The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pattaraphron Tachaiwong, 2023-10-05 05:09:27

หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติการเบิกค่ารักษาพยาบาลฯ

หลักเกณฑ์การเบิกสวัสดิการ_แก้4

หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติการเบิกค่ารักษาพยาบาล ค่าตรวจสุขภาพประจ าปีค่าเล่าเรียนบุตร และเงินช่วยเหลือพิเศษกรณีพนักงานมหาวิทยาลัยถึงแก่ความตาย ของพนักงานมหาวิทยาลัยประจ า


1. พนักงานมหาวิทยาลัยประจ า 2. ญาติสายตรง ได้แก่ คู่สมรส บิดา มารดา บุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย และได้แจ้งขึ้นทะเบียนข้อมูลไว้บนฐานข้อมูลบุคลากรของมหาวิทยาลัย เรียบร้อยแล้ว 1. ค่ารักษาพยาบาลของตนเองและญาติสายตรงรวมกันไม่เกินปีละ 20,000 บาท เฉพาะส่วนที่เกินจากสิทธิรวมค่าทันตกรรมไม่เกิน 3,000 บาท ต่อปี 2. ค่าตรวจสุขภาพประจ าปีของตนเองเฉพาะส่วนเกินจากสิทธิ500 บาท ต่อปี 3. ค่าเล่าเรียนบุตร ไม่เกิน 2 คน คนละไม่เกิน 5,000 บาทต่อปีการศึกษา ในอัตราที่จ่ายจริงตามระเบียบของทางราชการ 4. เงินช่วยเหลือพิเศษกรณีพนักงานมหาวิทยาลัยถึงแก่ความตาย จ านวน 3 เท่าของค่าจ้างรายเดือนเดือนสุดท้าย หากจ านวนที่ได้รับ ต่ ากว่า 100,000 บาท ให้มีสิทธิได้รับจ านวนเงิน 100,000 บาท หมายเหตุ : สิทธิหมายถึง สิทธิกองทุนประกันสังคม หรือ สิทธิหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติหรือประกันชีวิต สิทธิและสวัสดิการที่พนักงานมหาวิทยาลัยประจ าได้รับ ใครบ้าง?....มีสิทธิได้รับสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล


เอกสารแนบดังนี้ 1. ใบเสร็จรับเงิน (ใช้สิทธิได้ไม่เกิน 1 ปี นับจากวันที่สถานพยาบาลออกหลักฐานให้) 2. หนังสือรับรองการได้รับค่าชดเชยค่ารักษาพยาบาล จากสิทธิกองทุนประกันสังคมหรือเอกส าร ตรวจสอบสิทธิส านักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ(สปสช.) หรือ ใบแจ้งค่าชดเชย ค่ารักษาพยาบาลจากบริษัทประกันชีวิต แบบ กบค.05 ขั้นตอนการเบิกค่ารักษาพยาบาลเฉพาะส่วนเกินจากสิทธิ 1.1กรณีเข้ารักษาพยาบาลในโรงพยาบาลตามสิทธิกองทุนประกันสังคม หรือสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหรือประกันชีวิต กรอก แบบ กบค.05 กองคลังด าเนินการเบิกจ่ายโดยโอนเงิน เข้าบัญชีเงินเดือน ยื่นเอกสารที่กองคลัง ส านักงานอธิการบดี


เอกสารแนบดังนี้ 1. ใบเสร็จรับเงิน (ใช้สิทธิได้ไม่เกิน 1 ปี นับจากวันที่สถานพยาบาลออกหลักฐานให้) 2. หนังสือส่งตัวจากสถานพยาบาลตามสิทธิให้ไปรับ การตรวจหรือรักษาต่อยังสถานพยาบาลอื่น แบบ กบค.05 1.2 กรณีไม่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตามสิทธิแต่มีหนังสือส่งตัว จากโรงพยาบาลตามสิทธิกองทุนประกันสังคมหรือสิทธิหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติหรือประกันชีวิต กรอก แบบ กบค.05 กองคลังด าเนินการเบิกจ่ายโดยโอนเงิน เข้าบัญชีเงินเดือน ยื่นเอกสารที่กองคลัง ส านักงานอธิการบดี


เอกสารแนบดังนี้ 1. ใบเสร็จรับเงิน (ใช้สิทธิได้ไม่เกิน 1 ปี นับจากวันที่สถานพยาบาลออกหลักฐานให้) 2. ใบรับรองแพทย์ที่ระบุถึงเหตุผลและความจ าเป็น ฉุกเฉินที่ต้องเข้ารับการรักษา ณ โรงพยาบาลแห่งนั้น 3. ค าสั่งประโยชน์ทดแทน จากส านักงานประกันสังคม ในกรณีท าฟันหรือการคลอดบุตร 4. หนังสือแจ้งผลวินิจฉัยกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉินสิทธิ ประกันสังคม แบบ กบค.11 1.3 กรณีเข้ารับการรักษา ณ โรงพยาบาลที่ไม่เป็นไปตามสิทธิ กองทุนประกันสังคมหรือสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือประกันชีวิตและไม่มีหนังสือส่งตัว กองบริหารงานบุคคลรวบรวม น าเสนออนุกรรมการพิจารณา กลั่นกรองค่ารักษาพยาบาล กรอกแบบ กบค.11 ด าเนินการยื่นแบบ กบค.05 เพื่อขอเบิกค่ารักษาพยาบาลที่กองคลัง ส านักงานอธิการบดี ยื่นเอกสารที่กองกลาง ส านักงานอธิการบดี น าเสนอ กบม. พิจารณา แจ้งมติ กบม. พร้อมเอกสาร กบค.11 ไปยังหน่วยงาน แจ้งเจ้าตัวเพื่อทราบ อนุมัติ ไม่อนุมัติ


เอกสารแนบดังนี้ 1. ใบเสร็จรับเงิน (ใช้สิทธิได้ไม่เกิน 1 ปี การศึกษา) 2. ส าเนาทะเบียนบ้านของบุตร 3. ประกาศอัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่นของโรงเรียน แบบ กบค.06 2. ขั้นตอนการเบิกค่าเล่าเรียนบุตร กรอก แบบ กบค.06 กองคลังด าเนินการเบิกจ่ายโดยโอนเงิน เข้าบัญชีเงินเดือน ยื่นเอกสารที่กองคลัง ส านักงานอธิการบดี


เอกสารแนบดังนี้ 1. ใบมรณะบัตรของพนักงาน มหาวิทยาลัยประจ าที่เสียชีวิต 2. เอกสารแสดงความเป็นผู้มีสิทธิได้รับ เงินช่วยพิเศษ แบบ กบค.07 หมายเหตุ : ผู้มีสิทธิหมายถึง บุคคลที่พนักงานมหาวิทยาลัยได้แสดงเจตนาไว้ตาม แบบหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับเงินช่วยพิเศษกรณีพนักงานมหาวิทยาลัยถึงแก่ความตาย (กบค.02) 3. ขั้นตอนการขอรับเงินช่วยเหลือพิเศษกรณีพนักงานมหาวิทยาลัย ประจ าถึงแก่ความตาย ผู้มีสิทธิติดต่อ กองบริหารงานบุคคล เพื่อกรอก แบบ กบค.07 กองคลังตรวจสอบหลักฐานและด าเนินการ เบิกจ่ายให้ผู้มีสิทธิรับเงินช่วยเหลือพิเศษ ส่งเอกสารที่กองคลัง ส านักงานอธิการบดี


Click to View FlipBook Version