธิภาพ

IS 3 - การนำองคความรูไปใชบริการสังคม (Social Service Activity) เปนสาระที่มุงใหผูเรียน
นำ/ประยุกตองคความรูไปสูการปฏิบัติ หรอื นำไปใชใหเกิดประโยชนตอสังคม เกิดบริการสาธารณะ (Public
Service) โรงเรียนตองนำสาระการเรียนรูการศึกษาคนควาดวยตนเอง (Independent Study : IS) ไปสูการ
เรียนการสอนในลักษณะของหนวยการเรียนรูรายวิชาเพ่ิมเติม หรือกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตามแนวทางที่
กำหนด โดยพิจารณาใหสอดคลองกับบริบทและพัฒนาการวัยของผูเรียนซึ่งอาจแตกตางกันในระดับประถม
มธั ยมศึกษาตอนตน และตอนปลาย

การศึกษาอิสระ หรอื การคน ควา อสิ ระ (องั กฤษ: independent study หรือ directed study) เปน
การศึกษารูปแบบหน่ึงที่ผูเรียนศึกษา คนควา วิจัยอยางอิสระในหัวขอที่ตกลงกัน นอกเหนือจากการเรียนใน
ชน้ั เรยี นตามหลักสตู รปกตขิ องสถานศึกษา

หวั ขอที่ศึกษาข้ึนอยูกับการตกลงกันระหวางผูเรยี นและอาจารยภายใตกรอบท่ีสถานศึกษากำหนด ซ่ึง
มักกำหนดสาขาวิชาที่ใหศึกษา ระยะเวลา ความยากงาย ปริมาณเนื้องานที่ตองศึกษาและวิธีการประเมินผล
เอาไว

เม่ือไดหัวขอ ผเู รียนทำการศึกษาในเร่ืองท่ไี ดร ับอนุมัติใหศึกษาดว ยตนเอง ภายใตการกำกับดูแลของท่ี
ปรึกษา ระดับของการกำกับดแู ลอาจมากนอยตางกันตามขอกำหนดของวิชาการศึกษาอิสระในระดับที่ศึกษา
โดยทั่วไปในระดับมัธยมศึกษามักตองการคำแนะนำอยางใกลชิดจากที่ปรึกษา ในขณะที่ผูเรียนระดับ
บณั ฑิตศกึ ษาอาจไดรับคำปรึกษาที่คอนขางจำกัด เมื่อเสร็จส้ินการศึกษามกั มีการประเมินผลโดยใหผูเรียนทำ
รายงานสรุปผลการศกึ ษาและ/หรือนำเสนอปากเปลา ผลการเรียนของการศึกษาอิสระอาจเปน คะแนนระดับ
ตาง ๆ หรือ ใหแตเ พียงผานหรอื ไมผ านกไ็ ด

3

รายงานทางวชิ าการ

รายงานทางวิชาการ คือ การนำเสนอผลการศึกษาคนควาความรูเรื่องใดเร่ืองหนึ่งอยางมีระบบ
แลวนำมาเรียบเรียงโดยมีการอางอิงแหลงขอมูลที่ใชศึกษาคนควา เพ่ือประกอบการศึกษาในรายวิชาใดวิชา
หนึ่ง

ประเภทของรายงานทางวิชาการ
รายงานทางวิชาการทีจ่ ดั ทำขึน้ เพอ่ื ประกอบการศึกษา สามารถจำแนกได ดังน้ี
1. รายงาน (Report) เปนการคนควาเรื่องราวที่เกี่ยวของกับวิชาท่ีเรียน อาจเปนปญหาหรือขอมูล

ท่ตี องการศึกษาเพ่ิมเตมิ โดยผูสอนมจี ุดมุงหมายใหผูเรียนเสนอท้งั ขอ เท็จจริงและขอ คิดเห็นของผูรหู รือตนเอง
ทั้งน้ี ผูเรียนตองมีความคิดและจุดมุงหมายของตนเองเปนพ้ืนฐาน แลวจึงศึกษาคนควาเรียบเรียงอยางเปน
ระบบ

2. โครงงาน (Project) เปนการศึกษาคนควาตามความสนใจ ความถนัด และความสามารถ
ของผูเรยี น โดยใชกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรทำการคนหาคำตอบหรือผลงานซึ่งมีความสมบูรณในช้ินงาน
โดยนักเรียนเปนผูวางแผนการศึกษาคนควา ดำเนินการดวยตนเองเพื่อใหเกิดการเรียนรู มีเจตคติท่ีดี
ตอกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร โดยครูเปนเพียงผูใ หคำปรึกษาเทา นน้ั มีท้ังหมด 4 ประเภท ดงั น้ี

2.1 ประเภทการทดลอง เปนโครงงานท่ีมีวัตถปุ ระสงค เพื่อการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ
โดยศึกษาหลักการและออกแบบการคนควาในรูปแบบการทดลองเพ่ือศึกษาตัวแปรหน่ึงที่มีผลตอตัวแปร
ท่ีตองการศึกษา เพื่อยืนยันหลักการ ทฤษฎี เพ่ือศึกษาหาแนวทางในการเพ่ิมคุณคา และการใชประโยชนให
มากข้ึน เชน การศึกษาประสทิ ธิภาพการปอ งกนั ยงุ ดว ยสมุนไพร การศกึ ษาการทำถานผลไมด ูดกลนิ่ เปนตน

2.2 ประเภทการสำรวจ เปนโครงงานที่มีวัตถุประสงคในการรวบรวมขอมูลเรื่องใดเรื่องหน่ึง
แลวนำขอมูลน้ันมาจำแนกเปนหมวดหมูในรูปแบบที่เหมาะสม ขอมูลท่ีไดจะนำไปปรับปรุงพัฒนาผลงาน
สงเสริมผลผลิตใหมีคุณภาพดียิ่งขึ้น ขอมูลดังกลาวอาจมีผูจัดทำขึ้นแลว แตมีการเปลี่ยนแปลงจึงตองมีการ
จัดทำใหมเพื่อใหมีความทันสมัย สอดคลองกบั ความตองการของผูศึกษาโครงงาน โดยใชวธิ ีการเกบ็ ขอมูลดวย
แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ แบบบันทึก เชน การสำรวจความพึงพอใจในการใชหองน้ำของนักเรียนโรงเรียน
สระบรุ ีวิทยาคม เปน ตน

2.3 ประเภททฤษฎี เปนโครงงานที่มีวัตถุประสงคเพื่อเสนอความรู หรือหลักการใหม ๆ เก่ียวกับ
เร่อื งใดเรื่องหนึ่งท่ียงั ไมมีใครเคยคิด หรอื คิดขดั แยง หรือขยายจากของเดมิ ที่มีอยู จากเนื้อหาวิชาการ หลักการ
ทฤษฎีตาง ๆ นำมาปรับปรุง พัฒนา ใหสอดคลอ งมีความชัดเจน มีผลงานท่ีเปนรูปธรรม ซึ่งตองผา นการพสิ ูจน
อยา งมหี ลักการและเชอ่ื ถือได

4

2.4 ประเภทการสรางและพัฒนาส่ิงประดิษฐ เปนโครงงานที่มีวัตถุประสงค คือ การนำความรู
ทฤษฎี หลักการ มาประยุกตใช โดยประดษิ ฐเปนเครื่องมือ เครอ่ื งใชตาง ๆ เพื่อประโยชนตาง ๆ หรอื อาจเปน
การสรางสรรคส่ิงประดิษฐขึ้นมาใหม หรือปรับปรุงของเดิมใหดีข้ึนใชประโยชนไดมากย่ิงข้ึน เชน การศึกษา
การทำเคร่ืองหยอดปยุ เปนตน

3. รายงานประจำภาค หรือ ภาคนิพนธ (term paper) เปนการศึกษาคนควาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
โดยเฉพาะ อาจเปน หัวขอ สำคัญทีย่ ังไดเรียนหรือมีเวลาเรียนไมมาก ผสู อนจึงมอบหมายใหผ ูเรียนศกึ ษาคนควา
เพิ่มเติม ผูเ รียนจึงตองศึกษาคนควาอยา งลึกซ้ึงมากกวา รายงาน แตม ีขอบเขตจำกดั กวาวทิ ยานิพนธ

4. รายงานการวิจัย (research) เปนการศึกษาคนควาหาขอมูลอยางถ่ีถวนตามหลักวิชาเพื่อใหได
องคความรูใหม ซึ่งอาจนำไปสูการสรางทฤษฎี หลักการ หรือเพ่ือแกปญหาตาง ๆ การวิจัยเปนการคนควาท่ี
ตอ งอาศัยความรู ความชำนาญ และความมีระบบ มีเครือ่ งมอื หรือเทคนคิ ในการรวบรวมขอมลู ท่ีเท่ยี งตรงและ
เชอื่ ถอื ได มกี ารบันทกึ และเขยี นรายงานการวจิ ัยอยา งระมดั ระวัง

5. วิทยานิพนธ หรือปริญญานิพนธ (thesis) เปนรายงานการคนควา วิจัยที่ผูศึกษาขั้นบัณฑิตศึกษา
จะตองทำ นับเปนงานสำคัญสวนหน่ึงตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต มีปริมาณและ
คณุ ภาพสงู กวาภาคนพิ นธ เปนผลงานการคน ควาวิจัยทม่ี ีสาระสำคัญท่ีแสดงองคความรูใหมและความคิดริเร่ิม
ท่ีเปนเอกลักษณของผูวิจัย เปนการเสนอผลการวิจัยที่มีระเบียบวธิ ีการศึกษาคนควา อยางเปนแบบแผน ดวย
กระบวนการคน หาคำตอบทางวทิ ยาศาสตรทีม่ เี หตผุ ลและนาเชอื่ ถอื

5

รูจักปญหา

ความรูเกิดขึ้นจากความสงสัยและการต้ังคำถาม เมื่อเราเกิดขอสงสัยแลวจะเขาสูกระบวนการตั้ง
ประเดน็ ปญ หา หรอื การกำหนดปญ หาในการศึกษาคน ควา

ความหมายของปญ หา
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ไดกำหนดความหมายของ “ปญหา” ไววา ปญหา

คือ ขอ สงสัย ขอขดั ขอ ง คำถาม ขอ ท่คี วรถาม หรือขอท่ีตองพิจารณาแกไ ข

ที่มาของประเดน็ ปญหา
โดยทั่วไปการกำหนดประเด็นปญ หาจะข้ึนอยกู บั ความสนใจใครร ูของผศู ึกษา ซงึ่ อาจไดรับการกระตุน

ใหห ายสงสยั หรอื เกิดแรงบันดาลใจใหค น หาคำตอบมาจากสิ่งตา ง ๆ ดงั นี้
1. สิ่งท่ีพบเห็นในชวี ิตประจำวัน ไดแก ส่ิงแวดลอ มท่ีอยรู อบตวั หรือปรากฏการณตาง ๆ ท่พี บเห็น

ในแตละวัน เชน ทำไมกบจึงรองในเวลาฝนตก ทำไมคนไทยในปจจุบันจึงเสียชีวิตดวยโรคมะเร็งเปนจำนวน
มาก นำ้ ซาวขาวสามารถนำมาทำประโยชนใ ดไดบ า ง เปน ตน

2. ขอมูลความรูในอดีต ไดแก ความรูที่ผานการคนพบมาแลวในอดีตซึ่งอาจอยูในรูปแบบของ
รายงานการวจิ ยั บทสรปุ การทดลอง เปน ตน สามารถนำไปตอ ยอดสูองคความรูท่สี งู ขน้ึ ได

3. การอาน ฟง และดูจากส่ือตาง ๆ ไดแก การอานหนังสือ ชมสารคดี หรือการฟงสาระความรู
ความบันเทงิ จากสอ่ื ตาง ๆ สามารถนำไปสกู ารตัง้ ประเด็นปญหาท่ีตอ งการศกึ ษาได

4. การเขารวมกิจกรรมเชิงวิชาการ ไดแก การอบรม สัมมนา เสวนา หรือประชุมทางวิชาการ
สามารถนำองคค วามรูมาต้งั เปน ประเดน็ ปญ หาได

5. คำแนะนำจากผอู ืน่ ไดแ ก ครู อาจารย ปราชญชุมชน หรือผูมีประสบการณท างการวิจยั เปนตน
6. แหลงทุนหรือองคกรตาง ๆ ไดแก องคก รภาครัฐและเอกชน สถาบันการศึกษา กองทุนเพื่อการ
วิจยั เปน ผสู นบั สนนุ ทุนเพอ่ื ใชในการดำเนนิ งาน

6

การตง้ั คำถาม

การใชคำถามเปนเทคนิคสำคัญในการเสาะแสวงหาความรูท่ีมีประสิทธิภาพ เปนกลวิธีการสอน
ทีก่ อใหเกิดการเรียนรูท่ีพัฒนาทักษะการคิด การตีความ การไตรตรอง การถายทอดความคิด สามารถนำไปสู
การเปลย่ี นแปลงและปรบั ปรุงการจัดกระบวนการเรยี นรไู ดเ ปน อยางดี

การถามเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู ชวยใหผูเรียนสรางความรู ความเขาใจ และพัฒนา
ความคิดใหม ๆ กระบวนการถามจะชวยขยายทักษะการคิด ทำความเขาใจใหกระจาง ไดขอมูลปอนกลับ
ทั้งดานการเรียนการสอน กอใหเกิดการทบทวน การเช่ือมโยงระหวางความคิดตาง ๆ สงเสริมความอยากรู
อยากเห็นและเกดิ ความทาทาย

ระดบั ของการตั้งคำถาม
การตง้ั คำถามมี 2 ระดับ คือ คำถามระดบั พนื้ ฐาน และคำถามระดับสูง ซึง่ มีรายละเอยี ดดงั น้ี
1. คำถามระดับพื้นฐาน เปนการถามความรู ความจำ เปนคำถามท่ีใชความคิดทั่วไป หรือความคิด

ระดบั ต่ำ ใชพื้นฐานความรเู ดิมหรือส่ิงท่ปี ระจักษในการตอบ เน่ืองจากเปน คำถามที่ฝก ใหเกิดความคลองตัวใน
การตอบ คำถามในระดบั น้ีเปนการประเมินความพรอมของผูเรียนกอนเรียน วินจิ ฉัยจุดออ น-จุดแข็งและสรุป
เนอื้ หาท่เี รยี นไปแลว คำถามระดบั พ้นื ฐาน ไดแก

1.1 คำถามใหสังเกต เปนคำถามท่ีใหผ ูเรยี นคดิ ตอบจากการสังเกต เปนคำถามท่ีตอ งการใหผูเ รียน
ใชประสาทสัมผัสทั้งหาในการสืบคนหาคำตอบ คือ ใชตาดู มือสัมผัส จมูกดมกล่ิน ล้ินชิมรส และหูฟงเสียง
ตวั อยางคำถาม เชน

- เม่ือนกั เรยี นฟงเพลงน้แี ลว รสู ึกอยา งไร
- ภาพนม้ี ีลักษณะอยางไร
- สารเคมีใน 2 บีกเกอร ตางกนั อยางไร
- พื้นผิวของวตั ถเุ ปนอยางไร
1.2 คำถามทบทวนความจำ เปนคำถามท่ีใชทบทวนความรูเดิมของผูเรียน เพื่อใชเชื่อมโยงไปสู
ความรใู หมก อนเริ่มบทเรียน ตวั อยางคำถาม เชน
- วันวสิ าขบูชาตรงกับวนั ใด
- ดาวเคราะหด วงใดท่มี ีขนาดใหญท่สี ดุ
- ใครเปน ผูแ ตง เร่อื งอิเหนา
- เม่อื เกิดอาการแพย าควรโทรศพั ทไ ปท่เี บอรใด

7

1.3 คำถามท่ีใหบอกความหมายหรือคำจำกัดความ เปนการถามความเขาใจ โดยการใหบอก
ความหมายของขอ มูลตาง ๆ ตวั อยา งคำถาม เชน

- คำวา สิทธิมนษุ ยชนหมายความวาอยา งไร
- ภาษีเงนิ ไดบุคคลธรรมดาคอื อะไร
- สถติ ิ (Statistics) หมายความวาอยา งไร
- บอกความหมายของ Passive Voice
1.4 คำถามบงช้ีหรือระบุ เปนคำถามท่ีใหผูเรียนบงชี้หรือระบุคำตอบจากคำถามใหถูกตอง
ตวั อยา งคำถาม เชน
- ประโยคท่ปี รากฏบนกระดานประโยคใดบา งที่เปน Past Simple Tense
- คำใดตอไปน้ีเปน คำควบกล้ำไมแ ท
- ระบชุ ่อื สตั วทีม่ ีกระดูกสันหลัง
- ประเทศใดบางที่เปน สมาชกิ APEC
2. คำถามระดับสูง เปนการถามใหคิดคน หมายถึง คำตอบที่ผูเรียนตอบตองใชความคิดซับซอน
เปนการสงเสริมความคิดสรางสรรคและกระตุนใหผูเรียนสามารถใชสมองซีกซายและซีกขวาในการคิดหา
คำตอบ โดยอาจใชความรูหรือประสบการณเดิมมาเปนพ้ืนฐานในการคิดและตอบคำถาม ตัวอยางคำถาม
ระดับสูง ไดแ ก
2.1 คำถามใหอธิบาย เปนการถามโดยใหผูเรียนตีความหมาย ขยายความ โดยการใหอธิบาย
แนวคิดของขอ มูลตาง ๆ ตวั อยา งคำถาม เชน
- เพราะเหตุใดใบไมจ ึงมสี ีเขยี ว
- นักเรยี นควรมบี ทบาทหนาที่ในโรงเรยี นอยางไร
- ชาวพุทธที่ดคี วรปฏบิ ัตติ นอยา งไร
- นกั เรยี นจะปฏบิ ตั ิตนอยา งไรจงึ จะทำใหร างกายแข็งแรง
2.2 คำถามใหเปรียบเทียบ เปนการตั้งคำถามใหผูเรียนสามารถจำแนกความเหมือน–ความแตกตาง
ของขอมลู ได ตัวอยางคำถาม เชน
- พืชใบเลีย้ งคตู างจากพชื ใบเล้ยี งเด่ยี วอยางไร
- จงเปรยี บเทยี บวิถชี ีวิตของคนไทยในภูมภิ าคตา ง ๆ ของประเทศไทย
- DNA กบั RNA แตกตา งกนั หรือไม อยางไร
- สังคมเมอื งกับสงั คมชนบทเหมือนและตา งกนั อยางไร

8

2.3 คำถามใหวิเคราะห เปนคำถามใหผูเรียนวิเคราะห แยกแยะปญหา จัดหมวดหมู วิจารณ
แนวคิด หรอื บอกความสมั พนั ธและเหตผุ ล ตัวอยางคำถาม เชน

- อะไรเปนสาเหตุทที่ ำใหเ กิดภาวะโลกรอน
- วฒั นธรรมแบง ออกเปนกป่ี ระเภท อะไรบาง
- สาเหตใุ ดที่ทำใหน างวนั ทองถกู ประหารชวี ิต
- การติดยาเสพตดิ ของเยาวชนเกิดจากสาเหตุใด
2.4 คำถามใหยกตัวอยาง เปนการถามใหผูเรียนใชความสามารถในการคิด นำมายกตัวอยาง
ตัวอยา งคำถาม เชน
- รางกายขับของเสยี ออกจากสวนใดบาง
- ยกตัวอยางการเคล่อื นที่แบบโปรเจกไตล
- หินอัคนสี ามารถนำไปใชประโยชนไดอ ยา งไรบา ง
- อาหารคาวหวานในพระราชนิพนธกาพยเหชมเครอ่ื งคาวหวานไดแ กอะไรบาง
2.5 คำถามใหสรุป เปนการใชคำถามเมื่อจบบทเรียน เพื่อใหทราบวาผูเรียนไดรับความรูหรือมี
ความกาวหนาในการเรียนมากนอยเพียงใด และเปนการชวยเนนย้ำความรูท่ีไดเรียนไปแลว ทำใหสามารถ
จดจำเนื้อหาไดด ียงิ่ ขน้ึ ตวั อยางคำถาม เชน
- จงสรปุ เหตผุ ลทีท่ ำใหพระเจาตากสนิ ทรงยายเมืองหลวง
- เม่อื นักเรยี นอานบทความเรื่องนี้แลว นักเรยี นไดขอ คิดอะไรบาง
- จงสรุปแนวทางในการอนุรักษทรพั ยากรนำ้ เพอ่ื ใหเกิดคณุ คา สูงสดุ
- จงสรปุ ขั้นตอนการทำผาบาติค
2.6 คำถามเพื่อใหประเมินและเลือกทางเลือก เปนการใชคำถามท่ีใหผูเรียนเปรียบเทียบหรอื ใช
วิจารณญาณในการตดั สินใจเลอื กทางเลือกท่หี ลากหลาย ตัวอยางคำถาม เชน
- การวายนำ้ กับการวิ่งเหยาะ อยางไหนเปนการออกกำลงั กายที่ดีกวา กัน เพราะเหตุใด
- ระหวา งนำ้ อดั ลมกบั นมอยางไหนมปี ระโยชนต อ รางกายมากกวา กัน เพราะเหตใุ ด
- ดินรวนดินทรายและดนิ เหนียวดินชนิดใดเหมาะแกการปลูกมะมวงมากกวา กันเพราะเหตุใด
- ไกท อดกับสลดั ไก นกั เรยี นจะเลอื กรับประทานอาหารชนิดใด เพราะเหตใุ ด
2.7 คำถามใหประยุกต เปนการถามใหผูเรียนใชพ้ืนฐานความรูเดิมท่ีมีอยูมาประยุกตใชใน
สถานการณใหมหรอื ในชวี ิตประจำวนั ตวั อยา งคำถาม เชน
- นกั เรียนมีวธิ ีการประหยดั พลังงานอยา งไรบา ง
- เมอื่ นักเรียนเหน็ เพือ่ นในหอ งขาแพลง นักเรยี นจะทำการปฐมพยาบาลอยา งไร
- นักเรยี นนำปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใ ชใ นการดำเนินชีวติ ประจำวันอยา งไร
- นักเรยี นจะทำการสง ขอความผานทางอีเมลไดอยางไร

9

2.8 คำถามใหสรางหรือคิดคนสิ่งใหม ๆ หรือผลิตผลใหม ๆ เปนลักษณะการถามใหผูเรียนคิด
สรางสรรคผลงานใหม ๆ ทไี่ มซ้ำกบั ผูอื่นหรอื ทีม่ อี ยูแลว ตัวอยา งคำถาม เชน

- กระดาษหนังสือพมิ พท ่ไี มใ ชแลว สามารถนำไปประดษิ ฐของเลนอะไรไดบา ง
- กลองหรอื ลังไมเ กา ๆ สามารถดัดแปลงกลับไปใชใหเกดิ ประโยชนไ ดอยา งไร
- เสื้อผา ทไ่ี มใชแ ลว นักเรียนจะนำไปดัดแปลงเปนสิ่งใดเพื่อใหเกดิ ประโยชน
- นักเรยี นจะนำกระดาษทใี่ ชเ พยี งหนา เดยี วมาประดษิ ฐเ ปนสง่ิ ใดบาง
การตั้งคำถามระดับสูงจะทำใหผูเรียนเกิดทักษะการคิดระดับสูง และเปนคนมีเหตุผล ผูเรียน
ไมเพียงแตจดจำความรู ขอเท็จจริงไดอยางเดียวแตสามารถนำความรูไปใชในการแกปญหา วิเคราะห และ
ประเมินส่ิงที่ถามได นอกจากน้ียังชวยใหผูเรียนเขาใจสาระสำคัญของเร่ืองราวที่เรียนไดอยางถูกตองและ
กระตุนใหผูเรียนคนหาขอมูลมาตอบคำถามดวยตนเอง การตอบคำถามระดับสูง ผูสอนตองใหเวลาผูเรียนใน
การคิดหาคำตอบเปน เวลามากกวาการตอบคำถามระดับพื้นฐาน เพราะผเู รยี นตองใชเวลาในการคิดวิเคราะห
อยางลึกซ้ึงและมีวิจารณญาณในการตอบคำถาม ความผิดพลาดอยา งหน่ึงของการตั้งคำถามคือ การถามแลว
ตองการคำตอบในทันทีโดยไมใ หเวลาผเู รียนในการคดิ หาคำตอบ

10

การต้งั สมมตฐิ าน

การตั้งสมมติฐาน เปนข้ันตอนของการคาดคะเนหรอื คาดเดาคำตอบของปญหาการวิจัย การคาดเดา
คำตอบมีประโยชนในการกำหนดทิศทางการหาขอมูล เพ่ือตรวจสอบปญหาการวิจัย เปนการคาดเดาคำตอบ
อยางมีเหตุมีผล ผูวิจัยควรตั้งสมมติฐานการวิจัยหลังจากที่ไดศึกษาทฤษฎี เอกสารตาง ๆ ตลอดจนงานวิจัย
ทเี่ กี่ยวขอ ง จนผวู ิจัยมแี นวความคิดเพียงพอทจี่ ะคาดเดา โดยอาศัยเหตผุ ลเหลาน้ันไดอ ยา งสมเหตสุ มผล

ประเภทของสมมตฐิ าน
สมมตฐิ านแบงไดเปน 2 ประเภทคือ
1. สมมติฐานการวิจัย (Research hypothesis) เปนสมมติฐานที่เขียนอยูในรูปของขอความที่ใช

ภาษาเปน สอื่ ในการอธบิ ายความสัมพนั ธของตวั แปรที่ศึกษา มเี ทคนิคการเขยี น 2 แบบ คือ
1.1 สมมติฐานแบบมีทิศทาง คือ สมมติฐานทีเ่ ขียนแสดงถึงความสัมพันธหรือความแตกตางของ

ตัวแปรไปในทิศทางใดทศิ ทางหนงึ่ ซึ่งอาจจะเปนไปในทางบวกหรอื ทางลบ มากกวาหรอื นอยกวา เชน
- ผูทส่ี ูบบหุ รเ่ี ปนโรคมากกวาผูทไี่ มส ูบบุหรี่
- การสบู บหุ รีม่ ีความสมั พันธทางบวกกบั การเปน มะเร็งในปอด
- กลนิ่ ใบตะไครก ำจัดแมลงสาบไดด ีกวากลิ่นใบมะกรดู
- การลดน้ำหนักดวยวิธีควบคุมอาหารรวมกับการออกกำลังกายชวยลดน้ำหนักไดดีกวา

การควบคมุ อาหารอยางเดยี ว
1.2 สมมติฐานท่ีไมมีทิศทาง คือ สมมติฐานท่ีเขียนแสดงถึงความสัมพันธหรือความแตกตางของ

ตัวแปรท่ีไมบอกวาความสัมพันธจะเปนไปในทิศทางใดเพียงแตระบุวามีความสัมพันธหรือแตกตางกันเทาน้ัน
เชน

- พนกั งานหญิงและพนักงานชายมแี รงจงู ใจในการทำงานตางกนั
- การสูบบหุ รี่มีความสมั พนั ธกบั การเปน มะเร็งในปอด
- การลดน้ำหนกั ดวยวิธีควบคมุ กับการออกกำลงั กายใหผ ลแตกตา งกนั
2. สมมติฐานเชงิ สถิติ (Statistical hypothesis) เปน สมมติฐานท่ีเขียนคาดเดาคำตอบของการวจิ ัย
อยใู นรูปของความสมั พันธหรือความแตกตางของตัวแปร ในรปู ของโครงสรา งทางคณิตศาสตร ซ่ึงใชสญั ลักษณ
แทนคาพารามเิ ตอร (Parameter) แบงไดเ ปน 2 ประเภทคอื
2.1 สมมติฐานเปนกลาง (Null hypothesis) เปนสมมติฐานท่ีเขียนอธิบายถึงความสัมพันธ
ระหวางตัวแปร โดยระบวุ าตัวแปร 2 ตัวนั้นไมมีความสัมพันธก ัน หรือคุณลักษณะใดคุณลักษณะหน่ึงของสอง
กลมุ ไมแตกตา งกนั แทนดวยสญั ลักษณ H0 เชน
H0 : μ1 = μ2
H0 : rAB = 0

11

2.2 สมมติฐานไมเปนกลาง หรือ สมมติฐานทางเลือก (Alternative hypothesis) เปนสมมติฐานที่
เขียนอธิบายถึงความสัมพันธระหวางตัวแปร โดยระบุวาตัวแปร 2 ตัวน้ันมีความสัมพันธกันในทิศทางใด บวกหรือ
ลบ หรือคุณลักษณะใดคุณลักษณะหนึ่งของสองกลุม โดยระบุวากลุมใดมีคุณลักษณะดีกวา มากกวา หรือนอยกวา
อีกกลมุ หนงึ่ แทนดวยสัญลกั ษณ H1 เชน

H1 : μ1 > μ2 เชน ผูท่สี บู บหุ ร่ีเปนโรคมะเร็งในปอดมากกวา ผูทไ่ี มสูบบุหร่ี
H1 : μ1 < μ2 เชน ผูท ส่ี บู บหุ รีเ่ ปนโรคมะเร็งในปอดนอยกวา ผทู ไี่ มส ูบบุหร่ี
H1 : μ1 = μ2 เชน ผทู ่สี ูบบหุ ร่ี เปน โรคมะเรง็ ในปอดแตกตา งกับผูที่ไมสบู บหุ รี่

ที่มาของสมมติฐาน
1. ความรแู ละประสบการณข องผูศกึ ษา
2. ทฤษฎี หลกั การ และแนวคิดตาง ๆ
3. ผลการศึกษาคนควา วจิ ัยของผูอ่นื
4. ความเชอ่ื ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี และวฒั นธรรม
5. การใชเ หตุผลคิดไตรต รอง วิเคราะห
6. การเปรยี บเทียบกบั งานศึกษาคน ควา อนื่ ๆ

แนวทางการตัง้ สมมตฐิ าน
1. เกี่ยวของกับประเด็นปญหา มุงเนนการอธิบายคำตอบของประเด็นปญหา โดยใชเหตุผลในการ

คาดคะเน
2. มคี วามสัมพันธระหวา งตวั แปร อธบิ ายใหเ หน็ ถึงความสมั พันธร ะหวา งตวั แปรหนึ่งกับตวั แปรหน่ึง

เพื่อทำใหสมมติฐานมคี วามหนักแนน นาเชื่อถือ
3. สอดคลองกับจดุ มุงหมาย อธบิ ายใหเปนไปในทิศทางเดยี วกนั กับจุดมงุ หมายของประเด็นปญ หา
4. ทดสอบได สามารถทดสอบเพ่ือพิสจู นขอเท็จจริงได และสามารถทดสอบซ้ำไดท้ังในปจจบุ ันและ

อนาคต
5. มขี อบเขตทเ่ี หมาะสม ควรมีขอบเขตที่ไมแคบหรือไมกวางจนเกินไป
6. นำไปใชส รปุ อา งอิงได สามารถนำไปอา งองิ ในงานศกึ ษาวจิ ัยในลักษณะเดียวกันได

ลักษณะของสมมติฐานทีด่ ี
1. สอดคลอ งกบั จุดมุง หมายของประเดน็ ปญหา
2. สามารถตอบประเด็นปญหาไดทกุ ประเดน็
3. สมมตฐิ านแตละขอควรตอบประเดน็ เดยี ว

12

4. สอดคลอ งกับสภาพสังคม ไมข ดั ตอวัฒนธรรม
5. สามารถตรวจสอบไดดว ยขอมลู หลกั ฐาน
6. มีทฤษฎหี รอื เหตุผลรองรบั
7. มีขอบเขตท่ีเหมาะสม
8. ใชภาษาทเี่ หมาะสม เขาใจงา ย
9. มีพลงั ในการคาดการณสงู
10. อธิบายความสมั พนั ธของตัวแปรไดอยา งชัดเจน

ตวั อยา งการตัง้ สมมติฐาน
ประเด็นศกึ ษา : พชื ชนดิ ใดสามารถนำมาทำสารกำจดั ศตั รูพชื ไดด ีท่ีสดุ
ท่มี าและความสำคัญ : การศึกษาคนควาเรื่องน้ี เกดิ ขึ้นจากการเล็งเห็นวา ในปจจุบันสังคมกำลังให

ความสำคัญกบั การทำเกษตรอนิ ทรียหรอื พืชผักปลอดสารพิษ ประกอบกับในชุมชนหนองนำ้ ใสซึง่ เปน ชุมชนที่ผู
ศกึ ษาอาศัยอยูนน้ั มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปน สวนใหญซ่ึงแตละปเกษตรกรตองสูญเสียคาใชจายไป
กับการซ้ือยาฆาแมลงเปน จำนวนมาก จึงมีแนวคิดในการนำพืชท่ีหาไดใ นทองถ่ินมาสกัดเปนสารกำจัดศตั รูพืช
เพือ่ ชวยลดคา ใชจายของคนในชมุ ชน เพื่อสุขภาพท่ีดขี องผูบริโภค และเพื่อลดปญ หาสงิ่ แวดลอ มในชมุ ชน

สมมติฐาน : สารสกัดจากดอกดาวเรือง สามารถกำจัดศัตรูพืชไดดีกวาใบสะเดาและหัวกลอย
เนอ่ื งจากดอกดาวเรอื งจะมกี ลิน่ ฉุนกวาและมีผลวิจยั สนับสนุนวา สารสกัดจากดอกดาวเรืองสามารถปอ งกนั
ศัตรูพืชไดอยางหลากหลาย เชน เพลี้ยกระโดด เพล้ียจักจ่ัน เพลี้ยหอย เพล้ียออน เพล้ียไฟ แมลงหว่ีขาว
แมลงวันผลไม หนอนใยผัก หนอนผเี สือ้ กะโหลก หนอนกะหลำ่ ปลี ดวงปก แข็ง ไสเดอื นฝอย เปนตน

ประเด็นศกึ ษา : สาเหตุน้ำทว มขงั ในชมุ ชนโชคชยั รว มมติ ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร
ที่มาและความสำคัญ : ชุมชนโชคชัยรวมมิตรเปนชุมชนขนาดใหญที่มีทั้งบริษัท รานคา บานเดี่ยว
คอนโดมเิ นียม และอพารต เมนตต งั้ อยู ในชว งฤดฝู นหรอื เวลาฝนตกหนักมักเกิดปญหาน้ำทวมขัง รอการระบาย
นาน ซ่ึงเปน อุปสรรดตอ การดำเนินชวี ิตของคนในชุมชน และอาจเปนแหลง เพาะพันธุเ ชอื้ โรคทส่ี งผลกระทบตอ
สขุ ภาพอนามยั จึงตอ งการศกึ ษาหาสาเหตุ เพื่อหาแนวทางปอ งกันแกไ ขท่เี หมาะสมตอไป
สมมติฐาน : สาเหตุน้ำทวมขังในชุมชนโชคชัยรวมมิตร เกิดจากการอุดตันของขยะในทอระบายน้ำ
เพราะในชุมชนมีจำนวนประชากรอยูมากแตมีถังขยะนอย การจัดการขยะของคนในชุมชนยังไมดีเทาท่ีควร
อาจทำใหมีขยะตกคางในทอระบายน้ำมาก จนกลายเปนทมี่ าของปญ หานำ้ ทว มขัง

13

ประเด็นศกึ ษา : การพฒั นาทักษะภาษาองั กฤษของนักเรียนโรงเรยี นอกั ษรวทิ ยาดวยส่อื มัลตมิ ีเดยี
ทม่ี าและความสำคัญ : ภาษาอังกฤษถือวามีความสำคญั อยางย่ิงในปจจุบนั เพราะเปน ภาษาสากลท่ี
ใชสื่อสารกันในโลกและในภูมิภาคอาเซียน ซ่ึงจากผลการสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนโรงเรียนอักษร
วิทยาในทุกระดับชั้นของปการศึกษาท่ีผานมา พบวาคะแนนเฉลี่ยต่ำกวาเกณฑท่ีกำหนด จึงมีแนวคิดในการ
คน หาหรือสรางสอ่ื การเรยี นการสอนวิชาภาษาองั กฤษ เพ่ือเพิม่ ตกยภาพใหแ กนักเรียนท้ังดานการอาน การพูด
และการเขียนภาษาอังกฤษใหดีย่งิ ขน้ึ
สมมตฐิ าน : การใชภาพยนตรและเพลงตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มาเปน สือ่ การเรียนการสอน จะ
ชว ยพัฒนาศักยภาพในการใชภาษาอังกฤษของนักเรียนโรงเรียนอกั ษรวทิ ยาใหด ียิ่งข้ึน เพราะเปนสอื่ ทเ่ี ปนมิตร
กับเยาวชน มีแรงดึงดูดใหเกิดความสนใจสูง งา ยแกการจดจำ และปรากฏคำศัพทหรือรูปแบบประโยคที่มีการ
นำมาใชจรงิ ในชีวติ ประจำวัน

14

ตวั แปร (Variable)

ตัวแปร (Variable) หมายถึง คุณลักษณะของสิ่งตาง ๆ เชน ที่สามารถแปรคาไดตาง ๆ กัน และ
สามารถวัดได

ประเภทของตัวแปร
1. ตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรตน (Independent Variable) หมายถึง ตัวแปรที่เกิดขึ้นกอนและ

เปนเหตใุ หเกิดผลตามมา
2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) หมายถึง ตัวแปรท่ีเกิดขึ้นเนื่องจากตัวแปรอิสระ เปนตัว

แปรทเี่ ปนผลเม่ือตวั แปรอสิ ระเปนเหตุ
3. ตัวแปรที่ตองควบคุม (Control Variable) หมายถึง ตัวแปรที่เปนปจจัยอื่น ๆ ท่ีนอกเหนือจาก

ตัวแปรตนท่ีมีผลตอการทดลอง และตองควบคุมใหเหมือนกันทุกชุดการทดลอง เพื่อปองกันไมใหผลการ
ทดลองเกิดความคลาดเคลือ่ นในการตรวจสอบสมมติฐาน

ตัวอยา งการกำหนดตวั แปร
ขอ สงสัย/ขอสังเกต/ปญหา : การศึกษาวาดนิ ตางชนดิ กันมีผลตอความสูงของตน ถวั่ เขยี วหรือไม
ตัวแปรตน : ชนดิ ของดินทเ่ี ราใชปลกู ตนถว่ั เขียวนนั่ เอง (เปลย่ี นชนิดของดิน เพ่ือดูความสูงของตนถว่ั

เขยี ววา เหมอื นกันหรือไม)
ตวั แปรตาม : ความสงู ของตน ถว่ั เขียว (เปน ผลของการทดลอง เปน สงิ่ ที่เราตอ งเกบ็ คา )
ตัวแปรควบคุม : พันธุข องถ่วั เขียวท่ปี ลกู , ปรมิ าณน้ำทีร่ ด, ปรมิ าณแสง, ขนาดกระถาง เปนตน

(เปนสง่ิ ที่เราตอ งทำใหเ หมอื นกัน เปนสิง่ ท่เี ราตอ งควบคมุ เพราะสงผลตอการทดลอง สมมตวิ า ถา กระถางหนึ่ง
รดน้ำ อกี กระถางหนึง่ ไมไ ดรด ก็อาจทำใหความสูงของตน ถวั่ เขียวแตกตา งกันก็ได)

ขอ สงสยั /ขอสังเกต/ปญหา : การสรา งแบบฝกทักษะการอา นคำที่ใชอกั ษร ร ล ว ควบกล้ำ
สำหรบั นกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 1

ตวั แปรตน : แบบฝก ทกั ษะการอานคำท่ใี ชอ ักษร ร ล ว ควบกลำ้
ตวั แปรตาม : ความสามารถในการอานคำท่ีใชอ ักษร ร ล ว
ตัวแปรควบคมุ : พืน้ ฐานของนักเรียนประถมศกึ ษาปท ่ี 6

15

การเลือกประเด็นปญ หา

การต้ังประเด็นปญหา
การวจิ ัย เปน การหาคำตอบท่ีอยากรูทส่ี งสยั ที่เปนปญหาของใจ แตค ำตอบนั้นตองเชื่อถอื ได ไมใ ชก าร

คาดเดา หรือคิดสรปุ ไปเองโดยใชค วามรูสึก วธิ ีการหาคำตอบจึงตองเปนกระบวนการ ขั้นตอนอยางเปนระบบ
ตัวอยา ง เชน

- ถาตองการทราบวานักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2/1 โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม ชอบอานหนังสือ
ประเภทใด

จะคาดเดาเองหรือไปสอบถามนักเรยี นเพียงหนงึ่ คน สองคน แลว มาสรปุ วานักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี
2/1 โรงเรียนสระบุรวี ิทยาคม ชอบอา นหนังสือประเภทนั้น ประเภทนไ้ี มไ ด แตต องทำแบบสอบถามใหนักเรยี น
ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 2/1 โรงเรียนสระบรุ วี ิทยาคมเปนผตู อบแลวนำมาสรุปคำตอบขอ คนพบท่ไี ด เปนตน

แนวทางการเลอื กประเด็นปญหา
การเลอื กประเด็นปญหาเพื่อการสรา งองคความรูใหม ถือเปนเร่ืองท่ีมีความสำคัญอยางยงิ่ เพราะมผี ล

ตอ การดำเนินงานในขั้นตอนตอไป หากเลอื กประเด็นที่ตนไมส นใจหรือไมอยากคนหาคำตอบ อาจสงผลใหเกิด
ความเบ่อื หนา ยและลมเลิกการศึกษาตนั ควา ได ดังน้ัน ผูศกึ ษาจงึ ควรเลือกประเด็นปญ หาอยางรอบคอบ โดยมี
แนวทางการตัดสนิ ใจเลอื ก ดงั นี้

1. ตรงกับความสนใจหรือขอ สงสยั ความสนใจหรอื ขอสงสยั ในเรอ่ื งใดเรอ่ื งหนงึ่ จะเปนตัวกระตุนให
ผูศึกษาอยากคนหาคำตอบ ความสนใจจึงเปนแรงขับเคลื่อนสำคญั ที่จะทำใหผูศึกษาบรรลุเปาหมาย และไดรับ
ความรหู รอื ประสบการณใหม ๆ อยูเ สมอ

2. สอดคลองกบั ความรูความสามารถ กอนท่ีจะตัดสินใจเลือกประเดน็ ปญหา ผศู ึกษาควรใตรต รอง
ดวยวา ประเด็นน้ันเหมาะสมกับความรูความสามารถที่ตนมีอยูหรือไม ท้ังนี้เพื่อปองกันไมใหเกิดปญหาหรือ
อุปสรรคขึน้ ในภายหลงั

3. นำมาใชประโยชนไ ดในปจจุบัน ประเดน็ ปญหาที่เลอื กควรมคี วามสำคัญและสามารถนำมาสรา ง
ประโยชนใ หแกตนเอง องคกร หรือสังคมสว นรวมได เชน นำไปพัฒนาการทำงานของบคุ ลากรในโรงเรียนใหดี
ข้ึน นำไปสรา งเคร่อื งมอื เครื่องใชเ พอื่ อำนวยความสะดวก เปนตน

4. มีความเหมาะสม ความเหมาะสมในท่นี ี้ ไดแก
เหมาะสมกบั สงั คม เชน กฎหมาย จารตี คานยิ ม ความคดิ ความเชื่อ วฒั นธรรม ประเพณี เปนตน
เหมาะสมกับตวั แปร เชน เวลา งบประมาณ แรงงาน เครื่องมอื หลักฐาน เปนตน

16

5. มีความเปนไปได ประเด็นปญหาท่ีเลือกควรเปนส่ิงที่สามารถศึกษาหาคำตอบได มีเหตุผลรองรับ
ที่เพียงพอ ไมกระทบตอหลักสิทธิมนุษยชน หรือหลักคุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรมอันดีของสังคม เชน การ
ทดลองโดยใชรางกายมนุษยหรือสัตวโดยผิดกฎหมายหรือผิดวิสัยที่คนท่ัวไปกระทำกัน ถือเปนการศึกษาที่มี
ความเปน ไปไดยาก เพราะผิดกฎหมาย จารีต และศลี ธรรม

6. คำนึงถึงปจจัยสนับสนนุ ตา ง ๆ ปจจยั สนับสนุนในการศึกษาคันควา เชน ขอ มูลหลกั ฐานในเรอื่ งที่
จะศกึ ษาวา มีเพียงพอหรอื ไม สามารถนำมาอางไดอยางมีพลังหรอื ไม มีเคร่ืองมือในการศึกษาคันควา และเก็บ
รวบรวมขอมูลท่ีพรอ มและเพยี งพอหรอื ไม เชน คอมพวิ เตอร เครื่องบนั ทกึ ภาพและเสียง เปนตน

การเขียนที่มาและความสำคัญของประเดน็ ปญหา
เมื่อไดประเด็นปญหาที่ตองการศึกษาคันควาแลว ผูศึกษาควรอธิบายใหบุคคลทั่วไปทราบวา

เพราะเหตุใดจึงเลือกศึกษาในเรื่องดังกลาว และเรื่องท่ีศึกษานั้นจะมีประโยชน หรือความสำคัญตอใคร
อยางไรบาง ท้ังนี้ เพ่ือใหผูอ่ืนรวมท้ังผูศึกษาเอง ทราบถึงเปาหมายของการศึกษาคนควาและสามารถดำเนิน
การศึกษาคนควา ตามเปา หมายทวี่ างไวไดอ ยางถูกตอ ง

สำหรับที่มาและความสำคญั ของประเดน็ ปญ หา มีแนวทางในการเขียน ดังนี้
1. ท่ีมา เปนการอธิบายถึงเหตุจูงใจในการเลือกประเด็นปญหาวา เพราะเหตุใดจึงเลือกศึกษาใน
เรื่องนั้น ควรเขียนอธิบายดวยภาษาท่ีเขาใจงาย กระชับ ชัดเจน มุงแสดงเหตุผลที่นาเช่ือถือ และมีความ
นา สนใจ การอธิบายใหเหน็ ถงึ ที่มาของประเด็นปญหาไดอยา งนาสนใจ จะชว ยดึงดูดผูอานใหตองการศกึ ษาใน
รายละเอียดของผลการศกึ ษาคนั ควา มากขึ้น
2. ความสำคัญ เปนการอธิบายถึงประโยชนหรอื ผลทจี่ ะเกดิ ข้นึ ตามมาจากการศึกษาคนั ควาในเร่ือง
นั้น ๆ เพื่อใหผอู ่ืนทราบวา การศึกษาวันควาในเรื่องนั้นมีประโยชนหรือความสำคญั ตอสงั คมอยางไร สามารถ
นำผลการศึกษาไปประยกุ ตใี ชเพอ่ื สรา งประโยชนใ นทางใดไดบ า ง
การเขียนความสำคญั ของประเด็นปญหาน้นั ผูศึกษาควรเขยี นใหชัดเจนวา การศึกษาหรือวจิ ยั ของตน
จะกอใหเกิดการเปล่ียนแปลง การแกปญหา หรือการพัฒนา เชน เปนการศึกษาคันควาเพ่ือแกไขปญหาท่ี
เกดิ ข้ึนในครอบครวั โรงเรยี น ชุมชน หรือเปนการศึกษาเพื่อคนั หาแนวความคิด ทฤษฎี หรอื ระบบการทำงาน
ใหมๆ ที่จะชวยพัฒนาองคก รใหดยี ง่ิ ขึน้ เปนตนั ทัง้ น้ี เพอ่ื สรางคุณคาใหก ับผลงานของตนเอง และสรางคุณคา
ใหกับตนเองในฐานะผูส รา งประโยชนแ กสว นรวม

ตวั อยางคำถามการวจิ ยั /ปญหาการวจิ ยั (การตัง้ ประเด็นปญ หา)
- นักรองในดวงใจวยั รุน คือใคร
- นักการเมอื งในดวงใจวยั รนุ คอื ใคร
- วัยรนุ ใชเวลาวางทำอะไร
- การศึกษาผลการจัดบัญชคี รวั เรอื นของ…

17

- วธิ ีการเลีย้ งดูของผปู กครองที่ลดพฤตกิ รรมของบตุ ร
- วธิ กี ารลดสภาวะโลกรอ นของนกั เรียนในโรงเรยี น..
- การสำรวจความพงึ พอใจของนกั เรียนโรงเรยี นสระบรุ ีวทิ ยาคมในการใชหอ งไอซีที
- การผลติ เซลลพลังงานไฟฟา ดวยวิธีการหมักกลวยหยวก
- การสำรวจพฤติกรรมการใชโทรศพั ทข องนกั เรียนในโรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
- การสำรวจพฤตกิ รรมการใหข องขวญั ของนกั เรียนในโรงเรยี นสระบุรีวิทยาคม
- การสำรวจการเลอื กอา นหนงั สือนอกเวลาของนกั เรียนโรงเรียนสระบุรีวทิ ยาคม
- การสำรวจการประหยดั พลังงานไฟฟาของนกั เรยี น
- การสำรวจพฤติกรรมการเขา วดั ของนักเรียนโรงเรยี นสระบรุ ีวทิ ยาคม
- ผลกระทบทเี่ กิดจากสภาวะนำ้ มนั แพงของผูปกครองนักเรยี นโรงเรียนสระบุรวี ิทยาคม
- ผลกระทบท่เี กิดจากการไมไ ดอาศยั กบั บิดามารดาของนักเรียนโรงเรียนสระบรุ วี ิทยาคม
- สำรวจความนิยมและเหตุผลของนักเรยี นมัธยมศึกษาปที่1 ของโรงเรียนสระบุรวี ทิ ยาคมตอ การเลือก
เรียนในสถาบนั กวดวิชา
- ความคิดเหน็ ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาท่ี 2 ปการศกึ ษา 2564 ทม่ี ีโปรแกรมเรยี นอังกฤษแบบเขม
- ศกึ ษาพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารเสริมดา นความงามของนักเรียนหญิงชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2
- สำรวจพฤติกรรมการบรโิ ภคเครอ่ื งด่ืมของนักเรียน
- ศึกษาสาเหตขุ องความเครียดและวิธคี ลายเครยี ดของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 2
- การศึกษาการใชโปรแกรม Facebook ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2
- การศกึ ษาและสำรวจปญหาดานตัวนกั เรียนและดา นสภาพแวดลอ ม
- สำรวจพฤตกิ รรมการเลน เกมออนไลนของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2
- ความพงึ พอใจตอสิ่งอำนวยความสะดวกของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2
- พฤตกิ รรมการบริโภคอาหารทีเ่ ส่ยี งตอการเกิดโรคมะเรง็ ของนักเรยี น
- วฒั นธรรมตา งชาติมอี ิทธิพลตอนกั เรียน
- การสำรวจการมมี ารยาทในการใชห อ งสมดุ ของนกั เรยี น
- การสำรวจพฤติกรรมการทำความสะอาดของนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2
- การผลติ น้ำยาขัดรองเทาจากเปลือกสม
- การผลิตแชมพสู ุนัขจากใบนอยหนา
- การศกึ ษาสมุนไพรท่ีมผี ลตอการดบั กลิน่ เทา
- การสำรวจพฤติกรรมการใชผงชรู สในการประกอบอาหารของแมคา โรงเรยี นสระบุรวี ทิ ยาคม
- การเปรยี บเทียบวิธีการบำบดั นำ้ เสยี ระหวางการกรองดว ยผกั ตบชวา กบั การบำบัดดว ย EM ทมี่ ี
ประสทิ ธิภาพมากที่สุด
- การศึกษาประสิทธิภาพของสมนุ ไพรในการยบั ยั้งการเจรญิ เตบิ โตของเชอ้ื ราในถัว่ ลสิ ง

18

- การศึกษาการชารจแบตเตอรร ีม่ อื ถือดวยมะนาว
- การเปรยี บเทียบการปลกู ผกั แบบไฮโดรโปนิกสท่ใี ชปยุ สารละลายธาตอุ าหารกับปยุ ชวี ภาพ
- การฟง ดนตรคี ลาสสิค ปอ ป และร็อกที่มตี อ ความสามารถในการจดจำของนักเรียน
- การสกดั สจี ากวัสดธุ รรมชาตเิ พอื่ นามาใชแ ทนสนี ำ้
- การศกึ ษาจิตสำนกึ ในการอนุรกั ษพลงั งานและส่ิงแวดลอ มของนกั เรียนโรงเรยี นสระบรุ วี ิทยาคม
- การสำรวจความคิดเหน็ เกยี่ วกับการจดั แขง ขันกฬี าสีภายในโรงเรียนสระบรุ วี ิทยาคม
- การสำรวจความรแู ละความคิดเหน็ เกย่ี วกบั เทคโนโลยีระบบ 5G ของนักเรยี น
- การศกึ ษาความสดของดอกไม เมื่อปกไวในสารละลายตางชนดิ กนั
- การศกึ ษาการใชเ วลาวางของนักเรยี นโรงเรยี นสระบุรวี ทิ ยาคม
- การศึกษาปญหาการตดิ เกมของนักเรียนโรงเรยี นสระบรุ วี ทิ ยาคม

ฯลฯ

19

การตั้งช่อื เรอื่ ง

ช่ือเรื่องงาน IS นับเปนจุดแรกท่ีจะดึงดูดความสนใจของผูอาน และจะทำใหผูอานเกิดความเขาใจใน
ปญหา รวมทั้งวิธดี ำเนินการอีกดวย ดงั นน้ั การต้งั ช่ือเร่ือง IS จงึ ตอ งเขียนใหชดั เจน เขา ใจงาย ไมคลุมเครอื

หลักเกณฑใ นการต้งั ชือ่ เร่อื ง
1. ควรตัง้ ชอื่ เร่อื งเปน ประโยคบอกเลา ใหก ะทดั รัด และไดใจความทส่ี มบรู ณ
2. ตั้งชอ่ื เรือ่ งใหต รงกบั ประเดน็ ของปญหา

3. ต้ังชอ่ื เร่อื งโดยใชคำทีบ่ งบอกใหท ราบถึงประเภทของการศึกษา (วทิ ยวิธ)ี

“ชื่อเร่ือง” ที่ถูกตองตามหลักวิชาการจะตองมีองคประกอบสำคัญครบท้ัง 3 สวน คือ วิทยวิธี, เปาหมาย

และตัวแปร/เครอื่ งมอื ดังน้ี
1. วิทยวิธี หมายถึง วิธีการท่ีใชดำเนินการในการศึกษาคนควาเกี่ยวกับเรื่องท่ีสนใจ ซ่ึงตองเขียน

ขน้ึ ตน ชือ่ เร่อื งเสมอ คำทีแ่ สดงวทิ ยวธิ มี ีอยดู ว ยกันท้งั สน้ิ 6 คำ คือ

- การสำรวจ - การศกึ ษา
- การพัฒนา - การประเมิน
- การเปรียบเทียบ - ความสมั พันธระหวาง

2. เปาหมาย หมายถึง จุดประสงคสุดทายอันเปนปลายทางของการคนควาอิสระเก่ียวกับประเด็น
ปญ หาหัวขอ หรือชื่อเรอื่ งนั้น ๆ

3. ตวั แปร หรือเครือ่ งมอื
3.1 ตัวแปร หมายถึง ส่ิงที่มีอิทธิพล ผล หรือส่ิงท่ีอาจกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงของการทดลอง

3.2 เครื่องมือ หมายถึง วัสดุ อปุ กรณที่ใชในการดำเนินการศกึ ษาคนควา

ตัวอยางการจำแนกองคประกอบของชือ่ เร่ือง

การเปรียบเทียบการปลูกผักแบบไฮโดรโปนิกสท ่ใี ชป ุยสารละลายธาตุอาหารกับปุยชวี ภาพ

วทิ ยวธิ ี เปาหมาย ตัวแปร

20

ขอ มูลและการจำแนกขอมลู

ขอมูล หมายถึง พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ใหความหมายของ "ขอมูล" ไววา
หมายถึงขอเท็จจริงหรือส่ิงท่ีถือหรือยอมรับวา เปนขอเท็จจริง สำหรับใชเ ปนหลักอนุมานหาความจริงหรือการ
คำนวณขอมูลจะมีความเก่ียวของกับประเด็นคำถามหรือปญหาที่ตองการศึกษานควา ผูศึกษาตองรวบรวม
ขอมูลจากแหลงขอมูลตางๆ เพื่อเปนหลกั ฐานในการสรุปความคิดเห็นตา งๆ ที่เกีย่ วของกบั ประเด็นคำถามหรือ
ปญหาที่ตนสนใจ ขอมูลมีทั้งที่เกี่ยวกับตัวบุคคล สิ่งของ หรือเหตุการณ โดยอาจแสดงออกในรูปของภาพ
ตัวอักษร ตวั เลข สญั ลกั ษณ หรือรปู แบบอื่น ๆ สามารถจำแนกได ดงั นี้

1. จำแนกตามแหลงท่มี าของขอ มูล แบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้
1.1 ขอมูลปฐมภูมิ เปนขอมูลหรือรายละเอียดที่ผูศึกษาเก็บรวบรวมดวยตนเอง จากผูรูเห็น

เหตุการณหรือจากตนตอแหลงกำเนิดของขอมูลโดยตรง มีความนาเช่ือถือคอนขางมากในการนำมาใชใน
การศึกษา เชน ขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณ แบบสอบถามการทดลอง โบราณวัตถุ โบราณสถาน เอกสาร
ตน ฉบับ

1.2 ขอ มูลทุติยภูมิ เปน ขอ มูลท่ผี ศู ึกษาไดคัดลอก บนั ทึกหรือรวบรวมมาจากแหลง ท่ีมผี ูรวบรวมไว
อยูกอนแลว มีความนา เชื่อถอื นอยกวาขอมูลปฐมภมู ิแตห าก มีการตรวจสอบอยา งถี่ถวนถองแทแลว กอ็ าจให
ความจริงที่ถูกตองได เชน รายงาน บทความ บทวิเคราะหตาง ๆ ที่เขียนหรือเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิด
เหตุการณ

2. จำแนกตามลกั ษณะของขอมูล แบงออกเปน 2 ประเภท ดังน้ี
2.1 ขอมูลเชิงปริมาณ ขอมูลที่วัดออกมาไดในรูปของตัวเลขหรือปริมาณโดยตรง สามารถ

เปรียบเทียบไดในลักษณะมากกวาหรือนอยกวา เชน จำนวนประชากรในประเทศตาง ๆ ของโลก จำนวน
คะแนนสอบกลางภาคและปลายภาค วิชาประวัติศาสตร ปริมาณการใชไฟฟาในกรุงเทพมหานคร และ
ตางจงั หวัด รายไดโดยเฉลี่ยของประชากรในภาคตาง ๆ ของประเทศไทย

2.2 ขอมูลเชิงคณุ ภาพ ขอมูลทีไ่ มสามารถเปรียบเทียบเชงิ ตวั เลขหรือปรมิ าณ ในลกั ษณะมากกวา
หรือนอยกวาได เชน ขอมูลท่ีแสดงถึงสถานภาพ คุณลักษณะหรือคุณสมบัติ เชน เพศ เชื้อชาติ สถานภาพ
สมรส ศาสนา กลมุ เลอื ด หรอื รายชอ่ื พนักงานในบริษัท รายชอ่ื นักเรียนในโรงเรียน ยีห่ อ ของสนิ คาชนิดตา ง ๆ

3. จำแนกตามจัดเก็บในส่อื อิเลก็ ทรอนิกส
มีการแยกลักษณะขอมูลตามชนิดและนามสกุลของขอมูลน้ัน ๆ ซึ่งจะตั้งตามประเภทของขอมูล

และโปรแกรมท่ใี ชส รา งขอมูล มีดังน้ี
3.1 ขอมูลภาพ เชน ภาพถายจากกลองดิจิทัล ภาพกราฟกตาง ๆ เชน แผนที่ กราฟ มีนามสกุล

ตอ ทา ย เปน .jpg .bmp .gif
3.2 ขอ มลู ตวั อักษร เชน ตัวหนังสอื สญั ลกั ษณ ตวั เลข มีนามสกลุ ตอ ทายไฟล เชน .txt .doc

21

3.3 ขอมูลเสยี ง เชน เสียงเพลง เสยี งดนตรี เสยี งการสนทนา มีนามสกุลตอ ทา ยเปน .mp3 .mp4
.wav

3.4 ขอมูลภาพเคลื่อนไหว เชน ภาพยนตร คลิปวิดีโอ มีนามสกุลตอทายเปน .avi .mpg .mp4
.mkv .flv

4. จำแนกตามลักษณะการเก็บขอมูล ดังน้ี
4.1 ขอมูลท่ีไดจากการนับ มักเปนขอมูลเลขจำนวนเต็ม เชน จำนวนนักเรียนที่สอบเขาช้ัน

มัธยมศึกษาปท่ี 1 จำนวนนักเรียนชาย - หญิงในช้ันเรียน จำนวนรถโดยสารประจำทางที่ผานหนาบานหรือ
หนา โรงเรียน

4.2 ขอมูลท่ีไดจากการวัด จะมีลักษณะเปนเศษสวน หรือจุดทศนิยม บางครั้งเรียกวา ขอมูล
แบบตอเนื่อง เชน ความสูงของนักเรียนแตละคนในชั้นเรียน ปริมาณน้ำฝนท่ีวัดได ระยะทางจากบานมาที่
โรงเรยี น

4.3 ขอ มูลท่ีไดจากการสังเกต เปน ขอ มูลทไ่ี ดจากการใชประสาทสัมผัสท้ัง 5 ไดแก ตา หู จมูก ล้ิน
ผิวกาย เพอ่ื หารายละเอยี ดเกย่ี วกับวัตถุนน้ั ๆ เชน ใชต าสงั เกตตน ไมรอบตัววา มีตน อะไรบา ง

4.4 ขอมูลท่ีไดจากการสัมภาษณ เปนขอมูลที่ไดจากการถามตอบโดยตรง ระหวางผูสัมภาษณ
และผถู ูกสมั ภาษณ เชน การสัมภาษณผ สู ูงอายใุ นชุมชนเพือ่ เลา เร่ืองราวความเปน มาของชมุ ชนตนเอง

22

แหลง ขอมลู หรอื แหลงการเรยี นรู

แหลงขอมูล หมายถึง แหลงขาวสาร สถานที่ที่เก็บรวบรวมขอมูลหรือแหลงที่เกิดขอมูล ซ่ึงอาจเปน
ตวั บุคคล สถานที่ เอกสาร สิ่งพิมพ หรือวัตถุส่ิงของ เปนตน แมวาแหลงขอมูลจะมีอยูมากมายแตกตางกันไป
ตามความตองการของผูศึกษา แตขอมูลบางอยางผูศึกษาอาจจะนำมาจากแหลงขอมูลหลายแหลง เชน หาก
ตองการทราบราคาของสินคาชนิดหน่ึง เราสามารถหาขอมูลจากรานคาหลายราน หรือจากอินเทอรเน็ตผาน
เวบ็ ไซตต า ง ๆ

ความสำคัญของแหลง การเรยี นรู มดี ังน้ี
1. เปนแหลงท่ีรวมขององคความรูอันหลากหลายพรอมท่ีจะใหผูเรียนเขาไปศึกษาคนควาดวย

กระบวนการจดั การเรียนรูท ีแ่ ตกตา งกันของแตละบคุ คลและเปนการสง เสริมการเรยี นรูตลอดชีวิต
2. เปนแหลงเชอ่ื มโยงใหส ถานศึกษาและชุมชนมีความสัมพันธใ กลชิดกัน ทำใหคนในชมุ ชนมีสวนรวม

ในการจดั การศกึ ษาแกบ ตุ รหลานของตน
3. เปนแหลงขอมูลที่ทำใหผ ูเรยี นเกิดการเรียนรูอยางมีความสุข เกิดความสนกุ สนานและมคี วามสนใจ

ท่ีจะเรียนไมเกิดความเบื่อหนายทำใหผูเรยี นเกิดการเรียนรูจากการไดคิดเองปฏิบัติเอง และสรางความรดู วย
ตนเองและสรางความรูดวยตนเอง ขณะเดียวกันก็สามารถเขารวมกิจกรรมและทำงานรวมกับผูอื่นไดทำให
ผูเรียนไดรับการปลูกฝงใหรูและรักทองถิ่นของตน มองเห็นคุณคาและตระหนักถึงปญหาในชุมชนของตน
พรอมท่จี ะเปนสมาชิกทดี่ ขี องชุมชนทัง้ ในปจจุบันและอนาคต

ประเภทของแหลงเรยี นรู
1. แหลง การเรยี นรแู บงตามประเภท แบง ได 4 ประเภท ดังน้ี
1.1 แหลงการเรียนรูประเภทบุคคล ไดแก บุคคลทั่วไปที่อยูในชุมชนซึ่งสามารถถายทอดองค

ความรูใหกับผูเ รยี นได เชน ชาวนา ชาวสวน ชาวไร ชา งฝม อื พอ คา นักธรุ กิจ พนักงานบริษัท ขาราชการ ภกิ ษุ
สงฆ ศลิ ปน นักกฬี า เปนตน

1.2 แหลงการเรียนรูประเภทส่ิงที่มนุษยสรางข้ึน เชน สถานท่ีสำคัญทางดานประวัติศาสตร
โบราณสถาน สถานท่ีราชการ สถาบันทางศาสนา พิพิธภัณฑ ตลาด รานคา หางราน บริษัท ธนาคาร โรง
มโหรสพ โรงงานอตุ สาหกรรม หองสมุด ถนน สะพาน เข่ือน ฝายทดน้ำ สวนสาธารณะ สนามกฬี า สนามบิน
เปนตน

1.3 แหลงการเรียนรูประเภททรัพยากรธรรมชาติ เชน ภูเขา ปาไม พืช ดิน หิน แร ทะเล เกาะ
แมน ้ำ หวย หนอง คลอง บึง นำ้ ตก ทุงนา สัตวปา สัตวน ำ้ เปนตน

23

1.4 แหลงการเรียนรูประเภทกจิ กรรมทางสังคม ประเพณีและความเชอ่ื ไดแก ขนบธรรมเนียม
ประเพณีพ้ืนบาน การละเลนพ้ืนบาน กีฬาพ้ืนบาน วรรณกรรมทองถิ่น ศิลปะพื้นบาน ดนตรีพื้นบาน วิถีชีวิต
ความเปน อยปู ระจำวนั เปน ตน

2. แหลงการเรียนรู แบง ตามสถานท่ีต้งั แบงได 2 ประเภท ดังนี้
2.1 แหลงการเรียนรูในสถานศึกษา ไดแก หองสมุดโรงเรียน หองสมุดเคลื่อนที่ มุมหนังสือใน

หองเรียน หองพิพิธภัณฑ หองมัลติมีเดีย หองคอมพิวเตอร หองอินเทอรเน็ต ศูนยวิชาการ ศูนยวิทยบริการ
ศนู ยโ สตทัศนศึกษา ศูนยส ่ือการเรียนการสอน ศนู ยพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน สวนพฤกษศาสตร สวน
วรรณคดี สวนสมนุ ไพร สวนสขุ ภาพ สวนหนงั สือ สวนธรรมะ ฯลฯ

2.2 แหลงการเรียนรูในชุมชน เชน หองสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ หอศิลป สวนสัตว
สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร อุทยานวิทยาศาสตร ศูนยกีฬา ศูนยเยาวชน ภูมิปญญาทองถิ่น ศูนย
วฒั นธรรม ศนู ยหัตถกรรม วดั มสั ยิด ครอบครัว ชุมชน สถานประกอบการ องคกรภาครัฐและเอกชน ฯลฯ

24

การเก็บรวบรวมขอมูล

การเก็บรวบรวมขอ มลู เปน การนำเอาส่ิงทีเ่ ปน แนวความคดิ เกี่ยวกับองคป ระกอบตา ง ๆ ที่เก่ียวของกับ
การเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อใหไดคำตอบของประเด็นปญหาที่เกี่ยวของกับเรื่องท่ีทำการศึกษาคนควา โดยนำ
องคประกอบของความคิดน้ันมาจัดวางใหเชื่อมตอสัมพันธกัน และมองเห็นความเปนไปไดในการปฏิบัติ
ตลอดแนว ดังนน้ั การเก็บรวบรวมขอ มลู ตองดำเนนิ การในรปู แบบกระบวนการตง้ั แตการออกแบบเพ่ือวางแผน
ในการศึกษาคนควา การกำหนดขอบเขตของขอ มลู การกำหนดขั้นตอนกระบวนการในการเก็บรวบรวมขอ มลู

วธิ กี ารเก็บรวบรวมขอมูล มีขั้นตอน ดังน้ี
1. ศึกษาวิเคราะหรูปแบบของประเด็นปญหาหรือประเด็นคำถามที่จะศึกษาคนควาวาเปนประเด็น

ปญ หารูปแบบใด
2. เลือกวิธีการที่จะเก็บรวบรวมขอมูล ซ่ึงอาจจะใชวิธีการสำรวจการทดลอง กระบวนการทางประวัติศาสตร

หรือกรณีศึกษา ทงั้ นแ้ี ลวแตความเหมาะสม
3. กำหนดเลือกชนิดของขอมูลท่ีจะจัดเก็บวาเปนขอมูลเชิงปริมาณหรือขอมูลเชิงคุณภาพและควร

เนนขอมลู ท่ีเปน ปฐมภมู เิ ปนหลัก หรือหากจำเปนสามารถผสมผสานขอมลู ทุตยิ ภมู ิดวยก็ได
4. กำหนดขอบเขตของขอมูลที่ตองการหาคำตอบของประเด็นปญหา เชน จำนวนนักเรียนในระดับชั้น

มัธยมศึกษาป ท่ี 4 ที่เปน คนอวนเทานั้น
5. เลือกวิธีการหรืเครื่องมือที่จะใชใ นการเก็บรวบรวมขอมูลใหเ หมาะสม เชน อาจจะใชวิธกี ารสังเกต

การสัมภาษณ การใชแบบสอบถาม การศึกษาเอกสาร เปนตน
6. กำหนดขน้ั ตอนในการเกบ็ รวบรวมขอมูลคอื จะเกบ็ ขอ มูลโดยตดิ ตอ หนว ยงานใด เก็บขอมูลจากใคร

สถานทใี่ ด ใครเปน ผเู ก็บ เกบ็ ขอมลู อะไรเกบ็ ในชวงระยะเวลาใด จำนวนกค่ี ร้งั แตล ะคร้ังใชเวลาเทา ใด

การกำหนดขอบเขตของขอ มูล
ประชากรท่ีใชทำการศกึ ษา หมายถึง กลุม คน สัตว ส่งิ ของซงึ่ เปนกลมุ ประชากรท่ีทำการศกึ ษาวา เปน

ประชากรกลุมใด อยูที่ไหน มีจำนวนเทาใด เชน นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2565

กลุมตัวอยาง หมายถึง กลุมคน สัตวสิ่งของที่เปนตวั แทนของประชากรท่ีทำการศึกษา เชน นักเรียน
ชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 2 หอ ง 1 โรงเรียนสระบรุ ีวทิ ยาคม

เครื่องมอื ท่ีใชในการศึกษาคนควา หมายถึง การระบปุ ระเภทของเคร่อื งมือวาเปนแบบทดสอบ แบบสอบถาม
แบบสงั เกต หรือแบบสมั ภาษณ เปน ตน

25

การเกบ็ รวบรวมขอ มูล
การเก็บรวบรวมขอมูลจะตองคำนึงถึงลักษณะของขอมูลท่ีตองการ และลักษณะของแหลงขอมูล

ดังนัน้ การเก็บรวบรวมขอ มลู จงึ ควรมีวิธกี ารทหี่ ลากหลาย โดยท่ัวไปมีวิธีการเกบ็ รวบรวมขอมูล ดงั นี้
1. การสัมภาษณ (Interview) เปนการเก็บรวบรวมขอมูลทั้งดานขอเท็จจริงและขอมูลดานความคดิ เห็น

และเจตคติในลักษณะของการสนทนาโตตอบท่ีมีจุดมุงหมายชัดเจนระหวางผูตองการทราบขอมูลหรือเรื่องราว
เรียกวา “ผูสัมภาษณ” และผูใหขอมลู เรยี กวา “ผถู ูกสัมภาษณ” ประเภทของการสัมภาษณแบงเปน 3 ประเภท
ไดแก

1.1 การสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Structured Interview) คือ การสัมภาษณที่มกี ารเตรียม
คำถามไวล วงหนาและทำการสัมภาษณตามคำถามที่เตรียมไวในการสัมภาษณจะมีการนัดหมายผูใหสมั ภาษณ
เปนการลวงหนา มีการบันทึกเทปหรือการจัดบันทึกขอความตามท่ีผูสัมภาษณไดทำการสัมภาษณอยางเปน
ระบบ

1.2 การสัมภาษณแบบก่ึงมีโครงสราง (Semi-Structured Interview) คือ การสัมภาษณที่
ผูทำการสัมภาษณจัดเตรียมคำถามสัมภาษณไวลวงหนาจำนวนหน่ึง และเปดโอกาสใหมีการซักถามคำถาม
เพิ่มเติมไดอีกนอกเหนือจากประเด็นคำถามที่เตรียมไวลวงหนา การสัมภาษณดวยวิธีน้ีจะทำใหผูสัมภาษณ
สามารถเกบ็ รวบรวมขอมลู ไดก วา งขวางและลกึ กวา

1.3 การสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง (Unstructured Interview) คือ การเกบ็ รวบรวมขอ มูล
ท่ีตองอาศัยทักษะความรู ความสามารถของผูที่ทำการสัมภาษณ ผูสัมภาษณมีหนาที่ในการควบคุมและ
ดำเนินการใหไดขอมูลตรงกับขอคำถามทต่ี นเองตั้งไว ส่ิงสำคญั คือ ทำใหไดขอมลู ทกี่ วางและลึกแตมีขอ จำกัด
คอื จะใชระยะเวลาในการสัมภาษณมาก

2. การสังเกต (Observation) เปนวิธีการในการเก็บรวบรวมขอมูลวิธีหน่ึงที่เปนการเฝาดู
พฤติกรรมหรือสิ่งที่เกิดข้ึนอยางมีจุดมุงหมายโดยมีการกำหนดวิธีการขั้นตอนเพ่ือศึกษาวิเคราะหหรือหา
ความสัมพันธระหวางส่ิงท่ีเกิดข้ึน การสังเกตเปนการจัดบันทึกเพื่อบรรยายเหตุการณหรือเร่ืองราวท่ีเห็น
ในพฤติกรรมทีผ่ ูสงั เกตกำหนดเอาไวโ ดยผูถกู สังเกตอาจรูต ัวหรือไมรูตวั ก็ได

การรวบรวมขอมูลดวยวิธีการสังเกตทำใหไดขอมลู ท่ีลึกซง้ึ ตรงตามสภาพจริง แตมีขอ เสยี คือตอง
ใชระยะเวลาในการสังเกต รวมทั้งการวิเคราะหและแปลความหมายของขอมูลมาก นอกจากนี้ การแปล
ความหมายจากพฤตกิ รรมที่สงั เกตเหน็ อยา งเดียวอาจจะผดิ พลาด เนื่องจากผูสังเกตไมสามารถหยั่งรูไดวา ผูท่ี
แสดงพฤติกรรมน้ัน ๆ ออกมามีจุดมุงหมายใด มีอะไรเปนสิ่งที่กำหนดแนวความคิดในการแสดงพฤติกรรม
ออกมาเชน นนั้ โดยประเภทของการสงั เกต มีดังน้ี

2.1 การสังเกตแบบเขาไปมีสวนรวม (Participant observation) คือ การที่ผูทำการสังเกต
เขา ไปมีสวนรว มในกลุมของผถู ูกสงั เกต โดยรวมทำกิจกรรมและดำเนินการตาง ๆ เสมือน้ีเปนสมาชิกของกลุม
เพื่อลดความหวาดระแวงจากกลุม ผูถูกสงั เกตลง และทำใหไ ดขอ มูลในเชิงลกึ เขาใจในความรสู ึกนกึ คดิ ของผถู ูก

26

สังเกต และสามารถแปลความหมายของพฤติกรรมหรือปรากฏการณในการแสดงออกในระหวางการสังเกต
ถูกตอ งชัดเจนมากขึ้น

2.2 การสังเกตแบบไมเขาไปมีสวนรวม (Non-participant observation) คือ การสังเกตที่
ผสู งั เกตไมไ ดเ ขาไปรวมทำกิจกรรมกับกลุมเปาหมายที่สังเกต โดยผูถ ูกสงั เกตอาจรูตวั หรือไมรตู ัวกไ็ ดการสงั เกต
แบบไมเขา ไปมสี ว นรว มจะใชร ะยะเวลาการสงั เกตและงบประมาณนอ ยกวา การสงั เกตแบบเขา ไปมีสวนรว ม

3. แบบสอบถาม (Questionnaire) เปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอ มูลแบบทางเดยี ว ซ่ึงผตู อบ
แบบสอบถามอานขอ คำถามแลว ใสค ำตอบโดยไมมีโอกาสซักถามเพ่ิมเติมในกรณีท่ีอานคำถามแลวไมเขาใจ คือ
ไมมีการเผชิญหนากับผรูว บรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามสามารถทำไดอยางรวดเร็ว
และใชไดกับกลุมผูตอบแบบสอบถามจำนวนมาก ใชระยะเวลาในการดำเนินการไมมากแตไมสามารถเก็บ
รวบรวมขอมูลในเชงิ ลกึ ไดเหมอื นกับการใชวิธกี ารสมั ภาษณห รือการสงั เกต ซึง่ ประเภทของแบบสอบถาม ไดแก

3.1 แบบสอบถามแบบคำถามปลายเปด เปนแบบสอบถามที่ใชคำถามกวา ง ๆ เพ่ือเปดโอกาส
ใหผูตอบแบบสอบถามเขียนคำตอบไดอยางอิสระไมมีการกำหนดคำถามเฉพาะเอาไวแตมีกรอบแนวคิดเปน
แนวทางในการตอบคำถามเทา น้ัน

3.2 แบบสอบถามแบบคำถามปลายปด เปนแบบสอบถามที่ผตู อบตองเลือกตอบตามตัวเลือกท่ี
กำหนดใหเ พียง 1 คำตอบหรือหลายคำตอบ รวมไปถงึ แบบจดั เรียงลำดับ

ตวั อยางเคร่ืองมอื ในการเกบ็ รวบรวมขอ มูล
ตัวอยางแบบสมั ภาษณ

แบบสมั ภาษณน ักเรียน

ขอมูลสวนตวั และครอบครัว
1. ชอ่ื -สกุลนกั เรยี น.................................................................. ช่อื เลน................. วันเกดิ ...................................
2. ช่อื -สกุลบิดา.................................................................  เสียชีวติ  มชี วี ิตอยู อาชพี .............................
3. ชือ่ -สกุลมารดา.............................................................  เสียชวี ิต  มชี วี ิตอยู อาชีพ.............................
4. สถานภาพของบิดา-มารดา  อยดู วยกัน  หยา ราง  อน่ื ๆ...............................................
5. ความใฝฝ นในการประกอบอาชพี .....................................................................................................................

27

ตวั อยา งแบบสังเกต

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 2 เรื่อง ความมีระเบียบวินัยในการรับประทานอาหาร

การสังเกตคร้ังที่...........วันที.่ ...........เดือน.........................พ.ศ..................เวลา................................

ชื่อ......................................................................................ชน้ั ...........................................

ท่ี พฤติกรรมในการรับประทานอาหาร การแสดงออก หมายเหตุ
ปฏิบตั ิ ไมป ฏบิ ตั ิ

1 เขาแถวซื้ออาหารตามลำดับกอน-หลัง

2 ถือภาชนะใสอ าหารดว ยความระมัดระวงั

3 เทเศษอาหารทงิ้ กอนคนื ภาชนะ

หมายเหตุ บนั ทกึ ขอ สังเกตเพ่มิ เติม.....................................................................................................................

ลงชื่อ....................................ผบู นั ทึก

ตวั อยา งแบบสอบถาม

ตวั อยางแบบสอบถามปลายเปด
แบบสอบถามความคิดเหน็ ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2 ทีม่ ตี อภูมิทัศนของโรงเรยี น

1. นกั เรียนมีความคิดเห็นอยา งไรตอ รปู แบบการจัดภูมิทศั นของโรงเรยี น

..............................................................................................................................................................................

2. นักเรยี นคิดวา บรเิ วณใดของโรงเรยี นควรไดร บั การปรบั ปรงุ ภูมิทัศน เพราะเหตุใด
..............................................................................................................................................................................

ตัวอยา งแบบสอบถามแบบเลือกตอบ
1. เพศ  ชาย  หญิง

2. อายุ  ตำ่ กวา 18 ป  18-30 ป  31-50 ป
3. สถานภาพ  โสด  สมรส  หยารา ง

4. การศึกษา  มธั ยมศกึ ษา  ปริญญาตรี  ปริญญาโท

28

ตวั อยา งแบบสอบถามแบบเรียงลำดบั

จงเรียงลำดบั วิชาท่ีนกั เรียนชอบเรียน โดยใสเ ลข 1 2 3 4 และ 5 ตามลำดับความชอบ

( ) 1. ภาษาไทย ( ) 2. คณิตศาสตร ( ) 3. วิทยาศาสตร ( ) 4. ภาษาองั กฤษ

( ) 5. สงั คมศกึ ษา ( ) 6. ศิลปะ ( ) 7. คอมพวิ เตอร ( ) 8. พลศึกษา

ตวั อยา งแบบสอบถามแบบวัดเจตคติ

แบบสอบถามความพงึ พอใจเก่ยี วกับกิจกรรมวันภาษาไทย

คำชแ้ี จง จงใสเ ครอื่ งหมาย  ลงในชอ งระดับความคดิ เหน็ ท่ีตรงกบั ความรสู ึกของทาน

ท่ี คำถาม ระดับความคิดเห็น

มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่สี ดุ

1 กิจกรรมมคี วามเหมาะสม

2 สถานท่มี ีความเหมาะสม

3 ระยะเวลามีความเหมาะสม

แผนภมู กิ ระบวนการเก็บรวบรวมขอมูล วิธีการสาํ รวจ
เลือกวิธีเกบ็ วิธีการทดลอง
รวบรวมขอมูล
วิธีการศึกษาคนควา
การออกแบบ การวางแผน เลือกชนิดขอ มลู ขอ มลู เชิงปริมาณ/คุณภาพ
กาํ หนดขอบเขต
(ปฐมภมู ิ/ทุติยภมู ิ)
ของขอ มลู ประชากร
กลมุ ตวั อยา ง
เลือกเครื่องมอื แบบสงั เกต
แบบสัมภาษณ
แบบสอบถาม
การคน ควา เอกสาร

กาํ หนดข้ันตอน ดาํ เนนิ การเกบ็
ในการรวบรวมขอมลู รวบรวมขอมูล

29

การจดั หมวดหมูขอ มูล

การจัดหมวดหมูขอมูล จะชวยทำใหทราบวาจะนำขอมูลไปใชประโยชนไดอยางไร เพราะโดย
ธรรมชาติแลว ขอมลู ตาง ๆ มกั จะมีความเกย่ี วของ สมั พนั ธและเชอื่ มโยงตอกันดานใดดา นหนง่ึ เสมอ เมอ่ื ศึกษา
ใหเขาใจอยางชัดเจนแลวจะทำใหทราบวาเรื่องใด มีสวนเก่ียวของกับเรื่องใด ประกอบดวยอะไรบางและมี
ความสมั พันธเกี่ยวเน่ืองกันอยางไร ทำใหสามารถอธบิ าย และสรุปขอคนพบ เพ่ือนำไปใชไดอยางถูกตอ งตาม
วัตถปุ ระสงคท ีต่ องการ

รูปแบบการจัดหมวดหมูขอมลู มี 2 รปู แบบ ดงั น้ี
1. การจัดหมวดหมูเชิงพรรณนา เปนการจัดหมวดหมูของขอมูลอยางเปนระบบ โดยใชวิธีการทาง

วิทยาศาสตรม าชว ยในการจดั หมวดหมู ดงั นี้
1.1 รวบรวมขอมลู ท่ีศกึ ษามาทัง้ หมด
1.2 ตง้ั คำถามหรือปญหาทตี่ องการคำตอบ
1.3 แยกแยะคำถาม จัดเปน กลุม
1.4 คาดคะเนหรือคาดเดาคำตอบ
1.5 แยกแยะคำตอบ
1.6 เลือกคำตอบที่ตรงกับปญหา
1.7 สรุปคำตอบ โดยอธิบายพรรณนา พรอมอา งองิ เหตุผลและหลกั ฐานประกอบ

2. การจัดหมวดหมูเชิงสถิติ มักเปนตัวเลข ดังนั้น จึงตองอาศัยคาทางสถิติมาจัดการขอมูลเพื่อ
นำเสนอขอ สรปุ ใหเ ขาใจงา ย คา สถิตทิ นี่ ิยมนำมาใชม ีดงั นี้

2.1 การหาคา รอ ยละ เปนคาท่ีแสดงการเปรยี บเทยี บขอ มูลท่ีตอ งการกบั ขอมูลทัง้ หมดทีก่ ำหนดให
เทากบั 100 มักนำมาใชใ นการเปรียบเทียบขอ มูลเชงิ คุณภาพ โดยใชส ญั ลักษณ %

สูตร Χ % = ΣΧ x100

Ν

เมอื่ Χ % แทน คารอ ยละ
ΣΧ แทน จำนวนสง่ิ ของ (คน) ท่ีมีอยู
Ν แทน จำนวนสง่ิ ของ (คน) ทั้งหมด

30

ตัวอยา งการหาคา รอยละ

นักเรียนหองหน่ึงมีจำนวน 50 คน เปนนักเรียนหญิง 26 คน นักเรียนชาย 24 คน ดังน้ัน จำนวน

นกั เรียนหญิงและนกั เรียนชาย คิดเปนรอยละเทา ไร

สูตร คา รอยละ จำนวนสิง่ ของท่ีมอี ยู
= จำนวนสิ่งของทง้ั หมด x 100

ดังนนั้ จำนวนนกั เรยี นหญิง คดิ เปน 26 x 100 = 52 หรอื 52 %
50

จำนวนนกั เรียนหญิง คดิ เปน 24 x 100 = 48 หรือ 48 %
50

2.2 การหาคาเฉลี่ยเลขคณิต เปนเคร่ืองมือท่ีนำมาจัดหมวดหมูขอมูลเชิงปริมาณ เชน น้ำหนัก

สวนสูง หรือคะแนน คาเฉล่ียเลขคณิต หมายถงึ คาที่หาไดจากผลรวมของขอมูลท้ังหมดหารดว ยจำนวนขอ มูล

ทงั้ หมดของขอ มูลชุดนน้ั สญั ลักษณแ ทนคาเฉลีย่ คอื Χ

สตู ร Χ = ΣΧ
Ν

เมื่อ Χ แทน คะแนนเฉล่ีย
ΣΧ แทน ผลรวมของขอมูลท้งั หมด
Ν แทน จำนวนขอ มูลทง้ั หมดของชดุ ขอ มูล

ตวั อยา งการหาคา เฉลี่ยเลขคณติ
ขอมูลชดุ หน่ีง มนี ักเรียน 5 คน มีนำ้ หนักตามลำดับ ดงั น้ี 72, 66, 63, 60, 58 กโิ ลกรัม จากขอมลู ชุด

ดังกลาว นักเรยี น 5 คน มีคาเฉลยี่ น้ำหนักเทา ไร

จำนวนรวมสง่ิ ของท่มี อี ยู
สตู ร คาเฉลย่ี น้ำหนัก ( Χ ) = จำนวนสิ่งของทงั้ หมด

ดงั นนั้ คาเฉลีย่ น้ำหนกั = 72+66+63+60+58 = 319 = 63.8 กิโลกรัม
5 5

31

ตวั อยางการจัดหมวดหมูเชิงพรรณนา

ขอมูลทีศ่ ึกษา การจดั หมวดหมขู อมลู
โรคไขเลือดออก
โรคไขเลือดออก คือ โรคติดเช้ือซ่ึงมีสาเหตุมาจาก ไวรัสเดงกี่ 1. ลกั ษณะของโรคไขเ ลือกออก
(Dengue virus) อาการของโรคน้ีมีความคลายคลึงกับโรคไขหวัดใน เปน โรคติดตอที่เกดิ จากเชื้อไวรัสเดงก่ี
ชวงแรก จึงทำใหผูปวยเขาใจคลาดเคล่ือนไดวาตนเปนเพียงโรคไขหวัด
และทำใหไมไดรับการรักษาทถ่ี ูกตองในทันที โรคไขเลือดออกมีอาการและ สาเหตมุ าจากการถกู ยงุ ลายที่มเี ช้อื กดั
ความรุนแรงของโรคหลายระดับต้ังแตไมมีอาการหรือมีอาการเลก็ นอยไป 2. อาการของโรค
จนถึงเกดิ ภาวะชอ็ กซ่งึ เปน สาเหตุที่ทำใหผปู วยเสยี ชีวิต
- คลายโรคหวัด
สถิติ ในป พ.ศ. 2554 รายงานโดย กลุมโรคไขเลือดออก สำนัก - ไมแสดงอาการ
โรคติดตอ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบวา มีอัตราปวย - แสดงอาการนอยไปจนถึงภาวะช็อก
107.02 และอัตราปวยตาย 0.10 ซ่ึงหมายความวา ในประชากร 3. สถติ ผิ ปู วยไขเ ลือดออก
ทุก 100,000 คน จะมีผูที่ปวยเปนไขเลือดออกไดถึง 107.02 คน และมี - อตั ราผปู ว ย 107.02 ตออัตราปว ย
ผูเสียชีวิตจากโรคน้ี 0.1 คน ชวงอายุของคนที่พบวาปวยเปนโรค ตาย 0.10 คน
ไขเลือดออกมากท่สี ุด คอื คนอายุ 10-14 ป - ชว งอายุทีพ่ บผปู ว ยมากท่ีสดุ คือ
10-14 ป
การรักษา เนื่องจากยังไมมีการพัฒนายาฆาเชื้อไวรัสเดงกี่ การรักษา
โรคนี้จึงเปนการรักษาตามอาการเปนสำคัญ กลาวคือมีการใชยาลดไข 4. การรักษา
เชด็ ตัว และการปองกันภาวะชอ็ ก - ใชย าลดไข
- เชด็ ตัว
การปองกัน ไดแก นอนในมุง หรือนอนในหองที่มีมุงลวดเพื่อปองกัน - ปอ งกนั ภาวะช็อก
ไมใหถ ูกยุงกัด โดยจะตองปฏิบตั ิเหมือนกันทั้งกลางวนั และกลางคืนอาจใช
ยากันยุงชนิดทาผิวซ่ึงมีสารสำคัญที่สกัดจากธรรมชาติ เชน น้ำมันตะไคร 5. การปองกัน
หอม น้ำมนั ยคู าลิปตสั ซ่งึ มีความปลอดภยั สงู กวา มาทาหรอื หยดใสผ วิ หนัง - ไมใหยงุ กดั
- นอนในมุง
- ใชยากนั ยงุ ทาผิว

32

จากตวั อยา ง สามารถจดั หมวดหมขู อมูลโดยนำเสนอเปนแผนผงั ความคิดได ดงั นี้

ลักษณะของโรค สาเหตุ
โรคติดเชื้อมาจากไวรัสเดงก่ี ถูกยงุ ลายท่มี เี ช้อื ไวรสั เดงกี่กดั

โรคไขเ ลอื ดออก อาการของโรค
- คลา ยไขหวดั
สถติ ผิ ปู วย - ไมแ สดงอาการ
อตั ราปว ย 107.02 คน - แสดงอาการนอ ยไปจนถึงภาวะชอ็ ก
ตออัตราตาย 0.10 คน (ป 2554) การรักษา
- รักษาตามอาการ
- ใหย าลดไข
- เช็ดตัว
การปองกัน
- ไมใ หยงุ กดั
- นอนในมงุ
- ทายากนั ยงุ

33

การสรปุ ผลการจดั หมวดหมู

กอนท่ีจะทำการสรุปผลขอมูลควรพิจารณากอนวา ขอมูลที่คนควาไดมานั้นมีลักษณะอยางไร
ควรใชการจัดหมวดหมูเชงิ พรรณณาหรอื เชงิ สถิติ การเลอื กใชรูปแบบการสรุปขอ มูลทถี่ กู ตอ งจะชว ยใหสามารถ
อธิบายผลการศึกษาใหเขาใจงายและชัดเจนมากขึ้น เม่ือไดคำตอบของปญหาท่ีเราสนใจแลว จึงนำขอมูล
เหลาน้ันมาสรุป ทำได 2 วิธี ดังนี้

1. การสรุปขอมูลรูปแบบการบรรยาย มีขอดี คือ ทำใหเราสามารถอธิบายเนื้อหาของขอมูลได
อีกคร้ัง มีลักษณะเปนการเนั้นย้ำถึงใจความสำคัญ ซ่ึงจะชวยใหเขาใจถึงท่ีมาและจุดประสงคของการคนควา
ทำใหเกิดความเขาใจ และสามารถนำขอ มูลไปใชประโยชนไ ดงา ย มหี ลกั การ ดงั น้ี

1. อธิบายผลการศกึ ษาทีละหวั ขอ
2. ใชการบรรยายประกอบผลการศึกษาท่ีเปน ตัวเลข หรอื ตวั แปรอ่นื ๆ
3. ใชภ าษาท่สี นั้ กะทัดรดั ไดใจความ
4. อธิบายใหเช่ือมโยงกับวัดถุประสงคของการคนควา และตอบคำถามวาผลการคนควา
สามารถแกปญหาไดหรอื ไม อยา งไร
2. การสรุปขอมูลรูปแบบตารางและแผนภูมิ มีขอดีคือ สามารถเปรียบเทียบคำของขอมูลที่มี
ลกั ษณะเปนตัวเลขไดอยางชดั เจน และงา ยตอ การทำความเขา ใจ มหี ลักการ ดงั น้ี
1. ควรสรุปประเดน็ ของการคนควาใหไดก อนนำมาแสดงผลดว ยตาราง หรอื แผนภูมิ
2. เรียงลำดับหัวขอที่ทำการศึกษาในตาราง หรอื หรือจดั หมวดหมูตามผลลัพธทไ่ี ด โดยแสดงให
เหน็ ความสอดคลอ งกนั ของขอมูล
3. ใสช อื่ ดาราง และรายละเอียดของที่มาดานบนของตาราง โดยใชภ าษาท่ีสัน้ กะทดั รดั เขา ใจงาย
4. ใชสีทสี่ อดคลอ งกันในแผนภูมิ เชน ถาเปนตัวแปรชนดิ เดยี วกนั ใหใชแ ผนภมู ิสเี ดียวกันแตถ า
ตัวแปรตางชนิดกนั ใหใ ชส ตี า งกัน

34

ตวั อยา งการสรปุ ผลการจดั หมวดหมู

จากแบบสอบถามความพงึ พอใจของนักทองเท่ียวที่มีตอ การใหบริการของอทุ ยานแหงชาติ มผี ูตอบ

แบบสอบถามจำนวน 25 คน ใหคะแนนระดับความพึงพอใจเปนรายขอ ดงั น้ี

คำถาม จำนวนนกั ทองเท่ยี วที่ตอบ (คน)
มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด คา เฉลย่ี

1. การใหบรกิ ารขอมูลของเจา หนาที่ 8 12 5 - - 4.12

2. เจา หนาทใี่ หบ ริการดวยความสภุ าพ 13 5 7 - - 4.24

3. ความสะดวกสบายของสถานท่พี กั 16 5 4 - - 4.48

4. การดแู ลรักษาความปลอดภัยของท่ีพัก 14 6 5 - - 4.36

* การใหคะแนน พอใจมากทส่ี ดุ = 5 มาก = 4 ปานกลาง = 3 นอย = 2 นอยทส่ี ดุ = 1

สรุปแบบบรรยาย
จากแบบสอบถามความพงึ พอใจของนักทอ งเท่ียวทม่ี ตี อ การใหบริการของอทุ ยานแหง ชาติแหง หน่ึง

ของนกั ทอ งเทีย่ วจำนวน 25 คน มคี ะแนนเฉลย่ี ความพงึ พอใจ ดังนี้

อนั ดับ 1 ความสะดวกสบายของสถานท่ีพัก 4.48 คะแนน อันดบั 2 ความพึงพอในการดแู ลรกั ษา

ความปลอดภัยของท่ีพัก 4.36 คะแนน อันดับ 3 การใหบริการดวยความสุภาพ 4.24 คะแนน และอันดับ 4

การใหบ รกิ ารขอ มูลของเจา หนา ที่ 4.12 คะแนน

สรปุ แบบตาราง

ตารางที่ 1 แสดงระดับความพึงพอใจของนักทองเท่ียวที่มีตอการใหบริการของอุทยานแหงชาติ

จำนวน 25 คน (เกบ็ ขอ มลู วนั ท่ี xx/xx/xx)

อนั ดบั ประเดน็ วดั ความพงึ พอใจ คะแนนเฉลยี่

1 ความสะดวกสบายของสถานทพ่ี กั 4.48

2 ความพงึ พอในการดแู ลรักษาความปลอดภยั ของที่พกั 4.36

3 การใหบรกิ ารดวยความสุภาพ 4.24

4 การใหบรกิ ารขอ มลู ของเจาหนา ท่ี 4.12

* การใหค ะแนน พอใจมากทสี่ ุด = 5 มาก = 4 ปานกลาง = 3 นอย = 2 นอ ยท่ีสดุ = 1

35

สรปุ แบบแผนภูมิ
แผนภูมิท่ี 1 แสดงระดับความพงึ พอใจของนักทองเทย่ี วทม่ี ตี อการใหบ ริการของอุทยานแหงชาติ

4.6
4.5
4.4
4.3
4.2
4.1

4
3.9

ความสะดวกสบายของสถานทพ่ี ัก การดแู ลรกั ษาความปลอดภัยของที่พัก
เจาหนา ทใ่ี หบ ริการดวยความสภุ าพ การใหบ รกิ ารขอ มูลของเจาหนาที่

เมื่อเราจัดหมวดหมูขอมูล และสรปุ ผลขอมูลใหอยใู นรูปแบบทีเ่ หมาะสมไดจนสำเรจ็ ก็จะเกิดสิง่ ที่เรา
เรียกวา "ขอคนพบ" ขึ้น ขอตนพบจะนาเชื่อถือเพียงใดขึ้นอยูกับวา ขอมูลที่เก็บรวบรวมมามีความนาเชื่อถือ
เพยี งใด รวมถึงข้นั ตอนและวธิ ีการท่เี ราศึกษาคันควา นัน้ ถกู ตอ งมากนอ ยเพยี งไร

36

การนำเสนอขอ มลู

การนำเสนอ เปนวิธีการสงสารอยางมีวัตถุประสงค ทำใหเกิดการรับรูในกิจการงานตาง ๆ เปนการ
ชวยประชาสัมพันธหรือแนะนำกจิ กรรม โครงการ เปนตน นอกจากนี้ ยังเปนการบอกกลาวเรอ่ื งราวขา วสารให
บุคคล ไดรับรูและเขาใจชัดเจนมากยิ่งขึ้น การนำเสนอเปนศิลปะการถายทอดผลงาน โครงการ ขอสรุป หรือ
ขอ คนพบที่ผูนำเสนอจะตอ งมีความรู มีเทคนิคในการใชภ าษา มีความรูความชัดเจนในขอมูล ขอสรปุ หรือขอ
คนพบเหลาน้ัน

องคประกอบในการนำเสนอ
1. ผูนำเสนอขอมูล เปนผูท่ีมีบทบาทสำคัญท่ีสุดในการนำเสนอ ผูนำเสนอท่ีดีจะตองวิเคราะหผูรับ

ขอมูล ศึกษางานหรือขอมูลน้ัน ตลอดจนสรางหรือใชส่ือที่มีคุณภาพเพื่อใหการนำเสนองานน้ันบรรลุ
วัตถุประสงคท กี่ ำหนดไว

2. ผูรับขอมูล เปนผูรับขอมูลจากผูนำเสนอ ถามีการนำเสนอที่ดีผูรับขอมูลจะมีพฤติกรรม
เปลย่ี นแปลงไปในทิศทางที่ผูนำเสนอตอ งการ

3. ขอ มลู เปนส่งิ ทีผ่ นู ำเสนอตองการถา ยทอดใหแ กผ รู ับขอมูลผา นสอ่ื ตาง ๆ
4. สอื่ เปน เครอื่ งมือสำคัญที่จะนำขอมูลตาง ๆ ไปยังผูรับขอมลู เชน การนำเสนอสินคาของพนักงาน
ดวยการพดู คุยกับผูซ้ือสินคา ปจ จุบันสอื่ ทใ่ี ชใ นการนำเสนอมพี ฒั นาการมากข้นึ ดว ยการนำเทคโนโลยีตาง ๆ มา
ชว ย เชน การนำเสนอสนิ คาผานทางขอความในโทรศพั ทเคลอื่ นที่ เปน ตน

จดุ ประสงคของการนำเสนอ
1. เพ่ือใหความรู เปนการนำเสนอผลงานทางวิชาการและองคความรูตาง ๆ ท่ีผูนำเสนอมีความ

ประสงคจ ะใหผ ูอนื่ มีความรูตามท่ีตนไดรูมา
2. เพื่อโนมนาวใจใหเห็นคลอยตาม หรือสนองตอบความตองการของผูนำเสนอ เชน การขายหรือ

แนะนำสินคา การเชญิ ชวนในงานวดั การเจรจาตอรอง เปนตน
3. เพื่อความบันเทิง เปนการนำเสนอส่งิ ตาง ๆ ท่ีสามารถทำใหผรู วมฟงมจี ติ ใจราเรงิ สนุกสนานในการ

นำเสนอควรมุงเนน ในวตั ถุประสงคท ี่เฉพาะเจาะจง ไมควรนำเสนอดว ยวัตถปุ ระสงคทม่ี ากมายหลายดา นเพราะ
อาจทำใหการนำเสนอนัน้ ไมสามารถบรรลวุ ตั ถุประสงคไดอยา งแทจ ริง

37

รปู แบบการนำเสนอ
1. การนำเสนอรูปแบบเปนทางการ เปนการนำเสนอที่มีระเบียบข้ันตอนและมีพิธีกรในการดำเนิน

รายการ เชน การประชุมนำเสนอ หาขอสรุป ขอคนพบในการประชุมวิชาการ การนำเสนอนโยบายการ
บริหารงานของรัฐบาล การออกแถลงการณ การสรุปผลประกอบการของบริษัทหางรานตาง ๆ การฝกอบรม
เชน ฝกอบรมครู ฝก อบรมพัฒนาบุคลากรของบรษิ ทั หรอื หนวยงานตาง ๆ เปน ตน

2. การนำเสนอรปู แบบไมเ ปน ทางการ เปน การนำเสนอท่ีไมก ำหนดสถานท่ี เวลาไมมพี ิธกี ารมากนัก
แตนำเสนอในลักษณะการสนทนา ตอบขอซักถามแบบเปนกันเอง เชน การสนทนา พบปะ การรับประทาน
อาหารสวนใหญจะใชวธิ ีพูดคุยหรืออาจใชเอกสารสรปุ ประกอบการนำเสนอ มักไมม ีข้ันตอนอยางเปนทางการ
เชน การขายสินคา ผานทางโทรศพั ท การซกั ถาม สมั ภาษณ เปน ตน

เทคนคิ การนำเสนอ
การนำเสนอนั้นมีความสำคัญ เพราะสามารถนำไปประยุกตในดานตางๆ ได เชน การสัมภาษณงาน

การสัมมนา การเปนพิธีกรหรือผูดำเนินรายการ เปนตน การเรียนรเู ทคนิคการนำเสนอ จะชวยใหก ารนำเสนอ
งานมปี ระสทิ ธิภาพและมีความนาสนใจมากยงิ่ ข้ึน ดังน้ี

1. ศึกษา จำเนื้อหานำเสนอใหแ มนยำ พดู ใหเ ปนธรรมชาติ
2. ไมขยายความ ยกตัวอยางเกินวัตถปุ ระสงค
3. ใชภ าษาถกู ตอ ง เขาใจงาย เหมาะกับผฟู ง
4. จัดลำดับเรอื่ งทีน่ ำเสนอใหเปนขั้นตอน เพอ่ื งา ยตอ การรับรู
5. ไมใ ชภาพหรือส่ือตา งๆ มากเกนิ ไป ควรใชเ ฉพาะจดุ
6. หลีกเลย่ี งการใชส ่อื หรือภาพที่ตวั อักษรอา นยาก
7. หลีกเลี่ยงการใชสอ่ื สสี ันฉดู ฉาด มีลวดลายมากเกนิ ความจำเปน

วิธีการนำเสนอ
การนำเสนอโดยทั่วไป มีดงั น้ี
1. วิธีการนำเสนอโดยการพูด การพูดนำเสนอ อาจเปนการนำเสนอในรูปแบบเปนทางการหรือไม

เปนทางการ สิ่งที่ควรคำนึงถึงมากในการพูดนำเสนอ คือ การใชถอยคำ ภาษาการเลือกใชภาษาใหเหมาะสม
ทำใหผูฟงไดรบั รู เขาใจหรอื อาจมีความเห็นคลอยตาม เปน สิ่งท่ีตองมคี วามระมัดระวัง อาจใชว ธิ สี รุปความหรือ
เรยี งความ มดี งั น้ี

การพูดแบบสรุปความ มักจะพูดนำเสนอผลงานที่มีเนื้อหาประเภทขอเท็จจริง ขอคิดเห็นและ
ขอพิจารณาที่เปนขอ ๆ วัตถุประสงคการพูดนำเสนอแบบสรุปความ คือ ตองการใหผูฟงรับรูอยางรวดเร็ว
การพูดนำเสนอแบบสรุปความอาจใชตาราง แผนภาพ หรือภาพมาประกอบการพูดเพ่ือใหเกิดความชัดเจน
เขา ใจ

38

การพูดแบบเรียงความ เปนการนำเสนอดวยการบรรยาย พรรณนาขอคนพบอยางละเอียด
วัตถปุ ระสงคการพูดนำเสนอแบบเรยี งความ คอื ตองการอธบิ ายขยายรายละเอยี ด เสนอความคดิ เห็นใหเหตผุ ล
ชักจูงโนม นา วใจ

การนำเสนอในรปู แบบของการพดู สามารถทำไดห ลายรูปแบบ ดังนี้
1.1 การพูดอภิปราย เปนการพูดแลกเปล่ียนความรู ความคิดเห็นเรื่องใดเร่ืองหนึ่งอยาง

กวา งขวางและอาจนำไปสูก ารตดั สินใจเพอ่ื หาขอ ตกลงรว มกัน โดยมีผอู ภปิ รายต้ังแต 2 คน ข้ึนไป
1.2 การพูดแสดงทรรศนะ สามารถใชไดตลอดเวลา เมื่อตองการแสดงความคิดเห็นโดยเฉพาะ

เมอื่ ตอ งการแสดงทรรศนะในทีป่ ระชมุ ตาง ๆ การพูดแสดงทรรศนะท่ีดีตองมีเหตุผลประกอบท่ีนา เชื่อถอื คือ มี
ขอสนับสนุนความคิดเห็นของผูพูด แลวจึงสรุปขอสนับสนุนกับความคิดเห็นที่กลั่นกรองจากเหตุผลและ
ประสบการณค วามรู

1.3 การพูดโตแยง มีลกั ษณะเดน คือ การพดู เพื่อตองการหักลางอีกฝายดวยขอมลู และเหตุผลที่
นาเชื่อถือ ซง่ึ ผูพดู ตอ งใชภาษาท่ีสุภาพ หนักแนนและไมใชอ ารมณ ทั้งสองฝายจะเสนอไปตามทรรศนะของตน
โดยจุดสำคญั ของการโตแ ยง อยทู ป่ี ระเดน็

2. วิธีการนำเสนอโดยการเขียนหรือพิมพ วิธีการนำเสนอดวยการเขียนหรือพิมพ เปนอีกวิธีหน่ึง
ของการสอ่ื สารเพือ่ ใหผูอนื่ หรอื ผทู ่ีเก่ยี วของรับรู ส่งิ ท่คี วรคำนงึ ถึงมากในการเขียนหรือพิมพ คือ การใชภาษาท่ี
ชัดเจน ใชภาษาเขียน ไมใชภาษาพูด หลีกเลี่ยงการใชภาษาตางประเทศ หากมีคำไทยใชแ ทนแลวควรมีความ
คงทใี่ นการใชส ำนวนภาษาหรือคำศพั ทตา ง ๆ และควรเขยี นเรียงลำดบั ความอยางเปน ระบบตอ เน่ือง

การนำเสนอดว ยการเขยี นหรือพิมพจะมีประสิทธิภาพมากนอยเพียงใดข้ึนอยูกับผูเ ขยี นหรอื ผูนำเสนอ
เปน สำคญั เพราะผูเขียนจะตองมีความรเู ขาใจในเร่ืองที่เขยี นและระเบียบแบบแผนในการเขียนเปนอยา งดี การ
เขียนเปนทักษะท่ีตองไดรับการฝกฝนเปนประจำเพื่อใหเกิดความรูความชำนาญและปองกันการผิดพลาดใน
การส่ือสารรวมถึงการรูจักใชถอยคำท่ีสละสลวยการนำเสนองานผาน การเขียนท่ีมีประสิทธิภาพมีหลักสำคัญ
ดงั น้ี

2.1 ชดั เจน ไมกำกวมคลุมเครอื
2.2 ถกู ตอง ใชภาษาและเขยี นใหถกู ตองเหมาะสมกบั กาลเทศะ
2.3 กระชบั ใชส ำนวนการรวมประโยคเพอ่ื ใหเ กิดความกระชบั
2.4 เรียบงาย ใชคำทเ่ี ขาใจงายไมใ ชค ำฟุมเฟอย
2.5 สุภาพ มีความประณตี ในการใชภ าษาและการนำเสนอเน้ือหา
2.6 มคี วามรู รจู กั การเขยี นประเภทตาง ๆ และฝก ฝนใหเกิดความชำนาญอยูเ สมอ
3. วิธีการนำเสนอผานเว็บไซต เปนการนำเสนอขอมูลผานระบบอินเทอรเน็ต โดยนำเสนอขอมูล
ผานหนาจอคอมพิวเตอรท่ีเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ต ทำใหสมารถนำเสนอขอมูลไดครอบคลุมท่ัวโลก การนำเสนอ
งานในรปู แบบเว็บไซตจดั เปนการเสนอทไ่ี ดร บั ความนิยมมากในปจจุบัน โดยมีขอ ดี ดงั น้ี

39

3.1 นำเสนอขอ มูลไดหลายรูปแบบ เชน ตวั หนังสือ ภาพเคลือ่ นไหว เสยี ง เปน ตน
3.2 เขา ถึงหรือเชอ่ื มโยงไปยงั แหลง ขอ มลู อนื่ ๆ ไดอยางสะดวกรวดเรว็
3.3 สามารถใชง านไดท ุกท่ี ทกุ เวลาที่มคี อมพิวเตอรหรือสมารตโฟนท่ีเชือ่ มตออนิ เทอรเ นต็
3.4 แลกเปลยี่ นขอ มูลความรู ความคิดเหน็ ตาง ๆ กบั ผูนำเสนอไดทันที และเปนไปโดยสะดวก

ลกั ษณะการนำเสนอท่ดี ี
นอกจากการเลือกรูปแบบของการนำเสนอ ใหถูกตองและเหมาะสมแลวจะตองคำนึงถึงลักษณะของ

การนำเสนอ ทจ่ี ะชวยใหบรรลุผลตามวตั ถุประสงคข องการนำเสนอดวย โดยทว่ั ไปลกั ษณะของการนำเสนอท่ีดี
มีดงั ตอไปนี้

1. มีวัตถุประสงคที่ชัดเจน มีความตองการท่ีแนชัดวา เสนอเพื่ออะไร โดยไมตองใหผูรับฟงการ
นำเสนอตอ งถามวา ตองการใหพ ิจารณาอะไร

2. มีรูปแบบการนำเสนอเหมาะสม มีความกะทัดรดั ไดใจความ เรียงลำดับไมส นใชภาษาเขาใจงายใช
ตาราง แผนภมู ิ แผนภาพชวยใหพ ิจารณาขอ มลู ไดสะดวก

3. เน้ือหาสาระดี มีความนาเชื่อถือ เท่ียงตรง ถูกตอง สมบูรณครบถวน ตรงตามความตองการ
มีขอ มลู ทเ่ี ปนปจจบุ ันทันสมัยและมีเนอื้ หาเพยี งพอแกก ารพิจารณา

4. มีขอเสนอที่ดี มีขอเสนอท่ีสมเหตุสมผล มีขอพิจารณาเปรียบเทียบ ทางเลือกที่เห็นไดชัด
เสนอแนะแนวทางปฏบิ ัติทช่ี ดั เจน

40

บรรณานกุ รม

กัญณภทั ร ชัยกานตก ลุ . (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการเรียน วชิ า การศึกษาคน ควา และสรางองคความรู
ดว ยตนเอง. สืบคน 5 พฤษภาคม 2565 จากhttps://www.kroobannok.com/news_file/
p99034961852.pdf

กุณฑรี า บุญเลยี้ ง, ทับทมิ ทอง กอบัวแกว และจิราวรรณ สังวรปทานสกุล. (ม.ป.ป.) การศึกษาคนควาดวย
ตนเอง IS : Independent Study ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 1-3. (พมิ พครงั้ ท่ี 5). กรงุ เทพฯ: อกั ษร
เจรญิ ทัศน.

ชดุ ฝก การศกึ ษาคนควาและสรา งองคความรู. (2563). สืบคน 7 กันยายน 2563 จาก
https://pubhtml5.com/qhoj/oepo/basic

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน. (2555). แนวทางการจดั การเรียนการสอนในโรงเรยี น
มาตรฐานสากล ฉบบั ปรับปรงุ . กรุงเทพฯ: ชมุ นมุ สหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย.

41


Click to View FlipBook Version