The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการเรียนการอ่าน ภาคเรียนที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kritsahna Suwan, 2022-05-09 00:32:43

เอกสารประกอบการเรียนการอ่าน

เอกสารประกอบการเรียนการอ่าน ภาคเรียนที่ 1

เอกสารประกอบการเรยี น
วชิ า ก.ส่งเสริมนิสยั รักการอ่าน

ภาคเรียนท่ี 1
ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1
โรงเรียนสระบรุ วี ทิ ยาคม
By Kru Grissana J

เร่ือง ปฐมนเิ ทศการแนะนาหอ้ งสมุด

คาอธิบายรายวิชา

รายวชิ า ส่งเสริมนสิ ยั รักการอ่าน รหัสวิชา ก21941 กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 จานวนเวลา 20 ชวั่ โมง/ภาคเรียน

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาระเบียบ ข๎อปฏิบัติ มารยาทในการใช๎ห๎องสมุดและมารยาทในการอําน การหาความร๎ูจาก

ห๎องสมดุ และแหลํงเรียนรต๎ู าํ งๆ การบนั ทึกความรูจ๎ ากการอาํ น การเลือกใช๎วัสดุสารนิเทศประเภทตํางๆ เพื่อ

เชื่อมโยงการใช๎ประโยชน์ในการศึกษาค๎นคว๎ากับศาสตร์ในกลุํมสาระการเรียนร๎ูอื่นตามความสนใจของผ๎ูเรียน

การค๎นหาหนังสือท่ีมีการจัดเก็บด๎วยหมวดหมํูระบบทศนิยมดิวอี้ การสืบค๎นฐานข๎อมูลออนไลน์เพื่อค๎นหา

หนังสอื สร๎างนิสัยรักการอาํ นด๎วยกิจกรรมสงํ เสริมรกั การอาํ น ทาใหเ๎ ห็นความสาคัญคณุ คาํ ของการอําน ร๎ูจัก

ศึกษาค๎นควา๎ ดว๎ ยตนเอง ใฝุร๎ู ใฝุเรียน มํุงมั่นในการทางาน สามารถนาความร๎ูไปพัฒนาตนเอง การดาเนิน

ชวี ิตประจาวนั การศึกษาหาความรู๎ประกอบอาชีพในอนาคต เป็นการพัฒนาความเจริญงอกงามทางปัญญา

ให๎ทันตํอเหตุการณ์ความเคลื่อนไหวของโลกปัจจุบัน ชํวยแก๎ไขปัญหา รวมท้ังเป็นการพักผํอนหยํอนใจจาก

ชวี ติ ประจาวนั

ผลการเรยี นรู้
1. นักเรยี นปฏบิ ัติตนตามระเบยี บ มีมารยาทในการอําน และมีคุณธรรมในการใช๎ห๎องสมุด
2. นกั เรียนใช๎ห๎องสมดุ และแหลงํ การเรยี นรเ๎ู พื่อการศกึ ษาค๎นควา๎ ไดด๎ ๎วยตนเอง
3. นกั เรียนมีความรเ๎ู กี่ยวกับวสั ดุสารนเิ ทศท้ังที่เป็นวัสดุตพี มิ พ์ และวัสดุไมตํ พี มิ พ์
4. นักเรียนร๎วู ธิ กี ารจัดเก็บและคน๎ หาหนังสือดว๎ ยระบบทศนิยมดิวอ้ีได๎
5. นักเรียนเข๎าถงึ วสั ดุสารนิเทศด๎วยเครอื่ งมอื สบื คน๎ ข๎อมูล
6. นักเรยี นใช๎เวลาวาํ งใหเ๎ กดิ ประโยชน์ ใฝเุ รียนใฝุรู๎ และมีนิสยั รกั การอาํ น

รวม 6 ผลการเรยี นรู้

วิชา ก.สงํ เสรมิ นสิ ยั รกั การอําน โรงเรยี นสระบรุ ีวทิ ยาคม หนา๎ 1

เกณฑก์ ารประเมนิ สดั สวํ น 20 คะแนน
1. เวลาเข๎ารํวมกิจกรรม สัดสวํ น 60 คะแนน
2. การปฏบิ ัติกิจกรรม สดั สํวน 20 คะแนน
3. มผี ลงาน/ช้ินงาน/คุณลักษณะของผเู๎ รียน

เกณฑ์การตัดสนิ
กาหนดคณุ ภาพหรอื เกณฑ์ในการประเมินตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช

2551 กาหนดไว๎ 2 ระดับ คือ ผา่ น และ ไม่ผ่าน ดงั น้ี
เกณฑ์การตัดสนิ ผลการประเมินรายกิจกรรม
ผ่าน หมายถงึ ผ๎ูเรยี นมีเวลาเข๎ารํวมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ ปฏบิ ัติกจิ กรรม
และมีผลงาน/ชิน้ งาน/คุณลักษณะตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด

ไม่ผ่าน หมายถึง ผ๎ูเรยี นมเี วลาเข๎ารวํ มกิจกรรมไมคํ รบตามเกณฑ์ ไมผํ าํ นการปฏบิ ตั ิ
กิจกรรม หรอื มีผลงาน/ช้นิ งาน/คุณลักษณะ ไมเํ ป็นไปตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด

* เวลาเข๎ารวํ มกจิ กรรม อยํางนอ๎ ยร๎อยละ 80 ของเวลาเรียน

วิชา ก.สงํ เสรมิ นิสัยรักการอําน โรงเรยี นสระบรุ วี ิทยาคม หนา๎ 2

เรื่อง ห้องสมุดของเรา

ความหมายของหอ้ งสมุด

คาวํา หอ๎ งสมุด ในประเทศไทยสมัยกอํ นเรียกวาํ หอหนังสือ เป็นสถานที่เก็บรวบรวม หนังสือ เอกสารราชการ
ซึ่งประกอบด๎วยกฎระเบียบ ข๎อบังคับ กฎหมาย พระบรมราชโองการ อันได๎แกํ เร่ืองราชการตํางๆ จดหมาย
โตต๎ อบ บนั ทกึ เรอ่ื งราว เป็นตน๎ สํวนหนงั สอื ทางพระพทุ ธศาสนา ไดแ๎ กํ พระไตรปิฎก และเร่ืองอื่นๆ ที่เก่ียวกับ
พระพทุ ธศาสนาน้นั จะมสี ถานทเี่ กบ็ ตาํ งหาก สถานท่นี ี้จะสร๎างขึ้นภายในวัดเรียกวํา หอไตร ห๎องสมุด ตรงกับ
ภาษาอังกฤษวํา Library มาจากศัพทภ์ าษาละตนิ วํา Libraria

มผี ใ๎ู ห๎ ความหมายของคาวาํ หอ้ งสมุด ไวห๎ ลากหลาย ดังนี้
1. ลมลุ รตั ตากร (2539 : 27) อธบิ ายวํา ห๎องสมุดเป็นสถานที่รวบรวมสรรพวัสดุของห๎องสมุด ซึ่งมี

ท้งั หนังสอื สง่ิ พิมพ์ และโสตทศั นวสั ดตุ าํ งๆ ที่จดั ไว๎ใหผ๎ ู๎ใชไ๎ ด๎ใช๎
2. ทพิ วรรณ หอมพลู (2542 : 2) และคณะ กลําววํา หอ๎ งสมุด คอื สถานที่รวบรวมสรรพวิทยาการ

ตํางๆ ซ่ึงไดบ๎ ันทึกไวใ๎ นรูปของหนังสือ วารสาร ต๎นฉบบั ตวั เขยี น สง่ิ ตพี มิ พ์อ่นื ๆ หรอื โสตทศั นวสั ดุ
และมกี ารจดั อยํางมรี ะเบยี บเพ่อื บริการแกํผ๎ใู ช๎ ในอนั ทีจ่ ะสงํ เสริมการเรยี นรแ๎ู ละความจรรโลงใจ
ตามความสนใจและความตอ๎ งการของแตลํ ะบุคคล โดยมบี รรณารักษ์เป็นผู๎จัดหา และจัดเตรยี ม
ใหบ๎ รกิ ารแกผํ ๎ใู ช๎ห๎องสมุด
3. สุทธิลักษณ์ อาพันวงศ์ (2543 : 1) กลําววํา ห๎องสมุด คือ แหลํงรวบรวมวัสดุเพ่ือการศึกษาและ
ค๎นควา๎ วจิ ยั ได๎แกํ สิง่ ตีพมิ พ์ หนงั สือตวั เขยี น โสตทัศนวสั ดุ และวัสดุยอํ สวํ น

สรปุ ได๎วํา หอ้ งสมดุ คือ แหลงํ วิทยาการท่รี วบรวมความรตู๎ าํ งๆ ทั้งวัสดตุ ีพมิ พ์ และวัสดุไมํตีพิมพ์ เชํน
หนงั สือ วารสาร หนังสอื พิมพ์ ส่งิ พมิ พ์ประเภทอนื่ ๆ และโสตทัศนวัสดุ

วิชา ก.สํงเสรมิ นสิ ยั รกั การอําน โรงเรยี นสระบรุ ีวิทยาคม หน๎า 3

วตั ถุประสงค์ของหอ้ งสมดุ

หอ๎ งสมุดโดยทั่วไปมีวัตถปุ ระสงค์ท่ีสาคญั 5 ประการ
1. เพ่อื การศึกษา (Education) ห๎องสมุดเปน็ สถานท่สี าหรับการศึกษา เปิดโอกาสให๎ ทุกคนศึกษา
ไดอ๎ ยาํ งเต็มที่ตามความสนใจ และความต๎องการของแตํละบคุ คล โดยไมจํ ากัด พื้นฐาน ความร๎ู เพศ วัย ฐานะ
และเป็นแหลํงสาคัญท่ีจะชํวยสํงเสริมให๎การศึกษาทั้งในระบบ โรงเรียนและนอกระบบโรงเรียนได๎บรรลุตาม
วตั ถปุ ระสงค์อกี ดว๎ ย
2. เพอ่ื ให้ความรู้และข่าวสาร (Information) สังคมมีความเปล่ียนแปลงและเคลื่อนไหว อยูํเสมอ
ดังน้ันมนุษยใ์ นสังคมจงึ จาเป็นตอ๎ งทราบขําวสาร ความเคลื่อนไหวตํางๆ อยูํเสมอ เพ่อื ให๎เปน็ บคุ คลทท่ี ันสมยั
ทันตอํ เหตกุ ารณ์มีความเฉลียวฉลาด และมีความคิดรเิ ร่ิมสรา๎ งสรรค์ ห๎องสมดุ จึงเป็นแหลงํ สาคัญทชี่ ํวยเผยแพรํ
ขาํ วสาร ความรต๎ู ํางๆ ได๎เป็นอยํางดี
3. เพื่อการค้นคว้า (Research) ห๎องสมุดเป็นแหลํงรวบรวมข๎อมูลตํางๆ เพ่ือให๎บริการแกํผู๎
ทาการคน๎ ควา๎ วจิ ัย เป็นสง่ิ จาเปน็ เพอ่ื ความกา๎ วหนา๎ ทางวิชาการ
4. เพือ่ ความจรรโลงใจ (Inspiration) ห๎องสมุดจะรวบรวมส่ือหลายประเภทท่ใี หค๎ วามจรรโลงใจใน
ส่ิงท่ีดีแกํผู๎อื่น ให๎ความสุขทางใจ เกิดความซาบซ้ึงประทับใจ ปรารถนาท่ีจะทาในส่ิง ที่ดี ทั้งในสํวนตัว
และสวํ นรวม
5. เพ่อื การพักผ่อนหยอ่ นใจ (Recreation) การอาํ นหนงั สือเปน็ การพักผํอนหยํอนใจ ท่ีดี กํอให๎เกิด
การเพลิดเพลนิ คลายความตงึ เครียด รูจ๎ กั ใชเ๎ วลาวํางให๎เป็นประโยชน์ และยังชํวยปลูกฝังนิสัยรักการอํานเป็น
ประจาสม่าเสมอ

ความสาคญั ของหอ้ งสมดุ

ลมลุ รตั ตากร (2539 : 29-31) ใหค๎ วามสาคญั ของห๎องสมดุ โดยสรปุ ไว๎วํา
1. ห๎องสมุดเปน็ ที่รวมแหงํ วทิ ยาการตํางๆ ท่ีผใ๎ู ชส๎ ามารถค๎นหาความรู๎ได๎ทุกแขนงวิชาท่ีมีการสอนใน
สถานศึกษาน้นั
2. ห๎องสมุดเป็นท่ีท่ีทุกคนจะเลือกอํานหนังสือ และค๎นคว๎าหาความร๎ูตํางๆ ได๎โดยอิสระตามความ
สนใจของแตํละบุคคล
3. หอ๎ งสมุดชวํ ยให๎ผ๎ูใชห๎ อ๎ งสมุดพอใจท่ีจะอํานหนังสือตํางๆ โดยไมํร๎ูจักจบส้ิน คือ ทาให๎เกิดนิสัยรัก
การอําน

วชิ า ก.สงํ เสรมิ นสิ ยั รกั การอําน โรงเรยี นสระบรุ ีวทิ ยาคม หน๎า 4

4. หอ๎ งสมดุ ชํวยใหผ๎ ใ๎ู ชห๎ ๎องสมดุ มีความร๎ูด๎วยตนเอง
5. ชํวยใหผ๎ ๎ูใช๎ห๎องสมุดมีนสิ ยั รกั การค๎นคว๎าหาความรดู๎ ว๎ ยตนเอง
6. ห๎องสมุดชวํ ยใหร๎ จู๎ ักใช๎เวลาวํางให๎เป็นประโยชน์
7. ห๎องสมดุ จะชํวยให๎ผใ๎ู ชห๎ ๎องสมดุ รบั ร๎ูในสมบตั ิสาธารณะร๎ูจักใช๎และระวงั รกั ษาอยาํ งถกู ต๎อง

ประวัติความเป็นมาห้องสมดุ

หอ้ งสมุดแห่งอเลก็ ซานเดรีย แหล่งวิทยาการแห่งแรกของโลก

นกั โบราณคดี ไดข๎ ดุ พบซากโบราณสถานท่ีเชื่อวําเปน็ ซากของ หอสมดุ แห่งอเลก็ ซานเดรีย หรอื ห้องสมุดแหง่ อเล็กซานเดรีย
(Library of Alexandria) ซง่ึ เปน็ แหลง่ ความรู้ และ วิทยาการของโลกแหง่ แรกของโลก และเปน็ ศูนยก์ ลางการเรียนรทู้ ี่
สาคญั มากแห่งหน่ึง นอกจากนี้ยังได๎จดั ทารายการหนังสือ ซึ่งนับวําเป็นการจดั ทาบรรณานกุ รมคร้งั แรก เมอื่ สองพนั หา๎ ร๎อยกวาํ ปี
กอํ นอีกด๎วย
https://youtu.be/aRqW47H6SMU

วชิ า ก.สงํ เสริมนสิ ัยรักการอําน โรงเรยี นสระบรุ วี ทิ ยาคม หน๎า 5

เรอื่ งมารยาทในการใช้หอ้ งสมุด

เปดิ เวลาทาการ
จันทร-์ ศุกร์ 7.30- 16.30

บริการยมื -คืน หนงั สอื
เวลา 07.30 – 07.50 น
เวลา 11.00 - 13.00 น.
เวลา 14.30 – 16.30 น.

ข้อปฏบิ ตั ิในการเขา้ ใช้ห้องสมุด

1. ไมนํ ากระเป๋า ถุงยําม กรรไกร คัตเตอร์เข๎าไปในห๎องสมดุ จะนาเข๎าไปได๎เฉพาะสมุดจดงาน
2. นากระเปา๋ นกั เรยี นวางไวท๎ ช่ี นั้ วางอยาํ งมรี ะเบยี บ แตํงกายให๎สภุ าพเรยี บร๎อยตามระเบียบของโรงเรยี น
3. ไมคํ ยุ หรอื สงํ เสยี งดงั ขณะอยํูในหอ๎ งสมุด
4. ไมนํ าเคร่ืองมือสื่อสารทุกชนมิ าเลนํ เกมในห๎องสมดุ
5. ไมํทางานประดษิ ฐต์ าํ ง
6. ไมํนาขนม อาหาร เครอื่ งด่ืม เข๎าไปรับประทานหรอื ด่ืมในห๎องสมุด
7. ใช๎หนงั สือส่งิ พมิ พ์ดว๎ ยความระมัดระวงั ไมํรอ้ื ค๎นหรือทาให๎เกดิ ความไมเํ ปน็ ระเบียบโดยไมจํ าเปน็
8. ไมํนอนหรอื นงั่ หลับในหอ๎ งสมุด
9. หนงั สือเลํมใดท่อี าํ นจบหรือไมปํ ระสงค์จะใชอ๎ กี ตอ๎ งนาไปเก็บท่เี ดมิ ทกุ คร้ัง
10. ตอ๎ งชํวยกนั ดูแลรักษาหนังสอื เอกสารของห๎องสมดุ มใิ ห๎ถูกฉีก ตัด ขโมยหรอื ถูกทาลาย

วชิ า ก.สํงเสริมนิสัยรักการอําน โรงเรียนสระบรุ วี ทิ ยาคม หนา๎ 6

เรอื่ งมารยาทในการอา่ น…..ในห้องสมดุ

หนังสอื เปน็ ส่งิ ที่มีคุณคาํ จึงควรระวังรักษาให๎ใช๎ประโยชน์ได๎นานที่สุด เพ่ือให๎หนังสืออยูํ

ในสภาพคงทนถาวร ใชป๎ ระโยชน์ไดน๎ าน ควรปฏบิ ัติดังน้ี

1. การเปิดหนงั สือใหถ้ กู วิธี

เม่อื มหี นงั สอื ใหมํควรจะเปดิ หนังสือใหมอํ ยํางถกู วธิ ี วธิ เี ปดิ หนังสอื ใหมํ มดี ังน้ี
1. วางหนงั สอื ลงบนโตะ๏ โดยเอาสนั หนังสือวางทาบกับพนื้ โต๏ะ
2. เปิดปกหน๎า และปกหลงั ออกใหป๎ กแนบกับพ้ืนโต๏ะ
3. จับสํวนทเี่ ป็นเลมํ หนังสอื ทั้งหมดในดา๎ นท่ตี รงกับสนั หนังสือทว่ี างทาบกบั โต๏ะ

แลว๎ คอํ ยๆ เปดิ หนังสอื ออกทีละหน๎าตัง้ แตหํ น๎าแรกครัง้ ละ 10 แผนํ ให๎ใชน๎ ว้ิ รดี
ขอบในที่ตดิ กบั สันให๎เรียบร๎อยแล๎วเปิดทีละหน๎าจนครบ 10 แผนํ สลบั กับ
ดา๎ นหนา๎ แลว๎ ใช๎นิว้ รีดทกุ ครัง้ จนหมดเลํม
2. ข้อควรปฏบิ ัติการระวังรักษาหนังสือ

1. ลา๎ งมอื ใหส๎ ะอาดกํอนหยบิ หนังสอื ทุกครง้ั
2. เม่ือหยิบหนังสือออกจากชั้น ให๎จับตรงกลางสันหนังสือ เม่ือเก็บหนังสือให๎เอาสันออก

ทางดา๎ นนอก และใชท๎ ีก่ นั้ หนงั สอื ไมํให๎ล๎ม
3. เมอ่ื เปดิ หน๎าหนงั สอื ใชม๎ ือจับที่มุมขวาของหนังสือ แล๎วเปดิ อยาํ งระมัดระวงั
4. ไมคํ วรเปิดหนงั สือกางอํานเกนิ 180 องศา
5. ไมํขีดเขียนข๎อความใดๆ เพ่ิมเติมลงไปในหน๎าหนังสือ ไมํขีดเส๎นใต๎ข๎อความใดทาให๎หนังสือ

สกปรกไมนํ ําอําน
6. เม่ืออํานหนังสือไมํจบและจาเป็นต๎องหยุดพักการอําน ไมํควรใช๎วัสดุท่ีมี ความหนา เชํน

ยางลบ ปากกา ฯลฯ คน่ั หนังสือไว๎ จะทาใหส๎ นั หนังสอื แตก ไมํพับมุมหนังสือ ซึ่งจะทาให๎เป็น
รอยขาดงํายและไมคํ วรจับหนังสือท่ีกาหลังอําน คว่าหน๎าลงบนโต๏ะ จะทาให๎สันหนงั สือแตก
7. ขณะอํานหนงั สอื อยาํ ฟุบหน๎านอนทับลงบนหนังสอื ที่เปิดไว๎หรือใช๎ข๎อศอกท๎าวลงบนหนังสือ
เพราะนา้ หนักท่กี ดทับลงมาจะทาใหส๎ นั หนงั สอื แตก
8. ระวงั หนงั สอื ไมใํ หเ๎ ปยี กน้า หนังสือเวลาเปียกน้าแล๎วกระดาษจะพองตัวเมื่อหนังสือแห๎งแล๎ว
รูปทรงจะเปลยี่ นไป มีลกั ษณะบวม และรูปเลมํ ไมํเรียบรอ๎ ย
9. ระวงั อยา่ ใหห้ นงั สอื ถกู แดด ฝน หรอื เก็บไวใ้ นท่อี บั ชืน้
10. ไม่ควรพบั มมุ หนงั สอื เพ่อื ค่นั ตอนกาลงั ท่อี า่ นคา้ งอยู่
11. ไม่ฉีก ตดั ขอ้ ความ รูปถ่ายจากหนงั สอื หากตอ้ งการใหน้ าไปถ่ายเอกสาร

วิชา ก.สงํ เสริมนสิ ยั รักการอาํ น โรงเรยี นสระบรุ วี ทิ ยาคม หน๎า 7

เรือ่ ง การเขียนบนั ทึกการอ่าน

การเขียนบนั ทึกจากการอา่ น
การบันทึกการอาํ นหมายถงึ การเก็บรวบรวมขอ๎ มูลจากแหลงํ ตาํ งๆเพ่อื นามาใช๎ในการเขยี นผ๎ูอําน

จาเปน็ ต๎องมที กั ษะการเขยี นสรปุ ความ ถอดความ และคัดลอกขอ๎ ความสาคญั
การมรี ะบบการบนั ทึกที่ดี
1.ชํวยใหเ๎ ราสามารถรวบรวมขอ๎ มลู ขําวสารตํางๆจากการอํานไปใช๎ให๎เป็นประโยชนไ์ ด๎ถกู ต๎องครบถ๎วน
2. ชํวยใหก๎ ารจดั ระเบียบขอ๎ มูลท่ีไดจ๎ ากการอํานเปน็ ไปอยาํ งมีระบบ
3. ชํวยให๎ผอู๎ ํานเขา๎ ใจและจดจาข๎อมูลเหลาํ นน้ั ไดง๎ าํ ยกวําการอํานจากตาราหรอื เอกสาร
4. ชวํ ยใหผ๎ ู๎เรยี นมีสมาธิในการอํานทง้ั นีเ้ พราะต๎องเลือกบนั ทกึ เฉพาะสง่ิ ท่เี ปน็ ประเดน็ สาคัญทีต่ ๎องการ

นาไปใช๎ในงานของตน
ดังนั้นการบันทึกจากการอําน ผูอ๎ ํานจึงต๎องมคี วามเขา๎ ใจเร่อื งท่ีอํานเปน็ อยาํ งดี และสรา๎ งความคดิ ของ

ตนเองในขณะท่ีเขยี นบนั ทกึ น้นั ด๎วย

วธิ กี ารจดบนั ทกึ ความรู้ ควรปฏิบัติ ดงั น้ี
1 จดบนั ทึกสาระที่เปน็ ความร๎ู ผ๎บู ันทกึ ต๎องเขา๎ ใจและจบั ประเดน็ หรอื สาระสาคญั ของเรือ่ งให๎ได๎
2 จดบนั ทกึ ดว๎ ยถอ๎ ยคาของตนเอง
3.. บอกแหลงํ ทีม่ าของเรื่องทบี่ นั ทกึ หากเปน็ การอํานจากหนังสอื ใหส๎ งั เกตแหลงํ ท่มี าจากหนา๎ ปกใน

และ หากเปน็ เวบ็ ไซต์ ก็ให๎บันทึกขอ๎ มลู URL (URL หมายถึงตวั ระบแุ หลงํ ในอนิ เตอร์เน็ต โดยใหข๎ อ๎ มลู เกย่ี วกบั
ตาแหนงํ และทีอ่ ยขูํ องเวบ็ ไซตห์ น่ึง ๆ )

ตัวอยา่ งหน้าปกในหนังสือ

วิชา ก.สงํ เสริมนิสยั รกั การอําน โรงเรียนสระบรุ วี ิทยาคม หนา๎ 8

ตัวอยา่ งการบอกแหล่งท่มี าของเรอื่ งท่บี นั ทกึ การอ่าน
จากสมุดบนั ทึกการอา่ น ของ โรงเรียนสระบุรวี ิทยาคม

 เลม่ ที่ ...(เรียงเล่มที่ 1-30)......
 ชอื่ หนงั สอื /ชอื่ เร่ือง : ใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ ช่ือเรอ่ื งหนา้ ปกหนังสือทน่ี ักเรยี นอ่าน
 แหลง่ ท่ีมา :รายละเอียดเกี่ยวกบั หนงั สือ เชน่ ชอื่ ผู้แต่ง สานักพิมพ์ ปีที่พมิ พ์ ให้นามาจาก

บรรณานุกรมหนา้ ปกใน
 ถ้าอ่านจาก Website : ทีไ่ มม่ ีรายละเอียดบรรณานกุ รมใหน้ ามาจาก URL หมายถึงตวั ระบุ
แหลํงขอ๎ มลู ในอนิ เตอรเ์ นต็
 สรปุ เรอื่ งย่อ : อยา่ งนอ้ ย 3 บรรทัด
 ประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับจากเรอ่ื ง : ไดอ้ ะไรจากในเรื่องตอบใหช้ ัดเจน
 แนวคิดทีส่ ามารถนาไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจาวนั

วชิ า ก.สงํ เสรมิ นสิ ัยรักการอาํ น โรงเรียนสระบรุ วี ทิ ยาคม หน๎า 9

เรื่อง- บนั ทกึ รักการอา่ น

การอําน คอื กระบวนการที่ผู๎อาํ นรับร๎ูสารซึง่ เป็นความรู๎ ความคิด ความรู๎สึก และ ความคิดเหน็ ที่
ผ๎ูเขียนถํายทอดออกมาเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร การท่ีผอู๎ าํ นจะเข๎าใจสารไดม๎ ากน๎อยเพยี งไร ขึ้นอยกูํ ับ
ประสบการณ์และความสามารถในการใช๎ความคดิ

ประโยชนจ์ ากการอา่ น

1. ชวํ ยใหเ๎ ปน็ คนเรยี นเกงํ เพราะเมือ่ อาํ นเกํงแลว๎ จะเรยี นวชิ าตาํ งๆ ไดด๎ ี
2. ชวํ ยใหเ๎ ปน็ ผป๎ู ระสบความสาเร็จในการประกอบอาชพี เพราะได๎อํานเอกสารที่ให๎ความรู๎ในการ
ปรับปรงุ งานของตนอยูํเสมอ
3. ชํวยใหไ๎ ดร๎ บั ความบนั เทิงในชีวติ มากขนึ้ เพราะการได๎อํานวรรณกรรมดีๆ ยอํ มทาให๎เกิดความ
เพลิดเพลิน ในยามวําง
4. ชํวยทาให๎เป็นผ๎ูที่สงั คมยอมรบั เพราะผ๎ูท่อี าํ นมากจะร๎จู ักปรับตัวให๎เข๎ากบั สังคมไดด๎ ี
5. ชํวยทาให๎เป็นคนทนี่ าํ สนใจ เพราะผท๎ู ีอ่ าํ นหนังสอื มากจะมคี วามคิดลกึ ซงึ้ และกวา๎ งขวาง สามารถ
แสดงความรู๎ ความคดิ เห็นดีๆ มีประโยชน์ไดท๎ ุกแหํงทุกเวลา

การเลอื กหนังสืออ่าน มีความจาเปน็ มาก นักอํานท่ีดจี ะต๎องเปน็ ผู๎ทร่ี ๎ูจักวธิ ีเลอื กหนงั สอื อําน ให๎ไดป๎ ระโยชน์

สงู สดุ แกํการอาํ น โดยพจิ ารณาวิธีเลอื ก ตํอไปน้ี
1. เลือกหนังสือที่มสี าระเร่อื งราวตรงกบั ความตอ๎ งการหรอื ความจาเปน็ ที่ต๎องอําน
2. เลอื กหนงั สอื ที่ดมี ีคุณลกั ษณะ ดงั นี้
2.1. หนงั สอื ท่ีเปน็ ที่ยอมรับกันโดยทวั่ ไปแลว๎ วําดี
2.2. หนงั สือท่ีมีกระแสวพิ ากษ์วจิ ารณอ์ ยาํ งกว๎างขวางวาํ ดี
2.3. หนงั สอื ทไ่ี ด๎รบั รางวัลสาคัญๆ ในการประกวดขององคก์ รที่มีคุณภาพ
2.4. หนังสือซึ่งเขียนโดยนกั เขียนทมี่ ีคณุ ภาพเป็นทีย่ อมรบั ของแวดวงนักอําน
2.5. หนงั สอื ทม่ี ีคุณคาํ ดพี ร๎อมทุกดา๎ น ไดแ๎ กํ ด๎านเนือ้ หา ด๎านความคิด ด๎านกลวิธี ด๎านทางภาษา

ด๎านรปู แบบและการนาเสนอ
2.6. หนังสอื ทไี่ ดร๎ ับการยอมรับศกึ ษาสืบทอดกันมาทกุ ยุคทกุ สมัย
2.7. เลอื กหนงั สือทจี่ ะไมํโนม๎ นาไปในทางเส่อื มทั้งปวง

ลกั ษณะหนังสอื ท่ีอา่ นสนุก
1. หนงั สอื ไมมํ คี ายากและใช๎ถ๎อยคาสละสลวย
2. หนังสอื ทีม่ ีปกหรือภาพประกอบสวยงามดงึ ดูดใจ
3. หนังสือท่ไี มํใหญํหรือหนาเกินไป เปน็ หนงั สอื ท่ีไมํใชหํ นงั สอื เรียน

วชิ า ก.สงํ เสริมนิสัยรักการอําน โรงเรียนสระบรุ ีวิทยาคม หน๎า 10

เรอ่ื ง ประเภทของห้องสมุด

แหลง่ การเรยี นรู้ หมายถงึ แหลํงทใ่ี หข๎ อ๎ มูลขาํ วสาร สารสนเทศ แหลงํ วทิ ยาการท่ีสรา๎ งเสรมิ ประสบการณ์ชวี ติ
ให๎ผ๎เู รียนเกดิ การเรียนร๎สู ามารถท่ีจะเรยี นรู๎ได๎ตามอธั ยาศยั ทั้งยงั ชวํ ยเสริมสร๎างนสิ ัยรกั การอํานและการศึกษา
คน๎ คว๎า ซึ่งแหลํงเรยี นร๎ูอาจเป็นได๎ทง้ั สิง่ ท่เี ปน็ ธรรมชาตหิ รอื ส่ิงท่ีมนษุ ยส์ รา๎ งขึ้น เปน็ ไดท๎ ง้ั บุคคล สง่ิ มชี วี ติ และ
ไมํมชี วี ติ แหลง่ เรยี นรใู้ นโรงเรียนทส่ี าคัญท่ีสดุ คือ ห้องสมดุ

ประเภทของหอ้ งสมุด
หอ๎ งสมดุ แบํงเป็น 5 ประเภท ดังนี้คอื
1. ห้องสมุดโรงเรียน ได๎แกํ ห๎องสมุดโรงเรียนระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา ท้ังของรัฐ

และเอกชน จดั ขน้ึ เพ่อื สงํ เสริมการเรียนการสอนตรงตามหลักสูตร ให๎มีประสิทธิภาพ ตลอดท้ังเพื่อสนองความ
ต๎องการของนักเรียน ครู อาจารย์ ผู๎ปกครอง และชุมชน นอกจากนี้ยังชํวยสร๎างเสริมนิสัยรักการอําน เชํน
ห๎องสมดุ โรงเรยี นสระบรุ วี ทิ ยาคม

2. หอ้ งสมดุ วทิ ยาลัย และมหาวทิ ยาลัย จดั ขน้ึ เพื่อบริการวชิ าการในสถาบัน อดุ มศึกษา ได๎แกํ
การสํงเสริมการเรียนการสอน และการวจิ ัยทุกสาขาวชิ าของสถาบนั การบริการวชิ าการแกํสังคม และการทานุ
บารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม

3. ห้องสมุดประชาชน จัดข้ึนเพื่อให๎บริการความร๎ูแกํประชาชนไมํจากัดเพศ วัย ระดับความร๎ู เชื้อ
ชาติ และศาสนา โดยใหส๎ อดคลอ๎ งกบั ความตอ๎ งการของชมุ ชนแตลํ ะแหํง

4. ห้องสมุดเฉพาะ ได๎แกํห๎องสมุดท่ีจัดโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือให๎สารนิเทศสาหรับการ
ค๎นคว๎าวิจัยแกํบุคลากรในหนํวยงานน้ันๆ เชํน กระทรวง ทบวง กรม บริษัท สมาคม องค์การ สโมสร และ
ธนาคาร เปน็ ตน๎

5. หอสมุดแหง่ ชาติ จัดตั้งข้ึนเพอ่ื เก็บรวบรวมสิ่งพิมพ์ และโสตทัศนวัสดุทุกประเภท และรักษา
วรรณกรรมของชาตเิ บ้ืองตน๎ หอสมดุ แหํงชาตติ ั้งอยใํู นกรงุ เทพมหานคร แล๎วยงั มสี าขาในจงั หวดั
นครศรธี รรมราช สงขลา เชียงใหมํ ลาพูน สิงหบ์ รุ ี ชลบรุ ี ขอนแกํน และบุรรี ัมย์
เปน็ ต๎น

วิชา ก.สํงเสรมิ นสิ ัยรกั การอาํ น โรงเรียนสระบรุ วี ทิ ยาคม หน๎า 11

เรอ่ื ง แหลง่ การเรียนรู้

ความหมายของแหล่งการเรยี นรู้
แหล่งการเรียนรู้ หมายถึง แหลํงข๎อมูลขําวสาร สารสนเทศ แหลํงความรู๎ทางวิทยาการ และ

ประสบการณ์ท่ีสนับสนุน สํงเสริมให๎ผู๎เรียนใฝุเรียน ใฝุรู๎ แสวงหาความรู๎และเรียนรู๎ด๎วยตนเองตามอัธยาศัย
อยาํ งกว๎างขวางและตํอเนื่องจากแหลํงตํางๆ เพ่ือเสริมสร๎างให๎ผู๎เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู๎ และเป็นบุคคล
แหงํ การเรียนรู๎

ความสาคัญของแหลง่ การเรยี นรู้
 เป็นแหลงํ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย
 เป็นแหลํงการเรยี นร๎ตู ลอดชีวติ
 เป็นแหลํงปลกู ฝงั นิสัยรกั การอาํ น การศกึ ษาค๎นคว๎าแสวงหาความรูด๎ ๎วยตนเอง
 เป็นแหลงํ สรา๎ งเสรมิ ประสบการณ์ภาคปฏิบตั ิ
 เป็นแหลํงสรา๎ งเสริมความรู๎ ความคิด วทิ ยาการและประสบการณ์

ประเภทของแหล่งการเรียนรู้ แหลงํ การเรยี นร๎จู ดั ไวเ๎ ปน็ 3 ประเภท ได๎แกํ
1. แหลง่ การเรยี นรูท้ เ่ี กิดข้ึนตามธรรมชาติ เปน็ แหลงํ เรยี นร๎ทู น่ี ักเรยี นจะศึกษาหาความร๎ูได๎จากสิ่งที่

มีอยํูแล๎วตามธรรมชาติ เป็นประสบการณ์ที่ผ๎ูเรียนสามารถสร๎างองค์ความรู๎ได๎จากสภาพจริง อาทิ อุทยาน
แหํงชาติ สวนพฤกษชาติ ภูเขา ทะเล แมํน้า ลาคลอง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เชํน ฝนดาวตก น้าทํวม
แผํนดนิ ไหว ฯลฯ

2. แหล่งการเรียนรู้ท่ีจัดหรือสร้างขึ้น เป็นแหลํงเรียนรู๎ที่มนุษย์สร๎างเพ่ือสืบทอดศิลปวัฒนธรรม
ตลอดจนเทคโนโลยีและสง่ิ อานวยความสะดวกของมนุษย์ ซ่ึงมีทั้งในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา เพ่ือใช๎
เปน็ แหลงํ ศึกษาหาความร๎ไู ดส๎ ะดวกและรวดเรว็

2.1 แหลง่ การเรยี นรู้ในสถานศึกษา เดมิ จะมีแหลํงเรยี นรท๎ู ี่เป็นหลกั คอื หอ๎ งเรียน ห๎องสมดุ
ตอํ มามกี ารพฒั นาเป็นห๎องปฏิบัตกิ ารตํางๆ เชํน ห๎องปฏบิ ัตกิ ารวทิ ยาศาสตร์ หอ๎ งปฏบิ ัตกิ ารทางภาษา
หอ๎ งปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ หอ๎ งโสตทศั นศึกษา หอ๎ งจริยธรรม ห๎องศลิ ปะ ฯลฯ ตลอดจนการใช๎สถานท่ี
บริเวณและส่ิงแวดลอ๎ มในโรงเรยี น เชนํ สวนวิทยาศาสตร์ สวนวรรณคดี สวนสมนุ ไพร สวนธรรมะ สนาม
กีฬา ฯลฯ

2.2 แหล่งการเรียนรู้นอกสถานศึกษา เป็นแหลํงเรียนร๎ูที่อยํูในชุมชนให๎บริการแกํบุคคล และ
ชมุ ชนในท๎องถนิ่ ดาเนนิ การโดยหนวํ ยงานตํางๆ ท้ังภาครฐั และเอกชน ไดแ๎ กํ พิพธิ ภณั ฑ์ ศาสนสถาน

วิชา ก.สงํ เสริมนสิ ัยรักการอาํ น โรงเรียนสระบรุ วี ิทยาคม หนา๎ 12

3. แหล่งการเรียนรู้ท่ีเป็นทรัพยากรบุคคล เป็นแหลํงเรียนรู๎ที่จะถํายทอดความรู๎ความสามารถ
คุณธรรม จริยธรรม ภูมิปัญญาท๎องถ่ินทั้งด๎านการประกอบอาชีพ และการสืบสานวัฒนธรรม เชํน ครู
ผป๎ู กครอง ศลิ ปินแหงํ ชาติ บคุ คลทเี่ ปน็ ภมู ิปัญญาทางภาษา เพลงพื้นบ๎าน พิธีกรรมตํางๆ ฯลฯ ตลอดจนนัก
คิด นักประดิษฐ์ และผู๎ท่ีมีความคิดริเร่ิมสร๎างสรรค์ในด๎านตํางๆ หรือผู๎ท่ีมีความร๎ูในระดับท๎องถ่ิน เรียกวํา
ปราชญ์ชาวบ๎านเปน็ บุคคลภูมิปญั ญาทอ๎ งถิน่ หรือผู๎เช่ียวชาญสาขาตํางๆ เป็นที่ยอมรับในวงวิชาชีพ และสังคม
ท้ังในระดบั ประเทศและระดับนานาชาติ

วชิ า ก.สงํ เสรมิ นิสยั รักการอาํ น โรงเรียนสระบรุ ีวิทยาคม หน๎า 13

เรือ่ ง วัสดุสารสนเทศ

ความหมายของวัสดสุ ารสนเทศ
วัสดุสารสนเทศ หมายถึง ส่ือความรู๎ทุกชนิดที่มีอยํูในห๎องสมุด เพื่อการอํานและ การศึกษา

คน๎ ควา๎ ทไี่ ดจ๎ ดั หา รวบรวม และจัดเกบ็ เพอื่ ให๎บริการสนองความตอ๎ งการของผูใ๎ ชบ๎ รกิ าร
ประเภทของวัสดุสารสนเทศ

วสั ดุสารนิเทศ แบงํ เป็น 3 ประเภทคือ
1. วัสดุตีพิมพ์ (Printed Materials) เป็นวัสดุสารสนเทศ ประเภทแผํนกระดาษท่ีใช๎สาหรับการ
บันทกึ ข๎อมลู ขําวสาร และความรต๎ู าํ งๆ ซึง่ ประกอบด๎วย

1.1 หนงั สอื (Book) แบํงออกเป็นประเภทตาํ งๆ ดังน้ี
1) หนงั สอื สารคดี (Non-Fiction Books) ประกอบด๎วย
(1) หนังสือตาราวิชาการหรือแบบเรียน (Textbooks) เป็นหนังสือที่ใช๎สาหรับ

ประกอบการเรยี นการสอน ตามรายละเอียดเน้ือหาวชิ าทก่ี าหนดไว๎ในหลกั สตู ร
(2) หนงั สืออาํ นประกอบ (External Reading) เปน็ หนังสอื ท่ใี ช๎อํานประกอบในรายวิชา

ตํางๆ เพ่ือใหผ๎ ูเ๎ รยี นมีความรท๎ู ่กี ว๎างขวางข้นึ
(3) หนังสือความร๎ูทั่วไป (General Reading) เป็นหนังสือที่นาเสนอเร่ืองราวท่ัวๆ ไป

เก่ียวกับเรอ่ื งใดเร่อื งหนึง่ สาหรับผู๎ที่สนใจอํานเพ่ือศึกษาหาความรู๎
(4) หนังสืออ๎างอิง (Reference Books) เป็นหนังสือที่เขียนโดยผ๎ูทรงคุณวุฒิสาขาใด

สาขาหน่งึ เพอ่ื ให๎ผใ๎ู ชไ๎ ดศ๎ กึ ษาค๎นควา๎ หาคาตอบทต่ี ๎องการโดยไมํจาเป็น ต๎องอาํ นทัง้ เลมํ หรอื ท้งั ชุด เชํน หนังสือ
สารานกุ รม พจนานกุ รม หนังสอื รายปี เปน็ ต๎น

(5) ปริญญานิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์ (Thesis or Disser) เป็นหนังสือสาขาวิชาตํางๆ ท่ี
นิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (ปริญญาโทข้ึนไป) เรียบเรียงข้ึนเพื่อใช๎เป็นสํวนหน่ึงของการศึกษาตาม
หลกั สูตร

(6) หนังสือคํูมือครู หลักสูตร โครงการสอน คูํมือสถาบันการศึกษาเป็นหนังสือท่ีจัดทา
ขึ้นเฉพาะ จะจัดแยกจากหนังสอื ประเภทอื่นๆ

2) หนังสือบันเทิงคดี (Fictions) เป็นหนังสือที่เขียนข้ึนเพ่ือให๎ความบันเทิงแกํผ๎ูอ่ืน ซ่ึง
อาจจะสอดแทรกความรู๎และข๎อคิดตํางๆ ไว๎ด๎วย หนังสือประเภทน้ีผ๎ูเขียนเขียนข้ึนจากแนวคิด ประสบการณ์
ตลอดจนจนิ ตนาการของตนเอง แบงํ ออกเป็นประเภทตํางๆ ดังน้ี

วิชา ก.สงํ เสรมิ นิสยั รักการอาํ น โรงเรียนสระบรุ ีวทิ ยาคม หนา๎ 14

(1) หนังสอื นวนิยาย (Fictions) เป็นหนังสือท่ีมีกลวิธีในการดาเนินเร่ืองท่ีนําสนใจ จะ
ผูกเป็นเรื่องราวอยํางตํอเนื่อง เนื้อเรื่องจะยาวจึงแบํงออกเป็นตอนๆ บางเร่ืองจะยาวจึงแบํงออกเป็นตอนๆ
บางเรือ่ งอาจมีหลายเลมํ จบหรือหลายภาค

(2) หนังสือเรอื่ งสัน้ (Short Story) เปน็ หนังสือที่จะมีลักษณะคล๎ายกับนวนิยาย แตํจะ
มีเน้ือเรื่องส้ันๆ ตัวละครไมํมาก มีจุดสาคัญ (ไคลแมกซ์) เพียงจุดเดียวหนังสือเรื่องส้ันสํวนมากจะรวมหลาย
เรื่องไว๎ดว๎ ยกนั เรยี กวํารวมเร่ืองส้ัน (Short Story Collection)

(3) หนังสือสาหรับเด็กและเยาวชน (Easy Books) เปน็ หนงั สือท่ีเขียนขึ้นสาหรับเด็กและ
เยาวชน ใช๎ภาษางํายๆ อาจสอนแทรกข๎อคิด หรือคาส่ังสอนตํางๆ สํวนมากจะเป็นแนวคิด หรือจินตนาการที่
เหนอื ธรรมชาติ

1.2 วารสาร นิตยสาร และหนังสอื พิมพ์ เปน็ ประเภทส่ิงพมิ พต์ ํอเน่ืองท่ีมกี าหนดออกตามวาระที่
แนนํ อน เชนํ รายวัน รายสปั ดาห์ รายปักษ์ เป็นต๎น โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อนาเสนอขําวสาร ความร๎ูท่ีทันสมัย
หรือความเคลอ่ื นไหวใหมํๆ ส่ิงพิมพ์ประเภทนี้ประกอบด๎วย

1) วารสาร (Periodicals or Journals) เป็นส่ิงพิมพ์ท่ีมีรายละเอียดเนื้อหา เน๎นหนัก
ทางดา๎ นวิชาการ และสาระความรตู๎ าํ งๆ

2) นิตยสาร (Magazines) เป็นส่ิงพมิ พท์ มี่ ีรายละเอียดเนื้อหา มงุํ เน๎นทางด๎านบันเทิง และ
ประเภทเกร็ดความรู๎

3) หนังสือพิมพ์ (Newspapers) เป็นส่ิงพิมพ์ที่มํุงเน๎นในการนาเสนอขําวสาร ความ
เคลอื่ นไหวของเหตกุ ารณ์ตํางๆ อยํางรวดเร็ว โดยสํวนใหญํจะมีกาหนดออกเป็นรายวัน บางฉบับอาจเป็นราย
สัปดาห์ หนังสือพิมพ์นอกจากจะนาเสนอขําวตํางๆ แล๎วยังนาเสนอบทความ บทวิเคราะห์วิจารณ์ และสาระ
ความรู๎ ความบนั เทงิ ท่ที นั สมัยอีกด๎วย

1.3 จุลสาร (Pamphlets) เป็นสิ่งพิมพ์ท่ีรูปเลํมกะทัดรัด สํวนใหญํจะมีความหนาไมํเกิน 60
หนา๎ จดั พิมพข์ ้ึนโดยระบุแหลํงท่ีมาของสารน้ัน แล๎วจดั เก็บรวบรวมไวท๎ ่ีแฟูม หรือวัสดุอ่ืนๆ ท่ีเหมาะสมแกํการ
จัดเกบ็ และการใช๎บริการ

1.4 กฤตภาค (Clippings) หมายถึง ขําวสาร ความร๎ู รูปภาพ หรือบทความตํางๆ ที่ตัดจาก
หนังสือพิมพ์ หรือสิ่งพิมพ์ตํางๆ แล๎วนามาผนึกบนกระดาษโดยระบุแหลํงที่มาของสารน้ัน แล๎วจัดเก็บ
รวบรวมไวท๎ ีแ่ ฟูม หรอื วสั ดอุ ่ืนๆ ที่เหมาะสมแกกํ ารจดั เกบ็ และการใชบ๎ รกิ าร

2. วัสดุไม่ตีพิมพ์ (NonPrint Materials) หมายถึง วัสดุสารสนเทศรูปแบบอ่ืนๆ ท่ีไมํได๎หมายถึง
เอกสารสง่ิ พิมพ์ แตํใช๎สาหรับการบันทกึ ข๎อมลู เชํนเดยี วกับวสั ดุตีพิมพ์ วสั ดปุ ระเภทนปี้ ระกอบด๎วย

2.1 โสตทศั นวสั ดุ (Audio Visual Materials) เป็นสือ่ ทใี่ ห๎ข๎อมูล ความรู๎
2.1.1 โสตวัสดุ (Audio materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศท่ีใช๎เสียงเป็นสื่อในการ

ถาํ ยทอดสารสนเทศ แบงํ เป็นประเภทตาํ งๆ ดังนี้

วิชา ก.สํงเสริมนสิ ัยรักการอาํ น โรงเรียนสระบรุ ีวทิ ยาคม หนา๎ 15

1) แผํนเสียง (Phonodiscs) เปน็ วสั ดุแผํนทรงกลมทาด๎วยคร่ังหรือพลาสติกบันทึก
สัญญาณเสียงลงในรํองเสียง สารสนเทศที่บันทึกลงในแผํนเสียงเพ่ือใช๎ประกอบการศึกษาค๎นคว๎า เชํน ข๎อมูล
ทางภาษาและดนตรี เปน็ ตน๎ การใช๎แผนํ เสียงต๎องใชค๎ กํู ับเครื่องเลํนแผํนเสยี ง

2) เทปบันทึกเสียง (Phonotapes) เป็นวัสดุทาด๎วยแถบแมํเหล็ก ท่ีบันทึก
สญั ญาณเสยี งเกบ็ ไว๎ในรูปของคลืน่ แมเํ หล็ก ข๎อมลู ท่ีจดั เกบ็ ลงในเทปบันทึกเสียง เชํน บทเพลง ปาฐกถา สุนทร
พจน์ คาบรรยาย เปน็ ตน๎ เทปบนั ทกึ เสยี งท่นี ิยมใช๎ในปจั จบุ นั คอื เทปบันทกึ เสียงแบบตลับ (Cassett tape)

3) แผนํ ซีดี (Compact discs) เปน็ วัสดทุ ที่ าด๎วยแผนํ พลาสติกบันทึกสัญญาณดิจิทัล
และอํานข๎อมลู ด๎วยแสงเลเซอร์ คณุ ภาพของเสียงจะชัดเจนมากกวําแผนํ เสยี ง

2.1.2 ทัศนวัสดุ (Visual materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศท่ีใช๎รับร๎ูสารสนเทศได๎
ทางตา ซงึ่ อาจดูได๎ด๎วยตาเปลําหรอื ใช๎เครอ่ื งฉาย แบํงเปน็ ประเภทตาํ งๆ ดงั น้ี

1) รูปภาพ (Pictures) เป็นภาพวาด ภาพเขียน ภาพพิมพ์ ภาพถําย ท่ีจัดทาข้ึน
เสนอขอ๎ มูลเกย่ี วกับเรือ่ งใดเรอื่ งหน่งึ ทาใหม๎ ีความเขา๎ ใจในเรอื่ งนั้นๆ ไดด๎ ีข้นึ

2) แผนท่ี (Maps) เป็นภาพและลายเส๎นท่ีมีลักษณะเป็นแผํนแบนราบ ซึ่งแสดง
ลกั ษณะตาํ งๆ บนพ้ืนผวิ โลกในด๎านกายภาพ การเมือง เศรษฐกจิ ฯลฯ โดยการยํอสํวนสิ่งตํางๆ มาแสดงโดยใช๎
ภาพ เสน๎ สี สัญลักษณ์ และเคร่อื งหมายตาํ งๆ

3) ภาพเลื่อน หรือ ฟิล์มสตริป (Filmstrips) เป็นภาพโปรํงแสงแสดงเรื่องราว
เรียงลาดับภาพตอํ เนือ่ งกนั ถาํ ยทาลงบนฟลิ ม์ ขนาด 35 มม. ซ่ึงอาจเป็นภาพสีหรือขาวดาก็ได๎ แตํละม๎วนจะมี
ภาพประมาณ 30-60 ภาพ

4) ภาพนงิ่ (Slides) เป็นภาพโปรํงแสงทบี่ ันทกึ ลงบนฟิลม์ หรือกระจก ถํายทาโดยใช๎
ฟลิ ์มขนาด 35 มม. ภาพแตลํ ะภาพจะแยกจากกันแลว๎ นามาใสํกรอบกระดาษหรอื พลาสติก

5) แผนภูมิ (Charts) เป็นวัสดุท่ีเสนอข๎อมูลในลักษณะของภาพลายเส๎น ตัวเลข
สัญลักษณ์ และตัวหนังสือ ท่ีแสดงความสัมพันธ์ ความเกี่ยวโยง ตลอดจนวิวัฒนาการของสิ่งตํางๆ มีหลาย
ประเภท เชนํ แผนภมู ิแบบตาราง แผนภูมอิ ธบิ ายภาพ แผนภมู แิ บบองคก์ ร ฯลฯ

6) ภาพแผนํ ใส (Transparencies) เป็นแผํนพลาสติกใสท่ีบันทึกสารสนเทศโดยการ
ถาํ ยหรอื สาเนา เพ่อื นาไปฉายภาพขา๎ มศรี ษะ (Overhead projectors)

7) หํนุ จาลอง (Models) เป็นวัสดุท่ีแสดงลักษณะ 3 มิติ คล๎ายกับของจริง ซึ่งอาจมี
ขนาดเทําของจริง ยํอให๎มีขนาดเล็กกวําของจริง หรือขยายใหญํกวําของก็ได๎ เชํน หุํนขี้ผ้ึง หุํนแสดงรํางกาย
มนษุ ย์ ลูกโลก เป็นต๎น

8) ของจริง และ ของตัวอยําง (Realia and Specimens) ของจริงซ่ึงอาจมีขนาด
เทําของจริงตามธรรมชาติของสิ่งนั้นๆ เชํน เหรียญ แสตมป์ เป็นต๎น สํวนของตัวอยําง ของจริงที่นามาเพียง
บางสวํ น เชํน หิน แมลง เป็นต๎น

วิชา ก.สงํ เสรมิ นสิ ยั รักการอําน โรงเรยี นสระบรุ ีวิทยาคม หนา๎ 16

2.1.3 โสตทศั นวสั ดุ (Audio-visual materials) หมายถึงทรัพยากรสารสนเทศที่ผ๎ูใช๎รับร๎ูได๎
ท้งั จากการดแู ละฟงั ไปพร๎อมๆ กัน ซง่ึ จะชวํ ยใหเ๎ ข๎าใจเรื่องราวได๎ดยี ง่ิ ข้ึน แบํงเป็นประเภทตาํ ง ดังน้ี

1) ภาพยนตร์ (Motion picture or Film) เป็นภาพถํายที่เป็นนิ่งโปรํงแสงซึ่งใช๎
กล๎องทาอริ ิยาบถหรอื อาการเคล่อื นไหวติดตํอกันลงบนแผํนฟิล์ม แล๎วนามาฉายภาพยนตร์ด๎วยอัตราความเร็ว
เดยี วกันจะทาใหม๎ องเหน็ ภาพชุดนน้ั เคลื่อนไหวได๎

2) วดี ิทัศน์ (Videotapes) เป็นแถบแมํเหล็กที่ใช๎บันทึกสัญญาณภาพและเสียงไว๎ใน
รูปของคล่ืนแมํเหล็กไฟฟูา สามารถลบและบันทึกใหมํได๎เชํนเดียวกับเทปบันทึกเสียง ต๎องใช๎รํวมกับเครื่อง
บันทึกภาพ (Videotape recorder) และเครอื่ งรับโทรทัศน์ (Television)

3) ภาพนง่ิ ประกอบเสียง หรอื สไลด์ประกอบเสียง (Slide multivision) เปน็ การฉาย
ภาพน่ิงมีเสียงบรรยาย และเสียงเพลงประกอบซึ่งคล๎ายกับการฉายภาพยนตร์ แตํตํางกันที่ภาพยนตร์
เปน็ ภาพเคล่ือนไหว

2.1.4 วัสดุยํอสํวน (Microfroms) เป็นทรัพยากรสารสนเทศที่จัดเก็บข๎อมูลไว๎ด๎วยการถําย
ยอํ สวํ นใหม๎ ขี นาดเล็กจนไมสํ ามารถอํานไดด๎ ว๎ ยตาเปลํา แบํงเป็นประเภทตาํ งๆ ดังนี้

1) ไมโครฟิล์ม (Microfilm) เป็นการถํายสารสนเทศยํอสํวนลงบนฟิล์มขนาด 16 ม.
ม. หรอื 35 ม.ม. เก็บไว๎เป็นมว๎ น ซ่ึงต๎องอํานดว๎ ยเครือ่ งอํานไมโครฟลิ ์ม

2) ไมโครฟิช (Microfiches) เป็นการถํายสารสนเทศยํอสํวนลงบนแผํนฟิล์มโปรํง
แสง รปู สเ่ี หล่ยี มผนื ผ๎า ขนาด 3 x 5 น้ิว หรือ 5 x 8 นิว้ ซง่ึ ภาพจะเรียงในลักษณะตารางและจะต๎องอํานด๎วย
เคร่ืองอาํ นไมโครฟิชด๎วยการขยายไปทลี ะภาพ

3) ไมโครการ์ด (Microcards) เป็นบัตรทึบแสงขนาด 3 x 5 น้ิว หรือ 4 x 6 นิ้ว มี
ลกั ษณะใกล๎เคยี งกับไมโครฟชิ บรรจสุ ารสนเทศยอํ สวํ นได๎บตั รละ 36-48 หน๎า ซงึ่ ไมํสามารถถาํ ยสาเนาได๎

3. วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic materrials) หมายถึง วัสดุที่จัดเก็บสารสนเทศในรูปของ
สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ต๎องใช๎เคร่ืองแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์เป็นสัญญาณภาพและเสียง แบํงเป็น
ประเภทตํางๆ ดงั น้ี

3.1 ซีดีรอม (Compact Disc Read Only Memory หรือ CD-Rom) เป็นแผํนพลาสติก
เคลือบด๎วยอลูมิเนยี มและแลคเกอร์ มคี วามแข็งและเบา ขนาดเส๎นผําศูนย์กลาง 4.75 นิ้ว หรือ 12 เซนติเมตร
ปจั จบุ ันมีการผลิตแผํนให๎มีขนาดเลก็ ลง ซดี รี อมสามารถบนั ทกึ สารสนเทศทีเ่ ป็นสญั ญาณดิจทิ ัลลงบนพื้นผิวของ
แผํน ซึ่งสารสนเทศท่ีบันทึกลงในแผํนซีดีรอมเป็นได๎ท้ังอักษร ภาพถําย เสียง และภาพเคลื่อนไหว การอําน
สารสนเทศจากแผนํ ซดี รี อมจะตอ๎ งใชร๎ วํ มกบั เครื่องอาํ นแผํนซีดรี อม

3.2 แผ่นวีดิทัศน์ (Videodisc) เป็นแผํนพลาสติกบางๆ เคลือบด๎วยอลูมิเนียมสามารถบันทึก
ขอ๎ มูลท่เี ปน็ ตัวอกั ษร ภาพน่งิ ภาพเคล่ือนไหว และเสียง ซึ่งเป็นสัญญาณภาพและเสียงในรูปของระบบดิจิทัล
แผนํ วีดิทัศนม์ ีลักษณะคลา๎ ยแผํนเสียง การอํานแผํนวีดิทัศน์จะอํานด๎วยแสงเลเซอร์ เพื่ออํานสัญญาณดิจิทัล
เป็นภาพและเสยี ง แผํนวีดทิ ัศน์ใชก๎ บั เครือ่ งอาํ นแผํนวดี ิทัศน์

วชิ า ก.สงํ เสริมนสิ ัยรักการอําน โรงเรยี นสระบรุ ีวทิ ยาคม หนา๎ 17

3.3 แผ่นวดี ทิ ัศนร์ ะบบดิจิทลั (Digital Videodisc หรอื DVD) เป็นแผนํ พลาสติกมีขนาดเทําซีดี
ทัว่ ไป สามารถบันทึกขอ๎ มูลได๎ทงั้ 2 ดา๎ น ซงึ่ มขี นาดความจุในการจัดเก็บข๎อมูลสูงกวําซีดีทวั่ ไปถึง 25 เทํา ดีวี
ดีจะจดั เกบ็ ขอ๎ มลู ภาพ และเสียงไวใ๎ นรปู แบบดิจิทัล การอาํ นสารสนเทศจากแผํนดีวีดจี ะต๎องใช๎รํวมกับเครื่อง
อํานแผนํ ดีวดี ี

3.4 ฐานข้อมูล (Database) คือ การรวบรวมข๎อมูลดิบที่มีความสัมพันธ์กันจัดระบบเป็น
สารสนเทศให๎เหมาะสมสาหรับการสืบค๎นให๎งําย สะดวก รวดเร็ว และตรงตามวัตถุประสงค์ของผ๎ูสืบค๎น เชํน
ฐานขอ๎ มูลสาเร็จรูป CD-ROM ฐานข๎อมูลออนไลน์ (Online Database) และฐานข๎อมูลท่ีห๎องสมุดจัดทาขึ้น
เอง

3.5 อนิ เทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง เครือขํายคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นที่รวมของเครือขํายยํอยๆ
ท่ีเช่ือมโยงกันระหวํางระบบคอมพิวเตอร์ในประเทศตํางๆ ทั่วโลก เป็นแหลํงรวมข๎อมูลมากมายมหาศาลทุก
สาขาวิชา สามารถคน๎ หาข๎อมลู ตาํ งๆ ทต่ี ๎องการได๎อยํางรวดเร็วและทันสมัย วิธีท่ีนิยมมากที่สุดมีอยูํ 2 แบบ
คอื ใชเ๎ คร่อื งมอื ค๎นหาชวํ ยได๎แกดํ ัชนี (Index) และเสิรช์ เอนจนิ้ (Serch engines)

วิชา ก.สงํ เสริมนสิ ัยรกั การอาํ น โรงเรียนสระบรุ วี ทิ ยาคม หน๎า 18

เรื่องส่วนตา่ งๆของหนงั สือ

หนังสือโดยทั่ว ๆ ไปมักประกอบด๎วยสํวนตําง ๆ ท่ีผ๎ูอํานควรทราบเพ่ือประโยชน์ในการเลือกอํานและศึกษา
ค๎นคว๎า โดยจัดเรียงลาดบั ดงั นี้

1. ใบหุ้มปก คือ สํวนที่ห๎ุมปกนอกของหนังสือ มีลักษณะเป็นกระดาษท่ีออกแบบ ตกแตํงให๎มี
ลวดลายสสี ันสวยงาม จะมีช่อื เรื่อง และชื่อผแ๎ู ตงํ

2. ปกนอก คือ สํวนท่ีห๎ุมเน้ือเรื่องท้ังหมดรวมเข๎าเป็นเลํมหนังสือ ประกอบด๎วยปกหน๎าและปกหลัง
โดยมสี นั หนงั สอื เป็นสวํ นกลางยดึ ปกหนา๎ และปกหลังเขา๎ ด๎วยกัน หนังสือบางเลํมจะมี ชื่อเรื่อง ชื่อผู๎แตํง อยํูบน
ปกหน๎า หรอื ตรงสํวนที่เปน็ หนงั สอื

3. ใบยึดปก คือสํวนท่ีอยํูถัดปกนอกเข๎ามาทั้งด๎านหน๎าและด๎านหลัง ทาหน๎าที่ยึด ปกนอกกับตัว
เลํมหนงั สอื เข๎าด๎วยกนั โดยมากไมมํ ีข๎อความใด ๆ บนใบยึดปก แตหํ นังสือบางเลํมอาจจะมีภาพแผนที่ แผนภูมิ
หรือเครื่องหมายของสานกั พมิ พ์อยทํู ีใ่ บยึดปก

4. ใบรองปก เป็นหนา๎ กระดาษเปลําที่ไมมํ ขี อ๎ ความใด ๆ อยูถํ ัดจากใบยึดปกทัง้ ดา๎ นหน๎าและด๎านหลัง
5. หน้าชื่อเรอ่ื ง คือ หนา๎ ท่อี ยํูถัดจากใบรองปก มีเพียงช่อื เรอ่ื งหนงั สอื หนังสอื บางเลมํ ไมมํ ีชอื่ เร่อื ง
6. หน้าภาพพิเศษ คือ หน๎าท่ีมีภาพสาคัญในเลํม อาจจะเป็นภาพบุคคลสาคัญ ถ๎าเป็นหนังสือ
ชวี ประวัติ หรือภาพศิลปะชิน้ เดํน ๆ ถา๎ เป็นหนังสือทางด๎านศิลปกรรม
7. หน้าปกใน จัดวําเป็นหน๎าท่ีสาคัญท่ีสุดของหนังสือ เพราะให๎รายละเอียดทางบรรณานุกรม ของ
หนังสือเลําน้ัน ๆ อยํางสมบูรณ์ ได๎แกํ ชื่อเร่ือง ผ๎ูแตํง คร้ังท่ีพิมพ์ และ พิมพ์ลักษณ์ได๎แกํ สถานที่พิมพ์
สานกั พมิ พ์ หรอื ผจู๎ ัดพมิ พ์ และปีที่พิมพ์
8. ปีลิขสิทธ์ิ โดยมากมักจะอยํูด๎านหลังของหนาปกใน และบางครั้งอยูํหน๎าเดียวกับหน๎าปกใน ปี
ลขิ สิทธิ์ คือ ปที ห่ี นงั สอื เลํมน้นั ๆ ได๎รับลิขสิทธ์ใิ นการจัดพมิ พ์
9. คาอุทิศ หนังสือบางเลํมมีคาอุทิศของผู๎แตํง แสดงความกตัญญูกตเวทีตํอผ๎ูมีพระคุณจะเป็น
ขอ๎ ความปรากฏในหนา๎ ตํอจากหน๎าปกใน
10. คานา เป็นข๎อเขียนที่แจ๎งให๎ผ๎ูอํานทราบเก่ียวกับจุดมํุงหมาย ขอบเขต และการจัดเรื่องราวของ
หนงั สอื เลมํ นน้ั
11. ประกาศคุณูปการ คือ ข๎อความที่ผ๎ูเขียนกลําวขอบคุณผ๎ูชํวยเหลือ และให๎ความรํวมมือในการ
เขียนหนงั สือเลมํ น้ัน บางแหงํ เรียกวํา กติ ตกิ รรมประกาศ จะอยูถํ ัดจากหน๎า คานา
12. สารบาญ หรือ สารบญั จะเปน็ หนา๎ ทมี่ ากอํ นสวํ นทเ่ี ปน็ เน้ือหาของหนังสือบอกเน้ือหาสาระของ
หนังสือด๎วยการแบงํ ออกเปน็ บท เป็นตอน ตามลาดับที่ปรากฏในหนังสือ ผ๎ูอํานควรอํานสารบาญของหนังสือ
กํอน เพ่ือจะได๎ทราบวําหนงั สอื เลมํ น้นั ๆ มีสาระเก่ยี วกับอะไรพรอ๎ มทง้ั บอกเลขหน๎า

วชิ า ก.สํงเสรมิ นิสยั รกั การอาํ น โรงเรยี นสระบรุ วี ทิ ยาคม หน๎า 19

13. รายชือ่ ภาพประกอบ หนงั สือบางเลํมมภี าพ แผนที่ แผนภูมิ ตารางประกอบและ
ผ๎ูเขียนต๎องการใหผ๎ ๎ูอํานทราบวาํ มอี ะไรบา๎ ง และอยูํในหนา๎ ใดของหนังสือ จะอยํตู อํ จากสารบญั ของเร่อื ง

14. เน้อื หาของหนงั สือ เป็นสํวนสาคัญของหนงั สือ บรรจรุ ายละเอียดของเนื้อหาตั้งแตํต๎นจนจบโดย
แบงํ เปน็ บท เปน็ ตอน ตามทป่ี รากฏอยใํู นสารบาญ

15. เชิงอรรถ คือ สํวนอา๎ งอิงท่ีแสดงท่ีมาของข๎อความ ข๎อคิดเห็น และเร่ืองราวที่อาจเป็นประโยชน์
ประกอบเนื้อหาของหนังสอื จะปรากฏอยํตู อนลาํ งสดุ ของหน๎าตํอจากเนอ้ื เรอ่ื งในหน๎าน้ันๆ

16. บรรณานกุ รม คือ รายช่อื เอกสารท่ีผ๎ูเขียนใช๎เป็นหลักฐานค๎นคว๎าประกอบ การเขียน และเรียบ
เรียงหนงั สือนนั้ อาจเรยี กวํา เอกสารอา้ งอิง

17. ภาคผนวก คือ สวํ นประกอบนอกเหนือจากเน้ือหาท่ีเพิ่มเข๎ามาเพ่ืออธิบายเน้ือหาของหนังสือให๎
ชดั เจนย่ิงขน้ึ ใหค๎ วามร๎กู ว๎างขวาง และเป็นประโยชนต์ ํอผูอ๎ ําน เชํน ตาราง แผนท่ี แผนภูมิ ข๎อมูลทางสถิติ เป็น
ตน๎

18. อภธิ านศัพท์ คือ บญั ชคี าศัพท์เฉพาะ หรือ คาศัพท์ยากๆ ท่ีมีกลําวอยํูในเนื้อเร่ืองนามารวบรวม
ไว๎เปน็ สํวนหนงึ่ ตอํ จากภาคผนวก

19. ดัชนี หรือ ดรรชนี คือบัญชี หรือหัวข๎อยํอย ท่ีกลําวไว๎ในเนื้อเรื่อง นามาจัดเรียงรวมกัน
ตามลาดับอักษรของคา หรือของหัวข๎อยํอย มีเลขของหน๎าท่ีปรากฏคาหรือหัวข๎อยํอยนั้นๆ กากับไว๎ในดัชนี
หนงั สอื บางเลมํ เรียก ดชั นีวาํ สารบาญคา”

วชิ า ก.สงํ เสริมนิสัยรักการอําน โรงเรยี นสระบรุ วี ิทยาคม หน๎า 20

เรอ่ื งประเภทหนังสือ

หนังสือ หมายถึง สิ่งพิมพ์ที่เป็นเล่มถาวร มีปกเรียบร้อย อาจเป็นปกอ่อนหรือปกแข็ง ก็ได้ มีการเรียงหน้า
ตามลาดบั หน้า หนงั สือทค่ี วรจดั ไว้บรกิ ารในหอ้ งสมุดโรงเรียน อาจจาแนกได้ 5 ประเภท คือ

1. หนังสือสารคดี เป็นหนังสือที่มุ่งให้ความรู้แก่ผู้อ่าน มีเนื้อหาหลากหลายครอบคลุมวิชาการสาขา
ต่างๆ

2. หนังสอื บันเทิงคดี เป็นหนังสือทีม่ ีเน้อื หาให้ความบันเทงิ แก่ผูอ้ ่าน และยังได้รับข้อคิดหรือคติชีวิตที่
น่าสนใจทีผ่ ูเ้ ขียนแทรกไว้ในเรอ่ื งอกี ด้วย ไดแ้ ก่ นวนิยาย เรือ่ งส้นั บทละคร วรรณคดี และกวนี ิพนธ์

3. หนังสอื สาหรับเด็ก และเยาวชน เป็นหนังสือที่มีเน้ือหาเหมาะสาหรับเด็ก มีกลวิธีในการเขียน มี
ภาพประกอบเรื่องที่ชวนอ่านแลชวนติดตาม มีศิลปะในการจัดทาอย่างประณีตงดงาม โดยกาหนดผู้อ่านหรือ
ระดบั ความรขู้ องผอู้ ่านประกอบดว้ ย

4. หนงั สืออ้างองิ เปน็ หนงั สือทใี่ หข้ อ้ มูลประกอบการศึกษาค้นคว้าเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงโดยเฉพาะ มีการ
จัดเรียงเนือ้ เรื่องอย่างมีระเบียบ ผู้ใช้สามารถค้นหาเร่ืองราวท่ีต้องการได้สะดวก และรวดเร็ว โดยไม่ต้องอ่าน
ตลอดท้ังเล่ม จะมีการจัดทาอย่างดี และมีลักษณะพิเศษ จึงมีราคาแพง ห้องสมุดจะจัดหนังสืออ้างอิงแยก
ตา่ งหากจากหนงั สอื ทว่ั ไป และไมอ่ นุญาตให้ยมื ออกจากหอ้ งสมดุ แบ่งออกเป็น 9 ประเภท คือ

4.1 พจนานุกรม (Dictionaries) คือหนังสือที่รวบรวมความรู้เก่ียวกับคา เช่น การสะกดคา
การออกเสยี ง คาจากัดความ ท่ีมาของคา เป็นตน้ พจนานกุ รมมี 2 ประเภทคือ

 พจนานุกรมทางภาษา เชน่ พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน
 พจนานกุ รมเฉพาะวิชา เชน่ พจนานกุ รมชา่ ง พจนานกุ รมศัพท์ภูมิศาสตร์
4.2 สารานุกรม ได้แก่หนังสือท่ีให้ความรู้เกี่ยวกับเร่ืองราวต่างๆ ทุกแขนงวิชาจัดเรียง
เร่ืองราวไว้เปน็ ระบบ โดยจดั เรียงตามลาดบั อักษร หรือจัดแบ่งเปน็ หมวดวิชา สารานุกรมบางชื่อเรื่องเล่มเดียว
จบ บางชื่อเรียงเป็นชดุ มหี ลายเล่มติดต่อกัน สารานุกรม แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทคอื
 สารานุกรมทั่วไป เช่น สารานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน สารานุกรมไทย

สาหรบั เยาวชนโดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั เป็นตน้
 สารานกุ รมเฉพาะวชิ า เชน่ สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานุกรม วรรณคดี เป็น

ตน้
4.3 หนังสือรายปี ได้แก่หนังสือประมวลข่าวความเคล่ือนไหว และเหตุการณ์สาคัญๆ ท่ี
เกิดขนึ้ ในรอบปี รวมทงั้ เรอื่ งน่ารู้ และสถติ ิตา่ งๆ จดั พิมพเ์ ป็นรายปี มี 2 ชนิดคือ

 หนงั สอื รายปที ว่ั ไป เชน่ หนงั สอื รายปีสารานุกรม หนังสอื รายปีสรุปข่าวปัจจุบัน
(บนั ทึกเหตุการณส์ าคญั ทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม เขียนในรูปสรุปความ
เช่น สยามจดหมายเหตุ) และ สมพัตสร (หนังสือท่ีจัดทาเป็นรายปี มีเรื่องย่อๆ

วชิ า ก.สํงเสริมนิสัยรกั การอาํ น โรงเรียนสระบรุ ีวิทยาคม หน๎า 21

และสถิติโดยละเอียดเกี่ยวกับรัฐบาล การคลัง การเกษตร พาณิชยกรรม และ
เรอื่ งราวต่างๆ ที่เป็นขา่ วซึ่งคนสนใจในรอบปี)
 หนังสือสรุปผลงานประจาปีของหน่วยงานต่างๆ ทั้งของรัฐ และ เอกชน เช่น
สถติ ิรายปแี ห่งประเทศไทย
4.4 บรรณานุกรม ได้แก่ หนังสอื ท่รี วบรวมรายชอื่ หนังสอื เรียงลาดบั ตาม หัวเรื่องหรือผู้
แตง่ เพ่อื สะดวกแกก่ ารค้นหารายช่ือหนงั สือ เช่น หนงั สอื ดสี าหรบั หอ้ งสมุด เป็นต้น
4.5 ดรรชนีวารสาร ได้แก่ หนังสือท่ีรวบรวมรายช่ือบทความ จากวารสารเรียงลาดับตาม
อกั ษรของหวั เร่อื ง ทาใหส้ ะดวกในการคน้ หารายชือ่ บทความ เช่น ดรรชนวี ารสารไทย เปน็ ต้น
4.6 นามานุกรม คือ หนังสือที่รวบรวมช่ือเฉพาะต่างๆ เช่น ชื่อสถานศึกษา สถาบันหน่วย
ราชการ สมาคมหรอื บุคคล เป็นต้น ให้รายละเอียดเก่ียวกับท่ีตั้ง การดาเนินงาน และเรียงลาดับอักษรตัวแรก
ของช่ือนัน้ ๆ เช่น สมุดรายนามผใู้ ชโ้ ทรศพั ท์ เปน็ ต้น
4.7 อักขรานุกรมชีวประวัติ เป็นหนังสือท่ีรวบรวมชีวประวัติของบุคคลสาคัญ เป็นประวัติ
สน้ั ๆ เรียงลาดับตามตัวอกั ษรแรกของชือ่ เจ้าของประวัติ เชน่ ประวัตคิ รู ใครเป็นใครในประเทศไทย เป็นตน้
4.8 หนังสืออ้างองิ ทางภูมิศาสตร์ คอื หนงั สือท่ใี ห้ความรูเ้ ก่ียวกับสถานท่ที างภมู ิศาสตร์ ได้แก่
ชอื่ ประเทศ เมือง แมน่ า้ และภเู ขา เปน็ ตน้ แบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ประเภทคือ
 อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ หนังสือประเภทน้ีใช้ค้นคว้าเกี่ยวกับสถานท่ีสาคัญ แม่น้า
เกาะ เปน็ ต้น เชน่ อกั ขรานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน ฯลฯ
 หนังสือนาเที่ยว เป็นหนังสือคู่มือการท่องเที่ยวท่ีมีรายละเอียดเก่ียวกับสถานที่
สาคัญๆ มักจะมีแผนท่ี แผนผังของเมืองน้ันๆ ประกอบไว้ด้วย เช่น เท่ียวไปใน
ประเทศไทย ฯลฯ
 หนังสือแผนท่ี เป็นคู่มือท่ีบอกให้ทราบถึงท่ีตั้งของเมืองต่างๆ การแบ่งเขตประเทศ
แม่น้า ภูเขา ฯลฯ เช่น แผนท่ีประกอบอักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทยฉบับ
ราชบัณฑติ ยสถาน ฯลฯ
4.9 หนงั สอื อ่นื ทีอ่ าจกาหนดให้เป็นหนงั สืออ้างอิง เช่น ส่ิงพิมพ์รัฐบาล หรือหนังสืออื่นที่แต่ง
โดยผเู้ ชีย่ วชาญในสาขาวชิ านนั้ ๆ และเป็นท่ยี อมรบั โดยท่วั ไป
5. หนังสือที่ใช้ประกอบการเรียนการสอน เป็นหนังสือสาหรับครู อาจารย์ และนักเรียน ใช้ศึกษา
คน้ ควา้ ใหม้ คี วามรู้กวา้ งขวางมากยิง่ ขึน้ ได้แก่
5.1 หนงั สอื สาหรบั นักเรียน แบง่ ไดเ้ ป็น 4 ประเภทคอื
 หนังสือเรียน คือ หนังสือท่ีกระทรวงศึกษาธิการกาหนดให้นักเรียนใช้ มีสาระตรง
ตามทีร่ ะบไุ ว้ในหลกั สูตรอยา่ งถกู ต้อง
 แบบฝกึ หัด คือ การเรียนสาหรบั ใหผ้ ้เู รยี นได้ฝกึ ปฏิบตั ิเพือ่ ใหเ้ กดิ ทกั ษะในบทเรยี น

วิชา ก.สํงเสรมิ นสิ ัยรักการอาํ น โรงเรยี นสระบรุ วี ทิ ยาคม หนา๎ 22

 หนงั สือเสริมประสบการณ์ เช่น หนังสืออ่านนอกเวลา หนังสืออ่านเพิ่มเติม หนังสือ
สง่ เสรมิ การอา่ น และหนงั สอื อุเทศก์

5.2 หนังสือสาหรับผู้สอน เป็นหนังสือเกี่ยวกับหลักสูตรเอกสารประกอบการใช้หลักสูตร
แผนการ และคูม่ อื ครู เปน็ ตน้

วชิ า ก.สํงเสริมนสิ ัยรกั การอําน โรงเรยี นสระบรุ วี ิทยาคม หน๎า 23

การจดั หมวดหมูห่ นงั สอื

การจัดหมวดหมู่หนังสือ คือ การจัดหนังสือที่มีเน้ือหา หรือแบบประพันธ์อย่างเดียวกัน หรือคล้ายคลึงกันไว้
ด้วยกนั ในหมวดหม่เู ดยี วกนั และกาหนดสัญลกั ษณต์ ามประเภทหนังสือเหลา่ น้นั

วตั ถปุ ระสงคข์ องการจัดหมวดหมู่หนังสอื
1. เพอ่ื ให้หนงั สอื มเี นอ้ื หาคลา้ ยคลงึ กนั รวมอยู่ที่เดยี วกัน
2. เพ่ือให้ผใู้ ช้บรกิ ารได้ค้นหาหนงั สอื ได้สะดวก
3. เพ่ือความสะดวกในการปฏิบัติงานของบรรณารกั ษ์

ประโยชน์ของการจัดหมวดหมู่หนังสอื
1. เพื่อให้หนังสือมีเน้ือหาอย่างเดียวกัน หรือคล้ายคลึงกัน เรียงอยู่ด้วยกัน ทาให้ผู้ใช้ห้องสมุด

สามารถเปรยี บเทยี บหนงั สอื ท่มี เี รือ่ งคล้ายกนั และเลือกใชไ้ ดต้ ามความต้องการ
2. เพือ่ ใหห้ นงั สอื ทม่ี เี น้ือเรอ่ื งสมั พนั ธก์ ันอยใู่ กล้กนั
3. เพ่ือใหห้ นงั สอื ท่ีมีลกั ษณะคาประพันธอ์ ย่างเดยี วกันอยูร่ วมกัน
4. เพื่อให้ทราบถึงประเภทของหนังสือที่มีอยู่ในห้องสมุดว่า หมวดหมู่ใดมีจานวนมากน้อยเพียงใด

เพ่อื พจิ ารณาจดั ซ้อื เพ่ิมเตมิ
5. เพื่อใหผ้ ู้ใชส้ ามารถคน้ หาหนงั สือได้อยา่ งสะดวกรวดเรว็
6. บรรณารกั ษ์สะดวกในการจัดเก็บหนังสือขึ้นชัน้ อยา่ งมรี ะเบยี บ

ระบบการจดั หมวดหมหู่ นังสือ
ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือมีหลายระบบ เช่น ระบบทศนิยมของดิวอ้ี (Dewey Decimal

Classification System ซงึ่ ย่อว่า D.C หรือ D.D.C) และระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress
System L.C.) เป็นต้น ห้องสมุดสามารถเลือกใช้ระบบใดก็ได้ตามความเหมาะสม ห้องสมุดโรงเรียนส่วนมาก
นิยมใช้ระบบทศนิยมของดวิ อ้ี เพราะเปน็ ระบบการจดั หมวดหมหู่ นงั สือทเ่ี หมาะสมสาหรับห้องสมุดขนาดเล็กที่
มหี นงั สอื ทกุ สาขาวชิ า

วชิ า ก.สํงเสริมนสิ ัยรกั การอําน โรงเรยี นสระบรุ ีวทิ ยาคม หน๎า 24

การจัดหมวดหมู่หนังสือตามระบบทศนิยมของดิวอี้ ใช้ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ แบ่งหนังสือออกเป็น 10 หมวด
ใหญ่ ดังนี้

000 ความรทู๎ ั่วไป
100 ปรัชญา
200 ศาสนา
300 สงั คมศาสตร์
400 ภาษาศาสตร์
500 วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
600 วิทยาศาสตร์ประยกุ ต์ (เทคโนโลยี)
700 ศิลปะ วจิ ติ รศิลป์และมัณฑนศลิ ป์
800 วรรณคดี
900 ประวัตศิ าสตร์ ภมู ศิ าสตร์

แตํละหมวดใหญยํ ังแบงํ ออกเป็นครงั้ ท่ี 2 ไดอ๎ ีก 10 หมดูํ ังน้ี

หมวด 000 เบด็ เตลด็ ความรูท้ ั่วไป หมวด 100 ปรัชญา
010 บรรณานกุ รมและแคตตาล็อก 110 อภิปรชั ญา
020 บรรณารกั ษ์ศาสตรแ์ ละสารนเิ ทศ 120 ทฤษฎีแหง่ ความรูค้ วามเปน็ มนษุ ย์
030 สารานกุ รมทวั่ ไป 130 จิตวิทยานามธรรมและ
040 ไมใ่ ช้
050 สง่ิ พมิ พ์ต่อเนอื่ งและดรรชนี จิตวิทยาว่าดว้ ยผีสางเวทมนต์
060 องคก์ ารตา่ งๆ และพิพธิ ภณั ฑ์วทิ ยา 140 ปรัชญาระบบตา่ งๆ
070 วารสารศาสตร์ 150 จติ วทิ ยา
080 รวมเร่ืองทั่วไป 160 ตรรกวทิ ยา
090 หนังสอื หายาก ตน้ ฉบบั ตวั เขยี น 170 จรยิ ศาสตร์ ศลี ธรรม
180 ปรชั ญาตะวันออกและโบราณ
หมวด 200 ศาสนา 190 ปรชั ญาตะวนั ตกสมยั ใหม่

210 ศาสนาธรรมชาติ หมวด 300 สังคมศาสตร์
220 คมั ภรี ์ไบเบลิ
230 เทววิทยาตามแนวครสิ ต์ศาสนา 310 สถิตทิ วั่ ไป
240 ศีลธรรมของชาวครสิ เตยี น 320 รัฐศาสตร์
250 ระเบียบแบบแผนของศาสนาคริสต์ 330 เศรษฐศาสตร์
260 สังคมของชาวคริสต์ 340 กฎหมาย
270 ประวตั ศิ าสนาคริสเตียน 350 รฐั ประศาสนศาสตร์
280 นิกายตา่ งๆ ในศาสนาคริสเตยี น 360 ปัญหาสังคมและสวัสดิภาพสงั คม
370 การศกึ ษา
380 การพาณิชย์ การส่ือสาร การขนส่ง

วชิ า ก.สงํ เสรมิ นสิ ยั รักการอําน โรงเรียนสระบรุ วี ทิ ยาคม หนา๎ 25

290 ศาสนาอน่ื ทไ่ี ม่ใชศ่ าสนาครสิ เตียน 390 ขนบธรรมเนียมประเพณีคติชนวิทยา

หมวด 400 ภาษาศาสตร์ หมวด 500 วทิ ยาศาสตร์

410 ภาษาศาสตร์เปรยี บเทียบ 510 คณติ ศาสตร์

420 ภาษาอังกฤษ 520 ดาราศาสตร์

430 ภาษาเยอรมนั และภาษาในกลุ่มเยอรมนั 530 ฟสิ กิ ส์

440 ภาษาฝรงั่ เศส 540 เคมี โลหะวิทยา

450 ภาษาอติ าเลีย่ น ภาษารูเมเนยี น 550 ธรณีวิทยา

460 ภาษาสเปนและภาษาโปรตเุ กส 560 ชวี ิตโบราณศกึ ษา

470 ภาษาละตนิ และกลุ่มภาษาอิตาเล่ยี นอนื่ ๆ 570 วทิ ยาศาสตร์ของส่งิ มชี วี ติ

480 ภาษากรีก และกลมุ่ ภาษากรีก 580 พฤกษศาสตร์

490 ภาษาอน่ื 590 สัตวศาสตร์

หมวด 600 วทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต์ หมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศลิ ป์และ
เทคโนโลยี มณั ฑนศลิ ป์

610 แพทยศาสตร์ 710 ศลิ ปะการออกแบบบริเวณในพื้นที่
620 วศิ วกรรมศาสตร์ 720 สถาปัตยกรรม
630 เกษตรศาสตร์ 730 ปฏมิ ากรรมและศิลปะพลาสติก
640 คหกรรมศาสตรแ์ ละชวี ติ ครอบครัว 740 มณั ฑนศิลปแ์ ละการวาดเขยี น
650 ธุรกิจและการจดั การธุรกจิ 750 จิตรกรรม
660 วศิ วกรรมเคมี 760 ศิลปะการพมิ พ์ ศลิ ปะกราฟฟิก
670 โรงงานอุตสาหกรรม 770 การถ่ายภาพและภาพถ่าย
680 โรงงานผลติ สินค้าเบด็ เตล็ดอน่ื ๆ 780 ดนตรี
690 การก่อสรา้ งและวสั ดกุ อ่ สร้าง 790 นันทนาการและศิลปะการแสดง

หมวด 800 วรรณคดี หมวด 900 ประวัติศาสตร์ ภมู ศิ าสตร์
810 วรรณคดีอเมริกนั 910 ภมู ศิ าสตร์และการทอ่ งเที่ยว
820 วรรณคดอี งั กฤษ 920 ชวี ประวัติ
830 วรรณคดเี ยอรมัน 930 ประวตั ิศาสตร์โลกโบราณ
840 วรรณคดีฝร่งั เศส 940 ประวัติศาสตรย์ โุ รป
850 วรรณคดอี ติ าเลยี น 950 ประวัติศาสตรเ์ อเชียตะวนั ออก
860 วรรณคดีสเปนและโปรตเุ กส ตะวนั ออกไกล
870 วรรณคดีละตนิ 960 ประวัติศาสตรแ์ อฟรกิ า

วชิ า ก.สงํ เสริมนสิ ัยรกั การอําน โรงเรียนสระบรุ ีวทิ ยาคม หนา๎ 26

880 วรรณคดกี รีก 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนอื
890 วรรณคดีอน่ื ๆ 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
990 ประวตั ิศาสตรอ์ ื่นๆ ของโลก

การกาหนดสัญลักษณแ์ ทนเลขหม่หู นงั สือและประเภทของหนงั สอื

สัญลักษณ์แทนเลขหนังสอื

หนังสือบางประเภทห้องสมุดนิยมใช้สัญลักษณ์ง่ายๆ แทนเลขหมวดหมู่ เพ่ือความสะดวกรวดเร็วใน

การจัดหมวดหม่หู นังสือ คือ

นวนยิ ายภาษาไทย ใชอ้ กั ษร น

นวนิยายภาษาองั กฤษ ใชอ้ ักษร F หรือ Fic ย่อมาจาก Fiction

รวมเรือ่ งสั้นภาษาไทย ใช้อกั ษร ร.ส.

รวมเรื่องสั้นภาษาอังกฤษ ใชอ้ กั ษร S.C ยอ่ มาจาก

Short Story Collection

หนังสือสาหรับเดก็ ภาษาไทย ใชอ้ กั ษร ย ยอ่ มาจาก เยาวชน

หนังสือสาหรบั เดก็ ภาษาอังกฤษ ใช้อกั ษร J ยอ่ มาจาก Juvenile Literature

หรือ E ยอ่ มาจาก Easy Book

สญั ลกั ษณ์แทนประเภทของหนงั สือ
ห้องสมุดใช้อักษรกากับไว้เหนือเลขหมู่ เพื่อบอกให้ทราบประเภทของหนังสือ เช่น หนังสืออ้างอิง
คมู่ ือ ฯลฯ

หนงั สืออ้างองิ ภาษาไทย ใชอ้ กั ษร อ
หนังสอื อ้างองิ ภาษาองั กฤษ ใชอ้ กั ษร R หรอื Ref ย่อมาจาก Reference
หนังสอื แบบเรยี นภาษาไทย ใช้อักษร บ
หนงั สอื คู่มอื ครูภาษาไทย ใช้อักษร ค
หนังสอื คมู่ ือครภู าษาอังกฤษ ใชอ้ กั ษร C หรอื C.L. ย่อมาจาก Curriculum

Laboratory
หนงั สือสาหรับเยาวชน ใช้อกั ษร ย ไว้เหนือเลขหมู่หนังสอื เยาวชนที่มกี ารแบ่งหมวดหมหู่ นังสือตามเนือ้ หา

วิชา ก.สงํ เสริมนิสยั รกั การอาํ น โรงเรียนสระบรุ ีวิทยาคม หน๎า 27

ห้องสมุดโรงเรียนสระบุรีวิทยาคม ได้จัดแยกหนังสือออกเป็นประเภทต่างๆอีกครั้งหลังจากจัดหมวดหมู่
หนังสอื แล้ว โดยใช้แถบสตี ิดที่สันหนังสอื ดงั น้ี

 หนังสอื คู่มอื การเรยี น ใช้แถบสเี ขยี วอ่อน
 หนังสอื สง่ เสริมการอา่ น ใช้แถบสแี ดง
 หนังสืออ่านนอกเวลา ใชแ้ ถบสีนา้ ตาลแดง
 หนงั สอื เฉลยข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย ใช้แถบสีฟ้า
 หนังสอื ค่มู ือครู ใชแ้ ถบสีน้าเงนิ
 หนังสอื คอมพิวเตอร์ ใชแ้ ถบสสี ้ม

 หนงั สืออนุสรณ์งานศพ ใชแ้ ถบสเี หลอื ง
 หนงั สือพระมหาชนก
ใช้แถบสีเหลอื งฟา้



วิชา ก.สํงเสรมิ นสิ ัยรกั การอําน โรงเรียนสระบรุ วี ิทยาคม หนา๎ 28

การจัดเรียงหนังสอื บนชั้น

การจัดเรียงหนังสือบนชน้ั มวี ัตถุประสงค์ดังน้ีคอื
1. เพื่อให้ผใู้ ช้บริการ หาหนังสอื ท่ีต้องการได้สะดวก รวดเร็ว
2. ทาให้สามารถนาหนังสือไปเก็บไว้ทเี่ ดมิ ไดอ้ ย่างถูกต้อง

หลักการจัดเรียงหนงั สอื บนชน้ั
ในการจัดเรียงหนงั สอื บนชนั้ จะต๎องแยกประเภทหนงั สือ พิจารณาจากเลขเรยี กหนังสือท่มี อี ยบํู นสันหนังสือ
แลว๎ จงึ นาไปจดั เรยี งบนชั้น โดยมีหลักการจัดเรยี งดังนี้

1. เรยี งหนงั สือทุกเลํมตามเลขเรียกหนงั สอื
2. เรียงจากเลขเรยี กหนังสือนอ๎ ยไปหาเลขหนงั สือมาก และจากซ๎ายไปขวา จากชั้นบนลงไปช้ันลําง

ดงั ภาพ

ซา๎ ย ขวา ซา๎ ย ขวา 4
1 400 - 490 5
6
2

3

วิชา ก.สงํ เสรมิ นสิ ัยรักการอาํ น โรงเรยี นสระบรุ วี ทิ ยาคม หนา๎ 29

3. หนังสอื ทม่ี ีเลขหมซูํ า้ กัน เรียงตามลับตวั อักษรตัวแรกของชื่อผ๎ูแตํง

150 150 150 150 150
จพปสอ

4. หนังสือทม่ี ีเลขหมูํซ้ากนั ผู๎แตงํ คนเดียวกนั เรียงลาดับกอํ นหลงั ตามอกั ษรตวั แรกของช่ือเรอื่ ง

495.91 495.91 495.91 495.91 495.91
อ313ก อ313จ อ313ม อ313ว อ313อ

5. หนงั สอื ท่มี ีเลขหมซํู ้ากัน อกั ษรตัวแรกของชื่อผ๎แู ตํงเหมือนกัน เรียงตามลาดบั เลขประจาตัวผ๎ู
แตํง

370 370 370 370 370
ก 112 ก 117 ก 211 ก 220 ก 230

6. หนงั สอื เหมือนกนั หลายเลํม เรียงลาดบั ฉบบั จากฉบับน๎อยไปหาฉบบั มาก

530 530 530 530 530

ร111ด ร111ด ร111ด ร111ด ร111ด

ฉ.2 ฉ.3 ฉ.4 ฉ.5

วชิ า ก.สํงเสริมนิสัยรกั การอําน โรงเรียนสระบรุ วี ิทยาคม หน๎า 30

7. หนงั สือชุด เรียงเลมํ แรกไว๎ทางซ๎าย ในกรณีทีม่ ีมากกวาํ 1 ชุด เรยี งเลํมที่มลี าดับที่
เหมอื นกนั เองแตํละชุดไว๎ดว๎ ยกนั และเรียงชุดแรกไวท๎ างซ๎าย

750 750 750 750 750
อ 221 ก อ 221 ก อ 221 ก อ 221 ก อ 221 ก

ล.1 ล.1 ล.1 ล.2 ล.2
ฉ.2 ฉ.3 ฉ.1 ฉ.2

สาหรับหนงั สอื ทีไ่ มมํ เี ลขเรยี กหนังสอื ประเภทนวนยิ าย เร่อื งสั้น หรอื หนงั สอื เยาวชน หอ๎ งสมุดโรงเรียนสระบุรี
วทิ ยาคม ใช๎หลกั การจัดเรียงตามอกั ษรตวั แรกของชื่อเรอ่ื ง (เพอ่ื ความสะดวกสาหรบั ผใ๎ู ช๎บรกิ าร)

%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%

. หน๎า 31

วชิ า ก.สํงเสริมนิสัยรกั การอาํ น โรงเรยี นสระบรุ ีวทิ ยาคม

การสบื ค้นขอ้ มลู

การสืบค๎นข๎อมูลให๎ได๎ข๎อมูลความรู๎ตามท่ีต๎องการ ห๎องสมุดโรงเรียนสระบุรีวิทยาคมใช๎เคร่ืองมือสืบค๎นแบํง
ออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1. การสืบคน๎ ดว๎ ยบัตรรายการ
2. การสบื คน๎ ดว๎ ยระบบคอมพิวเตอร์
1.การสืบค้นดว้ ยบตั รรายการ

บตั รรายการ คอื บตั รท่บี ันทกึ รายการตํางๆ ของหนังสือแตํละเลํม โดยใช๎บัตรสีขาว ขนาด 35 นิ้ว
ด๎านลาํ งของบตั รมีรูกลมเสน๎ ผาํ ศนู ย์กลาง 1/4 นิว้ สาหรบั สอดแกนเหลก็ เพอ่ื รอ๎ ยบตั รเขา๎ ด๎วยกนั

ประโยชนข์ องบัตรรายการ
1. ชวํ ยใหค๎ ๎นหาหนังสอื ทต่ี ๎องการไดส๎ ะดวกและรวดเร็ว
2. ชํวยให๎ผใู๎ ชห๎ อ๎ งสมดุ ทราบรายละเอียดตํางๆของหนงั สือ โดยไมตํ ๎องเหน็ หนังสอื
3. ชํวยใหค๎ วามสะดวกแกํผ๎ทู ่ตี อ๎ งการรวบรวมบรรณานกุ รมของหนงั สือหมวดวิชาใด

วชิ าหน่งึ เพ่ือประโยชนใ์ นการศกึ ษาค๎นคว๎า
รายละเอียดของหนังสอื ที่บันทึกลงในบัตรรายการ
1. เลขเรยี กหนงั สือ ไดแ๎ กํ เลขหมหํู นังสอื อักษรตวั แรกของช่ือผแ๎ู ตํง หรอื นามสกุล

ผ๎แู ตงํ สาหรับชาวตาํ งประเทศ และอักษรตัวแรกของชอ่ื เร่ือง
2. ชอื่ ผู้แตง่ หมายถึง ผูท๎ ่ีแตํงหนังสือเลํมนน้ั หรอื บุคคล หรอื กลํุมบุคคล ตลอดจน

หนวํ ยงานทร่ี บั ผิดชอบในการจดั ทาหนงั สือเลมํ นั้นๆ
3. ชือ่ เรื่อง คือชื่อหนังสือทีป่ รากฏอยทูํ ่หี น๎าปกใน
4. คร้ังที่พิมพ์ จะใสํไว๎ในบตั รรายการเฉพาะหนังสอื ที่พิมพต์ ั้งแตคํ ร้ังท่ี 2 เป็นตน๎ ไป
5. พิมพลกั ษณ์ คือรายละเอยี ดเกยี่ วกับการพิมพ์ ไดแ๎ กสํ ถานท่ีพิมพ์ สานกั พิมพ์

และปีทีพ่ มิ พ์
6. บรรณลักษณ์ คอื รายการทแ่ี สดงลักษณะของหนงั สอื ได๎แกํ จานวนหน๎า หรอื

จานวนเลมํ (หนังสอื ชุดนั้นมหี ลายเลมํ จบ) ภาพประกอบ ตาราง แผนท่ี
7. ชือ่ ชุดหนังสอื หนงั สือชดุ คือ หนงั สอื ทพี่ ิมพ์ออกมาเปน็ ชุด มหี ลายเลมํ มีลักษณะ

คล๎ายคลงึ กนั หรือเนื้อเร่อื งทานองเดยี วกนั
8. โนต้ ได๎แกํ รายการทม่ี คี ุณคาํ ควรแกํการบันทกึ ไว๎ เชนํ บรรณานกุ รม ดรรชนี

สารบัญเรือ่ ง รวมท้งั บอกสาเหตุการพมิ พ์
9. แนวสืบคน้ ประกอบด๎วยรายการทจ่ี ะปรากฏในบัตรเร่อื ง (Subject card) และ

บัตรเพ่มิ ชนิดตํางๆ เชํนบตั รช่ือเรื่อง บัตรผแู๎ ตํงรํวม และบตั รผ๎ูแปล
ตัวอยา่ งส่วนตา่ งๆของบตั รรายการ

วชิ า ก.สงํ เสรมิ นสิ ยั รักการอาํ น โรงเรยี นสระบรุ วี ิทยาคม หนา๎ 32

1 28.7 สนุ ิตย์ เยน็ สบาย. 2
ส818ค ความรูเ๎ บือ้ งต๎นเกย่ี วกับหนงั สอื อ๎างอิง. พิมพ์คร้ังที่ 2. กรงุ เทพฯ : 3
4
6 ศลิ ปาบรรณาคาร, 2543.
5
8 246 หนา๎ . 7

1. หนังสืออา้ งองิ . 2. ช่ือเรอ่ื ง. 9

หมายเลข 1 = เลขเรียกหนงั สือ
หมายเลข 2 = ชื่อผ๎แู ตํง
หมายเลข 3 = ช่ือหนังสอื
หมายเลข 4 = คร้ังท่ีพิมพ์
หมายเลข 5 = สถานท่พี ิมพ์
หมายเลข 6 = สานกั พมิ พ์
หมายเลข 7 = ปที ีพ่ มิ พ์
หมายเลข 8 = จานวนหน๎าของหนังสือ
หมายเลข 9 = แนวสบื ค๎น

ประเภทของบัตรรายการ
บตั รรายการที่นักเรียนควรร๎จู ักอยํางน๎อยมี 3 ประเภทคอื
1. บัตรผแ๎ู ตํง (Author Card) บัตรยนื พื้น หรอื บัตรหลกั คือบัตรท่ีมีชอ่ื ผู๎แตํงอยํู

บนบรรทดั แรก
2. บตั รชื่อเรอ่ื ง (Title Card) คอื บัตรทีม่ ีชื่อเรือ่ งอยูํบนบรรทัดแรก
3. บัตรเร่ือง หรือบัตรหวั เรอ่ื ง (Subject card) คอื บัตรที่มหี ัวเรื่องอยูบํ นบรรทดั แรก

เหนือรายการผแู๎ ตงํ หรือรายการหลัก คาหรอื วลีทก่ี าหนดตามเนอื้ หาของหนงั สือน้ี
เรยี กวํา “เร่ือง” หรอื “หัวเรื่อง” มักจะพิมพ์ดว๎ ยสีเข๎ม หรือขีดเสน๎ ใต๎ เพื่อให๎เหน็
เดํนชดั และปอู งกนั การสบั สนกบั บัตรอ่นื ๆ

วชิ า ก.สํงเสรมิ นิสยั รกั การอาํ น โรงเรยี นสระบรุ ีวิทยาคม หนา๎ 33

ตวั อยา่ งของบัตรรายการหนงั สือ
บตั รผูแ้ ต่ง มีช่ือผ๎แู ตงํ อยํูบนบรรทัดแรกของบตั ร

028.7 สุนิตย์ เย็นสบาย.
ส818ค ความรู๎เบอื้ งต๎นเกยี่ วกับหนงั สืออา๎ งองิ . พิมพ์ครง้ั ท่ี 2. กรุงเทพฯ :

ศลิ ปาบรรณาคาร, 2543.
246 หนา๎ .

1. หนังสืออา้ งอิง. 2. ชอื่ เรือ่ ง.

บตั รชอ่ื เร่ือง มชี ่ือเรือ่ งอยบํู นบรรทดั แรก

ความรเ๎ู บอ้ื งต๎นเกยี่ วกบั หนังสืออา๎ งอิง.
028.7 สนุ ติ ย์ เย็นสบาย.
ส818ค ความรเ๎ู บ้อื งต๎นเกย่ี วกับหนงั สืออา๎ งอิง. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ:

ศิลปาบรรณาคาร, 2543.
246 หนา๎ .

วชิ า ก.สงํ เสรมิ นสิ ัยรักการอําน โรงเรยี นสระบรุ วี ทิ ยาคม หน๎า 34

บตั รหัวเรอื่ ง มีหัวเร่อื งอยบํู นบรรทดั แรกของบตั ร

หนังสืออา้ งองิ
028.7 สุนิตย์ เยน็ สบาย.
ส818ค ความร๎ูเบอื้ งต๎นเกยี่ วกับหนังสืออ๎างองิ . พมิ พค์ ร้งั ที่ 2. กรงุ เทพฯ:

ศลิ ปาบรรณาคาร, 2543.
246 หนา๎ .

สํวนสาคญั ของบตั รรายการจะทาใหผ๎ ู๎ใช๎ทราบเลขเรยี กหนงั สือซง่ึ ประกอบดว๎ ย เลขหมูํหนงั สือ อักษร
ยํอของผแ๎ู ตงํ เลขผแ๎ู ตํง และอกั ษรยํอของชอื่ เรื่อง ซง่ึ จะชํวยใหค๎ น๎ หาหนังสอื ตามตอ๎ งการได๎

วิชา ก.สงํ เสริมนิสยั รกั การอาํ น โรงเรยี นสระบรุ วี ทิ ยาคม หน๎า 35

เรื่อง การสืบคน้ ขอ้ มูลด้วยระบบ opac

การสืบค้นดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์
การสืบคน๎ ด๎วยระบบคอมพวิ เตอร์เป็นการสืบค๎นดว๎ ยระบบโอแพก ( OPAC-Online Public

Access Catalog) โดยใช๎โปรแกรมสาเรจ็ รูป มีรายละเอยี ดการสืบคน๎ เชํนเดยี วกบั บัตรรายการคอื การสบื คน๎
จากเมนชู ่ือผ๎แู ตํง ชื่อเรอ่ื ง หวั เรอ่ื ง เลขทะเบียน เปน็ ต๎น หอ๎ งสมุดโรงเรียนสระบรุ วี ิทยาคม ไดม๎ ีการสบื คน๎ ตาม
ขน้ั ตอนดงั นี้
1. หนา๎ จอโปรแกรมสบื ค๎นอัตโนมัติแสดงเมนูหลักสาหรับการเลือกสบื ค๎น

2. เลอื กประเภทข้อมูลทตี่ อ้ งการสบื คน้ เชน่ เดยี วกบั การค้นหาจากบตั รรายการ
2.1 ใส่ข้อมูลท่ตี ้องการสืบคน้ เชน่ หากเลือกหัวข้อทจ่ี ะใช้ในการสบื คน้ ว่า ชื่อเร่ือง
ก็ใหใ้ ส่ช่ือเรื่องทีต่ อ้ งการ

วิชา ก.สงํ เสริมนิสัยรักการอาํ น โรงเรียนสระบรุ ีวิทยาคม หน๎า 36

เช่น เลอื ก ช่ือเรอ่ื ง นาเมาสค์ ลกิ ท่ชี ่ือเรอ่ื ง

ตวั อยา่ ง

พมิ พช์ ่ือที่ตอ้ งการสืบคน้ แลว้ กด ENTER ที่แปน้ พิมพ์

2.2 หลังจากสบื ค้นขอ้ มลู หากพบขอ้ มูล จะปรากฏหนา้ จอแสดงข้อมลู ที่ได้จาก
การสบื คน้ ดังกลา่ ว และเลือกหนงั สือท่ีต้องการ

วชิ า ก.สํงเสรมิ นสิ ัยรักการอําน โรงเรยี นสระบรุ วี ิทยาคม หน๎า 37

2.3 เมอ่ื เลอื กหนงั สือทีต่ อ๎ งการคน๎ หา นาเมาส์คลิกให๎เป็นแถบสีน้าเงิน แลว๎ เม๎าส์คลกิ
ปุม แสดงรายละเอยี ด จะปรากฏ

ถ๎าตอ๎ งการทราบรายละเอยี ดตาํ งๆเกีย่ วกบั หนังสือนาเมาส์คลกิ

บตั รผแู้ ตง่ บตั รช่อื เรอ่ื ง บตั รหวั เร่อื ง

ตอ้ งการคน้ หนงั สอื เล่มใหม่ให้คลกิ ออก แล้วค้นหาหนังสอื

วิชา ก.สํงเสรมิ นสิ ยั รกั การอําน โรงเรียนสระบรุ ีวิทยาคม หน๎า 38

เคร่อื งมือสบื ค้นขอ้ มูลทางอนิ เทอรเ์ น็ต

การค้นคว้าด้วยการใช้ Search Engine
การใชง๎ านงานอินเทอร์เน็ตท่ีนยิ มใชก๎ นั อยาํ งมาก จะได๎แกํการเข๎าเยีย่ มชมเว็บไซต์ตาํ งๆ เพอื่ หาความร๎ู

แตกํ ารเขา๎ เย่ียมชมนนั้ ในกรณที ีเ่ รารู๎วําเวบ็ ไซต์เหลํานน้ั มชี อื่ วาํ อะไร เน้ือหาของเว็บมงุํ เน๎นเกีย่ วกับสงิ่ ใด เรา
สาสามารถท่ีจะเขา๎ เยี่ยมชมไดท๎ ันท่ี แตํในกรณที ี่เราไมทํ ราบช่ือเว็บเหลําน้ัน แตํเรามีความตอ๎ งการท่ีจะค๎นหา
เน้อื หาบางอยําง มวี ิธกี ารจะเขา๎ สืบค๎นขอ๎ มลู ได๎ โดยการใช๎ความสามารถของ Search Engine

Search Engine จะมีหนา๎ ที่รวบรวมรายชื่อเวบ็ ไซต์ตํางๆ เอาไว๎ โดยจัดแยกเปน็ หมวดหมํู ผ๎ใู ชง๎ าน
เพยี งแตทํ ราบหัวข๎อทต่ี อ๎ งการคน๎ หาแลว๎ ปูอน คาหรอื ขอ๎ ความของหวั ข๎อนนั้ ๆ ลงไปในชํองทก่ี าหนด คลิกปมุ
คน๎ หา เทํานั้น ขอ๎ มูลอยํางยอํ ๆ และรายช่ือเว็บไซตท์ ี่เกีย่ วขอ๎ งจะปรากฏใหเ๎ ราเขา๎ ไปศกึ ษาเพ่มิ เติมได๎ทนั ที

บนโลกออนไลน์ ส่งิ สาคญั ท่นี อกจากตอ๎ งมอี นิ เทอรเ์ น็ตแล๎วก็ยังต๎องมเี ว็บไซต์ ซง่ึ เว็บไซต์ในปัจจบุ ันก็
มีความหลากหลายแตกตํางกนั ไปตามความต๎องการใช๎งาน เรามาดูกนั วํา 10 เว็บไซต์จากหลายพนั เวบ็ ไซตท์ ่ี
กาลังได๎รับความนิยมในขณะนจ้ี ากคนทัว่ โลกมีอะไรบ๎าง

1. Google.com

เป็นเวบ็ ไซต์ทใี่ ห๎สทิ ธ์ิผู๎ใช๎สามารถคน๎ หาข๎อมูลได๎ทั่วโลก ทั้งข๎อความ ภาพ และวิดโี อดว๎ ยคุณ
ลกั ษณะเฉพาะและเทคโนโลยที ช่ี วํ ยใหก๎ ารคน๎ หาข๎อมลู บนโลกออนไลนไ์ ด๎งํายย่ิงข้นึ

2. Youtube.com

สาหรบั ทกุ คนทใ่ี ช๎อนิ เทอร์เน็ตจะต๎องรู๎จัก YouTube ได๎อยํางแนนํ อน โดยเรากส็ ามารถมีชํองเพ่ือ
อัปโหลดวิดโี อของเราไดเ๎ หมือนกัน ซงึ่ ในปจั จบุ ันมีการแขํงกันทา Content ในรูปแบบวิดโี อบน YouTube กนั
เยอะมากขึ้น เพราะถา๎ หากมียอดผ๎ูเข๎าชมวดิ ีโอถึง 1 ล๎านผทู๎ ่ีเป็นเจ๎าของวดิ โี อจะได๎เงนิ 30,000 บาท

3. Facebook.com

ส่ือสังคมออนไลน์ท่มี ีประโยชน์ทจ่ี ะเชือ่ มโยงผค๎ู นจากทกุ มมุ โลกเขา๎ ไวท๎ เ่ี ดียว เพ่อื ติดตามเพื่อน
อปั โหลดรปู แชรล์ ิงกแ์ ละวิดโี อ

4. Baidu.com

เป็นเว็บไซต์ชอ่ื ดังของคนจนี สวํ นใหญํแล๎วผูท๎ ่ีใช๎งานเวบ็ ไซต์นีก้ จ็ ะเปน็ ชาวจนี คอื เครอ่ื งมือค๎นหา
ภาษาจนี ชัน้ นาที่จะมอบประสบการณ์ในการคน๎ หาท่ีงํายและเชือ่ ถอื ได๎ และเนือ้ หามลั ติมเี ดยี ทหี่ ลากหลาย

วชิ า ก.สํงเสริมนสิ ยั รักการอาํ น โรงเรียนสระบรุ วี ทิ ยาคม หน๎า 39

รวมถึงเพลง MP3 และภาพยนตร์ ซง่ึ เปน็ รายแรกที่นาเสนอเทคโนโลยโี ทรศพั ท์มอื ถือ WAP และ PDA ใน
ประเทศจนี

5. Wikipedia.org

วกิ ิพีเดียหรือสารานกุ รมเสรอี อนไลน์ท่ีมีหลากหลายภาษา แตํบทความถกู เขยี นขน้ึ โดยผู๎เชี่ยวชาญ
ของวกิ ิพีเดียและได๎รับการตรวจสอบภายใต๎กระบวนการทเ่ี ป็นมาตรฐาน สรา๎ งขึ้นโดยใช๎ซอฟตแ์ วร์ของวกิ พิ ีเดีย

6. Reddit.com

เว็บไซต์ขําวสังคม โดยใช๎ผูใ๎ ชน๎ าลิงกข์ ําวทีน่ าํ สนใจมาโพสต์หรอื ประชาสัมพนั ธ์ ซ่ึงผูใ๎ ช๎ทุกคนสามารถ
แสดงความคิดเห็นและให๎คะแนนเรอ่ื งราวเหลาํ น้ันได๎ ซงึ่ กาลังเปน็ ท่ีนิยมอยาํ งมากในตํางประเทศ

7. Yahoo.com

เปน็ ผูใ๎ ห๎บรกิ าร Internet Portal รายใหญํทแ่ี สดงผลการคน๎ หา, ปรับแตํงเนอ้ื หาได๎, หอ๎ งสนทนา,
อเี มลฟรี และคลบั เป็นตน๎

8. Google.co.in

เป็นเว็บไซต์ Google ของประเทศอนิ เดีย เหมอื น ๆ กบั Google.co.th ซ่ึง Google ของอินเดยี
กาลังเป็นเครอ่ื งมือค๎นหายอดนิยมนี้ โดยสามารถคน๎ หาได๎ท้ังเว็บ หรือเฉพาะหน๎าเว็บจากอินเดีย อีกท้งั ยัง
สามารถคน๎ หาโดยใชภ๎ าษาองั กฤษ ฮนิ ดู ภาษาเบงกาลี ภาษาเตลูกู ภาษามราฐี และภาษาทมิฬ

9. Qq.com

เวบ็ ไซตข์ องผใู๎ ห๎บริการอินเทอรเ์ น็ตท่ีใหญทํ ีส่ ุดและใช๎งานมากที่สุดของจีนอยาํ ง Tencent กํอตั้งขนึ้
ในเดือนพฤศจิกายนปี พ.ศ. 2541 ปจั จบุ ัน Tencent มํุงมน่ั ที่จะใหบ๎ ริการทางอินเทอร์เน็ตแบบครบวงจรแกํ
ผ๎ูใช๎งานในประเทศจีน มีท้งั QQ Instant Messenger, QQ Mail เปน็ ต๎น โดยเปน็ แหลํงรวบรวมชมุ ชนที่ใหญํ
ทส่ี ดุ บนอินเทอร์เน็ตของประเทศจีน

10. Amazon.com

เวบ็ ไซตท์ เี่ น๎นลกู ค๎าเปน็ ศูนย์กลาง ซ่ึงลกู ค๎าสามารถค๎นพบและคน๎ หาสิ่งที่พวกเขาต๎องการซ้อื ทาง
ออนไลน์และพยายามท่จี ะเสนอราคาให๎ลูกค๎าไดใ๎ นราคาต่าท่ีสดุ เวบ็ ไซต์มคี ุณลกั ษณะและบรกิ ารแบบสํวน
บคุ คลมากมาย รวมถงึ การสง่ั ซอื้ เพยี งคลกิ เดยี ว นอกจากนี้ยงั รวบรวมบทวจิ ารณ์ ผลิตภณั ฑ์ บัตรของขวญั
รายชอ่ื รา๎ นอาหาร ภาพยนตร์ การเดนิ ทาง และการประมวลผลภาพด๎วย

https://www.ar.co.th/kp/th/368 20 มิ.ย. 2564

วิชา ก.สงํ เสรมิ นิสัยรกั การอําน โรงเรยี นสระบรุ ีวทิ ยาคม หนา๎ 40

กจิ กรรมห้องสมุด

กจิ กรรมหอ้ งสมุด คือ งานทีห่ ้องสมดุ จัดขึ้นเปน็ คร้ังคราวเพอ่ื ส่งเสริมการอ่านและ การคน้ คว้า และเปดิ
โอกาสให้นักเรยี นทางานร่วมกัน

วัตถปุ ระสงค์ของกิจกรรมหอ้ งสมุด
1. เพื่อกระตน๎ุ เร๎าใจ และจูงใจใหน๎ กั เรียนเกดิ ความต๎องการในการอาํ น
2. เพื่อให๎นกั เรียนเลือกหนงั สือไดต๎ ามความต๎องการ ความสนใจ และมี

รสนิยมที่ดีในการอําน
3. เพื่อปลกู ฝงั และสํงเสรมิ นสิ ยั รักการอําน
4. เพ่ือใหเ๎ กิดวิจารณญาณในการอาํ น
5. เพอื่ ใช๎เวลาวาํ งให๎เกดิ ประโยชน์จากการอําน
6. เพ่อื ใหน๎ ักเรยี นสนใจกจิ กรรมของห๎องสมดุ และร๎จู ักห๎องสมุดมากขึน้

หลกั การจัดกจิ กรรมของหอ้ งสมุดมดี ังน้ี
1. กาหนดจุดมํุงหมายในการจัดกิจกรรมให๎ชัดเจน เพราะกิจกรรมแตํละประเภทจะ ตอบสนอง

จดุ มงํุ หมายตํางกัน เชํน เพื่อให๎รักการอําน เพื่อให๎ร๎ูจักวิธีศึกษาค๎นคว๎า เพ่ือให๎ใช๎ ห๎องสมุดได๎ถูกต๎อง เป็นต๎น
การกาหนดจุดมงํุ หมายให๎ชดั เจนจงึ ทาใหส๎ ะดวกในการเลือก กิจกรรมใหบ๎ รรลุจดุ มงุํ หมายทต่ี งั้ ไว๎

2. กาหนดกลมุํ เปาู หมายในการจดั วําจัดเพ่อื ใคร เพ่ือนักเรียน ครู ชุมชน หรือจดั สาหรบั ทุกกลํมุ
3. ศึกษาแนวทางในการจดั กจิ กรรมแตลํ ะประเภท
4. วางแผนการจัดกิจกรรมโดยกาหนดวิธีดาเนินการ สถานท่ี บุคลากร งบประมาณ การ
ประชาสัมพนั ธ์ และการประเมินผล
5. เตรียมงาน
6. ดาเนนิ งาน
7. ตดิ ตามและประเมนิ ผล

ประเภทของกจิ กรรมหอ้ งสมดุ
กิจกรรมของหอ้ งสมุดแบ่งเป็น 4 ประเภท คอื
1. กจิ กรมสํงเสรมิ ความรเู๎ ร่ืองการใชห๎ อ๎ งสมุด
2. กจิ กรรมสงํ เสริมการอาํ น
3. กจิ กรรมสํงเสรมิ การเรยี นการสอน
4. กจิ กรรมสํงเสริมความรทู๎ ัว่ ไปและการใช๎เวลาวํางให๎เป็นประโยชน์

วิชา ก.สํงเสรมิ นสิ ยั รกั การอาํ น โรงเรียนสระบรุ ีวิทยาคม หนา๎ 41

1. กจิ กรรมสง่ เสริมความรู้เร่อื งการใช้หอ้ งสมดุ
ความร๎ูเรื่องการใช๎ห๎องสมุดเป็นความร๎ูพื้นฐานที่ จะทาให๎นักเรียนใช๎ห๎องสมุดได๎อยํางมี

ประสทิ ธภิ าพ ห๎องสมุดอาจจัดเป็นบริการที่ทาเป็นประจาหรือเป็นกิจกรรมที่ทาเป็นคร้ังคราวก็ได๎ กิจกรรมท่ี
สงํ เสริมความรูเ๎ รื่องการใช๎หอ๎ งสมุด เชนํ

1. นาชมหอ๎ งสมุด
2. แนะนาการสืบคน๎
3. แนะนาวิธกี ารดแู ลรกั ษาหนงั สือ

2. กจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ น
กจิ กรรมสํงเสริมการอําน หมายถึง การกระทาตําง ๆ เพื่อให๎กลํุมเปูาหมายเกิดความสนใจในการ

อาํ น เหน็ ความสาคัญและความจาเป็นของการอําน เกิดความเพลิดเพลิน ในการอําน และพัฒนาการอํานทั้ง
ทางดา๎ นความเขา๎ ใจในการอาํ นและเจตคติท่ีดตี ํอการอําน

2.1 จดุ มงํุ หมายในการจัดกจิ กรรมสํงเสรมิ การอาํ น คอื
2.1.1 เร๎าใจใหเ๎ กดิ ความอยากร๎ูอยากอํานหนงั สือ โดยเฉพาะหนังสอื ท่ีมคี ณุ ภาพ
2.1.2 ให๎เหน็ ความจาเป็นและความสาคญั ของการอําน
2.1.3 แนะนาชักชวนให๎เกิดความพยายามท่ีจะอํานให๎แตกฉาน สามารถนาความรู๎จาก

หนังสือไปใชป๎ ระโยชน์ เกดิ ความเข๎าใจในเร่ืองตาํ ง ๆ ดีขึน้
2.1.4 กระตุน๎ แนะนาใหอ๎ ยากรูอ๎ ยากอาํ นหนังสือ ให๎มกี ารอํานอยาํ งตอํ เนอ่ื งจนเป็นนิสัย
2.1.5 พัฒนาการอํานจนถึงขั้นท่ีสามารถวิเคราะห์ คือ จับประเด็นจากการอํานและ

สังเคราะห์ คอื ประมวลความร๎จู ากการอาํ นเพ่ือนาไปใชป๎ ระโยชน์ได๎
2.1.6 สร๎างบรรยากาศท่จี ูงใจในการอาํ น

2.2 ประโยชน์ของกจิ กรรมสงํ เสริมการอาํ น มดี ังนี้
2.2.1 ชํวยให๎เกิดพัฒนาการด๎านความคดิ ใหก๎ บั นักเรียน
2.2.2 ชํวยสงํ เสรมิ ทกั ษะการใชภ๎ าษาทางด๎านการฟัง พดู อําน และเขยี น
2.2.3 ชวํ ยในการฝึกทกั ษะทางภาษาและทบทวนเนอ้ื หาวชิ าตําง ๆ
2.2.4 ชํวยเปดิ โอกาสใหน๎ กั เรียนไดแ๎ สดงออกซ่ึงความสามารถทีม่ ีอยูํ
2.2.5 ชํวยประเมนิ ผลการเรยี นการสอน
2.2.6 ชวํ ยให๎นักเรียนเกดิ ความเพลิดเพลิน และผอํ นคลายความตึงเครียด ในการเรียน
2.2.7 ชวํ ยจงู ใจและเรา๎ ความสนใจของนักเรยี น
2.2.8 ชํวยสงํ เสรมิ ใหน๎ ักเรียนมคี วามสามัคคี รู๎จักการเอือ้ เฟื้อชํวยเหลือกัน
2.2.9 ชํวยฝึกความรับผิดชอบและฝึกให๎นักเรยี นรูจ๎ กั ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
2.2.10 ชวํ ยให๎ครูได๎เหน็ พฤติกรรมของนักเรียนชดั เจนยิง่ ขึ้น

วชิ า ก.สงํ เสรมิ นสิ ยั รกั การอาํ น โรงเรยี นสระบรุ วี ิทยาคม หน๎า 42

2.2.11 ใช๎เปน็ กจิ กรรมนาเข๎าสบูํ ทเรยี น เสริมบทเรยี น และสรปุ บทเรียน

การจดั กจิ กรรมสงํ เสริมการอํานใหแ๎ กเํ ด็กอยํางสม่าเสมอจะเกดิ ผลดีดังนี้
1) ชํวยพัฒนาความเขา๎ ใจในการอําน เพราะการอํานเป็นเรอื่ งของทักษะ เมื่อไดร๎ บั การฝึกฝนยอํ มทา

ได๎ดีขน้ึ และเพื่อชวํ ยใหท๎ กั ษะคงอยแํู ละเป็นประโยชนต์ ลอดชีวิต
2) ชํวยพัฒนาเจตคติที่ดีตํอการอําน เพราะเม่ือเด็กได๎รับประสบการณ์หรือกิจกรรมที่ พึงพอใจ

เกี่ยวกับการอาํ น ร๎ูจกั วธิ ีอําน และได๎เห็นหนังสือหลากหลาย ยํอมเกิดความร๎ูสึกและการแสดงออกท่ีดีตํอการ
อาํ น

2.3 รูปแบบของกจิ กรรมสํงเสริมการอาํ น
2.3.1 การเลาํ นิทาน
2.3.2 การแนะนาหนงั สอื
2.3.3 การตอบปญั หาจากหนังสือ
2.3.4 การใช๎เกมเพ่ือนาไปสํกู ารอําน

3. กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นการสอน
กิจกรรมสํงเสริมการเรียนการสอนอาจเป็นกิจกรรมที่ห๎องสมุดจัดข้ึนเองหรือให๎ความรํวมมือกับ

กลุมํ สาระการเรยี นรู๎ในโรงเรยี น โดยมีจดุ ประสงค์เพอื่ สนบั สนนุ การเรียนการสอนตามหลักสูตร กิจกรรมท่ีนิยม
จดั ไดแ๎ กํ

3.1 การจัดนิทรรศการโดยเลือกหวั เร่อื งที่ตรงกับบทเรียนที่กาลังเรียนในช้ันเรียนหรือหัวเร่ืองท่ี
สนบั สนุนการจัดกจิ กรรมในโรงเรยี น

3.2 การทาบรรณานุกรมหนังสือในรายวชิ าตามหลกั สูตร
3.3 การตอบปญั หาท่วั ไป เชนํ ปัญหาวิทยาศาสตร์ ปัญหาภาษาไทย ฯลฯ
3.4 การประกวด เชํน การประกวดเรยี งความ ประกวดคาประพนั ธ์ ประกวดวาดภาพ ฯลฯ
3.5 การแขงํ ขนั เชํน แขํงขันการหาคาตอบจากสารานุกรม

4. กิจกรรมส่งเสรมิ ความรู้ทัว่ ไปและการใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์
กจิ กรรมสํงเสริมความรู๎ท่ัวไปและการใช๎เวลาวาํ งใหเ๎ ปน็ ประโยชนเ์ ป็นสํวนประกอบทีจ่ ะทาให๎ชวี ติ

มีคุณคํา และมคี วามสุข กิจกรรมที่ควรจดั ไดแ๎ กํ
1.1 การจัดนทิ รรศการ
1.2 การอภปิ ราย
1.3 การโต๎วาที
1.4 การสนทนา

วิชา ก.สงํ เสริมนิสยั รกั การอําน โรงเรียนสระบรุ ีวิทยาคม หน๎า 43

หนังสืออา้ งอิง

กรมวิชาการ. (2543). คมู่ ือการดาเนนิ งานห้องสมุดโรงเรียน ระดบั มธั ยมศึกษา. พิมพ์คร้ัง
ที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพร้าว.

_________. (2543). ชดุ ฝึกอบรม เร่ือง การพฒั นาทรพั ยากรสารนิเทศ. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ ุรุสภาลาดพร้าว,.

ปรียา ไชยสมคณุ . (2546). หอ้ งสมุดกับการรู้สารสนเทศ. กรุงเทพฯ : ประสานมิตร.
สนุ ี เลิศแสวงกจิ และพศิ ิษฐ์ กาญจนพิมาย. (2546). ห้องสมุดกับการรูส้ ารสนเทศ.

กรงุ เทพฯ : วังอักษร.
เอ้ือมพร ทศั นประสิทธผิ ล. (2542). สารนเิ ทศเพื่อการศกึ ษาคน้ ควา้ . กรงุ เทพฯ : สุวีริยาสาสน์ .

วิชา ก.สงํ เสริมนิสยั รักการอาํ น โรงเรยี นสระบรุ ีวิทยาคม หน๎า 44

วชิ า ก.สํงเสรมิ นสิ ยั รักการอาํ น โรงเรยี นสระบรุ ีวทิ ยาคม หนา๎ 45


Click to View FlipBook Version