The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by keittapong, 2021-06-22 22:58:46

ผักสามัญ

ผักสามัญ

เอกสารคำ� แนะน�ำที่ 7/2558
ผกั สามญั ประจ�ำบา้ น

พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1 : จ�ำนวน 10,000 เลม่ พฤษภาคม พ.ศ.2558
จัดพมิ พ ์ : กรมส่งเสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พิมพ์ที่ : ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกัด

คำ� น�ำ

พชื ผกั เปน็ อาหารหลกั ทปี่ ระชาชนบรโิ ภคทกุ วนั เปน็ สว่ นประกอบของอาหาร
ทั้งนำ� มาปรงุ เป็นอาหารหลกั เปน็ ส่วนประกอบ เคร่อื งเคียง เคร่ืองแกงตา่ ง ๆ รวม
ทั้งประชาชนบางส่วนมีความต้องการท่ีจะใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ โดยการ
ปลูกผักไว้รับประทานเอง ดังน้ัน หากประชาชนได้มีการปลูกผักไว้รับประทาน
เองภายในบ้าน โดยเฉพาะผักที่ใช้ประกอบอาหารประจ�ำวัน จะท�ำให้สามารถลด
ค่าใช้จ่ายในครอบครัว ใช้พื้นท่ีว่างในบ้าน และมีการน�ำวัสดุภาชนะเหลือใช้มา
ใช้ให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งได้ผักสด สะอาด ปลอดภัย ซ่ึงเป็นการส่งเสริมสุขภาพ
ทีด่ ีในครอบครัว
กรมส่งเสริมการเกษตร จึงได้จัดท�ำเอกสารค�ำแนะน�ำ เรื่อง “ผักสามัญ
ประจ�ำบ้าน” ข้ึน เพื่อให้ผู้สนใจใช้เป็นคู่มือในการปลูกผักให้ได้ผลผลิตส�ำหรับ
บรโิ ภคมีคณุ ภาพตามความต้องการ

กรมส่งเสรมิ การเกษตร
2558



สารบญั

หนา้

ผักสามญั ประจำ� บา้ น.......................................................... 1

ความหมาย............................................................ 1

ประโยชน.์.............................................................. 2

ปจั จัยท่ีจ�ำเปน็ ในการปลูก............................................. 2

การเลอื กชนดิ ผัก............................................................. 6

วิธีการปลูกผกั ................................................................ 7

วธิ ีสังเกตในการเกบ็ เกยี่ วผักชนิดตา่ งๆ....................................... 11

การรับประทานผกั ใหม้ ีคุณค่าสงู สดุ .......................................... 12

การบริโภคผักให้ปลอดภยั จากสารพษิ ...................................... 14

เทคนิคบางประการในการปลกู ผกั สามัญประจ�ำบา้ น......................... 15

เทคนิคการปลกู ผักสามญั ประจำ� บา้ น 5 ชนิด................................. 17

พรกิ ข้ีหน.ู.............................................................. 17

มะเขือเปราะ............................................................ 20

โหระพา................................................................ 23

กะเพรา................................................................. 25

ชะอม................................................................... 27

บรรณานกุ รม.................................................................. 29

ผักสามญั ประจำ� บ้าน

ความหมาย

คือ ผักท่เี ราปลูกเองในทอ่ี ย่อู าศัย อาจปลกู ในกระถาง กระบะ หรือพ้นื ดิน เป็น
ผักทปี่ ลูกงา่ ย ไม่ซับซอ้ น ปลอดภัย และมีประโยชน์ต่อรา่ งกาย นำ� มาบรโิ ภคเป็นผกั แกล้ม
หรือปรุงเป็นอาหารได้สะดวก
การปลกู ผกั ภายในบรเิ วณบ้าน โดยเฉพาะการปลูกผกั สามัญท่ใี ช้
เป็นประจ�ำในครอบครัว ไม่จ�ำเป็นต้องมีพ้ืนที่ภายในบริเวณบ้านท่ี
กว้างขวาง เพียงแค่มีพื้นท่ี 1–5 ตารางเมตร ก็สามารถปลูก
ผักไว้รับประทานอย่างเพียงพอได้ โดยหากมีพ้ืนท่ี
กว้างพอก็สามารถปลูกลงในดินโดยตรง แต่ถ้า
มีพ้ืนที่ขนาดเล็กสามารถปลูกในภาชนะ
และต้ังวางบนพ้ืนดินหรือแขวนใน
บริเวณบ้านท่ีมีแสงแดดส่องถึง
อย่างน้อยครึ่งวันก็เพียงพอ
ท่ีจะมีผักสดและปลอดภัย
ไวร้ บั ประทานเพอ่ื สขุ ภาพ
ทด่ี ขี องคนในครอบครวั
และสอดคล้องกับ
ส ภ า พ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
ในปจั จบุ นั ดว้ ย

1 กรมสง่ เสริมการเกษตร

ประโยชน์

1. ปลกู เปน็ รว้ั บา้ น (รว้ั กนิ ได)้ ผกั ทส่ี ามารถนำ� มาปลกู
ทำ� เป็นร้วั ไดแ้ ก่ กระถนิ บ้าน ชะอม ต�ำลึง ผักหวาน ผักปลัง
ต้นแค ถั่วพู มะระ ฯลฯ ซ่ึงเป็นผักท่ีปลูกง่ายและให้ผลผลิต
ตลอดปีมีคณุ คา่ ทางอาหารสูงและปลอดภัยจากสารเคมี
2. ใช้ประดับตกแต่งบรเิ วณบ้าน เชน่ จดั สวน การนำ�
ผกั ปลกู ในกระถางแบบแขวน-หอ้ ยมาตกแตง่ บรเิ วณรอบ ๆ บา้ น
3. ใชพ้ นื้ ทสี่ ่วนที่วา่ งเปลา่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์
4. ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักมาประกอบอาหาร
ประจำ� วนั
5. ไดผ้ กั ทมี่ ีคุณคา่ ทางอาหารครบถว้ นและปลอดภัยจากสารเคมี
6. สร้างความสัมพันธ์และสานสายใยท่ีดีในครอบครัวและใช้เวลาว่างให้เป็น
ประโยชน์

ปัจจยั ที่จำ� เป็นในการปลกู

1. พนั ธ์ุผกั

เป็นส่ิงตั้งต้นที่จะท�ำให้ได้ผลผลิตผัก ผักส่วนใหญ่ใช้เมล็ดพันธุ์ในการขยาย
พันธุ์ แต่กย็ งั มอี ีกหลายชนดิ ใชส้ ว่ นอน่ื ๆ ในการขยายพนั ธุ์ ดังน้ี
1.1 ผกั ท่ีใชเ้ มลด็ พนั ธุ์สำ� หรบั ปลูก
พรกิ มะเขอื เทศ มะเขอื คะนา้ กวางตงุ้ ผกั กาดขาว ผกั กาดหอม แตงกวา

แตงร้าน แตงโม แตงไทย
แคนตาลปู บอน มะระ ฟกั ทอง
ฟักเขียว แฟง ถั่วฝักยาว
ถว่ั พลู ผกั บงุ้ จนี กระเจย๊ี บเขยี ว
กะเพรา โหระพา แมงลกั และ
ผกั ชี

ผกั สามัญประจ�ำบา้ น 2

1.2 ผักที่ใช้สว่ นตา่ งๆ ในการปลกู
- ใชก้ ่งิ ปักชำ� เช่น ผกั หวานบา้ น ชะอม กะเพรา
โหระพา แมงลกั และชะพลู เปน็ ต้น
- ใชเ้ หง้า หัวและ
ลำ� ตน้ เชน่ หอมแบง่ หอมแดง กระชาย
ขิง ขา่ ตะไคร้ และมันเทศ เป็นตน้

2. ดนิ

2.1 การปลกู ในพนื้ ดินโดยตรง
ให้พรวนดินตากแดดไว้ประมาณ 7–15 วัน หลังจากน้ันยกแปลงสูง
ประมาณ 4–5 นิ้ว กว้างประมาณ 1–1.2 เมตร ส่วนความยาวตามความยาวของพ้ืนที่
หรือความต้องการ การวางแปลงให้พิจารณาให้อยู่ในแนวทิศเหนือ–ใต้ เพ่ือให้ผัก
ได้รับแสงแดดทั่วแปลงตลอดวัน ใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักจ�ำนวน 2 กิโลกรัมต่อพื้นที่
1 ตารางเมตร คลุกเคลา้ ให้เข้ากันอยา่ งดีกอ่ นการปลกู ผกั
2.2 การปลูกผกั ในภาชนะ
ใหใ้ ชด้ นิ ผสมสำ� หรบั การปลกู โดยดนิ ผสมตอ้ งมคี วามรว่ นซยุ ระบายนำ้�
ไดด้ ี และมธี าตอุ าหารจำ� เปน็ ทเ่ี พยี งพอกบั การเจรญิ เตบิ โตของผกั ได้ ปจั จบุ นั มกี ารจำ� หนา่ ย
ส่วนผสมในร้านขายต้นไม้หรือวัสดุอุปกรณ์การเกษตร ซ่ึงสามารถซื้อมาใช้ส�ำหรับการ
ปลูกผักได้ และหากต้องการท�ำดินผสม
ส�ำหรับการปลูกผักใช้เองให้
ใช้สว่ นผสม ดิน : ปยุ๋ คอกหรอื
ปุ๋ยหมัก : ขุยมะพร้าวหรือข้ีเถ้า
แกลบ ในส่วนผสม 1 : 1 : 1
คลุกเคลา้ ใหเ้ ข้ากันอย่างดี

3 กรมส่งเสริมการเกษตร

3. ภาชนะปลูก

3.1 การเลอื กภาชนะปลกู ให้เหมาะสมกบั ชนดิ ของผกั
ให้พิจารณาจากอายุของผัก ตั้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเก่ียว หากใช้ระยะ
เวลานานหรือเป็นผักยืนต้นต้องพิจารณาให้ใช้ภาชนะมีขนาดใหญ่พอสมควร เพ่ือให้
มีพ้ืนท่ีในการบรรจุวัสดุปลูกหรือดินผสมท่ีเพียงพอให้พืชผักหย่ังรากและมีอาหาร
เพื่อการเจริญเติบโตได้อย่างเพียงพอ รวมท้ังให้ค�ำนึงถึงความยาวของรากพืชผักด้วย
ซึ่งโดยท่ัวไปหากเป็นพืชผักอายุส้ันรากผักจะเจริญเติบโตและหาอาหารอยู่ท่ีระดับ
ความลึกประมาณ 20 เซนตเิ มตร ดงั นัน้ ภาชนะปลูกควรมีความลึก 25–30 เซนติเมตร
แต่หากเป็นผักที่มีอายุปานกลาง เช่น พริก มะเขือต่าง ๆ หรือผักยืนต้น เช่น กะเพรา
โหระพา แมงลัก ชะอม ภาชนะปลูกควรมีความลึกไม่ต�่ำกว่า 50 เซนติเมตร จะท�ำให้
พืชผักสามารถเจริญเติบโตออกผลได้สมบูรณ์ เลือกภาชนะปลูกที่มีความคงทนแข็งแรง
พอสมควร หรอื มคี วามแข็งแรงดี
3.2 การเตรียมภาชนะปลูก
เมื่อเลือกภาชนะปลูกได้เหมาะสมทั้งกับชนิดของพืชผัก และมีความ
แข็งแรงคงทนพอสมควรแล้ว สิ่งท่ีจ�ำเป็นจะต้องปฏิบัติต่อไปคือ ท�ำให้ภาชนะปลูก
มีรูระบายน�้ำ เพื่อให้น้�ำในส่วนท่ีเหลือจากท่ีดินไม่สามารถดูดซับได้แล้วจะได้สามารถ
ระบายออกได้ เพ่ือให้ไม่ขังและอยู่ในภาชนะปลูกซึ่งจะเป็นสาเหตุให้เกิดรากเน่าและ
ตน้ ไมเ่ จริญเติบโตและตายได้
วิธีการท�ำรูระบายน�้ำ โดยการเจาะเป็นรูเล็ก ๆ ขนาดและจ�ำนวน
พอสมควร โดยพิจารณาใหเ้ หมาะสมกับขนาดของภาชนะปลกู เป็นส�ำคัญ

ผกั สามัญประจำ� บ้าน 4

4. อุปกรณ์สำ� หรบั
การใหน้ ำ�้ ผกั

เน่ืองจากผักเป็นพืชท่ีมีอายุ
ส้ันมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ดังนั้น
จึงมีความต้องการน�้ำอย่างสม่�ำเสมอ
ส่ิงจ�ำเป็นที่จะต้องระมัดระวังในการให้น้�ำ
พืชผักคือควรใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสม
ในการให้น้�ำ โดยท่ัวไปหากมีการปลูกผัก
ไม่มากให้ใช้บัวรดน้�ำท่ีมีหัวฝอยละเอียด
เพอื่ ไมใ่ หค้ วามแรงของนำ้� ทำ� ใหผ้ กั ชำ้� หรอื
ท�ำให้ดินกระจายซึ่งจะกระทบกระเทือน
ต่อการเจริญเติบโตของผัก
หากไม่ใช้บัวรดน�้ำอาจใช้สายยางรดน�้ำ แต่แนะน�ำให้ติดหัวฝักบัวท่ีปลาย
สายยางเพือ่ ใหน้ ำ�้ แตกกระจาย ลดความดนั ของน�้ำท่ีจะท�ำให้ผักเสยี หาย

5. อปุ กรณ์ในการพรวนดนิ

หากเป็นการปลูกในดินโดยตรง ควรมีจอบส�ำหรับใช้ในการพรวนดิน
หรือถ้าเป็นการปลูกในภาชนะปลูกควรมีพลั่วมือท�ำดินผสมส�ำหรับการปลูกผัก และใช้
พรวนดนิ ในระหวา่ งการปลกู โดยเมอื่ มกี ารปลกู ผกั ในระยะหลงั หนา้ ดนิ อาจเรม่ิ อมิ่ ตวั แนน่
ให้ใช้จอบหรือพล่ัวมือพรวนดิน
รอบ ๆ ต้นผัก เพื่อให้มีการถ่ายเท
อากาศทำ� ใหอ้ อกซเิ จนสามารถถา่ ยเท
ลงไปในดนิ ได้ และเพอ่ื ประโยชนก์ บั
รากผกั ในการเจรญิ เติบโต
ทง้ั น้ี การพรวนดนิ ตอ้ ง
ระมัดระวังไม่ให้กระทบกระเทือน
ตอ่ รากหรอื ล�ำต้นดว้ ย

5 กรมส่งเสริมการเกษตร

การเลอื กชนดิ ผกั

ผกั จ�ำแนกได้เป็น 3 ชนดิ ตามอายกุ ารเก็บเกย่ี ว ไดแ้ ก่

1. ผักอายุส้ัน หมายถึง ผักท่มี ีอายุ

ตง้ั แตป่ ลกู จนถงึ สามารถเกบ็ เกยี่ วผลผลติ ได้
นอ้ ยกว่า 2 เดือน ส่วนใหญ่เป็นผกั ท่ใี ช้สว่ น
ของใบและล�ำต้นส�ำหรับการบริโภค มีการ
เจริญเติบโตรวดเร็ว ท�ำให้สามารถปลูกและ
เกบ็ เก่ียวผลผลิตได้ในเวลาส้ัน เช่น ผักบงุ้ จีน
คะนา้ กวางตงุ้ ผักกาดหอม ผักชี เปน็ ต้น

2. ผักอายุปานกลาง หมายถึง

ผักที่มีอายุประมาณ 2–5 เดือน ตั้งแต่ปลูกจนสามารถ
เก็บเก่ียวผลผลิตไปบริโภคได้ มีทั้งผักท่ีใช้ล�ำต้น ดอก ผล
ในการบรโิ ภค เชน่ กะหล่ำ� ปลี ผักกาดขาวปลี กะหล�่ำดอก
ถ่ัวฝักยาว พริก มะเขือ มะเขือเทศ แตงโม บวบ มะระ
และฟกั ทอง เปน็ ต้น

3. ผกั ยืนต้น หมายถงึ ผกั ท่ีสามารถปลูกและ

เก็บเกี่ยวผลผลิตไปรับประทานได้อย่างต่อเนื่อง สามารถ
ปลูกและอยู่ข้ามปีได้หากเม่ือเก็บเก่ียว
ผลผลิตแล้วยังมีการดูแลรักษาอย่าง
สม�ำ่ เสมอ เชน่ ผักหวาน ชะอม กระถนิ
กะเพรา โหระพา แมงลัก ขิง ข่า ขมิ้น
ตะไคร้ และกระชาย เปน็ ตน้
การเลือกชนิดผักส�ำหรับปลูก
นอกจากจะพิจารณาจากอายุของพืชผัก
เพื่อให้เหมาะสมกับความต้องการบริโภค

และสภาพพน้ื ทห่ี รอื ภาชนะปลกู ใหเ้ หมาะสมแลว้ ควรคำ� นงึ ถงึ ฤดกู าลทจี่ ะปลกู ใหเ้ หมาะสม
กับชนิดของพืชผักด้วย เพราะจะท�ำให้ดูแลรักษาง่าย มีโรคและแมลงรบกวนน้อย
ได้ผกั ทม่ี ีคณุ ภาพและรสชาตทิ ดี่ ีดว้ ย

ผกั สามญั ประจ�ำบา้ น 6

วิธีการปลูกผัก

1. การปลกู

1.1 การปลูกดว้ ยเมล็ดพันธโุ์ ดยตรง ควรแช่เมล็ดพันธุ์ดว้ ยนำ�้ อุน่ (อณุ หภมู ิ
ประมาณ 55–60 องศาเซลเซยี ส) ประมาณครงึ่ ชวั่ โมง เพอ่ื กระตนุ้ ใหเ้ มลด็ งอกเรว็ ขนึ้ และ
สามารถฆ่าเชือ้ โรคบางชนิดทีต่ ิดมากบั ดนิ ได้
1.2 การยา้ ยกลา้ ปลกู ตอ้ งเลอื กตน้ กลา้ ทม่ี ยี อด ลำ� ตน้ ใบ และรากทส่ี มบรู ณ์
แขง็ แรง ปราศจากโรคและแมลงไปปลกู
1.3 การใช้ก่ิงพันธุ์หรือส่วนขยายพันธุ์อื่น ๆ ให้คัดเลือกก่ิงพันธุ์ท่ีแข็งแรง
กง่ิ มคี วามแก่พอสมควร หรือกลบี และหวั แนน่ เพอ่ื ใหส้ ามารถเจรญิ เตบิ โตได้สมบรู ณ์

2. การเพาะกล้า

การเพาะกลา้ สามารถทำ� แปลงเพาะหรอื เพาะในถงุ พลาสตกิ หรอื ใชถ้ าดเพาะ
ดนิ ท่ใี ช้ในการเพาะกลา้ ควรเป็นดินผสมท่ีมอี ัตราสว่ นของดนิ ร่วนละเอยี ดผสมกับปยุ๋ คอก
หรือปุ๋ยหมักในอัตรา 2 : 1 หรือดินร่วนละเอียดผสมกับปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักและ
ขี้เถ้าแกลบหรือขุยมะพร้าวในอัตรา 1 : 1 : 1 น�ำเมล็ดที่เตรียมไว้หยอดลงในหลุมปลูก
หลุมละ 1 เมล็ด กลบดินบาง ๆ แล้วรดน้�ำด้วยบัวรดน้�ำท่ีฝอยละเอียดเพื่อไม่ให้ดิน
กระจายตวั ควรมกี ารกนั มดหรอื แมลง
มาคาบเมล็ด โดยใช้ปูนขาว
โรยบาง ๆ ล้อมรอบบริเวณ
ที่วางถุงหรือถาดเพาะกล้า
ดูแลรดน้�ำสม่�ำเสมอทุกวัน
วันละ 1–2 คร้ัง ในเวลาเช้า
และบ่าย โดยท่ัวไปอายุกล้า
ท่ีเหมาะสมในการย้ายปลูก
ประมาณ 15–20 วนั แตส่ ำ� หรบั
พริก และมะเขือต่าง ๆ ควร
มีอายุ 25–30 วนั

7 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

3. การใหป้ ยุ๋ มี 2 ระยะ คอื

3.1 ปุ๋ยรองพ้ืน ใส่ช่วง
เตรียมดิน หรือรองก้นหลุมก่อนปลูก
ควรเป็นปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักเพื่อปรับ
โครงสร้างดินให้โปร่งร่วนซุย ช่วยใน
การอุ้มน้�ำ และรักษาความช้ืนของดิน
ใหเ้ หมาะสมกบั การเจรญิ เตบิ โตของพชื
3.2 ปุ๋ยบ�ำรุง ใส่ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ 2 คร้ัง ครั้งแรกเมื่อย้ายกล้าไป
ปลูกจนกล้าตั้งตัวได้แล้ว และใส่คร้ังท่ี 2 หลังจากใส่ครั้งแรกประมาณ 2–3 สัปดาห์
การใส่ให้โรยบาง ๆ ระหว่างแถว ระวังอย่าให้ปุ๋ยอยู่ชิดต้น เพราะจะท�ำให้ผักตายได้
เมื่อใส่ปุ๋ยแล้วควรพรวนดินและรดน้�ำทันที ปุ๋ยที่มักใช้กับพืชผัก ได้แก่ ยูเรีย
แอมโมเนียซัลเฟต ส�ำหรับบ�ำรุงต้นและใบ และปุ๋ยสูตร 15–15–15 และ 12–24–12
สำ� หรบั เร่งการออกดอกและผล

4. การให้น�้ำ

พืชผักเป็นพืชอายุส้ัน ระบบรากตื้น
ตอ้ งการนำ�้ สมำ่� เสมอทกุ ระยะการเจรญิ เตบิ โต ตอ้ งให้
น้�ำทกุ วนั แตร่ ะวงั อย่าแฉะหรอื มีนำ�้ ขงั เพราะน้�ำจะ
เขา้ ไปแทนทอี่ ากาศในดนิ ทำ� ใหร้ ากพชื ขาดออกซเิ จน
และเน่าตายได้ ควรรดน�้ำในชว่ งเช้า–เย็น ไม่ควรรด
ตอนแดดจัด

5. การก�ำจัดวัชพืช

ไดแ้ ก่ หญ้าหรอื พชื อนื่ ๆ ท่ขี นึ้ แซมในแปลง จะทำ� ใหแ้ ยง่ นำ้� และธาตอุ าหาร
ท�ำให้ผักเจริญเติบโตได้ไม่ดีรวมท้ังเป็นแหล่งที่อยู่ของศัตรูพืชอ่ืน ๆ ด้วย การก�ำจัดโดย
การใช้ถอนด้วยมือ หากมีพื้นที่มากใช้พลั่วหรือจอบพรวนดินในการก�ำจัดวัชพืชไป
พรอ้ ม ๆ กบั การใสป่ ยุ๋

ผักสามัญประจ�ำบา้ น 8

6. การป้องกันก�ำจัดแมลงศัตรูพืช การป้องกันก�ำจัดแมลง

ทปี่ ลอดภยั ท�ำได้หลายวิธีดังนี้
6.1 ใช้กับดักกาวเหนียวสีเหลือง สามารถดักแมลงได้หลายชนิด เช่น
เพล้ียอ่อน หนอนแมลงวันชอนใบ โดยติดตั้ง 1–2 อันต่อแปลง สูงจากพื้นดินประมาณ
50 เซนติเมตร ปัจจุบันพลาสติกสีเหลืองและกาวเหนียวมีขายทั่วไปตามร้านขายวัสดุ
การเกษตร
6.2 การใชส้ ารชวี ภาพตา่ ง ๆ
6.3 ปลูกพชื ผกั รว่ มกับพชื ที่มีกล่ินไลแ่ มลง เช่น โหระพา กะเพรา ตะไคร้
6.4 การเก็บหนอนไปทิ้ง

7. การปอ้ งกนั กำ� จัดเช้อื โรคในผกั

ใ น ก า ร ป ลู ก ผั ก
หากมีการดูแลให้พืชผักมีการ
เจริญเติบโตที่แข็งแรง สมบูรณ์
และปลูกไม่ให้ต้นแน่นหรือ
ชิดกันเกินไป สามารถช่วย
ป้องกันโรคได้ในระดับหน่ึง
แต่ในช่วงฤดูฝนที่มีฝนตกชุก
อาจท�ำให้เกิดปัญหาใบจุดหรือ
โคนเน่า ให้ท�ำการเก็บใบหรือ
ต้นผักท่ีเป็นโรคทิ้ง และน�ำไป
ท�ำลายนอกแปลง และใช้
น�้ำปูนใสรดท่ีแปลงผักหรือ
ต้นผัก
วิธีการท�ำน�้ำปูนใส ให้ใช้ปูนขาวจ�ำนวน 5 กิโลกรัมต่อน้�ำ 20 ลิตร ผสม
ให้เขา้ กัน และท้งิ คา้ งคืนไว้ 1 คืน ร่งุ ขนึ้ ให้นำ� น้�ำปูนใสที่ปนู ตกตะกอนแล้ว อัตราน้�ำปนู ใส
1 ส่วน น้ำ� ธรรมดาสำ� หรบั รดผกั 5 ส่วน เพ่ือรดในแปลงปลกู

9 กรมสง่ เสริมการเกษตร

8. การเกบ็ เก่ียว

การเก็บเก่ยี วผกั ควรเกบ็ ในเวลาเช้าจะทำ� ให้ผกั สด รสชาตดิ ี และหากยังไม่
ไดน้ ำ� ไปรบั ประทานใหล้ า้ งใหส้ ะอาด และนำ� เกบ็ ไวใ้ นตเู้ ยน็ สำ� หรบั ผกั ประเภทผลควรเกบ็
ในขณะที่ผลไม่แก่จัด จะได้ผลทมี่ ีรสชาติดี และจะท�ำใหผ้ ลดก หากปล่อยให้ผลแกค่ าตน้
ตอ่ ไปผลผลติ จะลดลง สำ� หรบั ผกั ใบหลายชนดิ เชน่ หอมแบง่ ผกั บงุ้ จนี ผกั คะนา้ กะหลำ�่ ปลี
การแบง่ เกบ็ ผกั ทส่ี ดออ่ น หรอื โตไดข้ นาดแลว้ โดยยงั คงเหลอื ลำ� ตน้ และรากไว้ ไมถ่ อนออก
ทัง้ ต้น ราก หรอื ตน้ ท่เี หลืออย่จู ะสามารถงอกงามให้ผลผลิตได้อีกหลายครง้ั
ท้ังนี้ จะต้องมีการดูแลรักษาให้น�้ำและปุ๋ยอยู่เสมอ การปลูกพืชหมุนเวียน
สลับชนิด หรือปลูกผักหลายชนิดในแปลงเดียวกันและปลูกผักที่มีอายุเก็บเกี่ยวสั้นบ้าง
ยาวบา้ งคละกนั ในแปลงเดยี วกนั
หรือปลูกผักชนิดเดียวกันแต่
ทยอยปลูกครั้งละ 3–5 ต้น
หรือประมาณว่ารับประทาน
ได้ในครอบครัวในแต่ละครั้ง
ท่ีเก็บเกี่ยวก็จะท�ำให้ผู้ปลูกมี
ผักสดเก็บรับประทานได้ทุกวัน
ตลอดปี

ผักสามญั ประจำ� บ้าน 10

วธิ ีสังเกตในการเก็บเก่ียวผักชนิดต่างๆ

ชนดิ ผัก ประมาณอายุจากวันปลูก ลกั ษณะภายนอกท่ีเหมาะสม
ถงึ วันเก็บครั้งแรก ในการเกบ็ เก่ยี ว

มะระ 50–60 วัน นบั จากวนั ปลกู ขณะผลโตยงั ไมแ่ ก่ สีเขยี วอ่อน

แตงกวา 30 วัน จากวนั ปลกู ผลออ่ น ผลยังมหี นามอยู่

ถั่วลันเตา 45–60 วัน แลว้ แตพ่ นั ธ์ุ ขณะทฝ่ี ักยงั อ่อน เมลด็ ยงั ไม่แก่

ขา้ วโพดหวาน 55–72 วนั ขณะที่เมล็ดยังอ่อน

ผกั กาดหัว 40–55 วนั หัวยงั ไมฟ่ า่ ม ตน้ ยงั ไม่ออกดอก

กระเจี๊ยบเขียว 40–55 วนั ขณะท่ยี อดฝกั ยงั เปราะอยู่ หกั ง่าย

หอมแบง่ 50 วัน จากวนั ปลูก ต้นเขียวสด อว้ น หวั ยงั ไม่พอง
(โดยปกตถิ ้าแก่แลว้ โคนต้นจะโตพองขึ้น
นดิ หนอ่ ยไมล่ งหวั โตเหมอื นหอมธรรมดา)

ผักชี 40–50 วัน จากวนั ปลกู ขณะท่ียงั ไมอ่ อกดอก

ผักกาดกวางตุง้ 30–35 วัน จากวันปลกู ขณะทกี่ ำ� ลงั ขน้ึ ลำ� ออกดอกและดอกยงั ไมบ่ าน

ผกั บุง้ 25–30 วนั นับจากวนั ปลกู ขณะทีย่ อดยังอ่อน ยาวประมาณ 1 ฟตุ

มะเขอื เทศ 60 วนั หรอื 80 วนั แลว้ แตพ่ นั ธ์ุ ตั้งแต่ผลเริ่มเปลย่ี นเปน็ สีชมพเู ป็นต้นไป

ถัว่ ฝักยาว ถวั่ แขก 50–60 วนั ฝักเจรญิ เต็มท่แี ต่ยงั ไมพ่ อง

กะหล�่ำปลี 45 วนั หลงั ยา้ ยกลา้ หรอื หวั แนน่ ใส เคาะดรู สู้ กึ มเี สยี งแนน่ และหนกั
70–75 วนั หลังหยอดเมล็ด

กะหล่ำ� ดอก 45 วนั จากวนั ยา้ ยกลา้ หรือ สีครีมอ่อน แนน่ และเรยี ว อย่าท้งิ ไวน้ าน
65–70 วัน หลังหยอดเมลด็ จะบานและมีสีเหลืองแก่ เป็นขุยหยาบ

ไม่น่ารับประทาน

คะน้า 35–45 วนั หลงั หยอดเมล็ด ต้งั แต่ 40–50 วนั ผักยงั ไม่เป็นเสี้ยน

ผักกาดขาวปลี 50 วัน จากวนั เพาะเมล็ด ขณะทก่ี ำ� ลังหอ่ ปลีแนน่

ผกั กาดเขียวปลี 60 วนั จากวันเพาะเมล็ด กำ� ลังเขา้ ปลี อวบอว้ น ยงั ไม่มีดอก

ผักกาดหอม 40–50 วัน จากวันเพาะเมลด็ ขณะท่ียังไม่ออกดอก และก�ำลังอ่อนอยู่
ถา้ แกจ่ ะมีรสขม

11 กรมสง่ เสริมการเกษตร

การรบั ประทานผกั ใหม้ คี ณุ คา่ สูงสดุ

ผกั เปน็ แหลง่ วติ ามนิ และเกลอื แร ่ โดยวติ ามนิ ทอี่ ยใู่ นผกั มที ง้ั วติ ามนิ ทลี่ ะลายในนำ้�

และวติ ามนิ ท่ีละลายในไขมัน วิตามนิ บางตัวถูกท�ำลายได้งา่ ย ดงั นน้ั เพื่อสงวนคณุ คา่ ทาง
โภชนาการของพชื ผักต่าง ๆ ควรหลีกเล่ียงการแชผ่ กั ท่หี ั่นฝอยหรือชนิ้ เล็ก ๆ ในน�ำ้ หรอื ตั้ง
ทิ้งไวใ้ นอากาศเป็นเวลานาน ควรล้างทัง้ หวั ทั้งต้นและเปลือก ถา้ จำ� เปน็ ตอ้ งปอกเปลอื ก
ควรปอกแตเ่ พยี งบาง ๆ กอ่ นลา้ งควรเลอื กสว่ นทเี่ นา่
เสียและส่วนท่ีใช้ไม่ได้ออก การต้มผักให้ใช้น้�ำน้อย
เช่น การลวก นึ่ง ผัด ใช้เวลาสั้น อย่างไรก็ตาม
หากสามารถรับประทานผักสดจะได้ประโยชน์และ
คุณคา่ ของผกั ครบถ้วน

ผกั สามัญประจ�ำบา้ น 12

ตัวอย่างผกั ทีม่ วี ติ ามนิ และธาตุอาหารสงู

วิตามนิ และแร่ธาตุ ชนิดผัก
คารโ์ บไฮเดรต (4.1–13.3 กรัม)
ตำ� ลงึ (ใบ ยอด) ตน้ หอม ถวั่ พู ถวั่ ลันเตา พรกิ ขหี้ นู
โปรตีน (2.1–6.4 กรัม) พริกช้ีฟ้า (เขียว) พริกชี้ฟ้า (แดง) พริกหยวก
ไขมัน (1.0–3.6 กรมั ) พริกเหลือง ฟักทอง มะเขือเจ้าพระยา มะระจีน
แคลเซยี ม (54–387 กรัม) มะระ (ยอด)
เหล็ก (3.1–260 กรัม) ใบกะเพรา ใบตัง้ โอ๋ ใบแมงลัก ผกั กระเฉด ผักคะน้า
วติ ามินซี (41–204 กรมั ) ผักบงุ้ (ตน้ ขาว) ปวยเหล็ง พรกิ ขหี้ นู พรกิ ชฟ้ี า้ (เขยี ว)
พริกช้ีฟา้ (แดง) พรกิ เหลือง มะระจนี
วติ ามนิ เอ (มากกวา่ 200 ไมโครกรัม) ใบแมงลกั พริกขหี้ นู พริกชีฟ้ ้า (แดง) พรกิ เหลอื ง
คน่ื ฉา่ ย ตำ� ลงึ (ใบ ยอด) ตน้ หอม ถว่ั งอก ถั่วฝกั ยาว
ใบแมงลัก ใบกะเพรา ผักกระเฉด ผักกาดหอม
ฟกั ทอง มะเขือเทศ
คน่ื ฉ่าย ต�ำลึง (ใบ ยอด) ตน้ หอม ถ่วั งอก ถ่วั ฝกั ยาว
ใบแมงลัก ใบกะเพรา ผักกระเฉด ผักกาดหอม
ฟกั ทอง มะเขือเทศ
คนื่ ฉา่ ย แครอท แตงรา้ น ตน้ หอม ถว่ั ฝกั ยาว ผกั คะนา้
พริกขี้หนู พริกชี้ฟ้า (เขียว) พริกช้ีฟ้า (แดง)
พริกหนุ่ม พริกหยวก พริกเหลือง ฟักทอง (ยอด)
มะระจนี มะระ (ยอด)
กวางตงุ้ กวางตุ้ง (ดอก) ค่นื ฉา่ ย แครอท ดอกกุยฉา่ ย
ต�ำลึง (ใบ ยอด) ต้นหอม ถั่วพู บร็อคโคล่ี
ใบกะเพรา ใบตั้งโอ๋ ใบแมงลัก ผักกระเฉด
ผักกาดหอม ผักคะน้า ผักบุ้ง (ต้นขาว) ปวยเหล็ง
พริกช้ีฟ้า (เขียว) พริกชี้ฟ้า (แดง) พริกเหลือง
ฟกั ทอง ฟักทอง (ยอด) มะระจนี มะระ (ยอด)

13 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

การบริโภคผกั ให้ปลอดภยั จากสารพษิ

การปลกู ผกั ไวร้ บั ประทานเอง เปน็ วธิ ที ดี่ ที สี่ ดุ ทที่ ำ� ใหไ้ ดบ้ รโิ ภคผกั ทป่ี ลอดภยั จาก

สารพิษ แต่ทุกครอบครัวคงไม่สามารถปลูกผักทุกชนิดไว้รับประทานเองได้ การต้องซ้ือ
หาผักจากตลาดจึงเป็นส่ิงท่ีจ�ำเป็นอยู่ ท้ังนี้ ผักต่าง ๆ เหล่านั้นอาจจะปลอดภัยหรือ
ไม่ปลอดภัยจากสารพิษตกค้างก็ได้ ดังนั้น ควรมีการล้างผักให้ถูกวิธี และปลอดภัย
จากสารพิษมากท่ีสุด วิธีการล้างผักให้สะอาดเพ่ือลดปริมาณสารพิษ สามารถเลือกใช้
ได้ตามความสะดวก ดังน้ี
1. ลอกหรือปอกเปลือกแล้วแช่ในน�้ำสะอาดนาน 5–10 นาที หลังจากนั้น
ลา้ งด้วยน้ำ� สะอาดอีกคร้งั จะชว่ ยลดปริมาณสารพษิ ตกค้างไดร้ ้อยละ 27–72
2. แชน่ ้�ำปนู ใสนาน 10 นาที และลา้ งดว้ ยน�ำ้ สะอาดอีกคร้งั ลดปรมิ าณสารพษิ
ตกคา้ งไดร้ อ้ ยละ 34–52
3. แชไ่ ฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซดน์ าน 10 นาที (ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 1 ชอ้ นชา
ผสมนำ�้ 4 ลิตร) และลา้ งด้วยน�้ำสะอาดอีกครัง้ ลดปริมาณสารพษิ ตกคา้ งไดร้ อ้ ยละ 35–50
4. แชน่ ้�ำด่างทบั ทมิ นาน 10 นาที (ด่างทบั ทิม 20–30 เกล็ด ผสมน้�ำ 4 ลิตร)
และลา้ งออกด้วยน�ำ้ สะอาดอีกครง้ั ลดปริมาณสารพิษตกค้างไดร้ อ้ ยละ 35–43
5. ล้างด้วยน้�ำไหลจาก
กอ๊ กนาน 2 นาที ลดปริมาณสารพษิ
ตกค้างได้ร้อยละ 25–39
6. แช่น้�ำซาวข้าวนาน
10 นาที และล้างดว้ ยน้ำ� สะอาดอกี
ครั้ง ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้
รอ้ ยละ 29–38
7. แชน่ ำ�้ เกลอื นาน10นาที
(เกลอื ปน่ 1 ชอ้ นโตะ๊ ผสมนำ�้ 4 ลติ ร)
และล้างด้วยน้�ำสะอาดอีกคร้ัง ลด
ปริมาณสารพิษตกค้างไดร้ ้อยละ 29–38
8. แช่น้�ำส้มสายชูนาน 10 นาที (น�้ำส้มสายชู 1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้�ำ 4 ลิตร)
และล้างด้วยน�้ำสะอาดอีกครัง้ ลดปรมิ าณสารพิษตกค้างไดร้ ้อยละ 27–36
9. แช่น�้ำยาล้างผักนาน 10 นาที และล้างด้วยน�้ำสะอาดอีกครั้ง ลดปริมาณ
สารพิษตกคา้ งไดร้ ้อยละ 22–36

ผักสามัญประจำ� บา้ น 14

ในการปเทลคูกนผิคักบสาางมปัญระปกราระจำ� บา้ น

การดแู ลผักทปี่ ลกู ในภาชนะแขวน

1. ต้องมีแดดส่องถึงอย่างน้อยคร่ึงวัน ให้ผักสังเคราะห์แสง
เพ่อื สร้างอาหารในการเจริญเตบิ โต
2. ดแู ลรดนำ้� สมำ�่ เสมอ
3. ถ้าผักกินใบเร่ิมมีดอกให้รีบเด็ดท้ิง เพื่อไม่ให้ธาตุอาหาร
ไปเล้ียงดอก จะท�ำใหใ้ บเลก็ ไมส่ มบูรณ์
4. การดูแลรักษา หม่ันสังเกตต้นผักโดยพลิกดูใต้ใบ ส่วนใหญ่
แมลงจะหลบแสงแดดอย่ใู ตใ้ บให้จับทำ� ลาย
5. ถ้าพบแมลงจ�ำนวนมากให้ใช้น�้ำยาล้างจาน 2 ช้อนชา
ใส่ในกระบอกฉีดน้�ำ (ฟอกกี้) ฉีดให้ทั่วต้น โดยเฉพาะบริเวณยอดและใต้ใบ
ท้ิงไว้ 3 วัน เกบ็ รับประทานได้

15 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

เทคนคิ การเก็บผักบางชนิด

คะน้า...กะหล่�ำปลี...ผักบุ้ง...ไม่ควรเก็บโดยถอนผักทั้งต้น ควร
เก็บโดยตัดตน้ ให้เหลอื ข้อไว้ 2–3 ขอ้ ดแู ลรดน้ำ� สม�่ำเสมอ ตาข้างจะแตกยอดใหม่
ออกมา สามารถเกบ็ รับประทานได้อีก 2–3 ครง้ั
ปูเล่......เก็บใบที่อยู่ด้านล่างขึ้นไปหายอด ให้เหลือยอดไว้
ประมาณ 6 ใบ ดแู ลรดนำ�้ สมำ่� เสมอ ปูเลจ่ ะแตกยอดใหมเ่ ร่อื ย ๆ สามารถเกบ็ ใบ
รบั ประทานเป็นปี

การปลกู กยุ่ ชา่ ยเขียว - ขาว ไวร้ ับประทาน

1. ปลูกก่ยุ ช่ายเขียวอายุ 2 เดอื น ตัดตน้ รบั ประทาน
2. ใชก้ ระถางขนาดทม่ี คี วามสงู กวา่ กระถางปกตคิ รอบใหส้ นทิ ไมใ่ ห้
มีแสงผ่าน ครอบไว้ 2 สัปดาห์จะได้กุ่ยชา่ ยขาว
3. ตัดกุ่ยช่ายขาว บ�ำรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก ไม่ครอบ
กระถางปลอ่ ยเปน็ ก่ยุ ช่ายเขยี ว เพื่อให้พืชสงั เคราะห์แสง มีคลอโรฟิล เล้ยี งล�ำตน้
4. ตอ้ งท�ำสลบั กันไปเรอื่ ย ๆ จนกระทง่ั ต้นไม่สมบูรณ์จึงร้ือปลกู ใหม่

ผกั สามัญประจำ� บ้าน 16

เทคนคิ การปลูกผักสามัญประจ�ำบา้ น 5 ชนดิ
พริกขีห้ นู

ลักษณะโดยทั่วไป

พริกขี้หนูสามารถปลูก
ไดใ้ นดนิ แทบทกุ ชนดิ แตด่ นิ ทเ่ี หมาะสม
ท่ีสุด คือ ดินร่วนปนทรายท่ีมีการ
ระบายน้�ำได้ดี มีความเป็นกรดด่าง
6.0–6.8 ปลูกได้ตลอดปี เป็นพืชท่ีใช้
ส่วนของผลบริโภค ในรูปพริกสดและ
พริกแห้ง และสามารถใช้ประกอบ
อาหารได้หลายชนิด มรี สเผด็

การเพาะกล้าพริกขห้ี นู

1. ให้เตรียมดินละเอียดพร้อมปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักในอัตรา 2 : 1 และ
ใสด่ นิ ผสมดังกลา่ วลงในถาดพลาสติกเพาะกล้า ขนาด 72 หรือ 104 หลมุ ต่อถาด หรอื หาก
เพาะในถุงพลาสติกใหใ้ ช้ขนาด 2 x 3 น้ิว
2. ใช้เศษไม้เล็ก ๆ
กดลงไปในดินท่ีบรรจุอยู่ในถาด
เพาะกล้า หรือถุงพลาสตกิ ขนาด
ความลึก 0.5 เซนตเิ มตร
3. นำ� เมลด็ พรกิ ขหี้ นู
หยอดลงในหลุมปลูก หลุมละ
1–2 เมล็ด

17 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

4. กลบดนิ ผวิ หนา้ เมลด็ พรกิ ขหี้ นแู ลว้ รดนำ�้ และควรปอ้ งกนั มดมาคาบเมลด็
ไปจากถาดพลาสตกิ เพาะกล้า โดยใช้ปูนขาวโรยลอ้ มถาดเพาะไว้
5. หลังเพาะนาน 7–10 วัน พริกเร่ิมงอก หม่ันรดน�้ำต้นกล้าพริกข้ีหนู
ทุกวัน ๆ ละ 1–2 ครัง้ ในชว่ งเชา้ และเย็นจนกระทงั่ ต้นกลา้ พรกิ ขห้ี นมู อี ายุ 25–30 วัน
จงึ ย้ายกลา้ พริกข้ีหนลู งปลูกในกระถางหรอื ในแปลงปลูก

การปลูกในแปลงหรือในภาชนะปลกู

1. ถ้าปลูกในแปลง ควรเตรียมดนิ ปลกู
โดยใช้จอบขุดย่อยหน้าดินลึก 15–20 เซนติเมตร
และยอ่ ยดนิ ใหล้ ะเอียด ใสป่ ุ๋ยคอกหรอื ปุ๋ยหมกั หว่าน
และคลกุ เคลา้ ให้เข้ากับดินในแปลง
2. ในกรณีปลูกในภาชนะต่าง ๆ ให้
ผสมดินปลูกในภาชนะโดยใช้ดินร่วนละเอียดผสมกับ
ป๋ยุ คอก หรอื ปุ๋ยหมัก ในอตั รา 2 : 1 หรือดินรว่ นผสม
ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักและขี้เถ้าแกลบหรือขุยมะพร้าว
อัตรา 1 : 1 : 1

ผักสามัญประจำ� บา้ น 18

การดแู ลรกั ษา

ให้น�้ำอย่างสม่�ำเสมอ และในช่วงการติดผลต้องระมัดระวังให้น�้ำอย่าง
สมำ่� เสมออย่าให้ขาด
1. หลังยา้ ยปลูกแล้ว 7–10 วัน ให้ใส่ปุ๋ยยเู รียหรอื ปยุ๋ เคมี สตู ร 15–15–15
อตั ราต้นละ 1/4 ช้อนชา ควรโรยปุ๋ยห่างโคนต้นประมาณ 2–3 เซนตเิ มตรและรดน�ำ้ ทนั ที
2. ควรใส่ปยุ๋ เคมสี ูตร 15–15–15 อตั ราต้นละ 1/4 ชอ้ นชา ทุก ๆ 15 วนั

การเกบ็ เกย่ี ว

หลงั ยา้ ยปลูกนาน 60 วนั พริกข้ีหนเู รม่ิ
ทยอยใหผ้ ลผลติ สามารถเกบ็ ผลผลติ ไดน้ าน 2–3 เดอื น
ควรหมน่ั เกบ็ ผลผลติ พรกิ ขห้ี นทู เ่ี รมิ่ แกอ่ อกมาใชบ้ รโิ ภค
และอาจตัดแต่งกิ่งหรือตัดต้นท่ีเป็นโรคหรือโทรม
เพ่ือท�ำให้ต้นแข็งแรงสามารถให้ผลผลิตรุ่นใหม่ได้ดีข้ึน
หากมีการดแู ลรกั ษาอยา่ งดี สามารถปลูกข้ามปไี ด้

19 กรมส่งเสริมการเกษตร

มะเขือเปราะ

ลักษณะโดยท่วั ไป

มะเขอื เปราะ มลี กั ษณะ
เป็นไม้พุ่มสูง 60–120 เซนติเมตร
เป็นพืชผักท่ีมีอายุยืน ใบมีขนาดใหญ่
เรียงตัวแบบสลับ ดอกมีขนาดใหญ่
สีม่วงหรือสีขาว เป็นดอกเด่ียว ผลมี
รปู รา่ งกลมแบนหรอื รปู ไข่ อาจมสี ขี าว
เขียว เหลือง ม่วง ข้ึนอยู่กับพันธุ ์
มีคุณสมบัติบรรเทาอาการของโรคเบาหวาน เน่ืองจากมะเขือเปราะมีสรรพคุณคล้ายกับ
อินซูลิน ลดปริมาณน้�ำตาลในเลือด ช่วยขับพยาธิ ลดการอักเสบ ช่วยให้ระบบย่อยและ
ระบบขับถ่ายทำ� งานดี

ผักสามัญประจ�ำบา้ น 20

การเพาะกลา้ มะเขอื เปราะ

1. ให้เตรียมดินละเอียดพร้อมปุ๋ยคอก
หรือปุ๋ยหมักในอัตรา 2 : 1 และใส่ดินผสมดังกล่าว
ลงในถาดพลาสตกิ เพาะกลา้ ขนาด 72 หรอื 104 หลุม
ตอ่ ถาดหรอื หากเพาะในถงุ พลาสตกิ ใหใ้ ชข้ นาด 2 x 3 นว้ิ
2. ใชเ้ ศษไมเ้ ลก็ ๆ กดลงไปในดนิ ทบี่ รรจุ
อยใู่ นถาดเพาะกลา้ หรอื ถงุ พลาสตกิ ขนาดความลกึ 0.5
เซนติเมตร
3. น�ำเมล็ดมะเขือเปราะหยอดลงใน
หลมุ ปลูก หลุมละ 1–2 เมล็ด
4. กลบดนิ ผวิ หนา้ เมลด็ มะเขอื เปราะแลว้ รดนำ้� และควรปอ้ งกนั มดมาคาบ
เมลด็ ไปจากถาดพลาสตกิ เพาะกลา้ โดยใช้ปูนขาวโรยลอ้ มถาดเพาะไว้
5. หลงั เพาะนาน 7–10 วนั เมล็ดเริม่ งอก หมัน่ รดน้�ำตน้ กลา้ มะเขอื เปราะ
ทกุ วนั ๆ ละ 1–2 คร้งั ในช่วงเชา้ และเยน็ จนกระทงั่ ต้นกล้ามะเขอื เปราะมีอายุ 25–30 วัน
จึงยา้ ยกล้ามะเขอื เปราะลงปลกู ในกระถางหรือในแปลงปลูก

การปลกู ในแปลงหรอื ในภาชนะปลกู

1. ถ้าปลูกในแปลง ควรเตรียมดินปลูก โดยใช้จอบขุดย่อยหน้าดินลึก
15–20 เซนติเมตร และย่อยดินให้ละเอียด ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก หว่านและคลุกเคล้า
ให้เข้ากบั ดนิ ในแปลง

21 กรมส่งเสริมการเกษตร

2. ในกรณีปลูกในภาชนะต่าง ๆ ให้ผสมดินปลูกในภาชนะโดยใช้ดินร่วน
ละเอยี ดผสมกับป๋ยุ คอก หรือปุ๋ยหมกั ในอตั รา 2 : 1 หรือดินร่วนผสมปยุ๋ คอกหรือปุย๋ หมกั
และขเ้ี ถา้ แกลบหรือขุยมะพร้าว อตั รา 1 : 1 : 1

การดแู ลรกั ษา

ให้น้�ำอย่างสม่�ำเสมอ และในช่วงการติดผลต้องระมัดระวังให้น้�ำอย่าง
สม่ำ� เสมออย่าใหข้ าด
1. หลังยา้ ยปลูกแลว้ 7–10 วัน ใหใ้ สป่ ยุ๋ ยเู รียหรือปุ๋ยเคมี สูตร 15–15–15
อัตราต้นละ 1/4 ช้อนชา ควรโรยป๋ยุ ห่างโคนต้นประมาณ 2–3 เซนติเมตรและรดน้ำ� ทันที
2. ควรใส่ปยุ๋ เคมีสูตร 15–15–15 อัตราตน้ ละ 1/4 ช้อนชา ทุก ๆ 15 วัน

การเกบ็ เกี่ยว

หลังย้ายปลูกนาน 45–60 วัน มะเขือเปราะเร่ิมทยอยให้ผลผลิต สามารถ
เก็บผลผลิตไปบริโภคได้และหลังจากที่สามารถเก็บเก่ียวผลผลิตมะเขือเปราะไปแล้ว
ประมาณ 2 เดือน ควรตัดแต่งก่ิงออกบ้าง เพื่อท�ำให้ล�ำต้นมะเขือเปราะเจริญเติบโต
แตกกิ่งก้านใหม่ที่มีความแข็งแรง จะให้ผลผลิตรุ่นใหม่ได้อีก และควรท�ำการตัดแต่ง
และบำ� รุงต้นมะเขือเปราะเชน่ นท้ี ุก ๆ 2–3 เดอื น

ผักสามญั ประจำ� บา้ น 22

โหระพา

ลกั ษณะโดยทั่วไป

โหระพา เป็นพืชล้มลุก
อายุส้ัน ล�ำต้นทรงพุ่มสูงประมาณ
60–70 เซนติเมตร ใบเขียว ก้านใบ
และลำ� ตน้ สมี ว่ ง ใบมกี ลน่ิ หอม โหระพา
เปน็ ผกั ทใี่ ชใ้ บบรโิ ภค ใชป้ รงุ แตง่ อาหาร
ใหม้ รี สชาตแิ ละกลน่ิ หอมนา่ รบั ประทาน

การเพาะเมล็ดส�ำหรับทำ� กลา้ โหระพา

ทำ� แปลงเพาะขนาดกวา้ ง 1 เมตร ความยาวแลว้ แตแ่ ปลง ยอ่ ยดนิ ใหล้ ะเอยี ด
คลุกเคล้าปยุ๋ คอกหรือปยุ๋ หมัก แล้วหวา่ นเมล็ดใหท้ ่วั แปลง หลังเพาะประมาณ 7–10 วนั
เมล็ดเร่ิมงอกดูแลรักษาต้นกล้าอายุประมาณ 25–35 วัน ก็สามารถย้ายปลูกได้ หรือ
อาจเพาะกลา้ ในถงุ พลาสติกขนาด 2 x 3 น้ิว โดยหยอด 2–3 เมล็ดตอ่ ถงุ
ในกรณีใช้ก่ิงพันธุ์ส�ำหรับปลูก ให้เลือกก่ิงที่ค่อนข้างแก่ และควรเป็นก่ิงสด
ความยาวประมาณ 10–15 เซนติเมตร หรือมีข้อประมาณ 5 ข้อข้ึนไป ใช้มีดคม ๆ
เฉือนบริเวณโคนต้น แล้วน�ำไปช�ำในภาชนะที่ใช้ดินผสม ดูแลรดน�้ำประมาณ 7–10 วัน
ตาใหม่จะเร่ิมแตกออกมา หรืออาจน�ำไปปลูกในภาชนะปลกู โดยตรงกไ็ ด้

23 กรมสง่ เสริมการเกษตร

การปลูกในแปลงหรอื ในภาชนะ

1. กรณปี ลกู ในแปลง ใชจ้ อบขดุ ยอ่ ยหนา้ ดนิ ใหล้ กึ ประมาณ 15–20 เซนตเิ มตร
ย่อยดินให้ละเอียดใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก หว่านคลุกเคล้าให้เข้ากับดินในแปลง ใช้ระยะ
ปลกู ระหว่างต้น 30 เซนติเมตร ระหว่างแถว 30–50 เซนตเิ มตร
2. กรณีปลูกในภาชนะต่าง ๆ เลือกภาชนะที่มีขนาดปานกลางมีน้�ำหนัก
ไม่มากหากต้องการปลูกแบบแขวน แต่พ้ืนที่ปลูกในภาชนะแบบตั้งอยู่บนพื้นดิน อาจใช้
ภาชนะใหญเ่ พอ่ื ปลูกหลาย ๆ ตน้ หรอื ใช้ภาชนะขนาดเล็กเพื่อปลูกเพยี ง 1 ตน้ ก็ได้ ใชด้ นิ
ผสมใสล่ งในภาชนะและยา้ ยกล้าลงปลกู หรือน�ำกง่ิ มาปกั ชำ� กไ็ ดเ้ ชน่ กนั

การดแู ลรกั ษา

1. การใส่ป๋ยุ เม่ือตน้ โหระพาอายุ 10–15 วัน ใช้ปุ๋ยยูเรียหรือแอมโมเนยี
ซลั เฟต 1–2 ชอ้ นชา ตอ่ นำ้� 1 ลิตร รดทุก 5–7 วนั และเมอ่ื ต้นโหระพาอายุ 25–30 วนั
ใส่ปุ๋ย 15–15–15 อัตรา 1 ช้อนชาต่อต้น ให้ทุก 20–25 วัน โดยโรยห่างโคนต้น 3–5
เซนตเิ มตร หรอื จะใชป้ ยุ๋ คอกหรอื ปยุ๋ หมกั อยา่ งสมำ�่ เสมอ โดยใชป้ ยุ๋ วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ยลงกไ็ ด้
2. การใหน้ ้�ำ ให้น�้ำอยา่ งเพียงพอและสมำ�่ เสมอทกุ วนั
3. การก�ำจัดวัชพืช ควรก�ำจัดวัชพืชทุกคร้ังที่มีการให้ปุ๋ยและเม่ือมีวัชพืช
รบกวน

การเกบ็ เกยี่ ว

หลังปลูกประมาณ 30–35 วัน ก็สามารถเก็บเก่ียวได้โดยใช้มือเด็ดหรือ
กรรไกรตัดกิ่งท่ีมียอดอ่อนไปบริโภค
และถ้าต้นโหระพาออกดอกควร
หม่นั ตดั แต่งดอกทิ้ง เพอื่ ใหโ้ หระพามี
ทรงพุ่มท่ีแข็งแรงและมอี ายุยืนยาว

ผักสามญั ประจำ� บ้าน 24

กะเพรา

ลักษณะโดยทว่ั ไป

กะเพรา เป็นพืชล้มลุก
ท่ีมีอายุข้ามปีล�ำต้นเป็นทรงพุ่มสูง
ประมาณ 70–80 เซนติเมตร ล�ำต้น
และใบมีขนเล็กน้อย ใบมีสีเขียวและ
สีม่วง ใบมีกลิ่นหอม กะเพราเป็นพืช
ท่ีใช้ใบประกอบปรุงแต่งอาหาร เพ่ือ
ดับกลิ่นคาวและท�ำให้อาหารมีรสชาติ
และกล่นิ หอมน่ารบั ประทาน

การเพาะเมล็ดส�ำหรับทำ� กล้ากะเพรา

ท�ำแปลงเพาะขนาดความกว้าง 1 เมตร ความยาวแล้วแต่แปลง ย่อยดิน
ให้ละเอยี ด คลกุ เคล้าปุย๋ คอกหรือปุ๋ยหมกั แล้วหวา่ นเมลด็ ให้ทว่ั แปลง หลังเพาะประมาณ
7–10 วัน เมล็ดเร่ิมงอก ดูแลรักษาต้นกล้าอายุต้นกล้าประมาณ 25–30 วัน ก็สามารถ
ยา้ ยปลูกได้

25 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

การเตรยี มดินปลกู และการยา้ ยกลา้ ปลูก

ใช้จอบขุดดินลกึ ประมาณ 15–20 เซนตเิ มตร หรือ 1 หนา้ จอบ ใสป่ ๋ยุ คอก
หรือปุ๋ยหมักลงแปลงกว้าง 1 เมตร ความยาวแล้วแต่ขนาดแปลง ขุดหลุมปลูกขนาดลึก
1/2 หน้าจอบ ใช้ระยะห่างระหว่างต้น 30 เซนติเมตร ระหว่างแถว 60 เซนติเมตร
น�ำตน้ กลา้ ลงปลูกในหลุมปลูกแลว้ รดน้�ำตาม

การดูแลรกั ษา

1. การใสป่ ยุ๋ เมอื่ ตน้ กะเพราอายุ
10–15 วัน ใช้ปุ๋ยยูเรียหรือแอมโมเนียซัลเฟต
1–2 ช้อนชา ต่อนำ�้ 10 ลิตร รดทกุ 5–7 วนั
และเมื่อต้นกะเพราอายุ 25–30 วัน ใส่ปุ๋ย
15–15–15 อัตรา 1 ช้อนชาต่อต้น ให้ทุก
20–25 วนั โดยโรยห่างโคนต้น 1–2 น้ิว หรอื
จะใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักอย่างสม่�ำเสมอโดย
ใชป้ ุ๋ยวิทยาศาสตรน์ อ้ ยลงกไ็ ด้
2. การใหน้ ำ�้ ใหน้ ำ้� อยา่ งเพยี งพอ
และสมำ�่ เสมอทุกวนั
3. การกำ� จัดวัชพชื ควรก�ำจดั
วัชพืชทุกครั้งท่ีมีการให้ปุ๋ยและเมื่อมีวัชพืช
รบกวน

การเก็บเกีย่ ว

หลังปลูกประมาณ 30–35 วัน ก็สามารถเก็บเก่ียวได้โดยใช้มือหรือ
กรรไกรตัดกิ่งท่ีมียอดอ่อนไปบริโภค และถ้าต้นกะเพราออกดอกควรหม่ันตัดแต่งดอกทิ้ง
เพอ่ื ให้กะเพรามีทรงพุ่มท่ีแขง็ แรงและมีอายยุ ืนยาว

ผักสามัญประจำ� บา้ น 26

ชะอม

ลกั ษณะโดยทัว่ ไป

ชะอม เป็นพืชก่ึงพุ่ม
ก่ึงเล้ือย ล�ำต้นและก่ิงก้านมีหนาม
แหลม ใบเป็นใบประกอบลักษณะ
คล้ายใบกระถิน ใบอ่อนมีกล่ินฉุน
ท�ำให้มีแมลงศัตรูพืชน้อยชนิดที่กล้า
เข้ามายุ่ง นอกจากนี้ ยังมีสารเบต้า
แคโรทนี ทชี่ ว่ ยปอ้ งกนั โรคมะเรง็ ไดด้ ว้ ย

การเตรียมกิ่งพนั ธุห์ รอื ก่ิงตอน

ชะอม สามารถขยายพันธุ์ได้ด้วยวิธีการปักช�ำ ตอนก่ิง และการโน้มกิ่ง
ทม่ี ขี อ้ ปกั ดนิ และเพาะเมลด็ วธิ ที สี่ ะดวกคอื ใหเ้ ลอื กกง่ิ พนั ธท์ุ ไ่ี มอ่ อ่ นหรอื แกเ่ กนิ ไป ไมเ่ ปน็ โรค
ตัดเป็นท่อนยาวประมาณ 30 เซนติเมตร หรือเลือกใช้ก่ิงพันธุ์ขนาดยาวประมาณ
30 เซนตเิ มตร ทม่ี ีรากแขง็ แรง อายปุ ระมาณ 45 วัน เปน็ กง่ิ พนั ธ์หุ รอื ท่อนพนั ธใ์ุ นการปลูก

การปลูกในแปลงหรือในภาชนะปลูก

1. ปลูกในพื้นที่โปร่ง และได้รับแสงแดดตลอดทั้งวัน เป็นท่อนพันธุ์
ให้ใชร้ ะยะปลูก 50 x 50 เซนตเิ มตร โดยขุดหลมุ ปลกู ใส่ปุย๋ คอกหรอื ปุ๋ยหมัก 1–2 กำ� มอื
คลุกเคล้ากับดินให้เข้ากัน ใช้ระยะปลูกประมาณ 1 x 1 เมตร โดยวางกิ่งพันธุ์ให้เอียง
45 องศา ในหลุมท่ีเตรียมไว้ แล้วกลบดินให้แน่น โดยปกติจะนิยมปลูกในช่วงฤดูฝน
เพราะไมต่ อ้ งดูแลมากนัก

27 กรมส่งเสริมการเกษตร

2. การปลูกในภาชนะ ให้เลือกภาชนะท่ีมขี นาดใหญ่ มีความลึกไม่ตำ่� กวา่
50 เซนตเิ มตร โดยใชส้ ว่ นผสมของดนิ ปยุ๋ คอกหรอื ปยุ๋ หมกั และขยุ มะพรา้ วหรอื ขเี้ ถา้ แกลบ
ในอัตราเท่ากนั

การดแู ลรักษา

1. การให้น้ำ� พิจารณาใหน้ �้ำตามสภาพความช้ืนในพ้นื ทป่ี ลกู ใหน้ ำ�้ 2 วัน
ครงั้ ในชว่ งแรก และลดความถีใ่ นการใหน้ �้ำลงเหลอื อาทติ ย์ละคร้งั
2. ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก ประมาณ
1–2 ก�ำมือ เดือนละครั้ง ก�ำจัดวัชพืชพร้อมกับการ
พรวนดนิ เมอ่ื ตน้ ชะอมเจรญิ เติบโตได้ดแี ล้ว ควรมกี าร
ตดั แตง่ เพอ่ื กระตุ้นให้เกดิ ยอดอ่อน โดยอาจจะเหลือ
ต้นยาวประมาณ 30 เซนติเมตรจากโคน เพ่ือให้
แตกกิ่งใหม่ หรือให้เลี้ยงให้ได้ทรงพุ่มสูงประมาณ
1–1.5 เมตร เพอื่ สะดวกในการเกบ็
3. การป้องกันก�ำจัดโรคและแมลง
ท่ีพบสำ� คัญ ได้แก่ โรครากเนา่ โคนเน่า ใหแ้ ก้ไขโดย
ใส่ปูนขาวเพื่อปรับสภาพดิน หรือใช้สารก�ำจัด
เชื้อราในดินเป็นครั้งคราว แมลงศัตรูท่ีพบ ได้แก่
หนอน หากพบให้จับทิ้งนอกพืน้ ที่ หรือใชส้ ารสะเดาในการปอ้ งกันและกำ� จดั

การเก็บเกยี่ ว

เร่ิมเก็บเกี่ยวได้เม่ือชะอมอายุประมาณ
3 เดอื นขน้ึ ไป เกบ็ ไดท้ กุ 3 วนั ตอ่ ครง้ั การตดั ชะอมควรตดั
ในตอนเช้าตรู่ โดยใช้มีดบางและคมตัดเพ่ือให้แผลท่ีตัด
ไม่ช้�ำ ในช่วงฤดูหนาว ชะอมจะไม่ค่อยแตกยอด และ
ไม่ควรเก็บยอดจนหมดต้น ควรให้เหลือยอดชะอมไว้
ประมาณ 3–4 ยอดตอ่ ต้น

ผกั สามัญประจำ� บ้าน 28

บรรณานุกรม

กรมวิชาการเกษตร. 2545. การจัดการคณุ ภาพพชื ผกั . กรงุ เทพฯ.
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร. 2551. คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านสำ� หรบั เจา้ หนา้ ท่ี โครงการปลกู

ผกั สามัญประจำ� บ้าน เพ่อื ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในครวั เรือนของชมุ ชนเมอื ง ปี 2551.
เอกสารโรเนยี ว.
กรมส่งเสรมิ การเกษตร. 2557 การผลิตพชื ผักปลอดภัย. กรุงเทพฯ.

29 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

เผอกั กสสาามรัญคำ� ปแรนะะจนำ� ำ� บท้าี่ น7 /2558

ท่ีปรกึ ษา

นายโอฬาร พิทกั ษ์ อธบิ ดีกรมส่งเสริมการเกษตร
นายสรุ พล จารพุ งศ์ รองอธิบดกี รมสง่ เสริมการเกษตร ฝ่ายบรหิ าร
นายไพรัช หวังด ี รองอธบิ ดกี รมสง่ เสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
นายสงกรานต์ ภักดีคง รองอธบิ ดกี รมส่งเสรมิ การเกษตร ฝา่ ยสง่ เสรมิ และฝกึ อบรม
นางสกุ ญั ญา อธิปอนนั ต ์ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นักพัฒนาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี
นางอรสา ดสิ ถาพร ผู้อำ� นวยการส�ำนักสง่ เสริมและจดั การสินคา้ เกษตร

เรยี บเรียง

นางสาวจริ าภา จอมไธสง ผอู้ �ำนวยการกล่มุ สง่ เสริมพืชผกั และเหด็
นายปิยณัฐ วงษว์ ิสทิ ธิ ์ นักวิชาการเกษตร
กลมุ่ สง่ เสรมิ พชื ผักและเห็ด
ส�ำนกั สง่ เสรมิ และจดั การสนิ คา้ เกษตร
กรมส่งเสรมิ การเกษตร

จดั ทำ�

นางอมรทิพย์ ภิรมย์บูรณ ์ ผู้อ�ำนวยการกล่มุ พฒั นาสือ่ ส่งเสรมิ การเกษตร
นางอุบลวรรณ อารยพงศ์ นกั วิชาการเผยแพรช่ ำ� นาญการ
นางสาวอำ� ไพพงษ์ เกาะเทียน นกั วิชาการเผยแพร่ช�ำนาญการ
กลุ่มพฒั นาสื่อสง่ เสริมการเกษตร
ส�ำนักพัฒนาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร


Click to View FlipBook Version