ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรยี ์
✓ ใช้ปจั จยั การผลติ จากธรรมชาติ ✗ หา้ มใช้ปยุ๋ เคมี
✓ เปน็ มติ รตอ่ สิง่ แวดล้อมและระบบนเิ วศ ✗ ห้ามใชย้ าก�ำจดั ศตั รพู ชื
✓ เสรมิ สร้างความหลากหลายทางชีวภาพ ✗ หา้ มใชย้ าก�ำจดั วัชพชื
✓ เนน้ การปรับปรงุ บำ� รุงดนิ ดว้ ยอินทรยี วัตถุ ✗ ห้ามใชฮ้ อรโ์ มนสังเคราะห์
✗ ห้ามใช้วัตถจุ าก GMOs
เอกสารค�ำแนะนำ� ที่ 5/2559
ระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์
พิมพค์ ร้ังที่ 2 : (ฉบบั ปรับปรงุ ปี 2558) จ�ำนวน 20,000 เลม่
มถิ ุนายน พ.ศ. 2559
จดั พมิ พ์ : กรมสง่ เสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พิมพ์ที่ : ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กดั
คำ� น�ำ
ปัจจุบันเกษตรอินทรีย์ก�ำลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจาก
กระแสของการดูแลสุขภาพ ท�ำให้มีคนหันมาสนใจและบริโภคสินค้าอินทรีย์
มากขึ้น อกี ทั้งได้รับการสนับสนนุ จากทางรัฐบาลท่ีมุง่ ส่งเสรมิ ใหเ้ กษตรกรผลิต
สนิ คา้ เกษตรอนิ ทรยี เ์ พมิ่ มากขน้ึ สง่ เสรมิ การตลาดโดยเนน้ การบรู ณาการ
จากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อให้เกษตรอินทรีย์
สามารถด�ำเนนิ การไปได้อยา่ งยัง่ ยืน
เอกสารคำ� แนะนำ� เรอ่ื ง “ระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ”์
ฉบบั นจี้ ดั ทำ� ขน้ึ โดยการรวบรวมองคค์ วามรทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั
เกษตรอนิ ทรยี จ์ ากสอ่ื ตา่ งๆ ทงั้ เอกสารวชิ าการ เวบ็ ไซต์
และอื่นๆ ของท้ังหน่วยงานจากภาครัฐและเอกชน
เพ่ือให้ผู้ท่ีสนใจมีความเข้าใจเกี่ยวกับ
เกษตรอินทรยี ์เพิม่ มากขนึ้
กรมสง่ เสริมการเกษตร
2559
สารบญั
............................................................................................... หน้า
เกษตรอนิ ทรีย์ คืออะไร? 1
....................................................................................................
หลักการของเกษตรอินทรยี ์ 2
....................................................................................................
การแบ่งระดบั ความปลอดภยั 4
ของผลผลติ การเกษตร
....................................................................................................
หลกั พนื้ ฐานของการทำ� เกษตรอินทรยี ์ 7
....................................................................................................
สนใจปลูกพชื อนิ ทรียจ์ ะท�ำอย่างไร 8
....................................................................................................
มาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย ์ 19
....................................................................................................
การขอใบรับรองพืชอนิ ทรีย ์ 21
....................................................................................................
ระบบการรบั รอง Organic Thailand 23
....................................................................................................
ตรารบั รองมาตรฐานสินคา้ อนิ ทรีย์ทค่ี วรรจู้ ัก 25
....................................................................................................
เอกสารอา้ งอิง 30
....................................................................................................
1
เกษตรอินทรีย์
คอื อะไร ?
สหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (International Federation of Organic
Agriculture Movement : IFOM) ให้ค�ำนิยามของเกษตรอินทรยี ์ว่าเปน็ “ระบบการเกษตร
ท่ผี ลติ อาหารและเส้นใยดว้ ยความยั่งยืนทางสิ่งแวดลอ้ ม สงั คม และเศรษฐกจิ โดยเน้น
หลักการปรับปรุงบ�ำรุงดิน การเคารพต่อศักยภาพทางธรรมชาติของพืช สัตว์ และ
นเิ วศการเกษตร เกษตรอนิ ทรยี จ์ งึ ลดการใชปั จั จยั การผลติ ภายนอก และหลกี เลย่ี งการใช้
สารเคมสี งั เคราะห์ เชน่ ปยุ๋ สารกำ� จดั ศตั รพู ชื และเวชภณั ฑส์ ำ� หรบั สตั ว์ และในขณะเดยี วกนั
ก็พยายามประยุกต์ใช้ธรรมชาติในการเพิ่มผลผลิตและพัฒนาความต้านทานโรคของ
พืชและสัตว์เลี้ยง” หลักการเกษตรอินทรีย์จึงเป็นหลักการสากลที่สอดคล้องกับเงื่อนไข
ทางเศรษฐกิจ สังคม ภูมิอากาศและวัฒนธรรมของท้องถิ่น เนื่องจากก่อให้เกิดผลผลิต
ทปี่ ลอดภยั จากสารพษิ และชว่ ยฟน้ื ฟคู วามอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ มหี ลกั การของการอยรู่ ว่ มกนั
และพง่ึ พงิ ธรรมชาตทิ ง้ั บนดนิ และใตด้ นิ ใชป้ จั จยั การผลติ อยา่ งเหน็ คณุ คา่ และมกี ารอนรุ กั ษ์
ให้อยู่อย่างย่ังยืน นอกจากนี้ยังให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาแบบเป็นองค์รวมและ
ความสมดุลท่ีเกดิ จากความหลากหลายทางชวี ภาพในระบบนิเวศทงั้ ระบบ
ส�ำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
(มกอช.) ให้ค�ำนิยามของเกษตรอินทรีย์ว่า คือ ระบบ
การจัดการด้านการเกษตรแบบองค์รวม ที่เกื้อหนุนต่อ
ระบบนิเวศ, วงจรชีวภาพ และความหลากหลาย
ทางชีวภาพโดยเนน้ การใชว้ สั ดุธรรมชาติ หลกี เลย่ี ง
วัตถุดิบท่ีได้จากการสังเคราะห์และไม่ใช้พืช สัตว์
หรือจุลินทรีย์ที่ได้มาจากการดัดแปรพันธุกรรม
(Genetic Modification) หรือ พันธุวิศวกรรม
(Genetic Engineering) มกี ารจดั การกบั ผลติ ภณั ฑ์
โดยเน้นการแปรรูปด้วยความระมัดระวัง เพ่ือรักษา
สภาพการเป็นเกษตรอินทรีย์ และคุณภาพท่ีส�ำคัญ
ของผลติ ภัณฑใ์ นทุกขัน้ ตอน
ระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์
2
หลกั การ
ของเกษตรอนิ ทรยี ์
หลักการเกษตรอินทรีย์ท่ียอมรับกันท่ัวไป คือ หลักการท่ีก�ำหนดโดยสหพันธ์เกษตรอินทรีย์
นานาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movements – IFOAM) ซงึ่ เกดิ จากการ
ระดมความคิดเห็นนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ด้านเกษตรอินทรีย์โดยตรงจากท่ัวโลก
ท่ีประชมุ ใหญ่สหพนั ธฯ์ ไดล้ งมตริ บั รองหลักการเกษตรอนิ ทรยี ์ทป่ี ระกอบดว้ ย 4 มิติ คอื สขุ ภาพ, นเิ วศวิทยา,
ความเป็นธรรม และการดูแลเอาใจใส่ (health, ecology, fairness and care) มรี ายละเอยี ดโดยสรุปดังน้ี
มติ ิด้านสุขภาพ
“เกษตรอินทรีย์ควรจะต้องด�ำรงไว้และสร้างเสริมสุขภาพของดิน
พชื สตั ว์ มนษุ ย์ และโลกอยา่ งเปน็ องคร์ วม ไมส่ ามารถแบง่ แยกได”้ ดนิ ทม่ี ี
ความอดุ มสมบรู ณท์ ำ� ใหพ้ ชื พรรณตา่ งๆ ทผี่ ลติ จากผนื ดนิ ดงั กลา่ วมสี ขุ ภาวะทดี่ ี
และจะส่งผลสุขภาวะของสัตว์เล้ียงและมนุษย์ที่อาศัยพืชพรรณเหล่านั้น
เปน็ อาหาร การมสี ขุ ภาวะทด่ี ไี ม่ใชเ่ พียงแคป่ ราศจากโรคภยั ไข้เจ็บ หากแต่รวมถงึ
การดำ� รงไวแ้ หง่ ความเปน็ อยทู่ ดี่ ที างกายภาพ จติ ใจ สงั คม และสภาพแวดลอ้ ม
โดยรวม ซึ่งแสดงใหเ้ หน็ ไดจ้ ากการมีภูมติ า้ นทานตอ่ โรค ความสามารถในการฟ้ืนตวั
ของรา่ งกายจากการเจบ็ ปว่ ย เปน็ ตน้ เกษตรอนิ ทรยี ม์ งุ่ ผลติ อาหารทมี่ คี ณุ ภาพสงู
มคี ณุ คา่ ทางโภชนาการ เพอื่ สนบั สนนุ ใหม้ นษุ ยไ์ ดม้ สี ขุ ภาวะทดี่ ขี นึ้ ดว้ ยเหตนุ จี้ งึ เลอื ก
ที่จะปฏิเสธการใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช เวชภัณฑ์สัตว์ และสารปรุงแต่งอาหาร
ทีอ่ าจส่งผลใหเ้ กิดอันตรายต่อสขุ ภาพของดนิ พืช สัตว์ มนษุ ย์ โดยรวมดงั กลา่ ว
มิติด้านนเิ วศวทิ ยา
“เกษตรอินทรีย์ควรจะต้องตั้งอยู่บนรากฐานของระบบนิเวศและวัฏจักร
ทม่ี ชี วี ติ โดยการทำ� งานรว่ มกบั มนั เลยี นแบบวถิ ที างธรรมชาติ และชว่ ยดำ� รงไว้
ซึ่งระบบนิเวศและวัฏจักรที่มีชีวิตดังกล่าว” มิติด้านนิเวศวิทยามองเกษตรอินทรีย์
ในฐานะองค์ประกอบหน่ึงของระบบนิเวศท่ีมีชีวิต ดังน้ัน การผลิตจึงต้องอยู่
บนพน้ื ฐานของวถิ แี หง่ ระบบนเิ วศ และการหมนุ เวยี น การเพาะปลกู เลยี้ งสตั ว์
หรือหาของป่า จะต้องสอดคล้องกับวัฏจักรธรรมชาติและความสมดุลของ
ระบบนิเวศ ซึ่งแต่ละท้องถ่ินอาจจะมีลักษณะของระบบนิเวศที่เป็นเฉพาะ
พน้ื ท่ี ดงั นน้ั การจดั การเกษตรอนิ ทรยี จ์ งึ ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั สภาวะของทอ้ งถน่ิ
ภมู ินิเวศ วัฒนธรรม และเหมาะสมกบั ขนาดการผลติ ปัจจัยการผลติ ทัง้ ทเี่ ปน็
วัสดุ สิ่งของ และพลังงานควรใช้ในปริมาณท่ีลดลงโดยใช้หลักการหมุนเวียน
กรมส่งเสริมการเกษตร
3
การใช้ซ�้ำ และการใช้อย่างมีประสิทธิภาพเพ่ือลดการใช้ทรัพยากรและอนุรักษ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมให้มี
ความยัง่ ยนื ผทู้ ่มี หี นา้ ทเ่ี ก่ียวข้องกบั การผลติ การแปรรปู การคา้ และการบริโภคผลผลติ เกษตรอนิ ทรีย์
ควรช่วยกนั ในการอนุรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ ม ทงั้ ในแงข่ องภมู ิทศั น์ สภาพอากาศ ถนิ่ ท่อี ยู่อาศัยของพืชและสตั ว์
ความหลากหลายทางชวี ภาพ คุณภาพอากาศและน�้ำ
มิตดิ า้ นความเป็นธรรม
“เกษตรอินทรีย์ควรด�ำเนินอยู่บนความสัมพันธ์ท่ีมีความเป็นธรรมระหว่างสิ่งแวดล้อม
โดยทว่ั ไปและโอกาสในการดำ� เนนิ ชวี ติ ” ความเปน็ ธรรม หมายรวมถงึ ความเทา่ เทยี มกนั ความเคารพกนั
ความยุติธรรม และการมีส่วนในการพิทักษ์โลกที่ทุกสิ่งอาศัยอยู่ร่วมกัน ทั้งระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง
และกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆและกับธรรมชาติ ท้ังนี้ ผู้ที่ด�ำเนินการด้านเกษตรอินทรีย์จะต้องตระหนักถึง
ความสัมพันธ์ที่เป็นธรรมต่อกันกับชนทุกกลุ่มและทุกระดับที่เก่ียวข้องกับการด�ำเนินการเกษตรอินทรีย์
ทงั้ เกษตรกร คนงาน ผู้แปรรูป ผู้จัดจำ� หนา่ ย ผ้คู ้า และผูบ้ รโิ ภค กลา่ วคือ เกษตรอนิ ทรีย์จะมอบโอกาส
ในการมคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ใี หก้ บั ทกุ คน ผลติ อาหารทมี่ คี ณุ ภาพอยา่ งเพยี งพอ และชว่ ยลดปญั หาความยากจน
สำ� หรบั ความเปน็ ธรรมตอ่ สตั ว์ เกษตรอนิ ทรยี ต์ อ้ งจดั สภาพการเลยี้ งใหส้ อดคลอ้ งกบั ลกั ษณะตามธรรมชาติ
ของปศุสัตว์ และดูแลเอาใจใส่ความเป็นอยู่อย่างเหมาะสม ความเป็นธรรมต่อทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมนั้น การใช้ทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคควรมีความเป็นธรรมทั้งทางสังคมและ
ทางนิเวศวิทยา ค�ำนึงถึงผลกระทบต่อชนรุ่นหลัง ภายใต้มิติน้ี ความเป็นธรรมถูกน�ำมาใช้กับระบบ
การผลติ การจัดสง่ และการค้าเกษตรอินทรยี ์ ซึ่งจะต้องเปดิ เผยและยตุ ิธรรม มีการนำ� ต้นทนุ ทางสงั คม
และสง่ิ แวดล้อมมาพิจารณาเป็นต้นทุนการผลิตดว้ ย
มติ ิดา้ นการดูแลเอาใจใส่
“การบริหารจัดการเกษตรอินทรีย์ควรจะต้องด�ำเนินการอย่างระมัดระวังและรับผิดชอบ
เพื่อปกป้องสุขภาพและความเป็นอยู่ของผู้คนทั้งในปัจจุบันและอนาคต รวมทั้งสภาพแวดล้อม
โดยรวมด้วย” เกษตรกรสามารถด�ำเนินการเพ่ือให้เกิดเพิ่มประสิทธิภาพและเพ่ิมผลผลิตจากการท�ำ
เกษตรอินทรยี ์ แตก่ ารด�ำเนินการดงั กล่าวต้องไม่ต้ังอยู่บนความเส่ยี งทีจ่ ะก่อใหเ้ กิดผลกระทบต่อสุขภาพ
และสภาพความเปน็ อยู่ การนำ� เทคโนโลยแี ละกรรมวธิ กี ารผลติ ใหมๆ่ เขา้ มาใชก้ บั เกษตรอนิ ทรยี จ์ ะตอ้ งมี
การประเมนิ ความเสยี่ งอยา่ งจรงิ จงั และรอบดา้ นตอ่ ผลกระทบทอี่ าจมตี อ่ ระบบนเิ วศ เราจงึ ตอ้ ง
ด�ำเนินการต่างๆ ด้วยความระมัดระวังเอาใจใส่และรับผิดชอบ ภายใต้มิติการดูแล
เอาใจใส่นี้ อาจอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นสิ่งยืนยันเพ่ือให้ม่ันใจว่าการท�ำ
เกษตรอนิ ทรยี น์ นั้ สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ ปลอดภยั และเหมาะสมกบั ระบบนเิ วศ แตเ่ รา
ไม่สามารถอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์แต่เพียงอย่างเดียวในการประเมิน
ผลกระทบได้ หากแต่จะต้องอาศัยประสบการณ์จากการปฏิบัติและภูมิปัญญา
ท้องถิ่นทส่ี ะสมถ่ายทอดกันมาร่วมเป็นส่ิงยนื ยนั และควรหลีกเลี่ยงความเส่ียงจาก
การใชเ้ ทคโนโลยใี หมท่ ่ีผลลัพธไ์ ม่มคี วามชดั เจน เชน่ เทคโนโลยีพนั ธวุ ศิ วกรรม
การตัดสินใจใดๆ จะต้องพิจารณาถึงความจ�ำเป็นและคุณค่าของผู้ที่อาจได้รับ
ผลกระทบ อาศัยกระบวนการท่ีมีความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของผู้ได้รับ
ผลกระทบต่างๆ
ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
4
การแบง่ ระดับ
ความปลอดภยั ของ
ผลผลติ การเกษตร
การจัดประเภทผลผลิตการเกษตร
ü = ใช(้ ได้)/ใช่ เคมี อนามยั ปลอดภยั ไร้ดนิ ไรส้ ารฯ อินทรยี ์
û = ไม(่ ได้)/ไม่ใช่ (ท่วั ไป) (คุมระดบั สารเคม)ี (คุมระดับสารเคมี) (ไฮโดรโปรนกิ ส์) (ไมใ่ ช้สารเคม)ี Organic Farming
GMOs
ปยุ๋ เคมี üü ü ü ü û
ยาฯ เคมี üü ü ü û û
ฮอรโ์ มนสงั เคราะห์ üü ü ü û û
บรโิ ภคปลอดภยั üü ü ü û û
ส่งิ แวดล้อมปลอดภัย û? ? ? ? ü
เพ่ิมความหลากหลาย ûû û û ? ü
ทางชวี ภาพ
ûû û û ? ü
มาตรฐานรับรอง
ไมม่ ี หรGือAไPมม่ ี สาหรพรอืิษตไมกม่คี้าง หรGือAไPมม่ ี หรPือGไSมม่ ี อเกนิ ษทตรรีย์
หน่วยงานรบั รอง
ไมม่ ี กรมวิชาการ กรมวทิ ยาศาสตร์ กรมวิชาการ PGS มกมPทกG.อ/SIชF.(Oเ(ฉใAพนMปาะรกะ(สลเท่มุาศก) )ล)
ตราสญั ลกั ษณ์ เกษตร การแพทย์ เกษตร หรอื ไม่มี
มาตรฐานรบั รอง
ไม่มี เฉพาะกลมุ่
มลู นธิ ินวชวี นั ©2014 GAP = Good Agricultural Practice, PGS = Participatory Guarantee System ระบบการรบั รองแบบชมุ ชนมีส่วนรว่ ม
จากกระแสความใส่ใจดา้ นสขุ ภาพของผู้บริโภคในปจั จบุ นั ค�ำวา่ “อนิ ทรยี ”์ หรือ
“ออร์แกนิก” ได้กลายเป็นเคร่ืองมือการตลาดของธุรกิจท่ีเริ่มเห็นโอกาสสร้างรายได้
และเนื่องจากประเทศไทยไม่มีกฎหมายควบคุมการใช้ค�ำว่า “เกษตรอินทรีย์” หรือ
“ผลผลติ อนิ ทรยี ”์ (Organic Product) บนฉลากสนิ คา้ หรอื ผลติ ภณั ฑอ์ นิ ทรยี ์ ทำ� ใหท้ กุ วนั นี้
ในทอ้ งตลาดบา้ นเราจงึ มสี นิ คา้ เกษตรมากมายทอี่ า้ งหรอื เรยี กตวั เองวา่ เปน็ ผลผลติ อนิ ทรยี ์
หรือเป็นผลิตภัณฑ์อินทรีย์ แต่ในความเป็นจริง หากผู้บริโภคไม่รู้จักผู้ผลิต หรือวางใจ
ในค�ำกล่าวอ้างของผู้ผลิตหรือผู้ขาย ก็ยากท่ีผู้บริโภคจะรู้ได้ว่าสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ท่ีระบุ
กรมส่งเสรมิ การเกษตร
5
ว่าเป็นผลผลิตอินทรีย์น้ันเป็นอินทรีย์จริงแท้แน่นอน
หรือไม่ เพียงใด และท่ีสร้างความสับสนให้ผู้บริโภค
มากขน้ึ ไปอกี คอื คำ� เรยี กสนิ คา้ เกษตรประเภทตา่ งๆ ทมี่ ี
ความหมายกำ� กวม เชน่ ผกั อนามยั ผกั ปลอดภยั ปลอดสารฯ
ไร้สารฯ อินทรีย์ ออรแ์ กนิก ธรรมชาติ ฯลฯ เปน็ ต้น ซง่ึ ท�ำให้
คนท่ีต้องการหาซ้ือผักผลไม้ที่ปลอดภัยจากสารเคมีที่เป็น
พิษปนเปื้อนมาทาน ไม่แน่ใจว่าสินค้าแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร
และประเภทไหนที่จะพอม่ันใจได้ว่าปลอดภัยจากการปนเปื้อนของสารเคมีพิษในระดับ
ทเ่ี กนิ ขนาดจนนา่ กลัว ตามทตี่ รวจพบและเปน็ ขา่ วในปัจจุบนั
ตารางด้านบนเป็นการสรุปภาพรวมความแตกต่างของผลผลิตการเกษตร
แตล่ ะประเภท ทจ่ี ะชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจความแตกต่างของผลผลิตหรือสินค้าเกษตรในท้องตลาด
บา้ นเรามากข้ึน
เคมี หรอื ผักผลไมเ้ คมี หมายถงึ ผลผลติ จากระบบเกษตรทวั่ ไปทใ่ี ชส้ ารเคมี
โดยไมม่ ีการตรวจสอบควบคมุ
อนามยั หรอื ผกั ผลไมอ้ นามยั หมายถงึ ผลผลติ จากระบบเกษตรทใ่ี ชส้ ารเคมี
แต่ควบคุมปริมาณสารเคมีตกค้างให้ไม่เกินระดับที่เป็นอันตรายต่อการบริโภคตามเกณฑ์
ท่ีก�ำหนด เป็นชื่อเรียกตาม ตรามาตรฐานผักผลไม้อนามัย ของกรมวิชาการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปลอดภยั หรอื ผกั ผลไมป้ ลอดภยั สำ� หรบั บรโิ ภค หมายถงึ ผลผลติ จากระบบ
เกษตรทใ่ี ชส้ ารเคมี แตค่ วบคมุ ปรมิ าณสารเคมตี กคา้ งใหอ้ ยใู่ นเกณฑท์ ย่ี อมรบั ไดว้ า่ ปลอดภยั
ตอ่ การบรโิ ภค เป็นชอื่ เรยี กส�ำหรบั ตรารับรองคณุ ภาพระบบตรวจสอบสารพษิ ของกรม
วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ
ไรด้ นิ หรอื ผักไฮโดรโปนกิ ส์ หมายถึง ผลผลิตจากระบบเกษตรทป่ี ลกู โดย
ไม่ใช้ดิน คือปลูกในน�้ำท่ีให้สารอาหารพืชสังเคราะห์ ทั้งที่เป็นเคมีและสังเคราะห์จาก
วัตถุดิบท่ีเป็นอินทรีย์ ซ่ึงคนมักเข้าใจผิดว่าเป็นผักอินทรีย์ท่ีปลอดภัยต่อการบริโภค
แตพ่ ืชทีธ่ รรมชาตสิ ร้างมาให้โตในดิน เมื่อนำ� ไปปลูกในน้ำ� และในสภาพแวดล้อมที่ปดิ คือ
ควบคมุ ชนิดและปริมาณสารอาหารทพี่ ชื จะได้รบั ทำ� ให้พืชเจรญิ เติบโตแบบผดิ ธรรมชาติ
ขาดแร่ธาตุสารอาหารที่ควรมีจากการปลูกในดินตามธรรมชาติของพืช ผลผลิตที่ได้
จะมีชนิดของสารอาหารท่ีร่างกายต้องการเพ่ือการมีสุขภาพท่ีดีอยู่จ�ำกัดเท่าท่ีใส่ให้ใน
น้�ำที่ปลูก และยังเสี่ยงกับปริมาณไนเตรทที่เป็นอันตรายกับร่างกายตกค้างมากกว่าพืช
ทป่ี ลกู ดนิ ทใ่ี ชเ้ คมีอกี ดว้ ย
ระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์
6
ไร้สารฯ หรือ ไร้สารเคมีหรือสารพิษปนเปื้อน
หมายถึง ผลผลิตจากระบบเกษตรท่ีไม่ใช้ท้ังยาฆ่าแมลงเคมี
และปุ๋ยเคมีในการผลิต แต่อาจมีรายละเอียดในกระบวนการ
ปลูกที่ยังก่อผลเสียกับผู้บริโภคและ/หรือส่ิงแวดล้อมอยู่ เช่น
เมล็ดพันธุ์อาจเป็นเมล็ดพันธุ์ตัดแต่งพันธุ์กรรม (GMOs) หรือเป็น
เมล็ดพันธุ์ท่ีไม่ใช่อินทรีย์ ระบบการจัดการฟาร์มและกระบวนการปลูก
โดยรวมอาจไม่มีการป้องกันการปนเปื้อนสารเคมีอันตราย โดยเฉพาะจากน�้ำที่ใช้รด
และ/หรอื จากลมทพี่ ดั เอาสารเคมจี ากแปลงเคมขี องขา้ งเคยี งเขา้ มาปนเปอ้ื น หรอื ไมม่ กี าร
จดบันทกึ ขอ้ มูลกระบวนการปลูกเพือ่ การตรวจสอบย้อนกลบั ฯลฯ เปน็ ต้น
อินทรยี ์ หรอื ออรแ์ กนิก หมายถึง ผลผลิตจากระบบเกษตรอนิ ทรยี ์ทไี่ ดร้ ับ
การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรยี ์จากหน่วยงานตรวจรับรองทเ่ี ชือ่ ถอื ได้ ผู้ประกอบการ
เกษตรอินทรีย์ต้องปฏิบัติตามข้อก�ำหนดการตรวจรับรอง ท่ีครอบคลุมตั้งแต่ แหล่งท่ีมา
ของ (เมลด็ ) พนั ธ์ุ และปจั จยั การผลติ (ปยุ๋ อาหารสตั ว์ ยาปอ้ งกนั และรกั ษาโรค ฯลฯ) วธิ กี าร
ใช้ปัจจัยการผลิต วิธีการดูแลรักษา วิธีการป้องกันการปนเปื้อนจากสภาพแวดล้อม
ซึ่งรวมถึงแหล่งผลิตแบบเคมีที่อยู่ข้างเคียง ตลอดไปถึงวิธีการเก็บเก่ียวผลผลิต คัดแยก
ท�ำความสะอาด เก็บรักษาผลิตผล การบรรจุขาย (ภาชนะบรรจุ ฉลากก�ำกับ)
และการจัดการระหว่างขนส่ง ซ่ึงรายละเอียดจะแตกต่างกันไปตามขอบเขตและ
ระบบมาตรฐานที่ขอรับรอง แต่มาตรฐานระดับสากลมีข้อก�ำหนดพื้นฐาน
ที่ผู้ประกอบการทุกคนต้องปฏิบัติในทุกข้ันตอนการผลิตไปจนถึง
มอื ผบู้ รโิ ภค โดยตอ้ งไมใ่ ชป้ จั จยั การผลติ ทเ่ี ปน็ สารเคมสี งั เคราะหห์ รอื
สมุนไพรต้องห้าม เน้นการป้องกันศัตรูพืชและรักษาโรคสัตว์โดย
ค�ำนึงถึงระบบนิเวศ (ไม่เพ่ิมปัญหาภาวะโลกร้อนท่ีท�ำให้สภาพภูมิ
อากาศแปรปรวน เป็นต้น) มีการจดบันทึกกิจกรรมการผลิต
ในทุกขนั้ ตอน และเกบ็ รกั ษาข้อมูลเพอ่ื ให้สามารถตรวจสอบย้อน
กลับได้ (traceability) อย่างน้อย 5 ปี นอกจากน้ียังรวมถึง
การดูแลสวัสดิภาพของลูกจ้างในฟาร์มหรือโรงงานอย่างเป็นธรรม
และด�ำเนินงานอย่างสอดคล้องกับประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นด้วย
รวมแลว้ กค็ อื เปน็ การอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งเอาใจใสร่ ะหวา่ งมนษุ ย์ พชื สตั ว์
และสง่ิ แวดลอ้ ม ใหม้ ากที่สุดเทา่ ท่จี ะท�ำได้ในทุกข้ันตอน
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
7
หลักพืน้ ฐานของ
การทำ� เกษตรอนิ ทรีย์
1. หา้ มใชส้ ารเคมสี งั เคราะหท์ างการเกษตรทกุ ชนดิ ไมว่ า่ จะเปน็ ปยุ๋ เคมี ยาฆา่ หญา้
ยาป้องกันกำ� จัดศตั รพู ชื และฮอรโ์ มน
2. เน้นการปรับปรุงบ�ำรุงดินด้วยอินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด
ตลอดจนการปลูกพืชหมุนเวียนเพ่ือให้พชื แขง็ แรงมีความตา้ นทานตอ่ โรคแมลง
3. รักษาความสมดุลของธาตุอาหารภายในฟาร์ม โดยใช้ทรัพยากรในท้องถ่ิน
มาหมนุ เวียนใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด
4. ป้องกันมิให้มีการปนเปื้อนของสารเคมีจากนอกฟาร์ม ท้ังจากดิน น้�ำ
และอากาศ โดยจัดสรา้ งแนวกนั ชน ด้วยการขดุ คู หรอื ปลกู พชื ยืนต้น และพชื ล้มลุก
5. ใช้พันธ์ุพืชหรือสัตว์ที่มีความต้านทาน และมีความหลากหลาย ห้ามใช้
พันธ์พุ ชื สตั ว์ ทไี่ ดจ้ ากการตดั ตอ่ สารพันธกุ รรม
6. การก�ำจัดวัชพืชใช้การเตรียมดินท่ีดี และแรงงานคนหรือเคร่ืองมือกลแทน
การใชส้ ารเคมกี ำ� จัดวัชพืช
7. การป้องกันก�ำจัดวัชพืชให้สมุนไพรก�ำจัดศัตรูพืชแทนการใช้ยาเคมีก�ำจัด
ศัตรูพชื
8. ใช้ฮอร์โมนที่ได้จากธรรมชาติ เช่น จากน้�ำสกัดชีวภาพแทนการใช้ฮอร์โมน
สงั เคราะห์
9. รักษาความหลากหลายทางชีวภาพ โดยการรักษาไว้ซึ่งพันธุ์พืช หรือสัตว์
สง่ิ ที่มีชวี ติ ทุกชนดิ ท่มี อี ยู่ในทอ้ งถิ่น ตลอดจนปลกู หรอื เพาะเล้ียงข้นึ มาใหม่
10. การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวและการแปรรูปให้ใช้วิธีธรรมชาติ และประหยัด
พลังงาน
11. ใหค้ วามเคารพสิทธมิ นษุ ยแ์ ละสัตว์
12. ต้องเกบ็ บนั ทกึ ข้อมูลไว้อย่างนอ้ ย 3 ปี เพอื่ รอการตรวจสอบ
ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
8
สนใจปลกู พืชอินทรีย์
จะท�ำอยา่ งไร
มี 10 ขั้นตอน ดังนี้
1. การเลือกพ้ืนทีผ่ ลติ พชื อินทรยี ์
1.1 ประวตั กิ ารทำ� การเกษตรของพน้ื ที่ กอ่ นเลอื กพน้ื ทผี่ ลติ
พืชอินทรีย์ จะต้องทราบประวัติ การใช้ประโยชน์ของพ้ืนที่ให้
มากท่ีสุด โดยเฉพาะด้านการเกษตร เช่น เคยปลูกพืชอะไร
การใช้ปยุ๋ สารเคมี และความส�ำเรจ็ ของการใชพ้ ื้นท่ี เป็นตน้
เพ่อื ใชใ้ นการตัดสนิ ในวางแผนการผลิต
1.2 ทต่ี งั้ ของพน้ื ท่ี ควรเลอื กพนื้ ทห่ี า่ งจากถนนหลวง
โรงงาน เพอื่ ปอ้ งกนั มลพษิ และ ไมค่ วรอยตู่ ดิ กบั แปลงปลกู พชื
ที่มกี ารใชส้ ารเคมี
1.3 ความเหมาะสมของพื้นท่ีต่อพืชที่จะปลูก
ผทู้ จี่ ะผลิตพืชอนิ ทรีย์ จะต้องทราบแล้วว่า จะปลูกพืชล้มลุก
หรือพืชยืนต้น การปลูกพืชล้มลุกไม่มีปัญหาเกี่ยวกับความลึก
ของหน้าดิน แต่ไม้ยืนต้นต้องการหน้าดินที่ลึก และต้องมี
แหล่งน้�ำเพียงพอ
1.4 แหล่งน้�ำ น�้ำท่ีใช้กับพืชจะต้องเป็นน้�ำสะอาด ไม่มี
สารพิษเจือปน จะเป็นน้ำ� ใต้ดิน สระ แมน่ ำ้� ลำ� คลอง หรือชลประทานกไ็ ด้
ควรทำ� การวเิ คราะหค์ ณุ สมบตั ขิ องน�ำ้ กอ่ น
1.5 ความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ พ้ืนที่ที่ดินอุดมสมบูรณ์โดยธรรมชาติ เช่น
พ้ืนที่เปิดป่าใหม่ ความส�ำเร็จในการปลูกพืชอินทรีย์จะสูง ดังน้ันจึงควรเลือกพ้ืนท่ีที่ดินมี
ความสมบรู ณ์ สำ� หรับพนื้ ที่ทดี่ นิ ขาดความอดุ มสมบรู ณ์ ควรปลกู พชื บำ� รุงดนิ ประกอบกบั
การใส่ปุ๋ยอินทรยี ์
กรมส่งเสริมการเกษตร
9
2. การวางแผนจัดการ
การท�ำฟารม์ เกษตรอินทรีย์ แบ่งเป็น
2.1 การวางแผนปอ้ งกนั สารปนเปอ้ื นทป่ี ะปน
มาทางดิน น้ำ� และอากาศ โดยวางแผน อย่างครบถ้วน
ทุกขั้นตอน และมีการบันทึกวิธีปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
การป้องกันสารปนเปื้อนระดับฟาร์ม อาจท�ำการปลูกพืช
เป็นแนวกันชนระหว่างแปลงให้ปลอดภัยจากสารพิษท่ีมาจาก
แหล่งของเสีย หรือระบบการก�ำจัดของเสีย ระบบระบายน�้ำ
ระบบการเกบ็ รกั ษาเครือ่ งมอื อุปกรณ์ และการขนส่ง เข้า-ออกฟาร์ม
2.2 การวางแผนการจัดการแปลงปลูกพืชและระบบการปลูกพืช อาจท�ำ
โดยการใช้ พนั ธพ์ุ ชื ตา้ นทานศตั รพู ชื การเลอื กฤดกู ารปลกู และระบบการปลกู พชื ทเี่ หมาะสม
รวมทงั้ การเลอื ก วสั ดภุ ณั ฑ์ เครอ่ื งมอื ทสี่ อดคลอ้ งกบั หลกั การเกษตรอนิ ทรยี ์ ในการปฏบิ ตั ิ
ทุกข้นั ตอน ตงั้ แตก่ ารเตรียมแปลงจนถงึ ขัน้ ตอนการเก็บเกย่ี ว
3. การเลอื กพนั ธุ์
3.1 ควรค�ำนึงถึงความเหมาะสมกับสภาพดิน
สภาพภมู อิ ากาศความตา้ นทานตอ่ ศตั รพู ชื และการอนรุ กั ษ์
ความหลากหลายทางชวี ภาพ
3.2 หา้ มใชพ้ นั ธพ์ุ ชื ทไ่ี ดจ้ ากการตดั ตอ่ สารพนั ธกุ รรม
และ/หรอื ผา่ นการอาบรงั สี
3.3 เมล็ดพันธุ์ที่ใช้ควรมาจากระบบการผลิตแบบ
เกษตรอินทรีย์
4. การจดั การและปรับปรงุ บ�ำรุงดนิ
การจัดการดินในทุกข้ันตอน ต้องมุ่งเน้นการใช้สารอินทรีย์ และวัสดุธรรมชาติ
เป็นหลัก โดยสิ่งเหล่าน้ีต้องปราศจากการปนเปื้อนของวัสดุต้องห้ามตามท่ีก�ำหนดไว้
ในกรณที จ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งใช้ สารทไี่ มแ่ นใ่ จวา่ เปน็ สารตอ้ งหา้ มหรอื ไม่ ใหต้ รวจสอบในบญั ชรี ายชอื่
สารทีอ่ นญุ าตใหใ้ ช้ และไมอ่ นุญาตใหใ้ ชแ้ ละขอ้ จำ� กดั ของสารน้นั ๆ เสียกอ่ น
ระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์
10
ข้อปฏิบตั ิในการจัดการดิน
1) เลือกพ้ืนท่ีปลูก ควรเลือกพื้นท่ีท่ีมีความอุดม
สมบูรณ์สูง เช่น พื้นท่ีเปิดป่าใหม่ หากจ�ำเป็นต้องใช้พื้นที่
ท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ต่�ำ ต้องมีการจัดการธาตุอาหารพืช
และปรบั ปรงุ บำ� รงุ ดนิ มากกวา่ พนื้ ทท่ี ม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณส์ งู
2) ดนิ ทเ่ี ปน็ กรดจดั ใหใ้ สห่ นิ ปนู บดปรบั ความเปน็ กรด
ของดินก่อน (ถ้าต้องการเพ่ิมธาตุแมกนีเซียมด้วยให้ใส่
ปนู โดโลไมท)์
3) ควรปลกู พชื ตระกลู ถว่ั เชน่ โสนถวั่ พมุ่ ถวั่ มะแฮะ
ฯลฯ และไถกลบเป็นปุ๋ยพืชสด บ�ำรุงดิน โดยเลือกชนิด
ของพืชตามความเหมาะสมของพ้ืนที่ เช่น โสนใช้ได้ดี
ในสภาพนา ถัว่ พุ่มใชไ้ ดด้ ีในสภาพไร่ เปน็ ตน้
4) ปลูกพืชหมุนเวียน ใช้พืชตระกูลถ่ัวร่วมเป็น
พืชหมุนเวียน
5) ใสป่ ยุ๋ คอก ปยุ๋ หมกั เศษซากพชื เพอ่ื เปน็ แหลง่
อาหารพชื และปรับปรงุ โครงสรา้ งของดนิ
6) กรณีท่ีดินขาดโพแทสเซียม ให้ใช้มูลค้างคาว เกลือโพแทสเซียมธรรมชาติ
และขี้เถา้ ถา่ น
7) กรณีดนิ ขาดฟอสฟอรสั ให้ใชป้ ยุ๋ หนิ ฟอสเฟต
8) ถ้าการใส่ปุ๋ยท่ีก�ำหนดไม่สามารถให้ธาตุอาหารได้พอเพียงกับความต้องการ
ของพชื อาจใช้ธาตุอาหารเสรมิ ที่มกี ารพิสูจน์เปน็ หลกั ฐานทางเอกสารไว้แล้วได้
รายการสารที่ไมอ่ นุญาตให้ใช้
กากตะกอนโสโครก (โดยเฉพาะอย่างยิ่งส�ำหรับพืชผกั )
สารเรง่ การเจริญเตบิ โต สารพ่นใบ
จุลินทรยี ์ และผลิตผลทมี่ าจากจุลินทรยี ท์ ไ่ี ด้มาจากการตัดตอ่ พนั ธกุ รรม
สารพิษต่างๆ ตามธรรมชาติ เช่น โลหะหนกั ตา่ งๆ
ปยุ๋ เทศบาล หรือปยุ๋ หมักจากขยะในเมอื ง
กรมส่งเสรมิ การเกษตร
11
รายการสารทอี่ นญุ าตให้ใช้
ปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตจากวัสดุในไร่นา เช่น ปุ๋ยหมักจากเศษซากพืช ฟางข้าว
ข้เี ล่ือย เปลอื กไม้ เศษไม้ และวัสดุเหลอื ใชท้ างการเกษตรอน่ื ๆ
ปุ๋ยคอกจากสัตว์ท่ีเล้ียงตามธรรมชาติ ไม่ใช้อาหารจากส่ิงท่ีมีชีวิตท่ีได้มาจาก
การตัดต่อ ดัดแปลงสารพันธุกรรม (GMOs) ไม่ใช้สารเร่งการเจริญเติบโต และไม่มี
การทรมานสตั ว์
ปยุ๋ พชื สด เศษซากพืช และวัสดุเหลือใชใ้ นไรน่ า ในรปู สารอนิ ทรยี ์
ดนิ พรุท่ไี ม่เติมสารสงั เคราะห์
ปุ๋ยชีวภาพ หรอื จุลนิ ทรียท์ ่ีพบตามธรรมชาติ
ขยุ อินทรีย์ ส่ิงขับถ่ายจากไส้เดือนดิน และแมลง
ดนิ อินทรยี ์ ทไ่ี ดร้ ับการรับรองอย่างเปน็ ทางการ
ดนิ ชัน้ บน (หนา้ ดนิ ) ท่ีปลอดการใช้สารเคมมี าแล้วอย่างนอ้ ย 1 ปี
ผลติ ภณั ฑจ์ ากสาหรา่ ย และสาหรา่ ยทะเลทไี่ ดร้ บั การรบั รองอยา่ งเปน็ ทางการ
ปยุ๋ อินทรยี น์ �ำ้ ที่ไดจ้ ากพชื และสตั ว์
อุจจาระ และปัสสาวะ ทีไ่ ดร้ บั การหมักแล้ว (ใชไ้ ด้กับพืชทีไ่ มใ่ ช่อาหารมนุษย)์
ของเหลวจากระบบน�้ำโสโครก จากโรงงานท่ีผ่านกระบวนการหมักโดย
ไมเ่ ตมิ สารสังเคราะห์ และไมเ่ ป็นพิษต่อส่งิ แวดลอ้ มที่ได้รับการรบั รองอย่างเป็นทางการ
ของเหลือใช้จากกระบวนการในโรงงานฆ่าสัตว์ โรงงานอุตสาหกรรม เช่น
โรงงานน้�ำตาล โรงงานมันส�ำปะหลัง โรงงานน�้ำปลา โดยกระบวนการเหล่าน้ัน จะต้อง
ไมเ่ ตมิ สารสงั เคราะห์ และตอ้ งไดร้ บั การรับรองอยา่ งเป็นทางการ
สารควบคุมการเจริญเตบิ โตของพชื หรอื สตั วซ์ ง่ึ ได้จากธรรมชาติ
สารอนนิ ทรียท์ ่อี นญุ าตใหใ้ ช้
1. หนิ และแร่ธรรมชาติ
หินบด (Stone Meal)
หนิ ฟอสเฟต (Phosphate Rock)
หนิ ปูนบด (ไม่เผา) (Ground Limestone)
ยิปซมั่ (Gypsum)
แคลเซย่ี มซลิ เิ คต (Calsium Silicate)
ระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์
12
แมกนีเซียมซัลเฟต (Magnesium Sulphate)
แร่ดินเหนียว (Clay Mineral) เช่น สเมคไตท์ (Smectite) คาโอลิไนท์
(Kaolinite) คลอไรท์ (Chlorite) ฯลฯ
แรเ่ ฟลด์สปาร์ (Feldspar)
แรเ่ พอรไ์ ลท์ (Perlite) ซโี อไลท์ (Zeolite) เบนโทไนท์ (Bentonite)
หนิ โพแทส เกลือโพแทสเซยี มทม่ี ีคลอไรดน์ อ้ ยกวา่ 60 %
2. สารอนิ ทรียอ์ ่ืนๆ
แคลเซยี มจากสาหรา่ ย สาหรา่ ยทะเล (Algae and Sea Weeds)
เปลอื กหอย
เถา้ ถา่ น (Wood Ash)
เปลอื กไข่บด
กระดูกปน่ และเลอื ดแหง้
เกลอื สินเธาว์ (Mineral Salt)
โบแร็กซ์ (Borax)
กํามะถัน
ธาตอุ าหารเสรมิ (โบรอน ทองแดง เหลก็ สังกะสี แมงกานสี และโมลิบดีนัม่ )
ต้องได้รบั การรับรองเปน็ ทางการก่อน
5. แผนการจัดการศตั รูพชื
5.1 ก่อนปลูก
1) กรณีใช้เมล็ดพันธุ์ปลูก ควรใช้เมล็ดพันธุ์ท่ีมีความต้านทานโรค แมลง
และวัชพชื ใช้เมลด็ พันธ์ุทีป่ ราศจากศตั รพู ชื เชน่ โรค แมลง และวัชพชื โดยใช้กรรมวธิ ดี ังนี้
แชเ่ มล็ดในน�ำ้ อ่นุ (50 – 55 องศาเซลเซียส) นาน 10 – 30 นาที
แลว้ แตช่ นดิ ของเมลด็ พนั ธ์ุ เพอ่ื กำ� จดั เชอื้ ราและเชอื้ แบคทเี รยี บางชนดิ ทตี่ ดิ มากบั เมลด็ พนั ธ์ุ
คลุกเมล็ดด้วยจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ เช่น เชื้อราไตรโคเดอร์มา
เช้อื แบคทเี รยี บาซิลลัส ซบั ทิลสิ ขึ้นอยู่กบั ชนดิ เมล็ดพืชและเชือ้ สาเหตุของโรค
ใชพ้ ันธุ์ตา้ นทานโรค แมลง และ/หรือวัชพชื
2) การเตรียมแปลงเพาะกล้า
อบดนิ ดว้ ยไอนำ้�
คลกุ ดนิ ดว้ ยเชอ้ื ราปฏปิ กั ษ์ เพอ่ื ควบคมุ เชอ้ื ราทเ่ี ปน็ สาเหตขุ องโรคในระยะกลา้
กรมส่งเสริมการเกษตร
13
3) การเตรยี มแปลงปลูก
ไถพรวนและตากดิน 1 - 2 สัปดาห์ ให้
เมลด็ วัชพชื งอกแล้วไถกลบอกี ครงั้ หน่ึง
ใช้พลาสติกใสที่ไม่ย่อยสลายคลุม
แปลงปลูกเพื่อก�ำจดั ศตั รูพืชในดนิ โดยใชแ้ สงแดด
ใช้ปูนโดโลไมท์หรือปูนขาวท่ีได้
จากธรรมชาติ เพื่อปรับสภาพความเป็นกรด เป็นด่างของดิน
ทำ� ให้ไมเ่ หมาะสมตอ่ การเจริญเติบโตของเชอ้ื โรค
ใช้น้�ำท่วมขังทว่ มแปลงเพอ่ื ควบคมุ โรคและแมลงที่อยู่อาศัยในดนิ
ตากดนิ ให้แหง้ เพ่ือกำ� จัดแมลงในดนิ
ใส่เช้ือราปฏปิ กั ษ์ เชน่ ไตรโคเดอรม์ า ลงในดินสำ� หรบั พื้นท่ที มี่ กี าร
ระบาดของเชอื้ ราบางชนดิ
5.2 ระยะทพ่ี ชื กำ� ลังเจรญิ เตบิ โต
1) การควบคุมโรค เมอื่ มกี ารระบาดของโรคใหป้ ฏบิ ัตดิ ังน้ี
โรยเชื้อราปฏปิ ักษ์รอบโคนต้น
เกบ็ ชนิ้ สว่ นของพชื ทเ่ี ปน็ โรคออกจากแปลงปลกู และนำ� ไปเผาทำ� ลาย
ใชเ้ ช้อื แบคทีเรีย บาซลิ ลสั ซบั ทิลิส พน่ หรือทาแผลทีต่ ้นพืช
สารทอ่ี นญุ าตใหใ้ ชค้ วบคมุ โรค ได้แก่
กํามะถนั
บอรโ์ ดมิกเจอร์
พชื สมนุ ไพรและสารสกดั จากสมนุ ไพร
คอปเปอร์ไฮดรอกไซด์
คอปเปอร์ออกซคี ลอไรด์
2) การควบคมุ แมลง
สำ� รวจแมลง และศตั รพู ชื อนื่ ๆ ในแปลงปลกู
หากพบแมลงศัตรพู ชื ให้ปฏบิ ัติ ดังนี้
กรณีแมลงศัตรูพืชมีจ�ำนวนน้อย ให้ใช้วิธีการควบคุมทางชีวภาพ
ไดแ้ ก่
¡ พืช หรือสารสกดั จากพืชสมุนไพร เชน่ ดาวเรอื ง วา่ นน้ำ� พริก
สาบเสอื หางไหลแดง สะเดา เป็นต้น
ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรยี ์
14
¡ ใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ เช่น เชื้อไวรัส
เอน็ พวี ี ใชเ้ ช้ือแบคทีเรยี บีที ใชไ้ สเ้ ดือนฝอย ใชศ้ ตั รูธรรมชาติ
ใช้เช้ือราเมตาไรเซยี ม
¡ ใชต้ ัวห้�ำ ตวั เบยี น
¡ ใช้นำ้� สบู่หรือน�้ำ
¡ ใช้สารทำ� หมันแมลง
¡ ใชก้ บั ดักกาวเหนียว
กรณแี มลงศัตรูพชื ระบาด จำ� นวนมาก
¡ ใช้กบั ดกั กาวเหนยี ว กบั ดกั แสงไฟ เพอ่ื ลดปรมิ าณแมลง
¡ ใชไ้ ว้ทอ์ อยส์ หรือ มนิ เนอรัลออยล์ ทไ่ี ด้จากธรรมชาติ
3) การควบคุมวชั พชื
ควรควบคุมวชั พชื ก่อนออกดอก หรือตดิ เมลด็ เพื่อลดปรมิ าณวชั พืช
ทสี่ ะสมในดินฤดูตอ่ ไป
ใช้วธิ กี ารทางกายภาพ หรอื วธิ ีกล ใชก้ ารอบ ตาก บด ถอน ตัด ฯลฯ
ปลกู พืชตระกลุ ถว่ั คลุมดิน
คลุมดินด้วยพลาสตกิ ทบึ แสงท่ไี มย่ ่อยสลาย
ใชส้ ารสกดั จากพชื
ใชช้ วี วธิ ี เช่น แมลง สัตว์ หรือจุลินทรยี ์
หมายเหตุ :
1. จลุ ชพี ทใี่ ชใ้ นการควบคมุ ศตั รพู ชื ทงั้ หมดทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ ตอ้ งไมผ่ า่ นการตดั ตอ่
สารพนั ธกุ รรม
2. สารอน่ื ๆ ทน่ี อกเหนอื จากทกี่ ลา่ วมาแลว้ หากจะนำ� มาใชใ้ นการผลติ พชื อนิ ทรยี ์
ต้องผ่านการพจิ ารณาจากคณะกรรมการตรวจสอบและออกใบรบั รองกอ่ น
กรมสง่ เสริมการเกษตร
15
6. การจัดการเก็บรักษาและขนส่ง
ผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ จะต้องได้รับ
การเก็บรักษาให้คงสภาพคุณภาพที่ดี ในระหว่างเวลา
การเตรยี มการและขนส่ง ตามขอ้ ปฏิบัติดงั น้ี
6.1 ผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์
ต้องได้รับการคัดแยกจากผลิตผล หรือผลิตภัณฑ์
ท่ีไม่ใช่เกษตรอินทรีย์ ตลอดกระบวนการจัดการเพื่อ
การขนสง่ ตั้งแตก่ ารย้ายภายในแหล่งผลติ จนถึงการขนส่ง
เพอื่ จ�ำหนา่ ย โดยตดิ เครือ่ งหมายแสดงชดั เจน
6.2 ผลติ ผลหรอื ผลติ ภณั ฑเ์ กษตรอนิ ทรยี ์ ตอ้ งไดร้ บั การปอ้ งกนั การสมั ผสั และ
ปนเปือ้ น จากวสั ดุ และสารสงั เคราะห์ตอ้ งหา้ มใดๆ ตามมาตรฐานนี้ ตลอดระยะเวลา
ของขบวนการเกบ็ รกั ษา และขนสง่
6.3 พ้ืนท่ีของการเก็บรักษา และขนส่ง จะต้องได้รับการท�ำความสะอาด
ตามระบบ และใชว้ ัสดุ หรือสารทใ่ี หใ้ ช้ตามมาตรฐานนี้
7. แควผานมกหาลราเกกหบ็ ลเกายี่ยวทพางืชชปวี ่าภแาลพะแกลาะรสอ่งิ นแุรวดกั ลษ้อ์ ม
การเก็บรวบรวม หรือเก็บเกี่ยวพืชป่า เพื่อขอหนังสือรับรองการเป็นผลิตผล
หรือผลิตภัณฑ์อินทรีย์ จะกระท�ำได้ต่อเม่ือแผนปฏิบัติการดังกล่าวได้รับอนุมัติโดย
คณะกรรมการบริหาร การวิจัยและพัฒนาเกษตรอินทรีย์ กรมวิชาการเกษตร หรือผู้ท่ี
ไดร้ บั มอบหมาย
แผนปฏิบตั ิการ มีองคป์ ระกอบดังน้ี
1) แผนท่ีและประวัติการใช้พ้ืนท่ี (ต้องไม่มีการใช้
สารต้องหา้ มอยา่ งน้อย 3 ปี ยอ้ นหลัง)
2) ชนิดพชื ที่จะท�ำการรวบรวม หรอื เกบ็ เกย่ี ว
3) ขอบเขตพ้ืนท่ที ีจ่ ะด�ำเนินการ
4) วธิ กี ารเกบ็ รวบรวม หรอื เกบ็ เกย่ี ว (ทไ่ี มท่ ำ� ลาย
ส่งิ แวดลอ้ ม และไม่กระทบกระเทือนต่อความหลากหลาย
ทางชวี ภาพ)
ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
16
8. กระบวนการออกใบรับรอง
เป็นการรับรองคุณภาพผลิตผล/ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์
เพ่ือแสดงว่าสินค้านั้นๆ ได้ผ่าน การตรวจสอบ รับรองตาม
มาตรฐานการผลติ พชื อนิ ทรยี แ์ ลว้ ซงึ่ มขี น้ั ตอนการดำ� เนนิ งาน
คอื
1) ผผู้ ลิต/ผู้ประกอบการ ยนื่ ค�ำรอ้ งขอหนังสือ
รบั รองเกษตรอนิ ทรยี ์ โดยมรี ายละเอยี ด ในใบคำ� รอ้ ง ดงั น้ี
ชื่อ และท่ีอย่ขู องผู้ผลิต/ผปู้ ระกอบการ
สถานทต่ี ง้ั ของพ้นื ท่ปี ระกอบการ
รายละเอียดของผลิตผล/ผลิตภัณฑ์ และ
ขบวนการผลติ
ลงชื่อผู้ยนื่ คำ� ร้อง
2) หนว่ ยงานตรวจสอบ จะสง่ เจา้ หนา้ ทไ่ี ปตรวจ
สอบการผลิต บนั ทึกขอ้ มลู การผลติ และหรอื สุ่มตัวอยา่ ง
เพื่อการวเิ คราะห์ตามมาตรฐานท่ที ง้ิ ไว้
3) หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบจะออกใบรบั รองผลการ
วิเคราะห์ ว่าผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์น้ันๆ ผลิตตามวิธีการ
ของเกษตรอนิ ทรีย์
9. การจดั การหลังการเก็บเก่ียว
1) สารทใี่ ชใ้ นการดำ� เนนิ การหลงั การเกบ็ เกย่ี วตอ้ ง
เปน็ สารจากธรรมชาติ ยกเวน้ สารเคมี สงั เคราะหท์ อ่ี นญุ าต
ใหใ้ ช้ได้ตามมาตรฐานนี้
2) มีแผนการบริหารจัดการ หรือบันทึกข้อมูล
โรงเก็บ (Ware House) ระบุการปฏิบัติการควบคุม
ใหถ้ ูกสุขลักษณะ ดงั น้ี
ลักษณะของโรงเก็บสะอาด มอี ากาศถา่ ยเท
สะดวก
มกี ารป้องกนั นก หนู แมลง ปนเป้อื น
กรมส่งเสริมการเกษตร
17
มกี ารจดั ระเบียบภายในเหมาะสมต่อการปฏบิ ัติงาน
มกี ารจัดระเบยี บและชีบ้ ่งผลผลิตแตล่ ะชนดิ ห้ามวางผลิตผลบนพืน้
มอี ุปกรณ์ทีจ่ ำ� เปน็ /เหมาะสมในการเกบ็ รกั ษาผลผลติ แต่ละชนิด
เลือกใช้เครื่องมือ/วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการบรรจุหีบห่อท่ีไม่ท�ำลาย
สงิ่ แวดล้อม
10. การแปรรูป
การแปรรปู ผลติ ผลอนิ ทรยี ์ เปน็ การจดั การตาม
หลกั การและวธิ กี ารปฏบิ ตั กิ ารทดี่ ใี นการผลติ ใหเ้ ปน็ ไป
ตามข้อก�ำหนด และมาตรฐานของขบวนการผลิต
ผลิตภณั ฑเ์ กษตรอนิ ทรยี ์ ดังนี้
1) วัตถุดบิ
ผลิตผลต้องมาจากขบวนการผลิต
โดยเกษตรอินทรยี ์ท่ีผ่านการรับรองแล้ว
มกี ารวางแผนการจดั การและการศกึ ษา
ข้อมูล ข้อก�ำหนดมาตรฐาน สารที่ยอมให้ใช้/ ห้ามใช้
ส่ิงปนเปื้อนในวัตถุดิบ ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่
หนว่ ยงานผูร้ บั ผิดชอบ หรอื มาตรฐานทกี่ ำ� หนด
2) ขบวนการผลติ สารเจอื ปน สารทย่ี อมใหใ้ ช้
ห้ามใช้ ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์
อินทรยี ์
3) การบรรจุหีบห่อ
วสั ดทุ ใี่ ชค้ วรเปน็ วสั ดทุ ป่ี ลอดภยั และเปน็ ไป
ตามข้อก�ำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อินทรีย์ของ
แตล่ ะประเทศและไม่ท�ำลายส่ิงแวดล้อม
ระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์
18
รายชื่อวัสดทุ ใ่ี ชใ้ นการแปรรูป
สารเสรมิ แตง่ อาหาร และวัสดุเสรมิ แตง่
กรดก�ำมะถัน แอสคอร์บิก โซเดียมแอสคอร์เบท และโพแทสเซียม
แอสคอร์เบท กรดทาร์ทาริคและเกลือของกรดน้ี กรดแลคติก กรดมาลิก
กรดซติ รกิ และเกลอื ของกรดนี้ กรดอะซติ ิก กรดแทนนกิ ข้ผี ้ึง (Wax) ไขคาร์นอบา
คาร์บอนไดออกไซด์ เคซีอีน (Casein) เครื่องเทศ (Spices) แคลเซียมคลอไรด์
แคลเซียมไฮดรอกไซด์ แคลเซียมคาร์บอเนต แคลเซียมซัลเฟต เกลือทะเล
ซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์ เจลลาติน (Gellatin) โซเดยี มคารบ์ อเนต โซเดียมไฮดรอกไซด์
ดินเบา ดินขาว ดินเบนโทไนท์ ถ่านกัมมันต์ ไนโตรเจน น�้ำผึ้ง (Honey)
เปลือกเมด็ มะมว่ งหมิ พานต์ แป้ง (Starch) จากขา้ ว ขา้ วโพด มันส�ำปะหลงั มนั ฝรงั่
ฯลฯ โพแทสเซียมคลอไรด์ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ผงฟู ซึ่งปลอดจาก
สารอะลูมินั่ม (Aluminum- Free Leavening Agents) แมกนีเซียมคลอไรด์
แมกนีเซียมคาร์บอเนต ยางไม้ (Gum) วุ้นจากสาหร่ายทะเล เอนไซม์ซึ่งใช้ช่วย
ในการแปรรูป สารให้สีจากธรรมชาติ สมุนไพร (Herbs)สารท�ำข้นคาร์แรจีแนน
(Carrageenanas) ส่าหมักจุลินทรีย์ (Fermented Organisms) แอมโมเนียม
คารบ์ อเนต อารก์ อน ออกซิเจน โอโซน ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
สารที่ใช้ในการท�ำความสะอาด
กรดฟอสฟอริก คอสติก โพแทส จาเวลวอเตอร์ โซเดียมไบคาร์บอเนต
น้�ำส้มหมักจากพืช ผลไม้ น�้ำด่าง ปูนขาว ผงซักฟอกที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ
สารละลายด่างทบั ทมิ สารฟอกขาวถึง 10 % ไอโอดนี ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
หมายเหตุ :
ข้อก�ำหนดการใช้วัสดุดังกล่าวข้างต้นให้เป็นไปตามมาตรฐานระหว่าง
ประเทศ เช่น Codex Alimentarius
กรมส่งเสริมการเกษตร
19
มาตรฐาน
เกษตรอินทรีย์
ความเปน็ มาของมาตรฐานเกษตรอินทรยี ์
ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ไดม้ กี ารประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ผิ ลติ ภณั ฑอ์ าหารอนิ ทรยี ์
(Organic food Production Act-OFPA) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) และมี
การแก้ไขในปี พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996)
ตลาดร่วมกลุ่มประเทศในยุโรป (European Unity : EU.) ได้มีการรวบรวม
ข้อก�ำหนดของผลิตผลเกษตรอินทรีย์ไว้ในข้อก�ำหนดของสภาตลาดร่วมยุโรป (EEC
No. 2092/91) และฉบบั แกไ้ ข ขอ้ กำ� หนดสว่ นใหญใ่ หค้ ำ� แนะนำ� ในการนำ� เขา้ อาหารอนิ ทรยี ์
ที่ผลิตจากประเทศอื่น ภายใต้มาตรฐานการผลิต และมาตรการตรวจสอบท่ีเหมือนกัน
ทุกประการ
ประเทศญี่ปุ่น รัฐบาลญี่ปุ่น ได้ประกาศใช้มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เมื่อวันท่ี 1
เมษายน พ.ศ. 2544 โดยอ้างอิงกฎหมายมาตรฐานเกษตรญ่ีปุ่น (Japan Agriculture
Standard – JAS)
ประเทศไทย ได้มีการก�ำหนดใช้มาตรฐานการผลิตพืชอินทรีย์ หลังจากผ่านการ
ปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหท้ นั สมยั มาเปน็ ลำ� ดบั โดยคณะทำ� งานเฉพาะกจิ ปรบั ปรงุ มาตรฐานการผลติ
พืชอินทรีย์ของประเทศไทยและผ่านการเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารงานวิจัยและ
พัฒนาเกษตรอินทรยี ์ กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเมอื่ วนั ที่ 28
ธนั วาคม 2552 สำ� นกั งานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแหง่ ชาติ กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ ก็ได้ออกมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ฉบับปรับปรุง เล่ม 1 : การผลิต แปรรูป
แสดงฉลาก และจ�ำหน่ายเกษตรอินทรีย์ เพื่อเป็นมาตรฐานกลางในการตรวจสอบและ
ให้การรับรองสินค้าเกษตรอินทรีย์ ใช้แทนเล่มเดิมซึ่งได้ยกเลิกการใช้ นอกจากน้ียังมี
เกษตรอินทรีย์ เล่ม 2 : ปศสุ ตั ว์อนิ ทรยี ์ เกษตรอนิ ทรยี ์ เลม่ 3 : อาหารสตั วน์ ้ำ� อินทรีย์
เกษตรอนิ ทรยี ์ เล่ม 4 : ขา้ วอนิ ทรยี ์ และล่าสุดเม่อื วนั ท่ี 28 ธนั วาคม 2553 ได้มีมาตรฐาน
สนิ ค้าเกษตรอินทรีย์ เลม่ 5 : ปลาสลิดอนิ ทรีย์ เปน็ ตน้
ระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์
20
สมาพันธเ์ กษตรอินทรียน์ านาชาติ (International Federation of Organic
Agriculture Movement – IFOAM) ได้จดั ท�ำเกณฑ์มาตรฐานขนั้ ตำ�่ สำ� หรับตรวจสอบ
รับรองเกษตรอินทรีย์เป็นที่ยอมรับในกลุ่มประเทศในยุโรป โดยมีหน่วยงานท่ีท�ำหน้าท่ี
ตรวจรบั รอง คือ IOAS
สมาคมดินแห่งสหราชอาณาจักร (Soil Association UK) เป็นองค์กรที่ให้
ความส�ำคัญต่อเกษตรอินทรีย์ มีประวัติความเป็นมายาวนาน ได้พัฒนามาตรฐาน
การผลิตเกษตรอินทรีย์ และเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในสหราชอาณาจักร และใน
หลายประเทศทว่ั โลก
องคก์ รเครือขา่ ย (Pesticide Network Action : PNA) เป็นองค์กรเครือข่าย
ของสหราชอาณาจกั ร และประเทศเนเธอแลนด์ ทก่ี �ำลงั ปฏิบตั กิ ารเคลอื่ นไหว ซ่งึ จะทำ� ให้
มาตรฐานเกษตรอินทรยี ์สากลเปน็ ไปไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
มาตรฐานการผลติ พชื อินทรยี ์ของประเทศไทย
มปี ระเดน็ หลักสำ� คัญ ดงั นี้
ทีด่ ินไม่อยใู่ นสภาพแวดลอ้ มที่ตำ�่ กวา่ มาตรฐานกำ� หนด
พนื้ ท่ปี ลกู ตอ้ งไมม่ ีสารเคมีสงั เคราะหต์ กคา้ ง
ไมใ่ ช้สารเคมสี ังเคราะห์ในกระบวนการผลติ
ไมใ่ ช้เมลด็ พันธ์ทุ ี่คลกุ สารเคมสี ังเคราะห์
ไมใ่ ชส้ ิง่ ทไี่ ดจ้ ากการตดั ตอ่ ทางพนั ธกุ รรม
ไม่ใช้มลู สตั วท์ ่เี ล้ียงอยา่ งผดิ มาตรฐาน
ปัจจยั การผลติ จากภายนอกตอ้ งได้รบั การรับรองมาตรฐาน
กระบวนการผลิตตอ้ งปราศจากสง่ิ ปนเปือ้ นสารเคมสี งั เคราะห์
สง่ เสรมิ ความหลากหลายทางชีวภาพ และสิ่งแวดล้อม
ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานอยา่ งเปน็ ทางการ
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
21
การขอใบรับรอง
พชื อนิ ทรีย์
กรมวิชาการเกษตรและกรมการข้าว
โดยกรมวชิ าการเกษตรจะเป็นผอู้ อกใบรบั รองผลติ ผลพชื อินทรีย์ และ กรมการขา้ วเป็น
ผู้ออกใบรับรองผลิตผลข้าวอินทรีย์ในนามหน่วยงานของรัฐบาล ผู้ประสงค์จะได้ใบรับรอง
ต้องปฏิบตั ิ ดังน้ี
ย่ืนค�ำร้องขอหนังสือรับรองฯ ไดท้ ่ี
ส�ำนักพฒั นาระบบและรับรองมาตรฐานสินคา้ พืช (สมพ.)
กรมวิชาการเกษตร เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ : 0 2579 7520 โทรสาร 0 2940 5472
และ สำ� นกั พัฒนาผลิตภณั ฑ์ขา้ ว กรมการข้าว
เลขที่ 50 ถ.พหลโยธิน เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศพั ท์ : 0 2561 1970
หรอื สำ� นกั งานเกษตรอำ� เภอทกุ อ�ำเภอ
กรอกขอ้ ความตามแบบทก่ี ำ� หนด
กรมวชิ าการเกษตร หรอื กรมการขา้ วจะสง่ เจา้ หนา้ ทที่ ไ่ี ปตรวจสอบกระบวนการผลติ
พร้อมเกบ็ ตัวอยา่ งดนิ น�ำ้ และผลติ ผลมาวเิ คราะห์
หากได้มาตรฐานตามทว่ี างไว้จะออกใบรบั รองให้
ขณะนย้ี งั ไมต่ อ้ งเสียคา่ ใช้จ่าย (อาจมกี ารเปล่ียนแปลง)
ส�ำนักงานมาตรฐานการเกษตรอนิ ทรยี ์
เป็นผู้ออกใบรับรองผลิตผลเกษตรอินทรีย์ในนามของภาคเอกชน ผู้ประสงค์จะได้
ใบรับรองใหต้ ดิ ต่อไปที่
ส�ำนักงานมาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์
102 หมู่ 2 ซ.งามวงศ์วาน 23 ถนนงามวงศ์วาน ตำ� บลบางเขน
อ�ำเภอเมืองนนทบรุ ี จงั หวัดนนทบรุ ี 11000
โทรศัพท์ : 0 2952 6677, 0 2580 0934 และ 08 6892 3162
E-mail: [email protected]
ระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์
22
รขะอบงตบา่ มงาปตรระฐเาทนศและการตรวจสอบรับรอง
ปัจจุบันมีองค์กรตรวจสอบรับรองสินค้าเกษตรอินทรีย์ของต่างประเทศท่ีมา
ด�ำเนินการตรวจสอบรับรองสนิ ค้าเกษตรอินทรีย์ในประเทศไทย ดังน้ี
1. บรษิ ทั ไบโออะกรเิ สิรช์ (ไทยแลนด์) จ�ำกดั
716 อาคารพญาไท ชน้ั ท่ี 7 เลขที่ 31 ถนนพญาไท แขวงถนนพญาไท
เขตราชเทวี กทม.10400
โทรศพั ท/์ โทรสาร : 0 2640 1568
E-mail: [email protected]
www.bioagricert-thai.org
2. บรษิ ัท รับตรวจสนิ คา้ โพ้นทะเล จ�ำกดั (กรงุ เทพฯ)
เลขท่ี 12-14 ซอยเย็นอากาศ 3 ถนนเยน็ อากาศ แขวงชอ่ งนนทรี
เขตยานนาวา กทม. 10120
โทรศพั ท์ : 0 2286 4120 โทรสาร : 0 2287 2570
E-mail: [email protected]
www.omicbangkok.com
3. บริษัท Control Union World Group (Thailand) จำ� กดั
เลขที่ 9 หมู่ 9 ซอยลาซาน 77 ถนนสุขมุ วทิ 105 แขวงบางนา
เขตบางนา กทม.10260
โทรศพั ท์ : 0 2361 1960 โทรสาร : 0 2361 1970
www.controlunion.com
4. บริษทั SGS ประเทศไทย จำ� กัด
เลขท่ี 100 ถนนนางลน้ิ จี่ แขวงชอ่ งนนทรี เขตยานนาวา กทม.10260
โทรศพั ท์ : 0 2678 1813 โทรสาร : 0 2678 1362
www.sgs.co.th
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
23
ระบบการรบั รอง
Organic Thailand
การตรวจรับรอง Organic Thailand
แบ่งการรับรองออกเป็น 3 ลักษณะ คือ การรับรองฟาร์ม การรับรองการคัดบรรจุ
และการรับรองการแปรรูป โดยผู้ประสงค์จะขอรับการรับรองเป็นได้ท้ังเกษตรกรรายบุคคล
กลมุ่ เกษตรกร/สหกรณ/์ วสิ าหกจิ ชมุ ชน/โครงการ หรือนติ บิ คุ คลอน่ื ๆ กไ็ ด้
คุณสมบัติของเกษตรกร ต้องเป็นเจ้าของหรือผู้ถือสิทธิครอบครอง หรือผู้ท่ีได้รับ
มอบหมายให้ด�ำเนินการผลิตพืช มีช่ือในทะเบียนราษฎร์ของกรมการปกครอง สมัครใจและ
ยินดีท่ีจะปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเง่ือนไขในการรับรอง ไม่เป็นผู้เพิกถอนการรับรอง
เว้นแต่พ้นการเพิกถอนแลว้ 1 ปี และก่อนการตรวจประเมินเพ่ือขอรับการรบั รอง ผู้ยนื่ คำ� ขอ
ต้องมีการผลิตแบบอินทรีย์ตามมาตรฐานที่ประกาศก�ำหนด และต้องเป็นผู้ได้รับอนุญาต
ในการประกอบกิจการอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ส่วนคุณสมบัติของนิติบุคคล ต้องเป็น
เจา้ ของหรอื ผถู้ อื สทิ ธคิ รอบครอง หรอื ผไู้ ดร้ บั มอบหมายใหด้ ำ� เนนิ การผลติ พชื ตอ้ งจดทะเบยี น
นิติบุคคลถูกต้องตามกฎหมายไทย และสมัครใจขอรับการรับรอง และยินดีปฏิบัติตาม
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการรับรองที่กรมวิชาการเกษตรก�ำหนด รวมทั้งไม่เป็นนิติบุคคล
ทถ่ี กู เพิกถอนการรบั รอง เว้นแต่พน้ การเพิกถอนแลว้ 1 ปี
ส�ำหรับกลุ่ม / วิสาหกิจชุมชน / โครงการ สมาชิกกลุ่มต้องเป็นเจ้าของ หรือ
ผู้ถือสิทธิครอบครอง หรือได้รับมอบหมายให้ด�ำเนินการผลิตพืชกลุ่มเกษตรกรต้องได้รับ
การข้ึนทะเบียนตามกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง หรือกรณีไม่ได้ขึ้นทะเบียนตามกฎหมาย สามารถ
ขอรับการรับรองได้แต่ต้องมีสมาชิกไม่น้อยกว่า 5 คน และกลุ่มดังกล่าวอาจด�ำเนินการ
โดยนิติบุคคล หรือองค์กรอิสระก็ได้ นอกจากน้ีสมาชิกในกลุ่มต้องปลูกพืชชนิดเดียวกันท่ีขอ
การรบั รองอย่างนอ้ ย 2 ราย รวมทงั้ สมคั รใจขอรบั การรับรอง และยินดปี ฏิบัตติ ามหลักเกณฑ์
และเงื่อนไขในการรับรองท่ีกรมวิชาการเกษตรก�ำหนด อีกท้ังไม่เป็นกลุ่มที่ถูกเพิกถอน
การรับรอง เว้นแตพ่ น้ การเพกิ ถอนมาแลว้ 1 ปี
ทั้งนี้ การขอรับรองในลักษณะของกลุ่มหรือนิติบุคคล จะต้องมีระบบการควบคุม
ภายใน ซึ่งเป็นระบบควบคุมคุณภาพท่ีกลุ่มจัดท�ำข้ึน เพื่อประกันว่ากิจกรรมการผลิตของ
เกษตรกรสมาชิกและกิจกรรมอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้องในกลุ่มเป็นไปตามมาตรฐานการผลิตอินทรีย์
ระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์
24
และเป็นกลไกควบคุมดูแลให้สมาชิกปฏิบัติตามในการรับรอง โดยระบบการควบคุมภายใน
ต้องประกอบด้วย การท�ำสัญญา ใบสมัคร ค�ำรับรอง และหลักเกณฑ์เง่ือนไขของกลุ่ม
การฝึกอบรมสมาชิกกลุ่ม โดยสมาชิกต้องได้รับการอบรมความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการผลิต
พืชอินทรีย์ และได้รับคู่มือเก่ียวกับมาตรฐานการผลิตพืชอินทรีย์ หลักเกณฑ์และเงื่อนไข
ในการรบั รองของกรมวิชาการเกษตรและหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของกลมุ่
สำ� หรบั การควบคมุ เอกสารและการบนั ทกึ ตอ้ งมกี ารตรวจสอบและอนมุ ตั กิ อ่ นการใช้
ถ้าลา้ สมยั ต้องน�ำออกหรอื ระบไุ ว้ชดั เจน ซง่ึ ต้องเก็บเอกสารไว้อย่างน้อย 1 รอบการผลติ และ
ควรมขี อ้ มลู ครอบคลมุ รายชอ่ื สมาชกิ เลขทบ่ี ตั รประชาชน ทอ่ี ยู่ ทต่ี งั้ แปลง ขนาดพนื้ ทก่ี ารผลติ
ชนิดพืชท่ีของรับการรับรอง แผนการผลิตประมาณการผลผลิต และรายการปัจจัยการผลิต
ท่ีกลุ่มใช้ ในขณะท่ีการจัดการกับข้อร้องเรียน ต้องก�ำหนดแนวทางการรับเร่ืองร้องเรียน
ท่ีเก่ียวกับระบบการผลิตของสมาชิก การสืบสวนหาสาเหตุ การก�ำหนดแนวทางแก้ไข
การตดิ ตามผลการแกไ้ ข และการตอบกลบั ไปยงั ผรู้ อ้ งเรยี น ทง้ั น้ี เอกสารระบบควบคมุ ภายใน
ของกลุ่ม ต้องก�ำหนดและระบุไว้ให้ชัดเจน เช่น คู่มือการผลิต คู่มือระบบควบคุมภายใน
แบบฟอรม์ ตา่ งๆ เปน็ ตน้ และตอ้ งมกี ารตรวจตดิ ตามคณุ ภาพภายในของกลมุ่ ในรอบการผลติ เสมอ
รูปแบบการจัดองค์กรของกลุ่ม/นิติบุคคลท่ีขอรับการรับรองต้องก�ำหนดบทบาท
และหนา้ ทท่ี ชี่ ดั เจน สว่ นใหญจ่ ะประกอบดว้ ย ประธานกลมุ่ รองประธาน เหรญั ญกิ เลขานกุ าร
ประชาสมั พนั ธ์ และสมาชกิ โดยตอ้ งมผี ปู้ ระสานงานระบบควบคมุ ภายใน คณะกรรมการรบั รอง
ผู้ตรวจสอบแปลงภายใน เจ้าหน้าที่ของกรมส่งเสริมการเกษตรท�ำหน้าท่ีเป็นที่ปรึกษา และ
กรมวชิ าการเกษตรทำ� หน้าทเ่ี ปน็ หนว่ ยรับรอง
กระบวนการรบั รองจะเกิดขน้ึ เมอ่ื ผู้ประสงค์ขอรบั การรับรองยนื่ คำ� ขอ และเอกสาร
ทเี่ กย่ี วขอ้ งตอ่ กรมวชิ าการเกษตร จากนนั้ จะเปน็ ขนั้ ตอนของการตรวจสอบเอกสาร การคดั เลอื ก
ผตู้ รวจประเมนิ และวางแผนการตรวจประเมนิ การเตรยี มการตรวจ
ประเมิน และดำ� เนนิ การตรวจประเมิน หากไม่มขี อ้ บกพร่อง
ใดจะจัดท�ำรายงาน และแจ้งผลการตรวจประเมิน เข้าสู่
การพิจารณาของคณะกรรมการรับรอง และจัดท�ำ
ใบรับรองและขึ้นทะเบียนรายช่ือผู้ได้รับการรับรอง
จงึ มอบใบรบั รองใหก้ บั ผผู้ า่ นการประเมนิ และเผยแพร่
ผไู้ ดร้ บั การรบั รองใหส้ าธารณะทราบตอ่ ไป อยา่ งไรกต็ าม
หากมีการตรวจพบข้อบกพร่อง จะต้องแจ้งให้ผู้ขอรับ
การรับรองทราบและแก้ไขก่อนท่ีจะด�ำเนินการตรวจ
ประเมนิ ใหม่
กรมส่งเสริมการเกษตร
25
ตรารับรองมาตรฐาน
สินค้าอินทรยี ท์ ีค่ วรรูจ้ ัก
ตรารบั รองมาตรฐานสนิ คา้ อนิ ทรยี ท์ พ่ี บเหน็ ไดใ้ นประเทศไทยและควรทำ� ความรจู้ กั ไว้ จะแบง่ เปน็
3 ประเภท ดงั นี้
1. ตรามาตรฐานสนิ คา้ อินทรียข์ องประเทศ
ผู้นำ� เข้าสินคา้ อนิ ทรยี ร์ ายใหญ่
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอนิ ทรยี ์ IFOAM หรือ IFOAM Accredited
สมาพนั ธ์เกษตรอินทรยี น์ านาชาติ (International Federation
of Organic Agriculture Movements – IFOAM) ได้จัดท�ำโครงการ
รับรองระบบงานเกษตรอินทรีย์ IFOAM (IFOAM Accreditation
Program) ภายใต้กรอบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ IFOAM ซ่ึงปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกยอมรับเป็น
เกณฑ์มาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ข้ันต่�ำ สินค้าอินทรีย์เพื่อการน�ำเข้า เช่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
ฮ่องกง สิงคโปร์ มาเลเซยี เป็นต้น
นอกจากนี้ สหพันธ์ฯ ยังได้จัดตั้งหน่วยงานชื่อ International
Organic Accreditation Service – IOAS เพือ่ ทำ� หน้าทใี่ ห้บริการรบั รอง
หน่วยงานผู้ตรวจรับรองเกษตรอินทรีย์ทั่วโลกภายใต้กรอบมาตรฐาน
เกษตรอินทรีย์ IFOAM ซึ่งหน่วยงานผู้ตรวจรับรองเกษตรอินทรีย์
ท่ีได้รับการรับรองจาก IOAS จะมีค�ำว่า “IFOAM Accredited”
เป็นตราสัญลักษณ์มาตรฐานท่ีแสดงไว้คู่กับตราสัญลักษณ์ของหน่วยงานผู้ตรวจน้ันๆ ตัวอย่างเช่น
ตรารับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ IFOAM ของส�ำนกั งานมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์ หรอื มกท. (Organic
Agriculture Certification Thailand – ACT) จะมีตรา IFOAM Accredited อยใู่ ตส้ ัญลกั ษณข์ อง มกท.
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรยี ์สหภาพยโุ รป (EU)
การแสดงตรามาตรฐานเกษตรอินทรีย์
สหภาพยุโรปท่ีถูกต้อง จะต้องมีเลขรหัสหน่วยงาน
ที่ท�ำการตรวจรับรองของสหภาพยุโรป ซึ่งระบุ
ประเทศของหนว่ ยงานผตู้ รวจรบั รองกำ� กบั ไว้ พรอ้ มกบั
ระบุประเทศแหล่งที่มาของสินค้าอินทรีย์น้ันๆ ไว้ใต้
ตรามาตรฐานดว้ ย (ดูตัวอยา่ ง ตรามาตรฐาน EU ของ มกท. ด้านขวามือ)
ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรยี ์
26
สหภาพยุโรปยังไม่อนุญาตให้ใช้ค�ำว่า 100% Organic หรือ อินทรีย์ 100% บนฉลากสินค้าด้วย
ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อ่ืนท่ีสหภาพยุโรปยอมรับ ได้แก่ ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แคนาดา
(เฉพาะท่ีผลิตในประเทศแคนาดา) และระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหรัฐอเมริกา (เฉพาะท่ีผลิต
ในประเทศสหรฐั อเมริกา)
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอนิ ทรยี ์สหรัฐอเมรกิ า
(National Organic Program – NOP)
แผนงานเกษตรอนิ ทรยี แ์ หง่ ชาติ (NationalOrganic Program – NOP)
ด�ำเนินงานภายใต้การก�ำกับดูแลของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา (United
States Department of Agriculture – USDA) โดยระบบการตรวจรับรอง
เกษตรอินทรีย์นี้เร่ิมใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อื่น
ท่ปี ระเทศสหรัฐอเมรกิ ายอมรบั ได้แก่ ระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์แคนาดา (จากผู้ผลติ ท่วั โลก) และ
ระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ส์ หภาพยโุ รป (เฉพาะทผ่ี ลติ ในสหภาพยโุ รป) โดยการแสดงตรามาตรฐานฯ
ท่ยี อมรับตอ้ งแสดงค่กู ับตรามาตรฐานฯ ของสหรฐั อเมรกิ าเสมอ
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรียแ์ คนาดา
(Canada Organic Regime – COR)
รัฐบาลแคนาดาเร่ิมน�ำระบบ Canada Organic Regime (COR)
ออกบงั คบั ใชเ้ มอ่ื ปี พ.ศ.2552 ตามระเบยี บ Organic Products Regulations,
2009 โดยมี Canadian Food Inspection Agency (CFIA) เป็นหนว่ ยงาน
รบั ผิดชอบ การใช้ตรามาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี แ์ คนาดาทถ่ี กู ตอ้ ง ต้องมชี อ่ื สินค้า รหัสหนว่ ยงานทที่ �ำการ
ตรวจการรบั รองทอี่ อกโดย IOAS พรอ้ มกบั ระบปุ ระเทศผผู้ ลติ ทง้ั ภาษาองั กฤษและฝรง่ั เศสกำ� กบั ไวใ้ กลๆ้
ตรามาตรฐานฯ ใหเ้ หน็ ไดช้ ดั เจน ระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี อ์ น่ื ทปี่ ระเทศแคนาดายอมรบั ไดแ้ ก่ ระบบ
มาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหรัฐอเมริกา (จากผู้ผลิตทั่วโลก) ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรป
(เฉพาะทผี่ ลติ ในสหภาพยโุ รป) และระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ญ์ ปี่ นุ่ (เฉพาะทผ่ี ลติ ในญปี่ นุ่ ) เรม่ิ 1 ม.ค.
พ.ศ. 2558 โดยการแสดงตรามาตรฐานฯ ท่ยี อมรับต้องแสดงคกู่ บั ตรามาตรฐานฯ ของแคนาดาเสมอ
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ญี่ปุ่น
(Japanese Agricultural Standard – Organic JAS mark)
ก�ำกับดูแลของกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมง ของญ่ีปุ่น
(Ministry of Agriculture, Forestry and Fisheries – MAFF)
โดยการแสดงตรามาตรฐานฯ ที่ยอมรับต้องแสดงคู่กับตรามาตรฐานฯ
ของญี่ปุ่นเสมอ
กรมส่งเสรมิ การเกษตร
27
2. ตรามาตรฐานสินค้าอินทรยี ์ของ
หนว่ ยงานตรวจรบั รองเอกชนตา่ งประเทศ
ทีไ่ ดร้ ับความนยิ มและดำ� เนินการตรวจรับรอง
อยใู่ นประเทศไทย
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรยี ์ไบโออะกิเสิร์ช (Bioagricert)
บริษัท ไบโออะกริเสิร์ช (ไทยแลนด์) จ�ำกัด เป็น
สาขาย่อยของ Bioagricert S.r.I. จากประเทศอิตาลี
ผู้ประกอบการต้องได้รับการตรวจรับรองจากบริษัทนี้เท่านั้น
จึงจะใชต้ รารับรองนี้ได้
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอนิ ทรยี ์บีเอสซี
(BSC ÖKO-GARANTIE GMBH – BSC)
บีเอสซี เป็นบริษัทตรวจรับรองสินค้าอินทรีย์จากประเทศเยอรมันนี
มีตัวแทนในประเทศไทยอยู่ที่จ.เชียงใหม่ ผู้ประกอบการต้องได้รับการตรวจ
รบั รองจากบรษิ ทั น้ีเท่าน้นั จึงจะใชต้ รารบั รองนี้ได้
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรยี อ์ โี คเสิร์ช
(Ecocert)
อีโคเสิร์ช เป็นบริษัทตรวจรับรองสินค้าอินทรีย์จากประเทศฝรั่งเศส
ผู้ประกอบการต้องได้รับการตรวจรับรองจากบริษัทน้ีเท่านั้นจึงจะใช้
ตรารับรองนีไ้ ด้
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอนิ ทรยี ์ ไอเอ็มโอ-คอนโทรล
(IMO-Control)
บริษัทไอเอ็มโอ-คอนโทรล เป็นบริษัทตรวจรับรองสินค้าอินทรีย์
จากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีตัวแทนอยู่ในประเทศไทย ผู้ประกอบการ
ตอ้ งได้รบั การตรวจรับรองจากบรษิ ัทนีเ้ ท่านั้นจึงจะใช้ตรารบั รองนี้ได้
ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรยี ์
28
3. ตรามาตรฐานสินคา้ อนิ ทรียข์ องหน่วยงานประเทศไทย
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรยี ์ มกท.
(Organic Agriculture Certification Thailand – ACT)
นอกจากสัญลักษณ์ ACT-IFOAM Accredited แล้ว มกท.
ยงั มรี ะบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี เ์ ฉพาะ ทจี่ ดั ทำ� ขน้ึ สำ� หรบั ตรวจรบั รอง
การผลิตเกษตรอินทรีย์บางประเภทท่ีเพิ่งเริ่มพัฒนาข้ึนในประเทศและ
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อให้เหมาะกับผู้ประกอบการ
ในระยะเริ่มต้น ซ่ึงรวมถึง การเลี้ยงสัตว์ การเล้ียงผ้ึง และการประกอบอาหารส�ำหรับร้านอาหาร
ผปู้ ระกอบการทไี่ ดร้ บั การรบั รองตามระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์ มกท. จะใชต้ ราสญั ลกั ษณข์ อง มกท.
เป็นตรารบั รองมาตรฐาน
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอนิ ทรยี ์ สำ� นกั งานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและ
อาหารแหง่ ชาติ – มกอช.
(National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards
– ACFS) มกอช. ไดป้ ระกาศใช้ตรามาตรฐาน Organic Thailand เมอ่ื ปี พ.ศ. 2555
และถือเป็นตรามาตรฐานของประเทศไทย แต่ไม่ได้บังคับว่าการน�ำเข้าสินค้า
เกษตรอนิ ทรยี ห์ รอื สนิ คา้ เกษตรอนิ ทรยี ท์ ผ่ี ลติ ในประเทศไทยจะตอ้ งไดร้ บั มาตรฐาน
Organic Thailand นี้
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอนิ ทรยี ์ องคก์ รมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ภ์ าคเหนอื –
มอน. (The Northern Organic Standard Organization)
องค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือ จัดตั้งข้ึนโดยความร่วมมือของ
เกษตรกร ผบู้ รโิ ภค นกั วชิ าการจากองค์กรของรัฐ องคก์ รพฒั นาเอกชน และผสู้ นใจ
ทว่ั ไป โดยมงุ่ หวงั จะเปน็ องคก์ รทท่ี ำ� การรบั รองผลติ ผลของ เกษตรกรทท่ี ำ� การเกษตร
แบบเกษตรอินทรยี ์ เพ่ือสรา้ งความเชือ่ มัน่ ใหแ้ ก่เกษตรกรและผู้บรโิ ภคว่า ผลติ ผล
ที่ได้รับการรับรองจากองค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรีย์น้ัน เป็นผลิตผลท่ีปลอดจาก
สารพิษ สารเคมีสงั เคราะห์ และยงั เอ้ือต่อการรักษาสิง่ แวดลอ้ มอยา่ งแท้จริงดว้ ย
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ ส�ำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
สรุ ินทร์ (มก.สร.)
มาตรฐานเกษตรอินทรีย์สุรินทร์ (มก.สร.) พัฒนาข้ึนโดยคณะกรรมการ
มาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์จงั หวัดสรุ ินทร์ ตามแนวทางการพัฒนางานเกษตรอินทรยี ์
ของจังหวัดสุรินทร์ และได้รับอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการโครงการเกษตร
อินทรีย์จังหวัดสุรินทร์ในปี พ.ศ. 2547 โดยมีมาตรฐานครอบคลุมเฉพาะในเรื่อง
กรมสง่ เสริมการเกษตร
29
การผลิตพืช สัตวอ์ ินทรีย์ สตั ว์นำ�้ อินทรีย์ การจดั การเกบ็ เกย่ี ว การแปรรูปผลิตภณั ฑ์อินทรีย์ และปจั จัย
การผลิต ทง้ั น้ี มก.สร. จะท�ำการตรวจสอบและรบั รองผลติ ภณั ฑอ์ นิ ทรยี ์ไว้ในทุกข้นึ ตอน ตั้งแต่การผลิต
ในระดับแปลง การน�ำผลผลติ มาแปรรูป และจำ� หนา่ ยผลติ ภัณฑ์
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ ส�ำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
เพชรบรู ณ์ (มก.พช.)
มาตรฐานเกษตรอินทรีย์เพชรบูรณ์ พัฒนาขึ้นจากงานวิจัยของ
นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรู ณ์ รว่ มกับชมุ ชน เกษตรกร ในปี
พ.ศ. 2553-54 เป็นมาตรฐานเฉพาะกลุ่มที่ใช้ตรวจรับรองผู้สมัครเป็นสมาชิก
เครอื ขา่ ยเกษตรอนิ ทรยี เ์ พชรบรู ณ์ ในสงั กดั สถาบนั เศรษฐกจิ พอเพยี งเครอื ขา่ ย
เกษตรอินทรีย์เพชรบูรณ์เท่าน้ัน โดยทางกลุ่มได้ใช้มาตรฐานน้ีเป็นมาตรการ
พัฒนาเครือข่ายเกษตรอินทรีย์เพ่ือความพอเพียง มั่งคั่ง ย่ังยืน และสร้าง
ความเขม้ แขง็ ใหก้ บั เกษตรกร จนเกดิ การรวมตวั พฒั นาเปน็ เครอื ขา่ ยอยา่ งยง่ั ยนื เปน็ รปู ธรรมมาถงึ ปจั จบุ นั
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ ชมรมเกษตรอนิ ทรีย์เกาะพะงนั
เป็นระบบการตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบชุมชนรับรอง
(Participatory Guarantee System – PGS) ทพ่ี ฒั นาขน้ึ โดยมลู นธิ สิ ายใยแผน่ ดนิ
ร่วมกับกลุ่มเกษตรกรและหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องบนเกาะพะงัน เม่ือปี พ.ศ. 2554
ภายใต้โครงการ “เกาะพะงัน เกาะเกษตรอินทรีย์” ซึ่งได้รับการสนับสนุน
จากกระทรวงพาณิชย์
สอบถามขอ้ มลู เพิ่มเติม
ท่านสามารถสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมเกี่ยวกบั เกษตรอินทรยี ์ ไดท้ ่ีหนว่ ยงานต่างๆ ดังนี้
1. กรมสง่ เสรมิ การเกษตร โทรศัพท ์ 0 2940 6127
2. กรมวิชาการเกษตร โทรศัพท ์ 0 2579 7520
3. กรมการข้าว โทรศพั ท ์ 0 2561 4970
4. กรมพัฒนาท่ีดิน โทรศพั ท ์ 0 2579 5545
5. กรมสง่ เสรมิ สหกรณ ์ โทรศพั ท์ 0 2281 9562
6. กรมประมง โทรศพั ท ์ 0 2561 4685
7. กรมปศุสตั ว์ โทรศัพท์ 0 2653 4444
8. สำ� นกั งานเศรษฐกิจการเกษตร โทรศพั ท ์ 0 2579 8615
9. สำ� นักงานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแห่งชาต ิ โทรศพั ท์ 0 2579 8434 ตอ่ 3029
10. กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์ โทรศพั ท์ 0 2282 6162
11. กระทรวงพาณชิ ย์ โทรศพั ท ์ 0 2507 6620
12. ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) โทรศัพท ์ 0 2644 6000 ตอ่ 141
13. สำ� นกั งานมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์ โทรศพั ท์ 0 2580 0934
14. สหกรณก์ รนี เนท โทรศัพท ์ 0 2277 9380-1
15. สหกรณ์เลมอนฟารม์ พัฒนา โทรศพั ท ์ 0 2575 3788
16. บรษิ ัทเซน็ ทรัล ฟดู้ รเี ทล จ�ำกดั โทรศพั ท์ 0 2937 1700 ตอ่ 733
17. ชมรมเกษตรอินทรีย์แห่งประเทศไทย โทรศัพท ์ 08 1900 5465
18. สมาคมการคา้ เกษตรอนิ ทรยี ์ไทย โทรศพั ท์ 0 2439 4848 ต่อ 2741
ระบบมาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์
30
เอกสารอ้างองิ
เกษตรอินทรีย.์ 2556. กรมส่งเสรมิ การเกษตร
มาตรฐานการผลติ พชื อนิ ทรยี ข์ องประเทศไทย. 2543. กรมวชิ าการเกษตร
วฑิ รู ย์ ปัญญากลุ . 2558 เกษตรอนิ ทรียค์ อื อะไร. มูลนิธสิ ายใยแผ่นดิน.
กรีนเนท. www.greennet.or.th
มาตรฐานสนิ ค้าเกษตร มกษ 9000 เล่ม 1-2552 เกษตรอินทรีย์ เลม่ 1 :
การผลติ แปรรปู แสดงสลาก และจำ� หนา่ ยผลติ ผลและผลติ ภณั ฑ์
เกษตรอินทรีย์. 2552. ส�ำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและ
อาหารแหง่ ชาติ
มูลนิธนิ วชีวัน. www.nawachione.org.
มลู นธิ สิ ายใยแผน่ ดนิ . กรีนเนท. www.greennet.or.th
กรมส่งเสรมิ การเกษตร
เอกสารค�ำแนะนำ� ท่ี 5/2559
ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
ทีป่ รกึ ษา
นายโอฬาร พทิ กั ษ ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
นายสงกรานต์ ภักดีคง รองอธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ การเกษตร ฝา่ ยบริหาร
นายคนิต ลิขิตวทิ ยาวฒุ ิ รองอธบิ ดีกรมส่งเสรมิ การเกษตร ฝา่ ยวชิ าการ
นายสุดสาคร ภัทรกลุ นษิ ฐ์ รองอธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ การเกษตร ฝา่ ยสง่ เสรมิ และฝกึ อบรม
นางอัญชลี สุวจติ ตานนท์ ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั พฒั นาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี
นายสำ� ราญ สาราบรรณ์ ผอู้ �ำนวยการสำ� นักสง่ เสริมและจดั การสนิ คา้ เกษตร
เรียบเรยี ง
นางสนุ สิ า ประไพตระกูล ผอู้ �ำนวยการกลุม่ คณุ ภาพและมาตรฐานสนิ ค้าเกษตร
นางวรรณนิภา ฉ่ำ� ฉว ี นักวิชาการเกษตรชำ� นาญการ
กลุ่มคณุ ภาพและมาตรฐานสินค้าเกษตร
ส�ำนกั ส่งเสริมและจดั การสินคา้ เกษตร
กรมส่งเสริมการเกษตร
จัดทำ�
นางอมรทพิ ย์ ภิรมยบ์ รู ณ์ ผอู้ �ำนวยการกลุม่ พัฒนาส่อื สง่ เสริมการเกษตร
นางสาวอ�ำไพพงษ์ เกาะเทยี น นกั วชิ าการเผยแพร่ชำ� นาญการ
กลุ่มพฒั นาสื่อส่งเสรมิ การเกษตร
ส�ำนกั พฒั นาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
กรมส่งเสรมิ การเกษตร