บนั ทึกหลังการจัดประสบการณ์
คำชีแ้ จง ทำเคร่อื งหมาย / เมอ่ื พบ
ท่ี ช่ือ – สกุล
เด็กสามารถร่วม ิกจกรรมการเค ื่ลอนไหว
ประกอบเพลง และดนตรีอย่าง ีมความ ุสข
เด็กสามารถบอก ่ชือผลไ ้มได้
เด็กสามารถสร้างผลงานศิลปะเพื่อ ่ืสอสาร
3213213
1 เด็กชายจตภุ ัทร แก้วทรพั ย์
2 เด็กชายณัฐกรณ์ คงไทย
3 เดก็ ชายนนทกร ศรสี ุนทร
4 เดก็ ชายปยิ ะวัชร์ บญุ เพชร
5 เดก็ ชายมัทธิว เสาพรม
6 เด็กหญงิ ธนภรณ์ หมตู ุ่น
7 เด็กหญิงมณีกานต์ ไพรวัลย์
8 เด็กหญงิ อจลญา พรมมี
9 เดก็ หญิงอริสา อ่ำอ้น
10 เด็กหญงิ อาทิตญา เกตคุ ุม้
วันที่ 1 หน่วย ผลไมน้ ่ากิน ความคดิ ความรูส้ ึกของตนเอง โดยมีการ
บพฤติกรรมตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ดัดแปลงใหมจ่ ากเดิม หรอื มรี ายละเอียด
เพม่ิ ข้ึนได้
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
เด็กกลา้ พูดกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมบาง
21321321321321321 สถานการณ์ได้
เดก็ แสดงความพอใจในผลงานและ
ความสามารถของตนเองได้
เดก็ สามารถเล่น และ ทำกิจกรรมได้อยา่ ง
ปลอดภยั ดว้ ยตนเอง
เดก็ สามารถต่อภาพผลไม้ได้
เดก็ สามารถฟัง/พูด/อ่าน/เขียนพยญั ชนะ
ไทยตามรอยประได้
11 เด็กหญงิ อติกานต์ พุ่มสลดิ
รวม
เฉล่ยี
บันทกึ ผลการการจดั กิจกรรม(อาทิ ความยากงา่ ยของกจิ กรรมทกี่ ำหนด ความเหมาะสม
เรยี นรู้ของเด็ก)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
เกณฑ์การประเมนิ ระดบั 3 ดี = ปรากฏพฤติกรรม เปน็ ไปตามสภาพทพ่ี ึงประสงค
ระดบั 2 พอใช้ = ปรากฏพฤติกรรม เปน็ ไปตามสภาพทพ่ี ึงประสงค
ระดับ 1 ควรส่งเสริม = ไม่ปรากฏพฤตกิ รรม ที่เปน็ ไปตามสภาพทีพ่ ึงประ
มของสอ่ื ระยะเวลาในการจดั กิจกรรม การตอบสนองของเด็กตอ่ กิจกรรม ลักษณะการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………… ……………………
ค์ ลงชื่อ....................................ผ้ปู ระเมนิ
คโ์ ดยมีการกระตนุ้ นางกาญจนา มสี กุล
ะสงค์
ครปู ระจำชัน้ อนุบาลปท่ี ่ี 3
บา นเเมส ลิด
ม.1 ต.แมสลดิ อ.บา นตาก จ.ตาก 63120
0864414504
นางสาวจินตนา แกวคํามา
ครู
0864414504
[email protected]
กลุมสาระการเรียนรสู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ชน้ั ป.5
การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ
การกราบอยางถกู ตองเพ่ือบรณู าการในชั่วโมงคณุ ธรรมท่ีนักเรยี นสวดสรภญั ญะทกุ ๆวนั ศุกร
18/2/2021
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การปฏบิ ตั ิตนที่ดี เร่อื ง มารยาทชาวพุทธ – การกราบ
กลุม่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 เวลา 1 ชวั่ โมง
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
ผู้สอน นางสาวจนิ ตนา แก้วคำมา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย สอนวนั ท่ี 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
โรงเรยี นบา้ นแมส่ ลดิ
1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้ีวดั
มาตรฐานการเรยี นรู้
ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏบิ ตั ิตนเป็นศาสนิกชนที่ดีและธำรงรกั ษา
พระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนับถือ
ตวั ช้วี ัด
ส 1.2 ป.5/3 มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนท่ีดตี ามทกี่ ำหนด
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 นักเรยี นอธิบายวธิ ีการกราบได้ถูกต้อง(K)
2.2 นกั เรยี นปฏิบตั ิตนการกราบในโอกาสตา่ ง ๆได้ถกู ตอ้ ง(P)
2.3 นกั เรยี นมีคุณลกั ษณะรักความเปน็ ไทย (A)
3. สาระสำคัญ
การกราบเป็นวิธีการแสดงความเคารพพระพุทธรปู พระสงฆ์ บุคคลทว่ั ไป และศพ เราเปน็
ชาวพทุ ธควรปฏบิ ตั ิให้ถกู ตอ้ งเหมาะสม
4. สาระการเรียนรู้
4.1 มารยาทของชาวพุทธ
- การกราบ
5. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
5.1 รักความเป็นไทย
6. สมรรถนะ
6.1ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
6.1.1 กระบวนการปฏบิ ัติ
7. กจิ กรรมการเรียนรู้
7.1 ขน้ั นำเข้าส่บู ทเรยี น
1) ครสู นทนาซกั ถามนกั เรยี นว่า เมื่อคนไทยพบปะทักทายกนั จะแสดงมารยาทอยา่ งไร
ครูฟังความคดิ เหน็ ทีห่ ลากหลายจากนักเรียน พร้อมทัง้ ชน่ื ชมนกั เรยี นที่กลา้ แสดงออก
2) ครอู ธบิ ายใหน้ ักเรยี นฟงั วา่ มารยาทที่คนไทยส่วนใหญย่ อมรบั เปน็ เรือ่ งของการแสดง
ความเคารพ
3) ครแู จง้ จดุ ประสงค์การเรยี นรใู้ ห้นักเรยี นทราบ
7.2. ข้นั สอน
1) ครูให้นกั เรยี นดูวีดทิ ัศน์เก่ียวกบั วิธีการกราบ
2) ครูและนักเรยี นร่วมกนั ฝึกปฏบิ ตั ิการกราบ พรอ้ มกนั ทั้งชนั้ เรียน
3) ครูส่มุ ตวั แทนนกั เรยี น มาสาธิตปฏบิ ัติการกราบ ให้เพอ่ื นๆดหู นา้ ช้นั เรียน
4) ครูเปดิ วีดิทศั น์เกย่ี วกับวธิ กี ารกราบ แลว้ ให้นกั เรียนปฏบิ ัตติ ามอกี ครัง้
5) ครูสอบปฏิบัตกิ ารกราบ โดยออกมาทีละ 5 คนตามเลขที่พร้อมทง้ั สงั เกตพฤติกรรม
6) นกั เรยี นทำช้ินงานท่ี 16 แผนผงั ความคดิ เรอื่ งการกราบ
7.3 ขัน้ สรุป
นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรุป เรอ่ื งการกราบ โดยให้นกั เรียนสรุปลงในสมดุ
8. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้
8.1 วดี ทิ ศั น์ เรือ่ งกราบ
8.2 หนงั สือเรยี นสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ป.5
8.3 แบบบนั ทึกการกราบ
8.4 ช้นิ งานท่ี 16 การกราบ
9. การวดั ผลและประเมินผล วิธกี ารวดั เคร่อื งมือ
ตรวจช้นิ งาน ชน้ิ งานท่ี 16
9.1 การวัดผล สอบปฏิบตั ิ แบบบันทึกการกราบ
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม
นกั เรียนอธบิ ายวธิ ีการกราบได้ถูกตอ้ ง (K)
นกั เรยี นปฏบิ ตั ติ นการกราบในโอกาสตา่ ง ๆได้ถกู ตอ้ ง (P)
นกั เรยี นมคี ณุ ลักษณะรกั ความเปน็ ไทย (A)
9.2 เกณฑ์การประเมินผล
ประเดน็ การประเมิน 4 (ดีมาก) ระดับคณุ ภาพ 1 (ปรบั ปรุง)
3 (ด)ี 2 (พอใช)้
นำเสนอข้อคน้ พบทไ่ี ด้ นำเสนอขอ้ ค้นพบท่ี นำเสนอข้อคน้ พบท่ี นำเสนอขอ้ ค้นพบที่
ด้วยการอธบิ ายในรูปแบบ ได้ด้วยการอธิบายใน ได้ด้วยการอธบิ ายใน ได้ด้วยการอธิบายใน
แผนผังความคิดประเด็น รูปแบบแผนผงั รปู แบบแผนผัง รปู แบบแผนผัง
ท่อี ธิบายจะตอ้ งกลา่ วถงึ ความคดิ ประเดน็ ที่ ความคดิ ประเดน็ ท่ี ความคิด ประเดน็ ท่ี
อธบิ ายวธิ กี ารกราบได้ วธิ กี ารกราบได้ถูกต้อง อธบิ ายจะต้อง อธบิ ายจะต้อง อธบิ ายกลา่ วถงึ
ถกู ตอ้ ง เปน็ ลำดับข้ันตอนชดั เจน กลา่ วถงึ วธิ กี ารกราบ กล่าวถงึ วธิ กี ารกราบ วธิ ีการกราบไม่
(ช้นิ งานที่ 15) มีความคดิ สรา้ งสรรค์ คิด ไดถ้ ูกตอ้ งเป็นลำดบั ไดถ้ กู ตอ้ ง แต่ขา้ ม ถูกต้องและข้าม
ได้ดว้ ยตนเองการ ขน้ั ตอนชัดเจน ขัน้ ตอนบางส่วนการ ขั้นตอน นำเสนอได้
นำเสนอน้ันมี มีความคดิ สร้างสรรค์ นำเสนอนั้นมี จากคำช้ีแนะของ
คุณภาพดีและโดด การนำเสนอน้ันมี คณุ ภาพค่อนข้างดี ผูส้ อน
เด่นจนเป็นตัวอย่าง คณุ ภาพดี
ได้
กราบพระรัตนตรัย กราบพระรัตนตรัย กราบพระ กราบพระรัตนตรัย
ปฏิบัตติ นการกราบใน กราบบุคคลธรรมดา กราบบุคคลธรรมดา รตั นตรยั กราบ กราบบุคคลธรรมดา
โอกาสตา่ ง ๆได้ถูกตอ้ ง และกราบศพได้ และกราบศพได้ บคุ คลธรรมดา และกราบศพไดถ้ ูก
(แบบบันทกึ การกราบ) ถูกต้อง สุภาพ ถูกต้อง และกราบศพได้ (นอ้ ยกวา่ 2ใน3)
เรียบร้อย งดงาม จน ถูกต้อง (2ใน3)
เป็นแบบอย่างได้
ระดบั คุณภาพ
คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
10 – 12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรงุ
9.3 เกณฑ์การตดั สิน
- รายบุคคล นกั เรยี นมผี ลการเรยี นรู้ตั้งแต่ระดับ 2 จึงถือวา่ ผา่ น
ชิ้นงานที่ 16 การกราบ
คำช้แี จง :ให้นักเรียนอธิบายเร่อื งวธิ กี ารกราบในรปู แบบของแผนผังความคดิ หวั ขอ้ “การกราบ”
โดยอธิบายหัวข้อยอ่ ย ดังต่อไปนี้ 1. การกราบพระรตั นตรัย 2. การกราบบคุ คลธรรมดา
3. การกราบศพ
ช่อื -สกลุ ....................................................................................ชน้ั ....................เลขที่.............
วดี ที ศั น์ เรื่องการกราบ
https://www.youtube.com/watch?v=m_UiOhaBTNA
แบบบนั ทึกการกราบ/ไหว้
ช่อื -สกลุ ................................................................ชนั้ ................เลขท่ี.........................
การปฏบิ ัติ ผลการกราบ/ไหว้
ดี พอใช้ ปรับปรงุ
การไหว้บิดา มารดา ครอู าจารย์
การไหวบ้ ุคคลทั่วไปทเ่ี คารพ
การกราบพระรตั นตรยั
การกราบศพ
ชอื่ -สกุล................................................................ช้ัน................เลขที.่ ........................
การปฏิบตั ิ ผลการกราบ/ไหว้
ดี พอใช้ ปรับปรงุ
การไหว้บดิ า มารดา ครูอาจารย์
การไหวบ้ ุคคลท่วั ไปทเ่ี คารพ
การกราบพระรตั นตรัย
การกราบศพ
ชุมชนบานสมอโคน
หมูท่ี 3 บานสมอโคน. ตาํ บล : สมอโคน. อําเภอ : บา นตาก. จังหวัด ตาก
0869243911
นางสาวกัญญา กาบแกว
ครผู ูชวย
0869243911
[email protected]
กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย, กลุม สาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลย,ี
ชัน้ ป.1, ชกน้ั ลุมปส.4า,รชะน้ักาปรเ.6รยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม, กลุมสาระการเรยี นรู
การเรียนรไู มม สี ิน้ สสุดุขศอึกยษแู าหงแไลหะนพเรลาศกึก็เรษียานรไู ด
วิดิโอสอ่ื การสอนทั้งหมดนี้ ไดแ นวความคดิ มาจากสถานการณใ นปจจุบันเก่ยี วกับโรคระบาด
ทนี่ กั เรียนตองหยดุ เรยี น เพื่อใหก ารเรยี นรนู ัน้ ไมมีทสี่ นิ้ สดุ จงึ ไดจัดทําสือ่ การสอนทนี่ กั เรียน
สามารถเขาเรียนรไู ดทกุ ท่ี แมจ ะอยใู นท่แี หงใด แมโ รงเรียนจะหยดุ แตเราจะไมห ยดุ การเรียน
รู
16/2/2563
แผนการจดั การเรียนรรู้ ายช่ัวโมง
(แนวประยกุ ตเ์ ข้ากบั สื่อการสอนออนไลน์ ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙)
กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑
หนว่ ยท่ี ๖ เพ่ือนรกั เพอื่ นเลน่ เวลาเรยี น ๑๕ ชัว่ โมง
เรอื่ ง รูปและเสียงวรรณยุกต์ เวลาเรยี น ๑ ช่วั โมง
นางสาวกญั ญา กาบแกว้ วนั ที่ ………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………..............................................
ตวั ชี้วัด ท.1 ป1/1 อา่ นออกเสียงคา คาคลอ้ งจอง และขอ้ ความสัน้ ๆ
ท4.1 ป1/1 บอกและเขียนพยัญชนะ สระ และตวั เลขไทย
ท5.1ป1/1 บอกข้อคดิ ที่ได้จากการอ่านหรอื การฟงั วรรณกรรมร้อยแก้ว และรอ้ ยกรองสาหรบั เด็ก
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกรปู และเสียงวรรณยกุ ตไ์ ด้ (K)
2. จาแนกคาท่ีมรี ูปวรรณยกุ ต์ และไม่มรี ปู วรรณยุกต์ (P)
3. เหน็ ความสาคัญของวรรณยกุ ต์ (A)
สาระสาคัญ / ความคดิ รวบยอด
นักเรยี นสามารถบอกรูปวรรณยุกต์และเสยี งวรรณยกุ ต์ และสามารถเหน็ ความสาคญั ของวรรณยกุ ต์
สาระการเรยี นรู้
รปู และเสียงวรรณยุกต์
คาถามส่งเสริมกระบวนการคิด
วรรณยกุ ต์ไทยคอื อะไร แลว้ ทาไมเราถงึ ตอ้ งใช้วรรณยกุ ต์ไทย
กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ขน้ั อ่นุ เครอื่ ง (Warm – Up Stage)
ครนู านักเรียน ทากจิ กรรม Brain Gym ปรบมือ 14 จงั หวะ 2-3 รอบ (อาจมีการเปลี่ยนแปลงไดต้ าม
ความเหมาะสม)
2. ขน้ั เรยี นรู้ (Learning Stage)
ขน้ั นา
1. ทบทวนความรู้เดิมอธบิ ายความหมายของรปู และเสยี งวรรณยกุ ต์
วรรณยกุ ต์เปน็ เครือ่ งหมายแสดงระดับเสียงสูงตา่ ในภาษา คาทม่ี ีรูปพยญั ชนะและสระเหมอื นกัน
ถ้าเสียงวรรณยกุ ต์ตา่ งกนั จะทาให้คาน้ันมคี วามหมายต่างกัน
2. ครแู จ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรูใ้ นชัว่ โมงนี้ให้นักเรยี นทราบ
ข้นั สอน
1.ครูเปดิ สื่อการสอนเรื่องวรรณยุกต์ใหก้ บั นักเรียน
2.ครูอธบิ ายเพิม่ เตมิ จากส่อื การสอน
วรรณยุกตไ์ ทยมี ๔ รูป ๕ เสยี ง โดยใช้เทคนิควิธกี ารจา
รปู วรรณยกุ ต์มี 4 รปู รปู เอก รูปโท รปู ตรี รูปจัตวา
เสียงวรรณยุกตม์ ี 5 เสยี ง เสยี งสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสยี งจตั วา
3.นกั เรียนและครูรว่ มพูดสนทนา จากคลปิ ส่อื การสอน ดังนี้
- นกั เรียนคิดว่าคาใดทมี่ รี ูปวรรณยกุ ต์จะทาให้ความหมายนนั้ เปลย่ี นแปลงไดห้ รอื ไม่
- รูปวรรณยุกต์สาคญั กับคาในภาษาไทยหรือไม่
- ใหน้ ักเรียนยกตัวอยา่ งคาที่มีรปู วรรณยกุ ต์
ข้ันสรปุ
ครใู ห้นกั เรียนร่วมกนั สรปุ และสงิ่ ทไ่ี ด้จากการดูส่ือการสอน โดยใช้กระบวนการตงั้ คาถามและตอบ
คาถาม โดยให้นกั เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการผลดั กันฝึกตัง้ คาถามแล้วให้เพ่อื นๆ ชว่ ยกนั ตอบ
3. ข้ันฝึก (Practice Stage)
- ครูให้นักเรยี นฝกึ ทาช้ินงานสรุปรูปและเสยี งวรรณยกุ ต์ (ตามทา้ ยคลิปสือ่ การสอน) และระบายสีให้
สวยงาม
สื่อ / แหลง่ เรยี นรู้ ภายในประเทศและต่างประเทศ
- สอ่ื การสอนเรื่อง วรรณยกุ ตไ์ ทย
- ชิน้ งาน
การวดั ผล
- สังเกตการร่วมกจิ กรรม
- สงั เกตจากการถาม ตอบ จากสิง่ ทีไ่ ดร้ ับจากสอ่ื คลิปวิดโิ อเรอื่ งวรรณยุกต์ไทย
บันทึกหลงั สอนและแนวทางการทาวจิ ยั ในชัน้ เรยี น
ผลท่ีเกิดกับผู้เรยี น (ดา้ น K A P)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาอปุ สรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
แนวทางแกไ้ ข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ…………………………..…………………..ครผู ู้สอน
............/............/............
บานตากประถมวทิ ยา
102 ต.ตากตก อ.บา นตาก จ.ตาก
0956308393
นางสทุ ิศา จนั ทราวธุ
ครู
0956308393
[email protected]
กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ช้นั ป.4
ส่ือการสอนออนไลน เรอ่ื ง อลั กอริทึมและเหตผุ ลเชิงตรรกะ
ปจ จบุ นั ไมวา นกั เรียนจะอยไู หนก็สามารถเรยี นไดทุกทท่ี กุ เวลาดู
16/2/2021
หน่วยย่อยท่ี 1 การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4 เรื่อง อลั กอรทิ ึมและเหตุผลเชิงตรรกะ
จานวนเวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชี้วดั
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชงิ คานวณในการแกป้ ญั หาท่พี บในชวี ิตจรงิ อยา่ งเป็นข้ันตอน
และเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารในการเรียนรู้ การทางาน
และการแกป้ ัญหาได้อย่างมีประสิทธภิ าพ รเู้ ท่าทัน และมจี ริยธรรม
ตวั ชว้ี ัด
ว 4.2 ป.4/1 ใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะในการแก้ปญั หา การอธบิ ายการทางาน การคาดการณ์ผลลพั ธ์
จากปญั หาอยา่ งง่าย
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการทางานอย่างเป็นขั้นตอน โดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา (K)
2. เขยี นฝึกลาดับความคิดในการแกป้ ัญหา (P)
3. เลอื กวธิ กี ารแก้ปญั หา ฝึกลาดับความคิด และใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแก้ปัญหา (P)
4. เหน็ ความสาคญั ของการใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแก้ปัญหา (A)
สาระการเรียนรู้
การแสดงขั้นตอนการทางานหรอื การทางานหรือการแกป้ ัญหา จะชว่ ยฝกึ ทักษะการคิดอยา่ งเป็นขน้ั ตอน การใช้
เหตผุ ลเชงิ ตรรกะ จะช่วยฝึกทักษะของการแก้ปญั หาอย่างมีเหตมุ ผี ล
สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
คาถามสาคญั
นกั เรยี นมีวิธกี ารทางานน้ีวธิ ใี ดอีกบา้ ง วธิ กี ารของนกั เรียนดอี ย่างไร
การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
ข•้นั น•า• • • • • • • • • • • • • • •
1. ครูถามน้กเรียนว่า “นักเรยี นรู้จักอัลกอรทิ มึ ไหมเอ่ย” พร้อมให้นกั เรียนยกมือลุกขึ้นตอบครทู ลี ะคน
2. ครูให้นักเรยี นดูสื่อการสอนออนไลน์ ฉบบั การต์ ูน เร่ือง อลั กอริทมึ จากเว็บไซต์
https://www.youtube.com/watch?v=7ITAF0CkPwg
•ข้นั• ส•อน• • • • • • • • • • • • • • • • •
3. ครูอธบิ ายความหมายของ อัลกอริทึม และสรปุ ให้นักเรียนฟงั พร้อมกัน
คาว่า Algorithm มีที่มาจากคาว่า al –Khawarizmi ซงึ่ เป็นชื่อของนกั คณติ ศาสตร์ชาว
เปอร์เซยี ในยคุ แรก คานห้ี มายถงึ กฎในการคิดคานวณเลขคณติ ในปจั จุบนั มคี วามหมายทก่ี วา้ งขน้ึ
โดยหมายถึง ขน้ั ตอนวธิ กี ารในการแก้ปัญหาต่างๆ
อลั กอริทึม (Algorithm) หมายถึง แนวคิดอยา่ งมีเหตุมีผลท่ผี ้พู ัฒนาโปรแกรม โปรแกรมเมอร์
หรอื นกั วเิ คราะห์ระบบ ใชใ้ นการอธิบายวิธกี ารทางานอย่างเป็นขนั้ ตามลาดับในการท่ีจะพฒั นา
โปรแกรมนั้นๆ ใหก้ บั ผู้ที่สนใจหรือผูท้ ีเ่ ป็นเจ้าของงาน หรอื ผูท้ ่ีรบั ผดิ ชอบไดท้ ราบถึงข้ันตอนต่างๆ
ในการเขียนหรอื พัฒนาโปรแกรม
4. ครูยกตวั อยา่ ง อัลกอรทิ ึม “การทอดไข่เจยี วใสไ่ ขม่ ดแดง” ใหน้ ักเรียนฟังพร้อมท้งั ลาดบั ข้นั ตอนการ
ทางานอย่างชดั เจน
5. นักเรยี นรว่ มกันสนทนาและตอบคาถามกระต้นุ ความสนใจ โดยใช้คาถาม ดังนี้
• นกั เรยี นมีวิธกี ารทางานน้ีวิธีใดอีกบา้ ง วิธีการของนักเรยี นดีอย่างไร
6. นกั เรยี นรว่ มกนั ฟงั คาอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับการใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหาว่าแตล่ ะปญั หา
มีวิธกี ารแกป้ ญั หาทแ่ี ตกตา่ งกัน ขน้ึ อยกู่ บั การใชเ้ หตุผลในการตัดสนิ ใจ หรอื เลอื กวิธกี ารแก้ปญั หาของแต่ละคน
7. นักเรียนรว่ มกันศึกษาข้อมลู เก่ียวกบั การใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแกป้ ัญหา จากแหล่งการเรยี นรู้
ตา่ ง ๆ
8. ครแู จกใบงานใหน้ กั เรียนทา เรือ่ ง อลั กอริทึมและเหตุผลเชิงตรรกะ เรื่อง “การทอดไข่เจียว”
9. นกั เรยี นแบง่ กลุ่มตามความเหมาะสม แต่ละกลมุ่ รว่ มกนั วิเคราะหใ์ บงานท่ี 1 ฝึกลาดับความคดิ
โดยบอกวิธีการชงนมเปน็ ลาดับขั้นตอนมา 2-3 วธิ ี โดยเขียนเปน็ ภาพความคิด ดงั ตวั อย่าง
10. ครใู ห้นักเรยี นสง่ ตวั แทนออกมานาเสนอหน้าชั้นเรยี น เร่ือง อลั กอริทึม “การทอดไขเ่ จียว” ให้
เพ่อื นๆ ฟงั พรอ้ มกัน
•ข้นั• ส•รุป• • • • • •
11. นกั เรียนร่วมกันสรุปความคดิ รวบยอดเกี่ยวกบั การฝกึ ลาดับความคิด ดงั น้ี
- การฝึกลาดับความคดิ ทาให้มองเหน็ ปญั หาแตล่ ะปัญหา แล้วตัดสนิ ใจแกป้ ญั หาโดยใชเ้ หตผุ ลเชิง
ตรรกะในการแก้ปัญหา
- ในชวี ิตประจาวนั เราพบปัญหาท่ีแตกต่างกนั ปญั หาบางปัญหาอาจมีวธิ กี ารแก้ปัญหา
ท่หี ลากหลาย ข้นึ อยู่กบั การใช้เหตผุ ลในการตัดสินใจ หรือการเลอื กวธิ กี ารแก้ปญั หาของแต่ละคน
12. ครสู รปุ ใหน้ กั เรยี นฟัง ดงั นี้
การออกแบบ อลั กอริทึม ที่ดี ชว่ ยให้เราทางานไดส้ าเร็จ ในชวี ติ ประจาวนั เราสามารถ ใช้
อลั กอริทมึ ในการแกป้ ัญหาต่าง ๆ ไดม้ ากมาย
สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสอื เรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4
ของสถาบนั พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.)
2. เวบ็ ไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=7ITAF0CkPwg
การประเมนิ การเรียนรู้
1.ประเมินความรู้ เร่ือง การใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะในการแกป้ ัญหา (K) ดว้ ยการตอบคาถามในใบงาน
2. ประเมนิ กระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมนิ
3. ประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ดา้ นใฝเ่ รยี นรู้ (A) ด้วยแบบประเมิน
แบบประเมนิ ตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
รายการการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
กระบวนการ 432 1
ทางานกลมุ่
มกี ารกาหนดบทบาท มกี ารกาหนดบทบาท มกี ารกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
บทบาทสมาชิก
สมาชกิ ชดั เจน สมาชิกชดั เจน เฉพาะหัวหนา้ และไมม่ ีการชแ้ี จง
เปา้ หมาย สมาชิก
และมกี ารช้ีแจงเปา้ หมาย มีการชีแ้ จงเป้าหมาย ไมม่ ีการชี้แจงเป้าหมาย ต่างคนตา่ งทางาน
การทางาน อยา่ งชัดเจนและ อยา่ งชัดเจน
มีการปฏิบตั ิงานร่วมกัน ปฏบิ ตั ิงานร่วมกัน ปฏิบัตงิ านรว่ มกนั
อยา่ งร่วมมอื รว่ มใจ แต่ไมม่ กี ารประเมนิ ไม่ครบทุกคน
พรอ้ มกับการประเมินเป็น เป็นระยะ ๆ
ระยะ ๆ
ใบงานที่ 1
ช่อื ....................................................................... เลขที่........... ชนั้ .................
โจทย์
ให้นักเรยี น เขยี น อัลกอริทมึ “การตม้ มามา่ ใส่ไข่” โดยลาดบั ขัน้ ตอนให้ชัดเจน
อลั กอรทิ มึ “การตม้ มามา่ ใสไ่ ข”่
โรงเรยี นบานแมส ลิด
โรงเรียนบา นแมส ลดิ หมูที่ 1 ตําบลแมสลดิ อาํ เภอบานตาก จังหวัดตาก 63120
095-6418107
นางสาวอญั รนิ ทร อคั รวิชิตศักดิ์
ครูผชู วย
095-6418107
[email protected]
กลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร
ชน้ั ป.3
วดี กี ารสอนเรือ่ งเครื่องมือการชงั่ นํ้าหนัก
เน่อื งจากการสอนเรอ่ื งเคร่ืองมือทใ่ี ชในการช่งั นา้ํ หนัก ครไู มสามารถนาํ ส่ือจรงิ มาใหน กั เรียน
เหน็ ได การปริ้นสื่อภาพเครอื่ งท่ีใชในชัง่ มาใชใหน ักเรียนเห็นภาพก็ยังคงมีปญ หา จงึ ไดใ ชส ือ่
วดี โี อมาเพือ่ ชว ยในกิจกรรมการเรียนการสอนใหมคี วามนาสนใจยิ่งข้ึน เพอ่ื ใหนักเรยี น
ต่นื เตน กับการเรียนการสอน และยงั ทําใหเรียนเห็นภาพไดอ ยา งท่วั ถงึ
27/2/2021
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3
รายวิชาคณิตศาสตร์ เวลาเรยี น 15 ชั่วโมง
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 8 การวัดนา้ หนัก
เรอ่ื ง การเลือกเครอื่ งชั่งที่เหมาะสม เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง
ครผู ู้สอน นางสาวอัญรนิ ทร์ อัครวิชติ ศักดิ์ วันท.่ี ............ เดอื น.......................... พ.ศ. ...................
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเก่ียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีต้องการวัดและ
นาไปใช้
ตวั ชีว้ ัด
ค 2.1 ป.3/7 : เลือกใช้เครื่องช่ังที่เหมาะสม วัดและบอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและ
กรัม
สาระสา้ คัญ
การช่ังน้าหนักของสง่ิ ตา่ งๆ ควรเลอื กเคร่อื งช่ังให้เหมาะสมและช่ังให้ถูกวิธี โดยใช้ กิโลกรัม กรัม และ
ขีด เป็นหน่วยมาตรฐานในการชัง่
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายความแตกตา่ งของเครอ่ื งช่งั ชนิดต่างๆ ได้ (K)
2. เลือกเครอ่ื งช่ังทีเ่ หมาะสมกบั ส่ิงทีต่ อ้ งการชงั่ ได้ (P)
3. มีระเบียบวนิ ัยในการทางาน (A)
สาระการเรียนรู้
การเลือกเคร่อื งช่ังท่เี หมาะสม
กิจกรรมการเรยี นรู้
ขน้ั นา้ เขา้ ส่บู ทเรยี น
1. ครสู นทนากับนกั เรยี นเกีย่ วกบั การชง่ั และน้าหนกั เช่น
- นกั เรียนแตล่ ะคนหนกั เทา่ ไร
- ทาไมนักเรียนจึงทราบน้าหนกั ของตนเอง (โดยการชัง่ )
- นักเรียนใชอ้ ะไรในการชง่ั นา้ หนักตัว (เคร่อื งชง่ั )
2. ครแู นะนาเคร่อื งมือช่ังชนิดต่าง ๆ ที่เป็นของจรงิ เช่น เคร่ืองชั่งสองแขน เคร่ืองชั่งน้าหนักตัว
เครอ่ื งช่งั สปริง เครื่องชั่งแบบต้มุ เลื่อน
ข้ันสอน
1. ครูนาสือ่ วีดโี อประกอบการสอน เรอ่ื ง การเลอื กเครือ่ งช่งั ทเ่ี หมาะสมใหน้ กั เรยี น ศึกษา
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการเลือกเคร่ืองชั่งช่ังน้าหนักของส่ิงต่างๆ จนได้
ข้อสรุปว่า การเลือกใชเ้ คร่ืองชั่งชนิดต่างๆ ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับส่ิงของท่ีจะช่ัง และน้าหนักของสิ่งของ
ตา่ งๆ โดยครนู าภาพเครือ่ งชนิดต่างๆ ให้นกั เรียนดู พรอ้ มอธบิ ายประกอบ ดังนี้
- เคร่ืองชั่งสปริงมักใช้ช่ังเน้ือสัตว์ผักผลไม้เมล็ดพืชและอื่นๆ ที่มีน้าหนักไม่เกินพิกัดกาลัง
ของเคร่อื งชัง่ เครื่องชง่ั สปรงิ มีพิกดั กาลัง 3 กิโลกรมั 7 กิโลกรัม 15 กโิ ลกรัม 20 กโิ ลกรัม 35 กิโลกรัม และ 60
กิโลกรัม (อาจมแี ตกตา่ งจากน)ี้ เครอ่ื งช่งั สปรงิ จะมหี น้าปัด 2 ด้าน เพ่อื ใหผ้ ซู้ ้อื และผู้ขายสามารถเห็นผลการช่ัง
ไดพ้ ร้อมกนั มกั นิยมใชใ้ นตลาดสดและร้านคา้ ท่วั ไป
- เครอื่ งช่ังน้าหนักตั ใชส้ าหรับชง่ั น้าหนักตัว ปัจจุบันมีทั้งแบบเข็มชี้บอกน้าหนักและแบบ
ตวั เลขเครือ่ งชั่งดิจทิ ลั )
- เคร่ืองชั่งสองแขน เคร่ืองช่ังชนิดน้ีใช้ชั่งส่ิงของท่ีมีน้าหนักน้อย เช่น สมุนไพร แร่ธาตุ
ขนาดเล็ก สารเคมี นิยมใช้ชั่งสมุนไพร จึงเรียกว่า เคร่ืองช่ังยา ร้านขายทองก็ใช้ เคร่ืองช่ังชนิดน้ีไม่มีหน้าปัด
บอกน้าหนัก แต่จะมีตุ้มน้าหนักอยู่ต่างหาก เวลาช่ังจะต้องนาสิ่งของใส่ในจานข้างหน่ึง แล้วนาตุ้มน้าหนักใส่
จานอีกข้างหน่ึง สังเกตให้แขนทั้งสองข้างของเครื่องชั่งอยใู่ นระดับเดียวกันแล้วอา่ นน้าหนกั จากตุ้มน้าหนัก
- เคร่ืองชั่งแบบตุ้มถ่วง เครื่องชั่งชนิดน้ีเป็นเครื่องช่ังขนาดใหญ่มีที่วางของเป็นแท่นช่ัง
นา้ หนกั ได้ครง้ั ละมากๆ เช่น ข้าวสาร หรือน้าตาลเป็นกระสอบ หีบห่อ หรือลังบรรจุของขนาดใหญ่ เคร่ืองชั่ง
ชนิดน้บี างเครื่องสามารถช่ังน้าหนกั ไดถ้ ึง 2,000 กโิ ลกรมั
3. ครใู หน้ กั เรยี นบอกชอ่ื สิ่งของคนละชือ่ แลว้ รว่ มกนั อภิปรายเพื่อเลือกเคร่ืองชั่งท่ีเหมาะสมกับ
สิ่งของนนั้
4. ครทู บทวนหน่วยนา้ หนกั โดยให้นกั เรียนบอกหนว่ ยน้าหนักท่นี ักเรยี นรู้จกั (กิโลกรัม กรัม ขีด)
จากนน้ั ใหน้ ักเรยี นยกตวั อยา่ งสง่ิ ของและบอกปริมาณของของสง่ิ นั้นพรอ้ มเลอื กหน่วยน้าหนกั ท่ีเหมาะสม เช่น
- นา้ หนักตวั ของนักเรยี น (กโิ ลกรมั )
- ส้ม 15 ผล (กิโลกรัมและขดี หรอื กิโลกรมั และกรัม)
- ผักคะนา้ 1 ต้น (กรัมหรือขีด)
- ข้าวสาร 1 ถุง (กิโลกรมั )
- จดหมาย 1 ซอง (กรมั หรือขดี )
5. ครูนาคาตอบของนักเรียนมาร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่า ส่ิงต่างๆ มีน้าหนักต่างกัน
ดงั นัน้ การช่ังนา้ หนักควรเลือกเคร่ืองชงั่ และหน่วยน้าหนักให้เหมาะสมกับส่ิงของที่ต้องการช่ัง และต้องช่ังให้
ถูกวธิ ี
6. ครใู ห้นักเรียนทาใบงานที่ 3 การเลือกเคร่ืองชั่งท่ีเหมาะสม เม่ือเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกัน
ตรวจสอบความถูกตอ้ ง จากนน้ั ครูและนักเรียนรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมในใบงานท่ี 3
ข้นั สรปุ
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งท่ีได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังน้ี ในการชั่งน้าหนักต้องช่ังให้ถูกวิธี
เคร่ืองชั่งบางชนิดใช้ช่ังของที่มีน้าหนักน้อยบางชนิดใช้ช่ังสิ่งของที่มีน้าหนักมาก จึงต้องรู้จักใช้เครื่องช่ังและ
หน่วยการชั่งทถี่ ูกตอ้ งและเหมาะสม
สอ่ื การเรียนรู้
1. สื่อวีดีโอ เรอ่ื งการเลอื กเคร่ืองชงั่ ทีเ่ หมาะสม
2. ภาพเครื่องชัง่ สองแขน
3. ภาพเคร่อื งชง่ั นา้ หนกั ตัว
4. ภาพเครื่องช่ังสปรงิ
5. ภาพเครอื่ งช่ังแบบตมุ้ เล่ือน
6. ใบงานที่ 3 การเลอื กเครื่องชงั่ ท่ีเหมาะสม
การวดั ผลและประเมนิ ผล เกณฑ์การประเมิน
1. การวัดผล 70% ขนึ้ ไป ถือวา่ ผา่ น
เกณฑก์ ารประเมนิ
สิ่งท่ีตอ้ งการวัด วิธีวดั เคร่อื งมือวดั
อธิบายความแตกต่างของ ทากิจกรรมจากใบงาน ใบงานท่ี 3 70% ขนึ้ ไป ถอื วา่ ผ่าน
เคร่อื งชั่งชนิดต่างๆ ได้ (K) ที่ 3 เกณฑก์ ารประเมนิ
ระดับคุณภาพดี ขึน้ ไป ถือ
เลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสมกับ ทากจิ กรรมจากใบงาน ใบงานที่ 3 วา่ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ
สงิ่ ที่ตอ้ งการชงั่ ได้ (P) ที่ 3
มีระเบียบวินัยในการทางาน สงั เกตพฤตกิ รรมการ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการ
(A) ทางานรายบคุ คล ทางานรายบคุ คล
2. การประเมนิ ผล
ประเดน็ การ 4 ระดบั คณุ ภาพ 1
ประเมนิ (ดีมาก) (ต้องปรับปรงุ )
32
(ด)ี (กาลังพัฒนา) ทาใบงาน ไดอ้ ย่าง
ถกู ตอ้ งต่ากว่าร้อย
เกณฑก์ าร ทาใบงาน ไดอ้ ยา่ ง ทาใบงาน ไดอ้ ย่าง ทาใบงาน ไดอ้ ยา่ ง ละ 60
ประเมนิ การทา ถกู ตอ้ งรอ้ ยละ 90 ถูกต้องรอ้ ยละ 80 - ถูกต้องร้อยละ 60 - สมุดงาน ชน้ิ งาน
ไมค่ อ่ ยเรยี บร้อย
ใบงาน ขนึ้ ไป 89 79 ไม่ปฏบิ ตั ติ นอยู่ใน
ขอ้ ตกลงทกี่ าหนด
เกณฑก์ าร สมดุ งาน ชิน้ งาน สมดุ งาน ชิน้ งาน สมุดงาน ชน้ิ งาน ใหร้ ่วมกัน ตอ้ ง
อาศัยการแนะนา
ประเมินการมี สะอาดเรียบร้อย สะอาดเรียบรอ้ ย สะอาดเรียบร้อย
ระเบยี บวินยั ใน ปฏิบตั ิตนอย่ใู น ปฏบิ ตั ิตนอยใู่ น ปฏบิ ตั ิตนอยู่ใน
การทางาน ข้อตกลงท่ีกาหนด ให้ ข้อตกลงทก่ี าหนด ให้ ขอ้ ตกลงทก่ี าหนด
ร่วมกนั ทกุ คร้ัง ร่วมกนั เป็นสว่ นใหญ่ ให้รว่ มกนั เป็น
บางครั้ง
ชอ่ื .....................................................................................................
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 เลขที่ ..............................
ใบงานท่ี 3 การเลอื กเครอ่ื งชั่งที่เหมาะสม
คา้ ชี้แจง ใหน้ ักเรยี นเลอื กเครอ่ื งช่ังให้เหมาะสม
ก. ข. ค. ง.
1. แตงโม 1 ผล
2. ขา้ วสาร 1 กระสอบ
3. นกั เรยี น 1 คน
4. กระหลา่ 2 หวั
5. สร้อยทอง 1 เส้น
6. หมู 2 ตัว
7. ยางลบ 2 กอ้ น
8. ยาสมนุ ไพร 1 หอ่
9. สม้ 2 เข่ง
10. คณุ ครู 1 คน
อนบุ าลตาก
114 ถ.ไทยชนะ ต.ระแหง อ.เมือง จ.ตาก 63000
0831675322
นางสาวจันทรฉาย มีสวนทอง
ครูผสู อน
0831675322
[email protected]
กลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร
ช้ัน ป.3
การวดั ยุค 4.0
นกั เรียนสามารถเรยี นรไู ดด วยตนเองอยางอสิ ระ ทุกที่ ทกุ เวลา โดยใชวิดโี อการสอนนี้เปนตวั
ชว ย และในเนอื้ หาทอ่ี ยใู นวดิ ีโอไดย กตัวอยางสิ่งของและสถานที่จริงในชวี ิตประจาํ วนั ที่
คนุ เคยใหไ ดเรยี นรูนอกเหนือจากในตําราเรียนทมี่ อี ยู นักเรียนสามารถมองเหน็ ภาพไดอ ยา ง
ชดั เจนมากยงิ่ ขึ้นไปพรอ มๆ กับภาพทีน่ า สนใจในบทเรียน
24/2/0064
แบบบนั ทึกหนว่ ยการเรยี นรู้
บทที่ 9 การวดั ความยาว หน่วยการเรยี นรู้เร่ือง การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและเป็นเซนติเมตร
รหัส-ช่อื รายวชิ า
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ค13101 คณิตศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์
ครูผ้สู อน
3 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 1 ช่วั โมง
นางสาวจนั ทรฉ์ าย มีสวนทอง โรงเรียนอนุบาลตาก
มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด
สาระท่ี 2 การวดั
มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเก่ยี วกบั การวดั วัดและคาดคะเนขนาดของส่งิ ที่ตอ้ งการวัด
(1) บอกความยาวเปน็ เมตร เซนตเิ มตร และมลิ ลเิ มตร เลอื กเครื่องวัดทีเ่ หมาะสมและเปรยี บเทยี บ
ความยาว
(5) บอกความสัมพันธข์ องหน่วยการวัดความยาว นา้ หนัก และเวลา
มาตรฐาน ค 2.2 : แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวดั
(1) แก้ปัญหาเก่ยี วกบั การวัดความยาว การช่ัง การตวง เงนิ และเวลา
สาระท่ี 6 ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแกป้ ญั หา การใหเ้ หตผุ ล การส่ือสาร การสอ่ื ความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และการนา้ เสนอ การเช่ือมโยงความรตู้ า่ งๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชอ่ื มโยงคณติ ศาสตรก์ บั
ศาสตรอ์ ่นื ๆ และมคี วามคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์
(1) ใชว้ ิธกี ารท่ีหลากหลายแก้ปญั หา
(3) ให้เหตุผลประกอบการตัดสนิ ใจ และสรปุ ผลไดอ้ ย่างเหมาะสม
(4) ใช้ภาษาและสัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตรใ์ นการสือ่ สาร การสอื่ ความหมาย และการน้าเสนอได้
อย่างถูกต้อง
(5) เช่อื มโยงความรตู้ ่างๆ ในคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณติ ศาสตร์กบั ศาสตรอ์ น่ื ๆ
สาระสาคัญ
การคาดคะเนความยาว ความสงู หรอื ระยะทาง เป็นการมองแล้วบอกความยาว ความสงู หรือ
ระยะทางให้ไดใ้ กลเ้ คียงกับความเป็นจรงิ โดยไมใ่ ชเ้ คร่อื งวดั
จุดประสงค์การเรยี นรู้
คาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและเปน็ เซนตเิ มตร
สาระการเรยี นรู้
ความรู้ (K)
1. การแก้ปญั หาเกี่ยวกับคาดคะเนความยาว ความสูง หรอื ระยะทาง เปน็ การมองแลว้ บอก
ความยาว ความสูง หรอื ระยะทางใหไ้ ดใ้ กลเ้ คียงกบั ความเป็นจริง ความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร โดยไม่
ใช้เครอ่ื งวัด
2. ความยาว 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร
ทักษะ / กระบวนการ (P)
1. ใช้วธิ ีการทีห่ ลากหลายแกป้ ัญหา
2. เชือ่ มโยงความร้ตู า่ งๆ ในคณิตศาสตร์ และเชือ่ มโยงคณติ ศาสตรก์ ับศาสตรอ์ ่นื ๆ
คุณลกั ษณะ (A)
1. ตระหนกั ในคุณค่าและมีเจตคติท่ดี ีตอ่ คณิตศาสตร์
2. มีความรอบคอบและรับผดิ ชอบต่องานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
3. ทา้ งานอยา่ งมีระบบและมรี ะเบียบวินยั
4. มวี จิ ารณญาณและเช่ือม่นั ในตนเอง
กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขนั้ นาเข้าสู่บทเรยี น
1. ครูผู้สอนบอกและอธิบายจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนได้ทราบถึงสิ่งท่ีจะได้รับเมื่อจบ
การเรียนรู้
2. ให้นกั เรียนเลอื กทาย/คาดคะเนความยาวของส่งิ ของในหอ้ งเรียน น่ันคือโต๊ะเรียน โดยให้นักเรียน
ทาย/คาดคะเนให้ได้ใกล้เคียงความเป็นจริง จากน้ันครูอธิบาย ชี้แนะแนวทางในทาย/คาดคะเน โดย
การเปรียบเทียบกับความยาวของสิ่งที่นักเรียนทราบขนาดของสิ่งน้ันๆ และตรวจสอบการคาดคะเน
โดยการวัดจรงิ ให้นกั เรียนทราบ
ขนั้ กจิ กรรมการสอน
3. ครูให้นักเรียนคาดคะเนความยาวของส่ิงต่าง ๆ ท่ีหาได้ง่าย (โดยครูระบุไว้ในคลิปการสอน) แล้ว
ตรวจสอบผลการคาดคะเน โดยการวัดความยาวจริงของสิ่งเหล่านั้น ครูอาจไม่เน้นเรื่องการคาดคะเนให้
ใกลเ้ คยี งกับความยาวจรงิ มากท่สี ดุ แต่ควรฝกึ ใหน้ ักเรยี นไดม้ ที กั ษะเก่ยี วกับการคาดคะเน โดยเบ้ืองต้นอาจใช้
ไม้บรรทัดในการวางทาบเพื่อเทียบกับความยาวของสิ่งที่ต้องการคาดคะเน เพื่อให้นักเรียนได้ฝึก
การคาดคะเนความยาวของสิ่งทไ่ี มท่ ราบความยาวกบั ส่งิ ของท่ีทราบความยาวแล้ว
4. เมื่อนักเรียนคาดคะเนความยาวได้ใกล้เคียงความยาวจริงแล้ว ต่อไปครูให้นักเรียนลองคาดคะเน
ความยาวทีม่ ากข้นึ แล้วตรวจสอบโดยการวัดจรงิ จนนกั เรยี นสามารถคาดคะเนได้ใกลเ้ คียงคา่ จรงิ
ขน้ั สรปุ ส่ิงทไ่ี ดจ้ ากการเรยี นรู้
5. ครูสรปุ สงิ่ ท่ีนักเรยี นได้รบั จากการเรยี นรูอ้ ยา่ งเขา้ ใจง่ายดังน้ี
- การคาดคะเนความยาวหรอื ความสูงเป็นเมตร เป็นการบอกความยาวหรือความสูง
เป็นเมตรให้ใกล้เคียงกับความยาวหรือความสูงจริง โดยไม่ใช้เคร่ืองวัดความยาว อาจเทียบกับความยาวหรือ
ความสงู 1 เมตร
- การคาดคะเนความยาวหรือความสงู เป็นเซนตเิ มตร เป็นการบอกความยาวหรือความสูง
เปน็ เซนตเิ มตรใหใ้ กล้เคียงกับความยาวหรือความสูงจริง โดยไม่ใช้เคร่ืองวัดความยาว อาจเทียบกับความยาว
หรือความสงู 30 เซนตเิ มตร หรอื 1 ไมบ้ รรทัด
ขนั้ ฝกึ ทาใหช้ านาญ
6. ครูให้นกั เรยี นท้ากจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรู้ ในหนงั สอื เรียนแบบฝึกหดั 9.4 หนา้ 54 - 55
แหล่งเรยี นรู้
1. คลปิ วดิ ีโอการสอนคณิตศาสตร์ท่จี ัดทา้ ขึ้น
2. หนงั สือเรียนคณิตศาสตร์สสวท. ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3
3. วิดีโอดิจติ อลจากสอ่ื ตา่ ง ๆ
กระบวนการวัดและประเมนิ ผล
สงิ่ ท่ีวัดผล วิธวี ัดผล เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมนิ
1. ด้านความรู้ ทา้ ถกู อย่างนอ้ ย 90%
2. ด้านทกั ษะ ตรวจแบบฝกึ หัด แบบฝึกหัด ผ่านระดับดอี ยา่ งนอ้ ย 90%
3. ด้านคณุ ลักษะ ผา่ นระดบั ดีอย่างน้อย 90%
การสงั เกต แบบสงั เกต
การสงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต
ในการปฏิบตั กิ ิจกรรม
บนั ทกึ ผลการสอน
1. ผลการเรียนรู้
1.1 ผ้เู รยี นท่ี ผ่าน ตวั ช้วี ัด
มีจา้ นวน .................................................. คน คิดเป็นรอ้ ยละ......................................................
1.2 ผเู้ รยี นท่ี ไมผ่ ่าน ตัวช้วี ัด
มีจา้ นวน .................................................. คน คดิ เป็นรอ้ ยละ......................................................
1) ......................................................สาเหตุ (ถ้าทราบ) ..............................................................
.............................................................................................................................................................
2) .......................................................สาเหตุ .................................................................................
............................................................................................................................. ................................
แนวทางแกป้ ญั หา
.............................................................................................................................................................
................................................................................................................................. ............................
1.3 ผเู้ รียนที่มีความสามารถพิเศษ ได้แก่
1) ............................................................................... 2).................................................................
แนวทางการพฒั นา / สง่ เสริม .......................................................................................................
.............................................................................................................................................................
1.4 ผูเ้ รียนไดร้ บั ความรู้ (K) .................................................................................................................
1.5 ผูเ้ รียนเกดิ ทกั ษะกระบวนการ (P) ................................................................................................
1.6 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม (A) ....................................................................................
2. ปญั หาอุปสรรค (ถ้าม)ี ...........................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
3. ขอ้ เสนอแนะ (ถา้ มี) ................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..................................................... ผ้ปู ระเมนิ
......................... /............................../...........................
แบบฝึกหดั 9.4 หนา้ 54 – 55
แบบสังเกตทกั ษะทางคณิตศาสตร์
วิชา..........................................................................................................................................ช้ัน...........................................................
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่..............................................................................................กจิ กรรม.............................................................
คาชแ้ี จง : ให้ ผู้สอน สงั เกตการใช้ทกั ษะคณติ ศาสตร์ในขณะปฏิบตั ิกิจกรรม โดยเขยี นระดับคะแนนลงใน
ตารางท่ีตรงกับความสามารถของผ้เู รยี น
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ต้องปรบั ปรุง
ลงช่ือ..................................................... ผ้ปู ระเมนิ
......................... /............................../...........................
เกณฑ์การประเมิน : นักเรยี นไดค้ ะแนน 10 คะแนนขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์ประเมนิ
แบบสงั เกตคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์
ช้ัน/หอ้ ง...................................................................................................... วิชา...................................................
คาชแี้ จง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤตกิ รรมการทา้ งาน การปฏบิ ัตงิ านของนกั เรยี นว่า มีการปฏบิ ตั ิหรือไม่
ถา้ มกี ารปฏิบัติในรายการใดให้ขดี ถ้าไมม่ ใี ห้เวน้ ว่าง
ลงชอ่ื ..................................................... ผปู้ ระเมิน
......................... /............................../...........................
ระดบั คะแนน ผ่าน 6 รายการ = 1 คะแนน
ผ่าน 7 รายการ = 2 คะแนน
ผ่าน 8 รายการ = 3 คะแนน
เกณฑ์การประเมนิ : นกั เรียนมกี ารปฏบิ ตั ิ 6 รายการขึ้นไป ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ประเมิน
บันทึกขอ้ ความ
ส่วนราชการกลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลฯ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ตาก เขต ๑
ท่ี .......................................................... วันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๔
เร่ือง ผลการประกวดการพัฒนานวัตกรรมวิดีโอสื่อการสอนวดิ โี อออนไลน์
เรยี น ผ้อู ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต ๑
ตามที่ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต ๑ ได้ดำเนินการประกวดการพัฒนา
นวัตกรรมวิดีโอสื่อการสอนวิดีโอออนไลน์ เพื่อส่งเสริม พัฒนาครูให้มีการนำเทคโนโลยีทางการศึกษาไปใช้ใน
กิจกรรมการเรียนการสอน ให้ครูมีความพรอ้ มในการพัฒนาส่ือ ทั้งนี้เพื่อเป็นการพัฒนาครูผู้สอนอย่างตอ่ เน่อื งและ
เป็นการเสริมสร้างกำลังใจ นำสื่อที่พัฒนาข้ึนไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในช่วงสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ
เชื้อไวรสั โคโรนา COVID - ๑๙ และเพื่อสง่ เสรมิ ให้ครูได้ผลิตส่ืออย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องตามหลักวิชาการ และจะ
นำไปรวบรวมนำไปเผยแพร่ในคลังส่ือต่อไป
บดั น้ี การดำเนนิ การประกวดการพฒั นานวตั กรรมวิดโี อสอ่ื การสอนวดิ ีโอออนไลน์ ของสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต ๑ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ได้เสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต ๑ จึงขอแจ้งผลการประกวดรายละเอียดดังสิ่งที่ส่งมาด้วย
เพือ่ ใหโ้ รงเรยี นที่เก่ยี วขอ้ งในสงั กดั ไดร้ ับทราบผลการประกวดผลงานของครูทสี่ ่งผลงานรว่ มการประกวดในครง้ั นี้
จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและพิจารณาลงนาม
1. ประกาศผลการประกวดการพฒั นานวัตกรรมวิดโี อสื่อการสอนวิดโี อออนไลน์
2. มอบเกยี รตบิ ัตรการประกวดการพฒั นานวัตกรรมวดิ ีโอสือ่ การสอนวดิ ีโอออนไลน์
๓. หนงั สอื แจง้ โรงเรียนทเี่ ก่ียวข้อง
จึงเรยี นมาเพือ่ โปรดพจิ ารณาอนมุ ัติ
(นางสาวปราณี แกว้ มา)
ศึกษานิเทศก์ สพป.ตาก เขต ๑
ท่ี ศธ ๐๔๐๕๕/๙๔๔ สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตากเขต๑
บริเวณศาลากลางจงั หวดั ตาก ๖๓๐๐๐
๒๗ เมษายน ๒๕๖๔
เรื่อง ผลการประกวดการพัฒนานวตั กรรมวิดโี อสอ่ื การสอนวดิ โี อออนไลน์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
เรยี น ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนในสังกดั ทุกโรงเรยี น
สง่ิ ทสี่ ง่ มาดว้ ย ประกาศผลการประกวดการพัฒนานวัตกรรมวดิ ีโอสอ่ื การสอนวดิ โี อออนไลน์ จำนวน ๑ ชุด
ตามท่ี สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต ๑ ได้ดำเนนิ การประกวดการพัฒนา
นวัตกรรมวิดีโอสื่อการสอนวิดีโอออนไลน์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาครูให้มีการนำเทคโนโลยีทางการศึกษาไปใช้ใน
กิจกรรมการเรียนการสอน ให้ครมู คี วามพร้อมในการพัฒนาส่ือ ทง้ั นี้เพ่ือเป็นการพัฒนาครูผ้สู อนอย่างต่อเน่ืองและ
เปน็ การเสริมสร้างกำลังใจ นำส่อื ท่ีพัฒนาข้ึนไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
เชื้อไวรสั โคโรนา COVID - ๑๙ และเพ่อื ส่งเสริมให้ครไู ด้ผลิตสอ่ื อย่างสรา้ งสรรค์ ถูกต้องตามหลักวชิ าการ และจะ
นำไปรวบรวมนำไปเผยแพรใ่ นคลังส่อื ตอ่ ไป
บัดนี้ การดำเนินการประกวดการพัฒนานวัตกรรมวิดีโอสื่อการสอนวิดีโอออนไลน์ ของ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต ๑ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ได้เสร็จสิ้นเรียบร้อย
แล้ว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต ๑ จึงขอแจ้งผลการประกวดรายละเอียดดังสิ่งที่ส่งมา
ด้วย เพื่อให้โรงเรียนท่ีเกี่ยวขอ้ งในสงั กัดได้รับทราบผลการประกวดผลงานของครูที่สง่ ผลงานร่วมการประกวดใน
ครั้งน้ี
จึงเรยี นมาเพ่ือทราบและดำเนินการ
ขอแสดงความนับถอื
กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
โทร. ๐-๕๕๕๑-๒๕๓๗ ต่อ ๓๑๒
http: www.takesa1.go.th
ประกาศสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาตากเขต ๑
เรอ่ื ง ผลการประกวดการพฒั นานวตั กรรมวิดโี อสอื่ การสอนวดิ ีโอออนไลน์
ระดบั เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 256๔
----------------------------------
ด้วยสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต ๑ ได้ดำเนินการประกวดและคัดเลือก
ผลงานในโครงการการพัฒนานวัตกรรมวิดีโอสื่อการสอนวิดีโอออนไลน์ เพื่อส่งเสริม พัฒนาครู ให้มีความพรอ้ มในการ
พัฒนาส่ือในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นการพัฒนาครผู ู้สอนอย่างต่อเน่ืองและเป็นการเสริมสร้างกำลังใจ และ
ได้ส่ือนวัตกรรม เพ่ือนำสื่อท่ีสร้างขึ้นไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมให้ครูได้ผลิตสื่ออย่าง
สร้างสรรค์ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา ถูกต้องตามหลักวิชาการ และจะนำส่ือที่พัฒนาขึ้นน้ี ไปรวบรวม
นำไปเผยแพร่ในคลังสื่อเพื่อเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนที่ขาดแคลนครูผู้สอนและสามารถนำไปใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน
ต่อไปได้
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตากเขต ๑ ได้แต่งต้ังคณะกรรมการในการคัดเลือกผลงาน
ของผู้ที่ส่งผลงานเข้ารับการประกวด เพื่อรับรางวัลในโครงการ ฯ ในคร้ังน้ี บัดนี้ได้ดำเนินการประกวดการพัฒนา
นวัตกรรมวิดีโอสื่อการสอนวิดีโอออนไลน์ และได้สรุปผลการคัดเลือกจากคณะกรรมการเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ท้ังนี้
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต ๑ จึงขอประกาศผลรางวัลการประกวดการพฒั นานวตั กรรมวิดโี อ
สอื่ การสอนวิดีโอออนไลน์ โดยมีผู้เข้าร่วมการประกวดผลงานพัฒนานวตั กรรมวิดีโอสื่อการสอนวิดีโอออนไลน์ จำนวน
๗ ท่าน รายละเอียดตามบญั ชีแนบท้ายดังนี้
ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. 256๔
๒
บญั ชีรายช่ือผูไ้ ดร้ บั รางวัลการประกวดผลงานพฒั นานวตั กรรมวิดโี อสื่อการสอนวิดโี อออนไลน์
ระดบั เขตพ้นื ที่การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔
สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตากเขต ๑
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
รางวัลชนะเลศิ อนั ดับที่ ๑
นางสาวกญั ญา กาบแกว้ ครูโรงเรียนชมุ ชนบา้ นสมอโคน ชื่อผลงาน “วรรณยกุ ต์ไทย”
รางวัลรองชนะเลิศอันดบั ท่ี ๑
นางสาวอมรรตั น์ ใจแสน ครูโรงเรยี นบา้ นแมส่ ลดิ ช่ือผลงาน “ภาษาไทยพาเพลนิ มาตราตวั สะกดไทย”
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
รางวลั ชนะเลศิ อนั ดับท่ี ๑
นางสาวจันทรฉ์ าย มสี วนทอง ครูโรงเรียนอนบุ าลตาก ชอ่ื ผลงาน “การวดั ยุค ๔.๐”
รางวัลรองชนะเลศิ อันดับที่ ๑
นางสาวอญั รินทร์ อัครวิชิตศกั ดิ์ ครโู รงเรยี นบา้ นแม่สลดิ ชื่อผลงาน “การช่ังนำ้ หนัก”
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รางวลั ชนะเลศิ อันดับที่ ๑
นางสทุ ศิ า จันทราวุธ ครโู รงเรยี นบา้ นตากประถมวิทยา ชอ่ื ผลงาน “อลั กอรทิ ึมและเหตุผลเชงิ ตรรกะ”
กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
รางวัลชนะเลิศอนั ดับที่ ๑
นางสาวจินตนา แก้วคำมา ครโู รงเรียนบ้านแมส่ ลิด ชอ่ื ผลงาน “การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์”
กลุ่มสาระการศกึ ษาปฐมวัย
รางวลั ชนะเลศิ อนั ดับท่ี ๑
นางกาญจนา มสี กุล ครโู รงเรียนบ้านแม่สลิด ชือ่ ผลงาน “ชอ่ื ผลไม้แสนอรอ่ ย”
ที่ ชอ่ื -นามสกลุ โรงเรยี น บญั ชรี ายชือ่ บคุ ลากรทางก
โครงการการพฒั นานวัตกรรมว
สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษ
ประจำปกี าร
กลุม่ สาระการเรียนรู้
๑ นางสาวกญั ญา กาบแก้ว ชุมชนบา้ นสมอโคน ภาษาไทย ช้ัน ป.1
๒ นางสาวอมรรัตน์ ใจแสน บา้ นแม่สลิด ภาษาไทย ช้นั ป.3
๓ นางสาวจันทร์ฉาย มีสวนทอง อนุบาลตาก คณิตศาสตร์ ช้ัน ป.3
๔ นางสาวอัญรนิ ทร์ อคั รวิชติ ศกั ดิ์ บ้านแม่สลิด คณติ ศาสตร์ ชัน้ ป.3
๕ นางสทุ ศิ า จันทราวธุ
๖ นางสาวจินตนา แกว้ คำมา บ้านตากประถมวทิ ยา วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้น
ป.4
บ้านแม่สลดิ สังคมศึกษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม ชนั้ ป.5
๗ นางกาญจนา มีสกลุ บา้ นแม่สลดิ ปฐมวัย
กาศึกษาทเ่ี ข้ารว่ มส่งผลงาน
วิดีโอสอ่ื การสอนวิดีโอออนไลน์
ษาประถมศกึ ษาตาก เขต ๑
รศึกษา ๒๕๖๔
ชื่อผลงาน คะแนน (100) รางวัล
วรรณยุกตไ์ ทย 92 รางวัลชนะเลศิ อันดบั ที่ ๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
ภาษาไทย
ภาษาพาเพลิน มาตราตัวสะกด 81 รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ท่ี ๑ กล่มุ สาระการเรยี นรู้
ไทย ภาษาไทย
การวดั ยุค 4.0 90 รางวลั ชนะเลศิ อันดบั ท่ี ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
การชง่ั นำ้ หนกั คณิตศาสตร์
รางวลั รองชนะเลิศอนั ดับท่ี ๑ กลุม่ สาระการเรยี นรู้
81 คณิตศาสตร์
อัลกอรทิ มึ และเหตผุ ลเชงิ ตรรกะ 88 รางวลั ชนะเลศิ อันดบั ท่ี ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
การกราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ์ 80 รางวลั ชนะเลศิ อันดับที่ ๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
สังคม ศาสนา และวฒั นธรรม
ช่ือผลไมแ้ สนอรอ่ ย 80 รางวัลชนะเลิศอนั ดบั ที่ ๑ การศกึ ษาปฐมวัย
โลร่ างวลั และเกยี รตบิ ตั ร
12
คณะผ้จู ดั ทำ
คณะทำงาน รองผูอ้ ำนวยการ สพป.ตาก เขต1 ประธานคณะทำงาน
1. นายสมคดิ มาหลา้
2. นายสุรศกั ดิ์ เอย่ี มทุเรยี น ผอ.กล่มุ นิเทศ ตดิ ตามฯ รองประธานคณะทำงาน
3. นางกรุณา พยัคฆชนม์
4. นางรำเพย อดุ มวงษ์ ศึกษานิเทศก์ สพป.ตาก เขต1 คณะทำงาน
5. นางพัทยา ชมถนอม
6. นางสาวมุกดา ยุพาเมอื งปกั ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.ตาก เขต1 คณะทำงาน
7. นางสาวพรทิพย์ เฉียบแหลม
8. นางรตั ตยิ า วงศ์หิรัญตระกลู ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.ตาก เขต1 คณะทำงาน
9. นายเชาวลิต ไชยธงรัตน์
10. นายพชั ญภณ สารสา ศึกษานเิ ทศก์ สพป.ตาก เขต1 คณะทำงาน
11. นางวรญิ ญา นนั ทโกมล
12. นายจกั ษภณ ดีวงั ทอง ศกึ ษานิเทศก์ สพป.ตาก เขต1 คณะทำงาน
13. นางสาวกรรณิกา สิทธกิ าร
14. นางสาวปราณี แก้วมา ศกึ ษานิเทศก์ สพป.ตาก เขต1 คณะทำงาน
15. นางสาวก่งิ กาญจน์ ใจวงค์
ศึกษานิเทศก์ สพป.ตาก เขต1 คณะทำงาน
ศึกษานเิ ทศก์ สพป.ตาก เขต1 คณะทำงาน
ศึกษานิเทศก์ สพป.ตาก เขต1 คณะทำงาน
ศกึ ษานิเทศก์ สพป.ตาก เขต1 คณะทำงาน
ศึกษานิเทศก์ สพป.ตาก เขต1 คณะทำงาน
ศึกษานิเทศก์ สพป.ตาก เขต1 คณะทำงานและเลขาฯ
เจา้ พนักงานธุรการปฏิบตั ิงาน ผชู้ ่วยเลขานกุ าร
คณะผู้เขยี น รวบรวม เรียบเรียงและจดั ทำรายงาน
1. นางสาวปราณี แกว้ มา ศกึ ษานิเทศก์ สพป.ตาก เขต1
2. นายจกั ษภณ ดีวงั ทอง ศึกษานเิ ทศก์ สพป.ตาก เขต1
ปก และรูปเล่ม ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.ตาก เขต1
นางสาวปราณี แกว้ มา