การเกบ็ รักษา
ผลไม้และผัก
สำนกั วจิ ัยและพฒั นาวิทยาการหลงั การเก็บเกีย่ วและแปรรูปผลติ ผลเกษตร
กรมวชิ าการเกษตร
ทปี่ รกึ ษา
สณทรรศน ์ นันทะไชย
เสริมสุข สลกั เพ็ชร์
คณะทำงาน
เบญจมาส รตั นชนิ กร
รตั ตา สทุ ธยาคม
คมจันทร ์ สรงจนั ทร์
ปรางค์ทอง กวานหอ้ ง
ศิรกานต์ ศรธี ญั รตั น ์
ภาณุมาศ โคตรพงศ์
อารีรตั น์ การณุ สถติ ย์ชัย
เนตรา สมบูรณ์แก้ว
สำนักวจิ ยั และพัฒนาวทิ ยาการหลังการเกบ็ เกยี่ วและแปรรูปผลิตผลเกษตร
กรมวชิ าการเกษตร
50 ถ. พหลโยธนิ แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900
โทรศัพท์ 0-2579-5582
พิมพ์ครั้งท่ี 1 2554 1,000 เลม่
ก
คำนำ
ปัจจัยสำคัญที่ต้องคำนึงถึงในการเก็บรักษาผักและผลไม้สด คือ อุณหภูมิ
และความชื้น อุณหภูมิมีความสำคัญต่อกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสรีระและ
การเส่ือมคุณภาพของผลิตผลสด การใช้อุณหภูมิต่ำท่ีเหมาะสมจะช่วยรักษา
คุณภาพและยืดอายุการเก็บรักษาของผลิตผลให้นานขึ้น ส่วนความชื้นน้ันจะมีผล
ต่อคุณภาพด้านความสดของผลิตผลโดยเฉพาะผักและผลไม้ท่ีมีผิวบาง
ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตผักและผลไม้สดเพื่อจำหน่ายท้ังในประเทศและ
ต่างประเทศ โดยที่ตลาดแต่ละแห่งและในแต่ละฤดูกาลจะมีอุณหภูมิและความชื้น
ท่ีแตกต่างกัน ซ่ึงมีผลกระทบต่อคุณภาพในการเก็บรักษาและการวางจำหน่ายของ
ผลิตผลสดได้ ดังน้ัน ในการเก็บรักษาผักและผลไม้สด จึงควรใช้อุณหภูมิและ
ความช้ืนท่ีเหมาะสมเพอื่ ใหผ้ ลติ ผลเหล่านี้สามารถเกบ็ ได้นานข้ึน
สำนกั วจิ ยั และพฒั นาวทิ ยาการหลงั การเกบ็ เกย่ี วและแปรรปู ผลติ ผลเกษตร
ได้จัดทำเอกสารเกี่ยวกับการเก็บรักษาผักและผลไม้สด โดยเน้นในเร่ืองของ
อุณหภูมิและความช้ืนเป็นหลัก เพื่อให้ผู้ผลิต ผู้ส่งออก และผู้เก่ียวข้องทราบ
ข้อมูล สำหรับเป็นแนวทางในการนำไปใช้ประโยชน์เพ่ือยืดอายุการเก็บรักษา
คุณภาพของผลิตผลสดต่อไป
(นางสาวเสริมสุข สลักเพ็ชร์)
ผู้อำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนาวิทยาการ
หลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร
ข
สารบญั
หน้า
คำนำ
ก
ผลไม ้ 1
กลว้ ยไข่ 2
กล้วยหอมทอง 4
แกว้ มังกร 6
เงาะ 8
ทเุ รยี น 10
มะมว่ ง 13
มงั คดุ 15
ลองกอง 18
ลำไย 20
ส้มเขยี วหวาน 22
สม้ โอ 24
26
ผกั
27
กะเพรา 29
มะเขอื เปราะ 31
เหด็ นางรม 33
เห็ดฟาง 35
เห็ดหอม 37
เหด็ หูหนู 38
โหระพา
40
ตารางแสดงอุณหภมู แิ ละความช้นื สัมพัทธ์ในการเก็บรกั ษาผลไม้และผกั
ผลไม
้
2
กลว้ ยไข่
ชือ่ สามญั : กลว้ ยไข่
Kluaikai
ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Musa sapientum L.
ดชั นกี ารเก็บเกยี่ ว
อายเุ ก็บเกย่ี วที่เหมาะสมของกล้วยไข่ คือ 35-45 วนั หลังตดั ปลี ทั้งนข้ี ึ้น
กับการดูแลรักษาในแปลงปลูก หรืออาจพิจารณาความอ่อนแก่จากลักษณะผล
กล้วยไขท่ ี่เหมาะกบั การส่งออกควรมผี ลที่ยงั เปน็ เหลยี่ ม และเนอ้ื มีสคี รมี กลว้ ยไข่ที่
เนอ้ื เร่ิมสุกจะไมท่ นทานต่อการขนสง่ การเก็บเก่ยี วกลว้ ยไข่น้นั ควรเกบ็ เกยี่ วในชว่ ง
เช้า และควรตัดเครือดว้ ยความระมดั ระวัง เครอื กล้วยทต่ี ัดมาแลว้ ควรห้มุ เครอื ดว้ ย
แผ่นฟองน้ำหรือแผ่นโฟมเพื่อป้องกันความเสียหายระหว่างการขนย้ายและขนส่งไป
โรงคัดบรรจุ
อุณหภูมิและบรรจุภณั ฑท์ เี่ หมาะสมในการเก็บรักษา
อุณหภูมิ* ระยะเวลาเกบ็ รักษา หมายเหต
ุ
(องศาเซลเซยี ส)
(วนั )
2
1
การเก็บรักษาที่ 2-10 องศาเซลเซียส นานข้ึน
5
2
กล้วยจะเกิดอาการสะท้านหนาวซ่ึงมีอาการเร่ิมต้น
คือ ผวิ กล้วยจะเรมิ่ เปลี่ยนเป็นสนี ำ้ ตาล เม่อื อาการ
10
5
รุนแรงข้ึนผิวจะมีสีน้ำตาลเข้ม ไม่สกุ และเนา่ เสยี
13-15
14-21
>20
10
* ความช้ืนสมั พทั ธ์ 90-95%
3
การบรรจุภัณฑ์สำหรับกล้วยไข่ดิบเพ่ือการส่งออก จะใช้กล่องกระดาษ
ลูกฟูกความจุ 12-18 กิโลกรัม บุภายในกล่องด้วยถุงโลวเดนซิต้ีโพลีเอทธิลีน (low
density polyethylene) โดยรองก้นถุงด้วยโฟมอ่อน เรียงหวีกล้วยชั้นเดียว แล้ว
ค่ันระหว่างหวีด้วยแผ่นโฟม แผ่นพลาสติกหรือกระดาษเพื่อป้องกันการเสียดสี
ระหว่างหวีขณะบรรจุและขนย้าย จากน้ันปิดถุงแล้วปิดกล่องแล้วขนส่งในอุณหภูมิ
ที่เหมาะสม คือ 13-15 องศาเซลเซียส เม่ือกล้วยถึงปลายทางจะถูกบ่มด้วย
เอทธิลีน ที่อุณหภูมิ 16-20 องศาเซลเซียส เพื่อให้กล้วยสุกสม่ำเสมอ พร้อม
จำหน่ายหรอื บรโิ ภค
บรรณานกุ รม
เบญจมาส รัตนชินกร. 2549. การคัดคุณภาพไม้ผลเมืองร้อนเพ่ือการส่งออก:
การคัดคุณภาพกลว้ ยไข.่ หนา้ 11-22.
4
กล้วยหอมทอง
ชือ่ สามัญ: กล้วยหอมทอง
Kluaihom thong
ชื่อวทิ ยาศาสตร:์ Musa (AAA group)
(Gros Michel)
ดชั นีการเกบ็ เก่ียว
อายเุ กบ็ เกีย่ วที่เหมาะสมสำหรบั กล้วยหอมสง่ ออก คือ 50 วัน ขน้ึ ไปหลัง
ตดั ปลี ทงั้ นี้ขน้ึ กบั การดูแลรักษาในแปลงปลกู หรอื อาจพิจารณาความอ่อนแกจ่ าก
ลกั ษณะผล คือ ผลกลว้ ยยงั เป็นเหลย่ี ม และเนือ้ มีสขี าว กลว้ ยท่ีมีเน้ือเหลอื งแสดง
วา่ แกจ่ ัดและเรม่ิ สกุ และจะไม่ทนทานต่อการขนส่ง การเกบ็ เกยี่ วกล้วยควรทำดว้ ย
ความระมัดระวัง เครือกล้วยที่ตัดมาแล้วควรหุ้มด้วยแผ่นฟองน้ำเพ่ือป้องกัน
ความเสยี หายระหว่างการขนยา้ ยและขนสง่ ไปโรงคดั บรรจุ
อณุ หภมู แิ ละบรรจุภณั ฑท์ ่ีเหมาะสมในการเก็บรักษา
อุณหภมู ิ* ระยะเวลาเกบ็ รกั ษา หมายเหต
ุ
(องศาเซลเซยี ส)
(วัน)
2
1
การเก็บรักษาที่ 2-10 องศาเซลเซียส นานขึ้น
5
3
กล้วยจะเกิดอาการสะท้านหนาวซ่ึงมีอาการเริ่มต้น
คอื ผวิ กลว้ ยจะเรม่ิ เปลีย่ นเปน็ สนี ้ำตาล เมอ่ื อาการ
10
5
รนุ แรงขนึ้ ผวิ ผลจะมสี นี ำ้ ตาลเขม้ ไมส่ กุ และเนา่ เสยี
13-14
14-21
* ความชื้นสัมพัทธ์ 90-95%
5
การบรรจุกล้วยหอมดิบเพื่อการส่งออกจะใช้กล่องกระดาษลูกฟูกความจุ
12-18 กิโลกรัม บุภายในกล่องด้วยถุงโลวเดนซิต้ีโพลีเอทธิลีน (low density
polyethylene) รองด้วยโฟมอ่อน เรียงหวีกล้วยจำนวนหนึ่งถึงสองชั้น แล้วค่ัน
ระหว่างหวีด้วยแผ่นโฟม แผ่นพลาสติก หรือกระดาษเพ่ือป้องกันการเสียดสี
ระหว่างหวขี ณะบรรจุและขนย้ายและการสง่ ออก
บรรณานุกรม
เบญจมาส รัตนชินกร. 2549. การคัดคุณภาพไม้ผลเมืองร้อนเพ่ือการส่งออก:
การคัดคุณภาพกล้วยหอมทอง. หนา้ 23-37.
6
แกว้ มงั กร
ชือ่ สามัญ : แกว้ มงั กร
Dragon fruit, Pitaya
หรือ Strawberry pear
ช่ือวิทยาศาสตร์ : Hylocereus undatus
(Haw.) Britt. & Rose
ดชั นีการเกบ็ เกี่ยว
อายุเก็บเกี่ยวท่ีเหมาะสมของแก้วมังกรพันธุ์เปลือกสีแดงเน้ือขาว คือ
ประมาณ 25-30 วันหลังดอกบาน หรือเมือ่ ผวิ เรม่ิ เปลยี่ นสไี ด้ 3-4 วัน ท้ังนขี้ ึ้นกับ
ตลาดที่รบั ซื้อ แก้วมงั กรท่มี ีรสชาตดิ ีควรมคี วามหวานไม่น้อยกว่า 13 บรกิ ซ์
อณุ หภมู แิ ละบรรจภุ ณั ฑท์ ่ีเหมาะสม ในการเก็บรักษา
อุณหภมู ิ* ระยะเวลาเกบ็ รกั ษา หมายเหต
ุ
(องศาเซลเซยี ส)
(วนั )
การเก็บรักษานานขึ้นผลแก้วมังกรจะเกิดอาการ
6
14
สะท้านหนาว และผลที่เก็บเกี่ยวอ่อน จะเกิด
อาการผดิ ปกตไิ ดภ้ ายใน 7 วนั
10
15-20
15
7-14
* ความชน้ื สมั พัทธ์ 90-95%
การเก็บรักษาแก้วมังกรในสภาพบรรยากาศดัดแปลงหรือถุงพลาสติกชนิด
โพลิไวนิลคลอไรด์ (polyvinyl chloride) ถงุ โพลเี อทธลิ ีน (polyethylene) จะชว่ ย
ยืดอายุการเก็บรักษาผลิตผลได้นานขึ้น เพราะสภาพบรรยากาศดัดแปลงจะช่วย
รกั ษาความชื้นและลดความเสยี หายจากการสญู เสียนำ้
7
บรรณานุกรม
จรญั ญา พงโศธร วารชิ ศรลี ะออง ทรงศลิ ป์ พจนช์ นะชยั และ ศริ ชิ ยั กลั ยาณรตั น.์
2549. ผลของสภาพบรรยากาศดัดแปลงต่อคุณภาพและอายุการเก็บ
รักษาแก้วมังกร. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร (ฉบับพิเศษ). 37(6):
713-716.
รัตตา สุทธยาคม และบุญญวดี จิระวุฒิ. 2552. อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเก็บ
รักษาแก้วมังกร. ใน รายงานผลงานวิจัยเรื่องเต็ม ประจำปี 2552.
สำนักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผล
เกษตร กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ. หน้า 132-150.
สุรพงษ์ โกสิยะจนิ ดา. 2545. แก้วมังกร พืชเศรษฐกิจ ผลไมส้ ขุ ภาพ. หา้ งหนุ้ ส่วน
จำกัด ฟันนพ่ี ับบลชิ ช่ิง. กรุงเทพฯ. 208 หนา้ .
Paull, R.E. 2007. Dragon fruit. Department of Tropical Plant and Soil
Sciences. University of Hawaii at Manoa, Honolulu, Hawaii.
USA. 3 pp.
8
เงาะ
ช่อื สามญั : เงาะ
Rambutan
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์: Nephelium lappaceum L.
ดัชนีการเกบ็ เกยี่ ว
อายุเก็บเกี่ยวท่ีเหมาะสมของเงาะสามารถพิจารณาได้จากสีผิวของผล
สำหรับเงาะพันธ์ุโรงเรียนซึ่งเป็นพันธ์ุหลักทางการค้าจะเริ่มเก็บเกี่ยวได้เมื่อสีผิว
เปล่ียนเป็นสีส้มแดง หรือพันธ์ุสีชมพูควรเก็บเก่ียวเมื่อสีของผลเปล่ียนเป็นสีชมพู
เรอ่ื ๆทงั้ ผล ทส่ี ำคญั คอื ไมค่ วรเกบ็ เกยี่ วผลเงาะชว่ งทมี่ แี ดดจดั เพราะจะทำใหเ้ งาะ
สญู เสยี นำ้ และเหย่ี วเรว็ และควรเกบ็ เกยี่ วดว้ ยความระมดั ระวงั เพอ่ื ปอ้ งกนั ผลชำ้
อุณหภูมิและบรรจภุ ัณฑ์ทเ่ี หมาะสมในการเก็บรกั ษา
อณุ หภูม*ิ ระยะเวลาเกบ็ รักษา หมายเหตุ
(องศาเซลเซยี ส)
(วนั )
<10
<14
การเก็บรักษานานขึ้นผลเงาะจะเกิดอาการสะท้าน
หนาว ผิวจะเร่ิมเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ในอาการ
10-13 *
14-16
รุนแรงผิวจะเปล่ียนเป็นสีน้ำตาลเข้ม มีกล่ินผิด
ปกติและเนา่ เสีย
30
3-7
เง า ะ ที่ ได้ รั บ ก า ร ฉา ย รั ง สี แ ก ม ม า ป ร ะ ม า ณ
* ความช้ืนสัมพทั ธ์ 90-95 %
300 เกรย์ จะเกบ็ ได้นานประมาณ 9 วนั
9
สภาพควบคุมหรือดัดแปลงบรรยากาศสามารถยืดอายุการเก็บรักษาเงาะ
ได้ เช่น เมื่อเก็บที่อุณหภูมิ 13 องศาเซลเซียส ในสภาพที่มีก๊าซออกซิเจนความ
เข้มข้น 3-5% และคาร์บอนไดออกไซด์ความเขม้ ขน้ 7-12% จะชว่ ยรักษาคณุ ภาพ
เงาะได้นาน 28 วัน การบรรจุในถุงโลวเดนซิต้ีโพลีเอทธิลีน (low density
polyethylene) ที่มีค่าอัตราการซึมผ่านของออกซิเจน 10,000-12,000 มิลลิลิตร/
ตารางเมตร/วัน อัตราการซึมผ่านของคาร์บอนไดออกไซด์ 30,000-36,000
มิลลิลิตร/ตารางเมตร/วัน และอัตราการซึมผ่านของไอน้ำ 5.74 มิลลิลิตร/ตาราง
เมตร/วัน และถุงลิเนียร์โลวเดนซิตี้โพลีเอทธิลีน (linear low density
polyethylene) ช่วยชะลอการเกิดสีน้ำตาลของเงาะและรักษาคุณภาพเงาะได้นาน
14-18 วัน
บรรณานกุ รม
นิลวรรณ ลอี งั กูรเสถียร สชุ าติ วิจติ รานนท์ ปัญจพร เลิศรตั น์ ภิรมย์ ขุนจนั ทกึ
เสริมสุข สลักเพ็ชร์ และอรวินทินี ชูศรี. 2551. ฐานข้อมูลงานวิจัย
กรมวิชาการเกษตร: การศึกษาการผลิตเงาะ. สืบค้นจาก:
http://it.doa.go.th/refs/search.php?formType=quickSearch&
showQuery=0&showLinks=1&quickSearchSelector=author&
quickSearchName=นิลวรรณ. [17 เมษายน 2554].
เบญจมาส รตั นชนิ กร ศริ ฏา ทมิ ประเสรฐิ วชั รพี ร โอฬารกนก ประเวทย์ แกว้ ชว่ ง
ดารนิ ทร์ กาํ แพงเพชร อมุ าภรณ์ สจุ ริตทวสี ขุ และ ยสวนั ต์ บษุ ปวนิช.
2554. ผลของรังสีแกมมาตอคุณภาพการเก็บรักษาเงาะพันธุโรงเรียน.
สบื คน้ จาก: www.doa.go.th. [8 มนี าคม 2554].
ศริ กานต์ ศรธี ญั รตั น์ เบญจมาส รตั นชนิ กร คมจนั ทร์ สรงจนั ทร์ และปรางคท์ อง กวานหอ้ ง.
2552. การเก็บรักษาเงาะในสภาพบรรยากาศดัดแปลง. สืบค้นจาก:
http://it.doa.go.th/refs/search.php?formType=quickSearch&
showQuery=0&showLinks=1&quickSearchSelector=author&
quickSearchName=เบญจมาศ. [8 มนี าคม 2554].
10
ทุเรยี น
ชือ่ สามัญ : ทุเรยี น
Durian
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Durio zibethinus
Murray
พนั ธหุ์ ลัก: หมอนทอง
ดัชนกี ารเกบ็ เกย่ี ว
การพจิ ารณาความแกข่ องผลทเุ รียนมหี ลายวิธี เชน่
- นบั อายผุ ล ตงั้ แตว่ นั ดอกบานจนถงึ วนั เกบ็ เกย่ี วประมาณ 120-135 วนั
สำหรบั พันธหุ์ มอนทอง
- ลักษณะก้านผล เม่ือผลทุเรียนเร่ิมแก่ก้านผลจะแข็งและมีสีเข้มขึ้น
เมื่อสัมผัสจะรู้สึกสากมือ บริเวณปากปลิงจะขยายใหญ่ข้ึน เห็นรอยต่อชัดเจน
เมื่อจับกา้ นผลแลว้ แกวง่ ผลทุเรยี น จะรสู้ กึ วา่ กา้ นผลมสี ปรงิ มากข้ึน
- ลักษณะหนาม ปลายหนามเร่ิมแห้ง มีสีน้ำตาลเข้ม ร่องหนามห่าง
เมื่อบบี หนามเข้าหากัน จะรสู้ ึกวา่ มีสปรงิ
- ลักษณะรอยแยกบนพู ผลทุเรียนท่ีแก่จัดจะมีรอยแยกบนพูชัดเจน
ยกเวน้ บางพนั ธท์ุ ม่ี ลี กั ษณะดงั กลา่ วไมช่ ดั เจน เชน่ พนั ธกุ์ า้ นยาว
- การเคาะผล ผลทุเรียนท่ีแก่เมื่อเคาะจะมีเสียงโปร่งๆ ส่วนเสียงจะ
หนกั หรอื เบาแตกต่างกนั ไปขน้ึ กับพันธ
ุ์
- สีเนอื้ ทุเรยี นท่แี ก่ไดท้ ส่ี เี น้อื จะเปลย่ี นจากสขี าวเปน็ สีเหลืองออ่ น หรือ
เหลอื งเข้ม ตามลักษณะประจำของแตล่ ะพันธุ์
- น้ำหนักเนื้อแห้ง ทุเรียนท่ีแก่ได้ที่โดยเฉพาะพันธุ์หมอนทอง ซ่ึงเป็น
พันธ์ุหลักในการส่งออก ควรมีเน้ือแห้งไม่น้อยกว่า 32% ส่วนพันธ์ุอื่น เช่น ชะนี
และกระดมุ ทอง ควรมเี นอื้ แหง้ ไมน่ อ้ ยกว่า 30 และ 27% ตามลำดับ
11
อุณหภูมแิ ละบรรจภุ ณั ฑ์ทเี่ หมาะสมในการเกบ็ รักษา
อณุ หภูมิ* ระยะเวลาเกบ็ รักษา หมายเหตุ
(องศาเซลเซยี ส)
(วัน)
การเก็บรักษานานข้ึนผลทุเรียนจะเกิดอาการ
สะท้านหนาว โดยผิวเปลือกผลจะเป็นสีน้ำตาล
2-5
9
บริเวณปลายหนาม แลว้ แผข่ ยายจนทัว่ ผล เน้อื ไม่
สุก และมีอาการยุบตัว เม่ือนำมาเก็บรักษาต่อที่
อุณหภูมิห้องทุเรียนจะแสดงอาการผิดปกติรุนแรง
10
12
ขึ้น คือ เปลือกจะปลิ ผิวเปล่ียนเป็นสีน้ำตาลคล้ำ
และเนา่ เสียงา่ ย
13-15
14
20
5-12
>30
2-9
* ความช้ืนสัมพัทธ์ 85-90%
ทเุ รยี นจะบรรจใุ นกลอ่ งกระดาษลกู ฟกู ขนาดบรรจุ 10-18 กโิ ลกรมั ตอ่ กลอ่ ง
โดยเรยี งหนึ่งถึงสองช้ัน
บรรณานุกรม
กรมวิชาการเกษตร. 2551. การผลิตทุเรียนอย่างถูกต้องและเหมาะสม Good
Agricultural Practice (GAP) for Durian - การปฏบิ ตั หิ ลงั การเกบ็ เกย่ี ว.
National Durian Database. สบื ค้นจาก: http://it.doa.go.th/durian/
detail.php?id=433. [14 เมษายน 2554].
. ทเุ รยี น. ระบบขอ้ มลู ทางวชิ าการ กรมวชิ าการเกษตร.
สืบค้นจาก: http://it.doa.go.th/vichakan/print.php?newsid=7.
[14 เมษายน 2554].
ธีรา แดงกนิษฐ์. 2538. การเปลี่ยนแปลงหลังการเก็บเก่ียวต่อคุณภาพของผล
ทุเรียนพนั ธ์ุหมอนทองสกุ ทรี่ ะดับอุณหภูมติ ่างๆ. ปญั หาพเิ ศษปรญิ ญาโท
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
42 หนา้ .
12
เบญจมาส รตั นชนิ กร และคมจนั ทร์ สรงจนั ทร.์ 2548. การจดั การอณุ หภมู เิ กบ็ รกั ษา
ผลทุเรียน. ใน รายงานผลงานวิจัยเรื่องเต็ม ปี 2548. สำนักวิจัยและ
พฒั นาวทิ ยาการหลงั การเกบ็ เกยี่ วและแปรรปู ผลติ ผลเกษตร กรมวชิ าการ
เกษตร. กรงุ เทพฯ. หนา้ 131-136.
สณทรรศน์ นันทะไชย. 2538. การคดั การกำหนดมาตรฐาน และการขนส่ง. ใน
ผลทุเรียน การเก็บเกี่ยวและการดำเนินการภายหลังการเก็บเกี่ยว.
ฝ่ายฝึกอบรม สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ.
หนา้ 24-44.
13
มะม่วง
ชอ่ื สามญั : มะม่วง
Mango
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Mangifera indica L.
พนั ธ์ุหลกั : นำ้ ดอกไม้สีทอง
และนำ้ ดอกไม้เบอร์ 4
ดัชนกี ารเกบ็ เก่ียว
มะม่วงเพื่อการบริโภคผลสุก ควรเก็บเกี่ยวเม่ือแก่ได้ที่ โดยพิจารณาจาก
จำนวนวันหลังดอกบาน สำหรับช่วงอายุที่เหมาะสมในการเก็บเก่ียวมะม่วงเพื่อการ
ส่งออก คือ อายุ 90-100 วัน หลังจากดอกบานเต็มท่ี ส่วนตลาดในประเทศควร
เก็บเก่ียวเม่ือผลมีอายุ 110-120 วัน หลังจากดอกบานเต็มท่ี อย่างไรก็ตาม อาย
ุ
เก็บเกี่ยวของมะม่วงอาจจะแตกต่างกันไปบ้างข้ึนกับฤดูกาลและพ้ืนท่ีปลูก ส่วนการ
คัดคณุ ภาพหลังเกบ็ เกยี่ วจะใช้ความถ่วงจำเพาะ โดยการนำมะมว่ งมาลอยนำ้ ผลท่ี
อ่อนจะลอยนำ้ สว่ นผลทแี่ กจ่ ดั จะจมนำ้
อณุ หภูมิและบรรจุภัณฑท์ เ่ี หมาะสม ในการเกบ็ รกั ษา
อุณหภมู *ิ ระยะเวลาเกบ็ รักษา หมายเหตุ
(องศาเซลเซยี ส)
(วนั )
2
2
การเก็บรักษาที่ 2-10 องศาเซลเซียส นานขึน้ จะ
5
5
เกิดอาการสะท้านหนาว โดยผิวของมะม่วงมีสีคล้ำ
ท่อลำเลยี งบริเวณผิวเปลี่ยนเปน็ สีนำ้ ตาล เนอื้ เย่อื
ที่ผิวยุบตัวเป็นจุดๆ ในอาการรุนแรง มะม่วงจะไม่
10
7
สุก และเน่าเสยี
13
15-20
>20
5-10
* ความชื้นสัมพทั ธ์ 85-95%
14
การบรรจุมะม่วงเพ่ือการส่งออกนิยมเรียงผลมะม่วงในกล่องกระดาษ
ลูกฟูกแบบเรียงชั้นเดียว รองก้นกล่องด้วยแผ่นฟองน้ำเพ่ือกันกระแทก ส่วนผล
มะม่วงจะหุ้มผลด้วยโฟมตาข่ายเพื่อกันการชอกช้ำเสียหาย สำหรับประเทศที่มี
ความเข้มงวดด้านกักกันพืช รูระบายอากาศท่ีกล่องต้องปิดด้วยตาข่ายเพ่ือป้องกัน
แมลง มะม่วงท่ีบรรจุเรียบร้อยแล้วหากขนส่งทางเรือควรลดอุณหภูมิผลมะม่วงให้
เยน็ กอ่ นบรรจุในตสู้ นิ ค้า
บรรณานกุ รม
เบญจมาส รัตนชินกร คมจันทร์ สรงจันทร์ ปรางค์ทอง กวานห้อง และ
ศิรกานต์ ศรีธัญรัตน์. 2548. ผลของอุณหภูมิต่ำต่อคุณภาพการเก็บ
รักษามะม่วงพันธ์ุน้ำดอกไม้สีทอง. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ
ครั้งที่ 5. ณ โรงแรมเวลคมั จอมเทยี นบชี พทั ยา. ชลบรุ ,ี 26-29 เมษายน
2548.
ศศธร อนิ ออ่ น และนธิ ยิ า รัตนาปนนท์. 2546. การตอบสนองของผลมะม่วงพันธุ์
นำ้ ดอกไมส้ ที องระหวา่ งการเกบ็ รกั ษาทอ่ี ณุ หภมู ติ ำ่ . วารสารวทิ ยาศาสตร์
เกษตร (ฉบับพิเศษ). 34(4-6): 33-36.
เสาวภา ไชยวงศ์. 2547. ความแตกต่างทางสรีรวิทยาและคุณภาพของผลมะมว่ ง
พันธุ์น้ำดอกไม้และน้ำดอกไม้สีทองระหว่างการเก็บรักษา. วิทยานิพนธ์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพืชสวน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
กรุงเทพฯ. 155 หนา้ .
15
มงั คดุ
ชอ่ื สามัญ : มงั คุด
Mangosteen
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Garcinia mangostana L.
ดชั นกี ารเก็บเก่ยี ว
อายุการเก็บเก่ียวของผลมังคุด คือ ช่วง 11-13 สัปดาห์ (77-91 วัน)
หลงั ดอกบาน หรอื อาจใชก้ ารเปลี่ยนแปลงสีผวิ เปน็ ตวั ชี้วดั หรอื ดัชนเี ก็บเกยี่ วได้ดงั นี้
ระยะ 1 สีผิวผลเป็นสีเหลืองหรือเขียวอ่อน และมีจุดสีชมพูกระจายทั่ว
ผล เน้ือยังไม่แยกจากเปลือก ผลที่เก็บเกี่ยวในระยะน้ีเรียกว่า
“ระยะสายเลือด”
ระยะ 2 สีผลเป็นสีเหลืองอมชมพู และมีจุดสีชมพูกระจายทั่วผล เน้ือ
แยกออกจากเปลือกได้
ระยะ 3 สีผิวเริ่มมีสีชมพูกระจายท่ัวทั้งผล เน้ือแยกตัวออกจากเปลือก
เตม็ ท่ี จดั เป็นระยะท่ีเหมาะสมสำหรับการเกบ็ เกย่ี วเพื่อการสง่
ออก
ระยะ 4 ผิวผลมีสีแดงหรือน้ำตาลแดง เป็นระยะท่ีเร่ิมสามารถนำมา
บรโิ ภคสดและสง่ ออก
ระยะ 5 ผิวผลเป็นสีแดงอมม่วง ซ่ึงเป็นระยะที่เหมาะสมสำหรับการ
รบั ประทานสดภายในประเทศ
ระยะ 6 ผิวผลมีสีม่วง ม่วงเข้ม หรือ สีม่วงดำ เป็นระยะท่ีเหมาะ
สำหรับการรับประทานสด และเป็นที่ต้องการของตลาดใน
ออสเตรเลยี
16
ระยะที่ 1 ระยะท่ี 2 ระยะท่ี 3
ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
อุณหภูมแิ ละบรรจุภณั ฑ์ทีเ่ หมาะสมในการเกบ็ รกั ษา
อณุ หภมู *ิ ระยะเวลาเกบ็ รกั ษา หมายเหต
ุ
(องศาเซลเซยี ส)
(วัน)
<5
5
การเก็บรักษานานขึ้น ผลมังคุดจะเกิดอาการ
สะทา้ นหนาว คอื สผี วิ ไมพ่ ัฒนาเข้มขึ้น ในอาการ
รุนแรงสีผิว ข้ัวและกลีบเลี้ยงจะเปล่ียนเป็นสี
8-10
8-10
นำ้ ตาล เปลอื กแขง็ เนอ้ื มกี ลนิ่ ผดิ ปกติ และเน่าเสยี
13-15
14-28
>20
10-14
* ความชน้ื สมั พัทธ์ 90-95%
นอกจากอุณหภูมิแล้ว กรรมวิธีอ่ืนหลังการเก็บเก่ียว เป็นต้นว่าการรม
ด้วยสารเมทธิลโบรไมด์ จะมีผลกระทบทำให้อายุการเก็บรักษาของมังคุดส้ันลงได้
สำหรับการบรรจุภัณฑ์ที่ช่วยให้มังคุดคงความสดได้ดี คือ การบุกล่องด้วยถุงหรือ
ฟลิ ์มพลาสติก
17
บรรณานกุ รม
กรมวชิ าการเกษตร. 2552. มงั คุด. ระบบขอ้ มูลทางวชิ าการ กรมวิชาการเกษตร.
สืบค้นจาก: http://it.doa.go.th/vichakan/news.php?newsid=41.
[14 เมษายน. 2554].
กวิศร์ วานชิ กุล. 2536. 35 คำถามกับการปลูกมังคุด. เอกสารเผยแพร่อันดบั ที่ 53.
ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ สำนักส่งเสริมและฝึก
อบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม.
สืบค้นจาก: http://www.eto.ku.ac.th/neweto/e-book/plant/tree_fruit/
mangoste.pdf. [14 เมษายน 2554].
เบญจมาส รตั นชินกร และคมจันทร์ สรงจันทร.์ 2548. การจดั การอณุ หภมู ิเกบ็
รักษามงั คดุ . ใน รายงานผลงานวจิ ยั เรอื่ งเตม็ ปี 2548. สำนกั วจิ ยั และ
พฒั นาวทิ ยาการหลงั การเกบ็ เกยี่ วและแปรรปู ผลติ ผลเกษตร กรมวชิ าการ
เกษตร. กรุงเทพฯ. หนา้ 212-217.
Mohamad, B. O. and A. R. Milan. 2006. Mangosteen – Garcinia
Mangostana L. Southampton Centre for Underutilised Crops,
University of Southampton, Southampton, UK. Retrieved April
14, 2011 from http://www.icuc-iwmi.org/files/Publications/
Mangosteen_Monograph.pdf.
18
ลองกอง
ชื่อสามญั : ลองกอง
Longkong
ช่ือวิทยาศาสตร์ : Aglaia dookoo Griff.
ดชั นกี ารเก็บเก่ียว
อายุเก็บเก่ียวที่เหมาะสมของลองกองคือ 12-13 สัปดาห์ หลังดอกบาน
ผลมีสีผิวเหลืองสม่ำเสมอโดยไม่มีสีเขียวปน ผลที่ปลายช่อเริ่มน่ิมลงเล็กน้อย ควร
เก็บเกยี่ วผลลองกองในชว่ งเช้า หากผลหรอื ช่อเปยี กน้ำต้องผ่ึงให้แห้งกอ่ น ทง้ั นเ้ี พ่ือ
ป้องกันการเกิดเชือ้ รา การเนา่ เสยี และการหลดุ รว่ งของผล
อณุ หภูมิและบรรจภุ ัณฑ์ท่เี หมาะสมในการเกบ็ รักษา
อุณหภูมิ* ระยะเวลาเกบ็ รักษา หมายเหตุ
(องศาเซลเซยี ส)
(วนั )
เกิดอาการสะท้านหนาว โดยผิวจะเปลี่ยนเป็น
< 10
-
สีน้ำตาล ในอาการรุนแรง ผิวจะมีสีน้ำตาลเข้ม
กล่ินผิดปกติและเนา่ เสยี
15-18
18-28
25
3-4
* ความชื้นสมั พทั ธ์ 80-85%
19
บรรจุภัณฑ์สำหรับลองกอง ส่วนใหญ่จะใช้กล่องกระดาษลูกฟูก โดยเรียง
ช่อผลหนึ่งถึงสองชั้น ส่วนการบรรจุเพื่อขายปลีกสามารถบรรจุถาดแล้วหุ้มด้วย
ฟิล์มเพ่ือรักษาคุณภาพ และลดการชอกช้ำเสียหายจากการจัดเรียง และการเลือก
ซื้อของผ้บู รโิ ภค
บรรณานุกรม
กรมวิชาการเกษตร. 2554. ระบบข้อมูลทางวิชาการ: ลองกอง. สืบค้นจาก:
h t t p : / / i t . d o a . g o . t h / v i c h a k a n / n e w s . p h p ? n e w s i d = 4 0 .
[8 มีนาคม 2554].
จรงิ แท้ ศริ พิ านชิ . 2538. สรรี วทิ ยาและเทคโนโลยหี ลงั การเกบ็ เกยี่ วผกั และผลไม.้
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต
กำแพงแสน. 396 หนา้ .
ฐานข้อมูลงานวิจัยไม้ผลของประเทศไทย. 2554. ลองกอง. สืบค้นจาก:
http://www.schuai.net/WebBaseFruitResearch/searchPaper.asp.
[8 มนี าคม 2554].
ศูนยน์ วตั กรรมเทคโนโลยหี ลังการเกบ็ เกี่ยว. 2554. ฐานข้อมูลงานวิจยั : ลองกอง:
การเก็บรักษา. สืบค้นจาก: http://www.phtnet.org/research/
perishable-fruit-step2.asp?id_name=h011&id_treatment=
b006. [8 มีนาคม 2554].
อารีรัตน์ การณุ สถติ ยช์ ัย ชวเลศิ ตรีกรุณาสวัสดิ์ และโกเมศ สตั ยาวธุ . 2553.
การลดความเสียหายในลองกองหลังการเก็บเกี่ยว. ใน รายงานวิจัย
เรื่องเต็ม ปี 2553. สำนักวิจัยพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเก่ียวและ
แปรรูปผลติ ผลเกษตร กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ. หน้า 138-154.
20
ลำไย
ชอื่ สามัญ: ลำไย
Longan
ชือ่ วิทยาศาสตร์: Dimocarpus longan
Lour.
ดัชนกี ารเกบ็ เกี่ยว
อายุเก็บเกี่ยวของลำไยที่เหมาะสมจะอยู่ในช่วง 6-7 เดือน หลังดอกบาน
ท้ังน้ีข้ึนกับฤดูกาล หากเก็บเกี่ยวเมื่อผลแก่จัดเกินไปเน้ือลำไยจะแห้ง มีสีขาวขุ่น
ความหวานลดลง และเมลด็ ขึ้นหวั หรือเร่มิ งอก
อุณหภมู ิและบรรจภุ ณั ฑท์ ีเ่ หมาะสมในการเกบ็ รักษา
อุณหภมู *ิ ระยะเวลาเกบ็ รกั ษา หมายเหต
ุ
(องศาเซลเซยี ส)
(สปั ดาห)์
0.5-1
4-6
สำหรบั ลำไยทผ่ี ่านการรมด้วยซัลเฟอร์ไดออกไซด
์
ลำไยทไ่ี มร่ มดว้ ยซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์ เมอื่ เกบ็ รกั ษา
5
3-4
นานข้ึนผิวจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล เปลือกจะแข็ง
และเน้อื จะแห้งลง
25-30
0.5-1
* ความชน้ื สมั พัทธ์ 90-95%
การบรรจเุ พ่ือสง่ ออกส่วนใหญจ่ ะบรรจุในตะกรา้ พลาสตกิ ความจุ 2 หรอื
10 กิโลกรัม ซึ่งจะบรรจุทั้งแบบผลเดี่ยวและผลเป็นช่อ ส่วนการบรรจุขนาดขาย
ปลีกควรใช้ถุงพลาสติก เพื่อช่วยรักษาความสดและชะลอการสูญเสียน้ำ ซ่ึงจะ
ทำใหเ้ ปลือกลำไยแขง็ ชา้ ลง
21
บรรณานุกรม
ชวเลิศ ตรีกรุณาสวัสด์ิ รัมม์พัน โกศลานันท์ อารีรัตน์ การุณสถิตย์ชัย และ
พรทพิ ย์ วสิ ารทานนท.์ 2550. การพัฒนาบรรจภุ ัณฑล์ ำไยแบบ MAP
เพอ่ื ยืดอายุการเก็บรกั ษา. ใน รายงานวจิ ยั เรอ่ื งเตม็ ปี 2550. สำนกั วจิ ยั
พัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร กรมวิชา
การเกษตร. กรุงเทพฯ. หนา้ 111-115.
เบญจมาส รตั นชินกร ศิรกานต์ ศรีธญั รัตน์ และปรางคท์ อง กวานหอ้ ง. 2554.
คุณภาพลำไยที่ส่งออกไปประเทศออสเตรเลียโดยทางเรือ. สืบค้นจาก
http://www.kmutt.ac.th/CRDC4/doc/abstracts/poster/P-
43Benjamas.doc. [1 เมษายน 2554].
สำนกั งานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแหง่ ชาต.ิ 2546. มาตรฐานสนิ คา้ เกษตร:
ลำไย. มาตรฐานสินค้าเกษตร. 1: 2546. 12 หนา้ .
22
สม้ เขียวหวาน
ช่อื สามญั : ส้มเขยี วหวาน
Tangerine หรอื
Mandarin orange
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus reticulata
Blanco.
ดัชนกี ารเก็บเกย่ี ว
อายุเก็บเกี่ยวทเ่ี หมาะสมของสม้ เขียวหวานคือ ประมาณ 8-9 เดอื น หลัง
จากดอกบาน การเก็บเก่ียวผลควรใช้กรรไกรตัดที่ข้ัวผลทีละผล อย่าใช้แรงดึง
เพราะจะทำให้ขั้วหลุดและเกิดเป็นแผลที่ผล ซึ่งเป็นจุดอ่อนที่เชื้อโรคเข้าทำลายได้
งา่ ย ทำใหผ้ ลเนา่ ระหว่างเก็บรกั ษา
อณุ หภมู แิ ละบรรจภุ ัณฑ์ที่เหมาะสมในการเกบ็ รักษา
อุณหภมู ิ* ระยะเวลาเกบ็ รักษา หมายเหตุ
(องศาเซลเซยี ส)
(สัปดาห์)
ส้มจะแสดงอาการสะท้านหนาวเม่ือเก็บรักษานาน
ข้ึน โดยมีอาการเร่ิมแรกเป็นจุดสีน้ำตาลกระจายที่
5-10
2-4
ผิว ในอาการรุนแรงจะเป็นพ้ืนสีน้ำตาลที่ผิวและ
เปลือกยบุ ตวั
25
2
อายุเก็บรักษาสำหรับส้มท่ีผ่านการเคลือบผิว ส้มที่
ไมเ่ คลือบผวิ จะเกบ็ รักษาได้ประมาณ 7-9 วัน
* ความชนื้ สัมพทั ธ์ 90-95%
23
บรรจภุ ณั ฑท์ ี่นยิ มบรรจสุ ้มเพอ่ื วางจำหนา่ ย มี 3 ประเภท คือ ถงุ ตาขา่ ย
กล่องกระดาษลูกฟูก และตะกร้าพลาสติก โดยที่ขนาดบรรจุขึ้นกับเทศกาลและ
ความตอ้ งการของตลาด
บรรณานกุ รม
เบญจมาส รัตนชินกร ปรางคท์ อง กวานห้อง และศิรกานต์ ศรีธัญรตั น์. 2552.
ผลของสารเคลือบผิว Oxidized Polyethylene ต่อคุณภาพการเก็บ
รักษาส้มสายนำ้ ผึ้ง. วารสารวทิ ยาศาสตร์เกษตร (ฉบับพิเศษ). 40(3):
630-633.
มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี. 2547. สวนส้มบางมด. สืบค้นจาก:
http://www.kmutt.ac.th/commu/orange.html. [13 มนี าคม 2554].
เบญจมาส รัตนชนิ กร ศริ กานต์ ศรธี ัญรตั น์ คมจนั ทร์ สรงจนั ทร์ และปรางคท์ อง
กวานห้อง. 2553. การใช้และพัฒนาสารเคลือบผวิ สม้ . ใน รายงาน
ผลงานวิจัยเรื่องเต็มประจำปี 2553. สำนักวิจัยและพัฒนาวิทยาการ
หลังการเก็บเก่ียวและแปรรูปผลิตผลเกษตร กรมวิชาการเกษตร.
กรงุ เทพฯ. หน้า 237-270.
Burns, J.K. (n.d.). Mandarin (Tangerine). Retrieved March 13, 2011
from http://ne-postharvest.com/hb66/088mandarin.pdf.
24
ส้มโอ
ชื่อสามัญ: สม้ โอ
Pomelo, Pummelo
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์: Citrus maxima Merr.
พนั ธหุ์ ลัก: ขาวนำ้ ผ้งึ และทองด
ี
ดชั นีการเกบ็ เกี่ยว
อายเุ กบ็ เกยี่ วทเี่ หมาะสมของสม้ โอ คอื ประมาณ 6.5-7.5 เดอื น หลงั ดอกบาน
ทัง้ น้ีข้ึนกับความต้องการของตลาดและระยะเวลาขนสง่ หรือเกบ็ รกั ษา สม้ โอแกจ่ ะมี
ตอ่ มนำ้ มันท่ีก้นผลหา่ งและผวิ มนี วล ส้มโอท่เี ก็บเกี่ยวแก่เกินไป ไส้และกลบี จะแตก
เน้ือฟา่ ม และร่วนเหมอื นเมล็ดข้าวสาร
อณุ หภูมิและบรรจภุ ัณฑ์ทเี่ หมาะสมในการเก็บรักษา
อณุ หภมู *ิ ระยะเวลาเกบ็ รกั ษา หมายเหต
ุ
(องศาเซลเซยี ส)
(สปั ดาห์)
5
1
ส้มโอจะแสดงอาการสะท้านหนาวเม่ือเก็บรักษา
นานข้ึน โดยผิวจะเปล่ียนเป็นจุดสีน้ำตาลและขยาย
10
5-6
ขนาดมากขึ้นตามความรุนแรงและอายุการเก็บ
รักษา
13-15
8
30
1-2
* ความช้ืนสัมพัทธ์ 85-95%
25
ส้มโอส่งออกจะผ่านการล้างทำความสะอาดและเคลือบผิว เพ่ือช่วยลด
การสูญเสียน้ำระหว่างการขนส่งและการวางจำหน่าย สำหรับการบรรจุส้มโอจะ
บรรจุในกล่องกระดาษลูกฟูก โดยเรียงเพียงหนึ่งหรือสองชั้น และมีกระดาษลูกฟูก
ค่ันระหว่างผลหรอื ชัน้ ทง้ั น้ขี ้ึนกบั ความต้องการของตลาด
บรรณานกุ รม
กรมวิชาการเกษตร. 2554. ส้มโอ. สบื คน้ จาก: http://it.doa.go.th/vichakan/
new.php?newsid=43. [14 มีนาคม 2554].
Burns, J. K. (n.d.). Grapefruit. Retrieved March 14, 2011 from
http://www.ba.ars.usda.gov/hb66/072grapefruit.pdf
Ratanachinakorn, B., T. Sangudom and U. Sujaritthawesuk. 2001.
Storability of pummelos cv. Khao Tangkwa at different
temperatures. pp. 429-434. In Sukprakarn, C., S. Ruay-Aree,
G. Srzednicki, B. Longstaff, B. McGlasson, A. Hocking, J. Van,
S. Graver, A. Wongkobrat and P. Visarathanonth (eds.).
Quality Management and Market Access. Proceeding of the
20th ASEN/2nd APEC Seminar on Postharvest Technology.
Chiang Mai, Thailand.
ผกั
27
กะเพรา
ชอ่ื สามัญ: กะเพรา
Sacred basil,
Holy basil
ช่ือวทิ ยาศาสตร์: Ocimum sanctum L.
ดัชนีการเก็บเก่ียว
กะเพราสามารถเก็บเกยี่ วได้เม่ืออายุประมาณ 30-35 วันหลังปลกู โดยใช้
มดี คมๆ ตดั ลำต้นหรอื กง่ิ ห่างจากยอดลงมาประมาณ 10-15 เซนตเิ มตร (กรณีทีย่ งั
ไม่มีผู้รับซ้ือ เกษตรกรสามารถชะลอการเก็บเก่ียวออกไปได้โดยการเด็ดยอดท่ีมีดอก
ท้งิ ) หลังจากตัดลำตน้ แล้วกะเพราจะแตกยอดและกงิ่ กา้ นออกมาใหม่ การเก็บเก่ียว
สามารถทำไดท้ ุก 15 วัน ไปตลอดระยะเวลา 7-8 เดือน หลังจากน้นั ผลผลิตจะลด
ลงเรอ่ื ยๆ จึงควรทำการถอนท้งิ เพอ่ื ปลกู ใหม
่
อุณหภูมแิ ละบรรจภุ ัณฑ์ทเี่ หมาะสมในการเก็บรกั ษา
อุณหภมู *ิ ระยะเวลาเก็บรักษา หมายเหตุ
(องศาเซลเซยี ส)
(วัน)
เม่ือเก็บรักษาเป็นเวลานานขึ้น กะเพราจะแสดง
5
4
อาการสะทา้ นหนาว คอื ใบจะเกดิ จดุ สนี ำ้ ตาล เปน็
จดุ ฉำ่ นำ้ ใบรว่ ง เนอื้ เยอื่ ตาย และเนา่ เสีย
10
9
บรรจถุ งุ โพลีโพรพลิ นี เจาะร
ู
12
14
บรรจุถงุ โพลโี พรพลิ ีนเจาะรู
13
9
บรรจถุ ุงโลวเดนซติ โ้ี พลีเอทธลิ นี
13
12
บรรจถุ งุ โลวเดนซติ โ้ี พลเี อทธลิ นี และมตี วั ดดู ซบั เอทธลิ นี
* ความชนื้ สัมพัทธ์ 95-100%
28
บรรจุภัณฑ์ที่ช่วยรักษาคุณภาพกะเพรา ได้แก่ ถุงโพลีโพรพิลีน
(polypropylene) เจาะรู หรือถุงโลวเดนซิตี้โพลีเอทธิลีน (low density
polyethylene)
บรรณานกุ รม
ชวนพศิ จริ ะหงษ์ วานชิ ศรลี ะออง และเฉลมิ ชยั วงษอ์ าร.ี 2548. การเปลยี่ นแปลง
คุณภาพของกะเพราที่เก็บรักษาในสภาพบรรยากาศดัดแปลงท่ีอุณหภูมิ
ตำ่ . การประชุมวิชาการพชื สวนแหง่ ชาติ ครงั้ ที่ 5. 276 หนา้ .
ทศพล เนียมทอง สุขเกษม สิทธิพจน์ และวาณี ชนเห็นชอบ. 2550. การพัฒนา
การเก็บรักษากะเพราโดยใช้อุณหภูมิต่ำร่วมกับการบรรจุแบบปรับสภาพ
บรรยากาศ. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
หนา้ 233-240.
ธิตมิ า วงษช์ ีร.ี 2551. ความสมั พันธร์ ะหว่างความเสียหายของเยื่อหุม้ เซลลแ์ ละ
การเกิดอาการสะท้านหนาวของใบพืชสกุลกะเพรา. วิทยานิพนธ์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ 125 หนา้ .
Kimberly, P. (n.d.). Annual culinary herbs. Retrieved March 13, 2011 from
http://www.ba.ars.usda.gov/hb66/026annualculinaryherbs.pdf.
Lange, D.D. and A.C. Cameron. 1994. Postharvest shelf-life of sweet
basil (Ocimum basilicum). HortScience 29(3): 102-103.
Wongs-Aree, C. and C. Jirapong. 2007. Active modified atmospheres
affecting quality of holy basil. ISHS Acta Horticulturae 746
(1): 461-466.
29
มะเขือเปราะ
ชือ่ สามัญ: มะเขอื เปราะ
Eggplant, Brinjal
ช่ือวิทยาศาสตร:์ Solanum melongena L.
ดัชนีการเก็บเกยี่ ว
มะเขือเปราะสามารถเก็บเก่ียวหลังจากย้ายกล้าลงปลูกในแปลงแล้ว
ประมาณ 45-80 วัน และจะเก็บเก่ยี วผลิตผลทกุ ๆ 3 วัน ต่อไปได้ประมาณ 2 ปี
ทั้งนี้ขึน้ กบั สายพันธุ์ แหลง่ เพาะปลูก และการดูแลรักษา
อุณหภมู แิ ละบรรจภุ ณั ฑท์ เ่ี หมาะสมในการเก็บรักษา
อณุ หภมู ิ* ระยะเวลาเก็บรกั ษา หมายเหต
ุ
(องศาเซลเซยี ส)
(วัน)
10-12
14
ตัดแต่งขั้วออกแล้วบรรจุในถาดโฟมพร้อมหุ้มด้วย
15
21
โพลเี อทธลี ีน
* ความชืน้ สมั พทั ธ์ 90-95%
การบรรจุมะเขือเปราะเพื่อการส่งออก คือ บรรจุในถุงโพลีเอทธิลีน
(polyethylene) แบบเจาะรู บรรจุถาดแล้วห่อหุ้มด้วยฟิล์มโพลีไวนิลคลอไรด์
(polyvinyl chloride) หรอื ใชฟ้ ลิ ม์ โพลโี พรพลิ นี (polypropylene) หรอื โพลเี อทธลิ นี
เพอ่ื ปอ้ งกนั การสูญเสยี น้ำหนัก
30
บรรณานุกรม
นิพนธ์ ไชยมงคล. 2546. ฐานข้อมูลพืชผัก. สืบค้นจาก: http://www.agric-
prod.mju.ac.th/web-veg/plantlist/p4.htm. [28 มีนาคม 2554].
Cantwell, M. and T.V. Suslow. 1996. Eggplant: Recommendations for
maintaining postharvest quality. Retrieved April 13, 2011 from
http://postharvest.ucdavis.edu/Produce/ProduceFacts/Veg/
eggplant.shtml.
Fallik, E., N. Temkin-Gorodeiski, S. Grinberg and H. Davidson. 1995.
Prolonged low-temperature storage of eggplants in
polyethylene bags. Postharvest Biology and Technology. 5:
83-89.
Mangal, J.L., J. Kumar, V.K. Batra and J. Singh. 2001. Effect of
cultivars, packing types and waxing on shelf life of brinjal
(Solanum melongena L.). Vegetable Science. 28: 43-44.
Moreetti, C.L., L.M. Mattos, J.M.A. Teixeira, W.A. Marouelli and W.L.C.
Silva. 2002. Extending the shelf life of eggplant fruits with
different postharvest treatments. Program Supplement: XXVI
International horticultural congress. 11-17 August 2002,
Toronto, Canada. 25 pp.
31
เหด็ นางรม
ชื่อสามญั : เห็ดนางรม
Oyster mushroom
ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Pleurotus ostreatus
(Fr.) Kummer
ดัชนกี ารเก็บเก่ียว
ดอกเหด็ นางรมท่ีเหมาะแก่การเกบ็ คือ ในชว่ งทีด่ อกเหด็ ไมบ่ านจนเกินไป
ขอบหมวกไม่แตก ไม่ฉีกขาด ขอบดอกยังงุ้มอยู่ ถ้าหมวกดอกบานมากจนขอบของ
หมวกม้วนขึ้น แสดงว่าดอกเห็ดแก่เกินไป การเก็บเกี่ยวใช้วิธีการจับดอกเห็ดขยับ
เลก็ นอ้ ยแลว้ ดึงออก ดอกเห็ดจะหลุดจากวัสดเุ พาะ
อุณหภูมิและบรรจภุ ณั ฑท์ เี่ หมาะสม ในการเกบ็ รกั ษา
อณุ หภมู *ิ ระยะเวลาเกบ็ รกั ษา หมายเหตุ
(องศาเซลเซยี ส)
(วนั )
8-10
4
บรรจถุ าดโฟมหมุ้ ด้วยฟิลม์ โพลเี อทธลิ นี เจาะร
ู
* ความช้ืนสมั พัทธ์ 90-95%
บรรจุภัณฑ์สำหรับเห็ดนางรม คือ บรรจุถาดโฟมหุ้มด้วยฟิล์มพลาสติก
โพลเี อทธิลีน (polyethylene) เจาะรู
32
บรรณานกุ รม
ธญั ฐติ ิ มาแสง. (ม.ป.ป.). การเพาะเหด็ นางรมดว้ ยวธิ กี ารแผนใหมท่ ไี่ มต่ อ้ งนง่ึ ฆา่ เชอ้ื .
สืบค้นจาก: http://www.kasetesarn.com/techno/mushroom-
nangrome.htm. [10 เมษายน 2554].
ปริญญา จันทรศรี ประทุมพร ยิ่งธงชัย นิตยา บุญทิม และสุดาพร ตงศิริ.
2551. การผลิตหัวเช้ือและก้อนเชื้อเห็ดเศรษฐกิจ. ใน เอกสาร
ประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการ “การบูรณาการองค์ความรู้
ดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จากเครอื ข่ายวจิ ยั ของสถาบนั วจิ ยั และ
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชนภาคเหนือเพ่ือการพัฒนา
อย่างยั่งยืน”. สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่ 47 หนา้ .
อุราภรณ์ สะอาดสุด วิชชา สะอาดสุด ธวัช ทะพิงค์แก ศิริพร หัสสรังสี
นภาวรรณ โฆษิตเรืองชัย อรอนงค์ อาร์คีโร เพ็ญศิริ ศรีบุรี และ
สุรพนั ธ์ กาญจนวงศ์. 2552. การควบคุมคณุ ภาพและยืดอายุหลังการ
เก็บเก่ียวเห็ดสกุลนางรม. ใน รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. ศูนย์
นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
115 หน้า.
Oei, P. 1996. Mushroom Cultivation: with Special Emphasis on
Appropriate Techniques for Developing Countries. Tool
Publications. Leiden, the Netherlands. 274 pp.
33
เหด็ ฟาง
ชอื่ สามญั : เหด็ ฟาง หรือ เหด็ บวั
Straw mushroom
ชื่อวิทยาศาสตร ์ : Volvariella vovacea
(Bull. Ex.Fr.) Sing
ดัชนกี ารเกบ็ เก่ียว
ระยะท่ีเหมาะสมสำหรับการเก็บเห็ดฟาง คือ หลังจากเพาะประมาณ
7-10 วัน ซง่ึ ข้นึ อยกู่ บั วิธีการเพาะและฤดูกาล โดยความรอ้ นจะเป็นตัวชว่ ยเร่งการ
เจริญเติบโตของเห็ด วิธีการเก็บเก่ียวดอกเห็ด คือ ใช้มือจับแล้วหมุนเล็กน้อย
ยกขึ้นเบาๆ ท้ังกระจุก ในกรณีที่ดอกเห็ดมีลักษณะเป็นหัวแป้นอยู่ควรรอไว้ได้อีก
หนง่ึ วันหรอื ครงึ่ วนั
อุณหภูมิและบรรจุภณั ฑท์ ีเ่ หมาะสม ในการเก็บรกั ษา
อุณหภมู ิ ระยะเวลาเก็บรกั ษา หมายเหต
ุ
(องศาเซลเซยี ส)
(วนั )
12 *
6
บรรจใุ นถาดห้มุ ดว้ ยฟลิ ์มโพลีไวนิลคลอไรด์
15 **
6-8
บรรจุในกล่องพลาสติกซึ่งมีแผ่นฟองน้ำปูรองและ
วางบนเห็ดฟาง
* ความชื้นสมั พทั ธ์ 75% ** ความช้ืนสมั พัทธ์ 90–95%
34
การเก็บรักษาเห็ดฟางท่ีเหมาะสม คือ เก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำร่วมกับการ
เก็บรักษาในสภาพบรรยากาศดัดแปลงเพื่อช่วยชะลอการเส่ือมคุณภาพ เช่น บรรจุ
ถาดหุ้มด้วยฟิล์มพลาสติกโพลีไวนิลคลอไรด์ (polyvinyl chloride) หรือบรรจุใน
กล่องพลาสติกซ่ึงมแี ผน่ ฟองน้ำปรู องและวางบนเห็ดฟาง
บรรณานกุ รม
นิรนาม. เห็ดฟาง. (ม.ป.ป.). สืบค้นจาก: http://www.scratchpad.wikia.com.
[15 มีนาคม 2554].
พีระศักดิ์ ฉายประสาท. (ม.ป.ป.). การพัฒนาเทคโนโลยีหลงั การเก็บเก่ียวเหด็ ฟาง
(Volvariella vovacea) และเหด็ หอมสด (Lentinu edodes) : การยืด
อายุการเก็บรักษาและการปรับปรุงคุณภาพเพ่ือเพ่ิมศักยภาพทางการ
ตลาด. ศูนยน์ วตั กรรมเทคโนโลยีหลงั การเกบ็ เกยี่ ว. 47 หนา้ .
วรภัทร ลัคนทินวงศ์. 2545. การยืดอายุการเก็บรักษาเห็ดฟาง (vovariella
volvaceae Bull ex. Fries.) ในสภาพบรรยากาศดัดแปลง (modified
atmosphere packaging) ในเชิงพาณิชย์. รายงานการประชุมทาง
วิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ครั้งที่ 39 มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร.์ กรงุ เทพฯ. หนา้ 136 – 143.
สุภา อโนธารมณ์ บุญญวดี จิระวุฒิ วัชรี วิทยวรรณกุล ภคินี อัครเวสสะพงศ์
อัจฉรา พยัพพานนท์ และณัฎฐิมา โฆษิตเจริญกุล. 2551. การปฏิบัติ
หลังการเก็บเกี่ยวเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาเห็ดฟางสด. สำนักวิจัยและ
พัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร.
กรมวิชาการเกษตร. จตจุ กั ร กรงุ เทพฯ. 13 หนา้ .
35
เห็ดหอม
ชอ่ื สามัญ : เห็ดหอม
Shiitake mushroom
ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Lentinus edodes
(Berk.) Sing.
ดัชนีการเก็บเกย่ี ว
การเก็บดอกเห็ดหอมเพื่อให้ได้ดอกเห็ดที่สวยแข็งแรงและทนทานต่อการ
เก็บรักษาและขนส่ง คือ ระยะท่ีดอกเห็ดยังตูมอยู่แต่ขอบหมวกเห็ดเร่ิมคล่ีออกจาก
ก้านประมาณ 20-50% เก็บเกี่ยวโดยจับดอกเห็ดโยกไปมาเล็กน้อยแล้วหมุนจน
ดอกเห็ดหลดุ จากหน้าก้อนเหด็
อณุ หภูมแิ ละบรรจุภัณฑท์ ่เี หมาะสมในการเกบ็ รกั ษา
อุณหภูมิ* ระยะเวลาเก็บรกั ษา หมายเหตุ
(องศาเซลเซยี ส)
(วัน)
2
7
บรรจถุ าดโฟมหมุ้ ด้วยฟิล์มโพลีไวนลิ คลอไรดเ์ จาะรู
9
14
บรรจถุ ุงโพลีเอทธลิ นี ในสภาพสุญญากาศ
* ความชนื้ สมั พัทธ์ 90-95%
บรรจุภัณฑ์สำหรับเห็ดหอมสด คือ บรรจุบนถาดโฟมหุ้มด้วยฟิล์ม
พลาสติกโพลีไวนลิ คลอไรด์ (polyvinyl chloride) เจาะรู หรือบรรจใุ นถุงพลาสตกิ
โพลเี อทธิลีน (polyethylene) สภาพสุญญากาศ
36
บรรณานกุ รม
ธัญฐิติ มาแสง. (ม.ป.ป.). การเพาะเห็ดหอมในถุงพลาสติก. สืบค้นจาก:
http://www.kasetesarn.com/techno/mushroom-hom.html.
[14 มนี าคม 2554].
นิรนาม. (ม.ป.ป.). เห็ดหอม. สืบคน้ จาก: http://www.scratchpad.wikia.com.
[14 มีนาคม 2554].
บญุ ญวดี จริ ะวฒุ ิ สภุ า อโนธารมณ์ อจั ฉรา พยพั พานนท์ และ ณฏั ฐมิ า โฆษติ เจรญิ กลุ .
2550. การยืดอายุเห็ดหอมสด. เทคโนโลยีการผลิตเห็ดหอม.
กรมวชิ าการเกษตร. กรุงเทพฯ. 19 หนา้ .
พรี ะศักดิ์ ฉายประสาท. (ม.ป.ป.). การพัฒนาเทคโนโลยีหลงั การเกบ็ เกี่ยวเหด็ ฟาง
(Volvariella vovacea) และเห็ดหอมสด (Lentinu edodes): การยืด
อายุการเก็บรักษาและการปรับปรุงคุณภาพเพื่อเพิ่มศักยภาพทางการ
ตลาด. ศนู ย์นวตั กรรมเทคโนโลยหี ลังการเกบ็ เกย่ี ว. 47 หน้า.
สมพงษ์ สิทธิพรหม. (ม.ป.ป.). การเพาะเห็ดเพ่ือการค้า. สืบค้นจาก:
http://www.champa.kku.ac.th/somphong/doc/mush.htm.
[16 มีนาคม 2554].
37
เหด็ หหู นู
ชอ่ื สามญั : เห็ดหหู นู
Fresh jelly mushroom
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Auricularia polytricha
(Mont.) Sacc.
ดัชนีการเกบ็ เกยี่ ว
การเก็บเกี่ยวดอกเห็ดหูหนู ควรเลือกเก็บเม่ือดอกเห็ดโตเต็มที่ ขอบของ
ดอกเห็ดจะบางและเริ่มเปน็ ลอน เกบ็ เกย่ี วโดยดงึ ออกจากท่อนไม้ท้งั กลุ่ม
อณุ หภมู ิและบรรจภุ ณั ฑท์ ี่เหมาะสมในการเก็บรกั ษา
อุณหภมู *ิ ระยะเวลาเกบ็ รักษา หมายเหตุ
(องศาเซลเซยี ส)
(วัน)
5-8
5
บรรจถุ าดโฟมหมุ้ ด้วยฟลิ ม์ พลาสตกิ
* ความชนื้ สัมพทั ธ์ 90-95%
บรรจุภณั ฑส์ ำหรับเหด็ หหู นสู ด คือ บรรจถุ าดโฟมหุ้มดว้ ยฟลิ ์มพลาสตกิ
บรรณานกุ รม
นิรนาม. (ม.ป.ป.). เห็ดหูหนู. สืบค้นจาก: http://www.scratchpad.wikia.com.
[14 มีนาคม. 2554].
ธัญฐิติ มาแสง. (ม.ป.ป.). การเพาะเห็ดหูหนูบนท่อนไม้. สืบค้นจาก:
http://www.kasetesarn.com/techno/mushroom-hoonoo.html.
[มนี าคม 2554].
38
โหระพา
ชอ่ื สามัญ : โหระพา
Sweet basil, Thai basil
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Ocimum basilicum L.
ดัชนีการเกบ็ เกยี่ ว
โหระพาสามารถทำการเก็บเก่ียวได้หลังจากปลูกประมาณ 30-35 วัน
โดยใช้มีดคมๆ ตัดต้นหรอื กิง่ ห่างจากยอดลงมาประมาณ 10-15 เซนติเมตร แล้ว
นำไปขาย หากยังไม่มีผู้รับซ้ืออาจชะลอการเก็บเกี่ยวได้ โดยการตัดช่อดอกออก
โหระพาก็จะแตกกิ่งแตกใบออกมาอีกเร่ือยๆ การเก็บเกี่ยวสามารถกระทำได้ทุกๆ
15-20 วัน ไปจนถึงอายุ 7-8 เดือน
อณุ หภูมิและบรรจุภัณฑท์ ีเ่ หมาะสมในการเกบ็ รกั ษา
อณุ หภมู ิ* ระยะเวลาเกบ็ รกั ษา หมายเหตุ
(องศาเซลเซยี ส)
(วนั )
12
10
เก็บนานข้ึนผักจะแสดงอาการสะท้านหนาว
15*
14
บรรจุโหระพาในถุงโพลีเอทธลิ ีน
* ความช้นื สัมพทั ธ์ 90-95%
บรรจุภัณฑ์ท่ีช่วยรักษาคุณภาพโหระพาได้นานขึ้น คือ ถุงโพลีเอทธิลีน
(polyethylene)
39
บรรณานกุ รม
ตรอี บุ ล แก้วหย่อง และบวรศักดิ์ ลนี านนท.์ 2553. ผลของสารฆ่าเช้อื และสารลด
แรงตึงผิวในการกำจัดเชื้อจุลินทรีย์ด้ังเดิม และ Salmonella
typhimurium ในโหระพาระหว่างปฎิบัติการหลังการเก็บเกี่ยว.
Postharvest Newsletter 9(3): 1-3.
ธติ มิ า วงษช์ รี .ี 2551. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความเสยี หายของเยอื่ หมุ้ เซลลแ์ ละการ
เกดิ อาการสะทา้ นหนาวของใบพชื สกลุ กะเพรา. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาเอก.
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ 125 หนา้ .
ปฐมพงษ์ เพญ็ ไชยา. 2546. ผลของสภาพบรรยากาศควบคมุ อณุ หภมู แิ ละบรรจภุ ณั ฑ์
ต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาของโหระพา. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท.
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี. 97 หน้า.
Aharoni, N., D. Chalupowisz, M. Faure-Mlinski, Z. Aharon, D. Maurer and A.
Lers. 2004. Heat pretreatment reduces decay and chilling
injury in sweet basil. 5th International Postharvest
Symposium. Volumn of abstract. Verona, Italy. 6-11 June
2004. pp. 42.
Kimberly P. (n.d.). Annual culinary herbs. Retrieved March 13, 2011 from
http://www.ba.ars.usda.gov/hb66/026annualculinaryherbs.pdf.
Randall, T.H., R.V. Hector, M.T. Dick and V.U. Janice. 1994. Fresh basil
production guidelines for Hawaii. Research extension series
154. Hawaii institute of tropical agriculture and human
resources. Hawaii. USA. 13 pp.
40
อณุ หภมู แิ ละความชน้ื สมั พทั ธใ์ นการเกบ็ รกั ษาผลไมแ้ ละผกั
ชนิดของผลไม้และผัก
อณุ หภมู ทิ ีเ่ หมาะสม
ความช้นื สมั พัทธ์
อายกุ ารเก็บรกั ษา
(องศาเซลเซยี ส)
ทเ่ี หมาะสม (%)
(ประมาณ)
ผลไม้
2-3 สัปดาห์
1. กล้วยไข
่ 13-15
90-95
2-3 สปั ดาห
์
2. กลว้ ยหอม
13-14
90-95
2-3 สัปดาห
์
3. แกว้ มังกร
10
90-95
2 สปั ดาห์
4. เงาะ
10-13
90-95
2 สปั ดาห
์
5. ทเุ รียน
13-15
85-90
2-3 สัปดาห
์
6. มะม่วง
13
85-95
2-4 สปั ดาห
์
7. มงั คุด
13-15
90-95
2-4 สัปดาห
์
8. ลองกอง
15-18
80-85
4-6 สปั ดาห์
9. ลำไย
0.5-1
90-95
2-4 สัปดาห
์
10. สม้ เขยี วหวาน
5-10
90-95
5-6 สัปดาห์
11. ส้มโอ
10-15
85-95
ผกั
2 สัปดาห
์
95-100
3 สัปดาห์
1. กะเพรา
12
90-95
2. มะเขือ
15
90-95
4 วนั
3. เหด็ นางรม
8-10
90-95
6-8 วนั
4. เห็ดฟาง
15
90-95
2 สปั ดาห์
5. เหด็ หอม
9
90-95
5 วัน
6. เหด็ หูหน
ู 5-8
90-95
2 สปั ดาห
์
7. โหระพา
15
พิมพ์ที่ โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด
โทร. 0 2525 4807-9 โทรสาร 0 2525 4855