The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำมูล คำประสม คำซ้อน คำซ้ำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanyachan2528, 2020-05-25 13:24:29

การสร้างคำ

คำมูล คำประสม คำซ้อน คำซ้ำ

การสรา้ งคา
ในภาษาไทย

ก่อนศกึ ษาเรือ่ ง
การสรา้ งคา
ต้องรูจ้ ักกับคามูล
ก่อนคะ่

คํามูล หมายถึง คําที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง

ไม่สามารถแยกศัพท์ย่อยออกได้ ซึ่งอาจเป็นคําไทยแท้ คําที่ยืม
มาจากภาษาอ่ืน ทําหน้าท่ีในประโยคได้หลายหน้าท่ี เช่น
ประธาน กริยา กรรม ส่วนขยาย คํามูลท่ีพบในภาษาไทยอาจมี
พยางคเ์ ดยี วหรือหลายพยางค์



คาํ ประสม คือ การนําเอาคํามูลท่มี ีความหมายต่างกัน ๒ คํา หรือมากกว่า ๒ คํา

ขึ้นไปมาประสมกัน ทําให้เกิดคําใหม่ขึ้นอีกคําหนึ่งในภาษา ลักษณะทางความหมายของ
คําท่นี าํ มาประสมกนั มี ๒ ลกั ษณะ ได้แก่

ลข๑ทน้ึ .ม่ีอคีกคี ควําาาํปมหรหนะมง่ึ ใสานยมภตาทา่ ษงี่มกาีนัคลวกั2ษาคณมําหะหทมราืองามคยาวตกากมรวหงา่ มคา2ยําคขปาํ อรขงะ้นึคสไาํมปทปมี่นราําะปมเรภาะปทสรนมะ้ีมกสีคันมวกทานั ํามมใหหี 2ม้เกาลิดยกั คสษําําณใคหัญะมอ่ ยู่ที่

ไคดํา้แตกั้ง่หรือคําหลัก ส่วนขยายมีความสําคัญรองลงไป เช่น ผลผลิต สระนํ้า แม่นํ้า ทางเดิน
1เร.ือคหําาปงรพะส่อมตทาม่ี ลีคาวยามมอื หเมมาือยงตนรองกคพาํ ปดั รละมสมประเภทน้มี ีความหมายสาํ คัญอยทู่ คี่ ําตงั้ หรือ
คาํ หลกั สว่ นขยายมคี วามสาํ คัญรองลงไป เชน่ ผลผลติ สระน้ํา แมน่ าํ้ ทางเดิน เรอื หาง

พ๒อ่ .ตคาําลปายรมะอื สเมอืทง่ีมนีอคกวพามัดลหมมายโดยนัย หรือความหมายเปรียบเทียบ เช่น มือเท้า

ไก่อ่อน หัวสูง เสน้ สาย ตาขาว วงิ่ ราว อกแตก หัวหมนุ หัวแข็ง หนา้ ม้า ใจแคบ คอสงู

2. คาํ ประสมทีม่ คี วามหมายโดยนยั หรอื ความหมายเปรียบเทยี บ เชน่ มอื เท้า ไกอ่ ่อน
หวั สูง เสน้ สาย ตาขาว ว่งิ ราว อกแตก หัวหมนุ หัวแขง็ หนา้ ม้า ใจแคบ คอสูง

วธิ กี ารสร้างคําประสม

คําประสมมีวิธีการสร้างคํา โดยนําคํามูลท่ีอาจเป็นภาษา
เดยี วกนั หรือต่างภาษากนั กไ็ ด้ ไดแ้ ก่

๑. คาํ ประสมท่นี ําคํามูลมาประสมกนั แล้วมคี วามหมายเปน็ อีก
อย่างหนึ่ง แตย่ ังคงเคา้ ความหมายเดมิ ของคาํ มลู อยู่ เช่น
น้ํา + แม่ = แมน่ า้ํ หมายถึง แหลง่ รวมของสายนาํ้ หลัก
แม่ + ยาย = แม่ยาย หมายถงึ แม่ของภรรยาซึ่งลูกเรยี กวา่ ยาย

๒. คาํ ประสมท่นี าํ คํามลู มาประสมกนั แล้วมี
ความหมายเปลี่ยนไปจากเดิม เชน่

ขาย + หนา้ = ขายหน้า หมายถึง อบั อาย
หมด + ตวั = หมดตวั หมายถึง ไม่มเี งินเหลอื
ตง้ั + ใจ = ทาํ โดยเจตนา จงใจ
ตาย +ใจ = วางใจ เช่อื อยา่ งไมส่ งสยั

๓. นําคําท่ีไม่สามารถปรากฏตามอสิ ระได้ เช่น
คําว่า “ ช่าง ชาว นัก หมอ การ ความ

เครื่อง ของ ที่” เป็นคําตั้งประสมกับคําที่
สามารถปรากฏตามอิสระได้ เช่น ช่างทอง
ชาวนา นักเขียน หมอความ การกิน
ความดี เครอ่ื งเขยี น

๔ . คําไทยแท้ประสมคาํ บาลสี นั สกฤต
เช่น หลักฐาน แขกยาม นงเยาว์
ราชวงั ภูมลิ าํ เนา นํ้ามนตร์
นักประพันธ์ เขา้ ณาน



คําซ้อน หมายถึง คําที่เกิดจากการนําคําที่มีความหมาย

เหมือนกัน คล้ายกัน หรือมีความหมายตรงกันข้ามมา
ซ้อนกันหรือรวมกัน เช่น บ้านเรือน ว่ิงเต้น เต้นรํา ใกล้ชิด
ความหมายตรงข้าม เช่น เท็จจริง ยากง่าย ดีชั่ว ถี่ห่าง
ใกล้ไกล คาํ ซอ้ นสามารถแบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท คอื

คาํ ซ้อนเพือ่ ความหมาย หมายถงึ การนําคาํ ที่มคี วามหมายเหมือนหรอื

คล้ายคลึงกนั มาซ้อนกนั การสร้างคําซอ้ นในลกั ษณะน้ี มวี ิธกี ารต่าง ๆ ดงั น้ี
- คาไทยซอ้ นกบั คาไทย เชน่ เลก็ นอ้ ย ใจคอ ทบุ ตี หน้าตา เหยี่ วแห้ง บ้านเรอื น เปน็ ต้น
- คาไทยซ้อนกับคาไทยถิน่ เช่น อว้ นพี เสอื่ สาด คอยท่า สวยงาม อ่อนชอ้ ย เปน็ ต้น
- คาไทยซอ้ นกบั คาบาลีสันสกฤต เช่น จติ ใจ หมน่ั เพยี ร รปู รา่ ง ทรัพย์สิน เปน็ ต้น
- คาไทยซอ้ นกับคาเขมร เชน่ เข้มแขง็ ฟ้อนรา หนองบงึ ยกเลิก เปน็ ตน้
- คาตา่ งประเทศซอ้ นคาตา่ งประเทศ เปน็ การนาคาบาลซี ้อนคาสนั สกฤตหรือคาเขมรซอ้ น
คาเขมร เช่น สุขสงบ มิตรสหาย เฉลมิ ฉลอง เลอเลศิ ทรพั ย์สมบัติ เป็นตน้

คาํ ซอ้ นเพ่อื เสยี ง หมายถงึ การนําคาํ ทมี่ ีเสียงใกล้เคียงกันมาซ้อนกนั เกิดคําทมี่ ี

ความหมายใหม่ เชน่ เยอะแยะ ยมิ้ แยม้ โซเซ มอมแมม โพล้เพล้ ลิบลับ จริงจงั
พึมพํา เป็นต้น
ลักษณะของคาซ้อนเพอ่ื เสยี ง มดี งั น้ี

• แต่ละพยางคม์ เี สียงพยัญชนะต้นเหมือนกัน ตา่ งกนั ที่เสียงสระ เช่น
เกะกะ ขรุขระ คู่ค่ี เงอะงะ ซซู่ า่

• แต่ละพยางคม์ ีเสยี งพยญั ชนะต้นและพยญั ชนะสะกดเหมอื นกนั ต่างกนั ที่
เสียงสระ เช่น เกง้ กา้ ง ขลกุ ขลกิ คึกคกั จริงจัง โผงผาง

• แต่ละพยางคม์ ีเสยี งพยญั ชนะต้นและเสยี งสระเหมือนกัน ตา่ งกนั ทเ่ี สยี ง
พยัญชนะสะกด เชน่ แจกแจง เพลิดเพลิน ทาบทาม ยอกยอ้ น สอดสอ่ ง

• แต่ละพยางคม์ ีเสียงพยัญชนะต้นเหมอื นกนั ตา่ งกันทงั้ เสียงสระและ
พยญั ชนะสะกด เช่น กงการ ขบขนั งงงวย ฟุ่มเฟือย เจอื จาน

คาซา

คาซา คือ การนาคาคาเดียวกัน
มากล่าวซา ๒ ครัง หรือมากกวา่
๒ ครัง ทาให้ไดค้ วามหมายตา่ งไป
จากคาเดมิ ทีเ่ ปน็ คาเดียวโดด ๆ
การเขียนคาซาใช้ไมย้ มก ( ๆ)
แทนคาทีซ่ ากับคาแรก

การซาํ้ คําทําให้ความหมายเปลี่ยนไป
หลายแบบ ดงั น้ี
๑. คําซ้ําแสดงความหมายเป็น
พหูพจน์ ได้แก่ เด็กๆ หนุ่มๆ สาวๆ
เธอๆ
๒. คําซ้ําที่ให้ความหมายเชิงอุปมา
ได้แก่ หมาๆ (ไม่ดี) กล้วยๆ(ง่ายๆ)
ผๆี (ไมด่ )ี หมูๆ (งา่ ย)
๓. คําซํ้าท่ีเน้นความหมายให้ชัดเจน
ย่ิงข้ึน ได้แก่ เล็กๆ น้อยๆ สดๆ
เหมน็ ๆ เย็นๆ อนุ่ ๆ

๔. คําซ้ําท่ีทําให้ความหมายเบาลง เช่น
แดงๆ ดําๆ ขาวๆ เขียวๆ เหลืองๆ เป็นต้น
คําซาํ้ ชนดิ น้ีบ่งบอกว่าผพู้ ูดไม่แน่ใจว่าเป็นสี
นัน้ ๆ ทีเดียว
๕. คําซ้ําท่ีแยกความหมายออกเป็น
สว่ น ๆ ไดแ้ ก่

- แม่ค้าขายผลไม้เปน็ เขง่ ๆ
- เดอื น ๆ ดูผ่านไปเรว็ เหลือเกนิ
- แขกมารว่ มงานกันเปน็ คนั รถ ๆ
๖. คําซ้ําที่เปล่ียนระดับเสียงเพ่ือเน้น
ความหมายให้เดน่ ชัดย่งิ ข้ึน เช่น ค้าวขาว
พอ้ มผอม


Click to View FlipBook Version