The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suttisa.namyong1997, 2019-09-13 01:20:04

จารนุช

จารนุช

หน่วยที่ 10 การจัดการโลจสิ ติกสแ์ ละโซ่อปุ ทานระดบั โลก

10.1 รปู แบบการดาเนนิ งานโลจิสติกสร์ ะหว่งประเทศ

International business

1. กจิ กรรมการตลาดที่ดาเนินขา้ มเขตของประเทศ หรือคา้ ข้ามพรมแดน
ตวั อยา่ ง การสง่ ออกทวั่ ๆไป การจดั กิจกรรมการตลาดในตา่ งประเทศ

2. กิจกรรมและความรบั ผิดชอบ
จัดเตรยี มกจิ กรรมทางการตลาดท่ีมีความสะดวกและความเคยชินท่ีต้องการไปยังประเทศอ่ืนๆ โดย

ขึน้ อยู่กบั ความแตกต่างของสภาวะแวดล้อม เชน่ ภาษา เวลา
3. การสนบั สนุนและการประเมินความพยายามทางการตลาด

Multinational corporation

กลุ่มความร่วมมือทางธุรกิจหลายประเทศ มีการขยายจากธุรกิจระหว่างประเทศ ลงทุนและควบคุม
มากกว่า 1 ประเทศ

1. กิจกรรมการตลาดที่ดาเนินอยู่ในต่างประเทศโดยบริษัทในประเทศท่ีมีความแตกต่างจากกิจกรรม
ภายในประเทศ

ตัวอย่าง เชน่ บรษิ ัท CP ดาเนินกจิ การอย่ใู นประเทศจีน
2. กจิ กรรมและความรับผดิ ชอบ

การสรา้ ง ปฏบิ ัตกิ ารและควบคมุ กลยุทธท์ างการตลาดเพ่อื บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของกจิ การ
ต้องเผชิญกับความต้องการและความจาเป็นของตลาดเป้าห
มายหรือส่วนตลาด

หน่วยที่ 10 การจัดการโลจสิ ติกสแ์ ละโซ่อุปทานระดบั โลก

Global company

การประสานงาน การประสมประสาน การควบคุมกจิ กรรมการตลาดทีม่ ีความแนน่ อน โดยมีเปา้ หมาย
ของกิจการเพื่อให้ไดร้ ับพร้อมกนั ท้ังตลาดภายในประเทศและตา่ งประเทศ

1. มกี ารบรู ณาการการตลาดทีแ่ ตกตา่ งกนั ให้เปน็ หนึง่ เดียว โดยมองโลกเป็นตลาดเดียว
ตวั อยา่ ง เช่น การพฒั นาสนิ คา้ หนง่ึ ตาบล หนง่ึ ผลิตภัณฑ์ หรือผลติ ภัณฑท์ ี่มี Brand ระดบั โลก

เช่น Coca Cola , Gillette , 3M
2. กิจกรรมและความรบั ผิดชอบ
พยายามประสานความพยายามทางการตลาดท้งั การตลาดระหวา่ งประเทศและการตลาด

ตา่ งประเทศ โดยการรักษายอดขายและตาแหน่งทางการตลาดทั้งภายในและภายนอกประเทศอยา่ งสอดคล้อง
Trannasnatonal company

การส่งออก คือ การขายสินค้าจากประเทศตนเองไปยังประเทศอน่ื โดยมากมกั ใช้บรกิ ารตวั กลางในการ
ขนสง่ เรียกว่าผูร้ ับจัดการขนส่ง (Freight Forwarder) ผู้กระจายสนิ ค้า (Distributor) และบริษทั ซ้ือมาขายไป
(Trading Company)
ข้อดี คอื ลดความเสย่ี งจากการลงทนุ ในตา่ งประเทศ
ข้อเสยี คอื มีความยงุ่ ยากในการเข้าแข่งขันกับเจา้ ของประเทศ และอาจถูกกดี กนั ทางการค้า การตัง้ กาแพง
ภาษี จากัดโควตานาเขา้ และความเสย่ี งจากอัตราแลกเปล่ยี นทางการเงนิ ไม่สามรถควบคมุ ทางการตลาดได้

10.2 กลุ่มการค้าเสรี

FTA ย่อมาจาก Free Trade Area หรือเขตการค้าเสรี เป็นการทาความตกลงทางการค้าของประเทศ
อาจเป็น 2 ประเทศ (ทวิภาคี) หรือเป็นกลุ่มประเทศ (พหุภาคี) ที่จะร่วมมือขจัดอุปสรรคทางการค้าท้ังที่เป็น
ภาษศี ุลกากรและไม่ใช่ภาษศี ลุ กากร

1. ความเป็นมาของเขตการคา้ เสรี
แนวคิดของการมีนโยบายการค้าเสรี คือประเทศจะเลือกผลิตสินค้าที่ตนเองถนัด และมีต้นทุนการผลิตต่าที่สุด
คือจะผลิตสินค้าที่คิดว่าประเทศตนได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Advantage)มากท่ีสุด แล้วนา
สินค้าที่ผลิตไดน้ ีไ้ ปแลกเปล่ยี นกับสนิ คา้ ที่ประเทศตนไมถ่ นดั หรือเสียเปรียบ โดยแลกเปล่ียนสินค้ากับประเทศ
อื่นท่ีผลิตสินค้าแล้วได้เปรียบ ดังนั้นประเทศทั้งสองก็จะทาการค้าต่อกันได้ โดยต่างฝ่ายต่างสมประโยชน์กัน

นโยบายการคา้ เสรมี ดี งั น้ี
1. การผลิตตามหลักการแบง่ งานกันทาเลอื กผลติ สินคา้ ที่มีตน้ ทุนการผลิตตา่ และประเทศมีศักยภาพ
ในการผลิตสินค้าน้ันสูง
2. ไมเ่ กบ็ ภาษคี ้มุ กัน (Protective Duty) เพื่อคมุ้ ครองหรือปกป้องอุตสาหกรรมภายในประเทศ
3. ไมใ่ หส้ ิทธิพิเศษหรือกีดกนั สินค้าของประเทศใดประเทศหนึ่ง

หน่วยที่ 10 การจดั การโลจสิ ติกสแ์ ละโซอ่ ปุ ทานระดับโลก

4. เรียกเก็บภาษีในอัตราเดียวและให้ความเป็นธรรมแก่สินค้าของทุกประเทศเท่ากัน ไม่มีข้อจากัด
ทางการค้า (Trade Restriction) ทเ่ี ป็นอปุ สรรคตอ่ การค้าระหวา่ งประเทศไม่มีการควบคุมการนาเข้า หรือการ
ส่งออกท่ีเป็นอุปสรรคต่อการค้าระหว่างประเทศ ยกเว้นการควบคุมสินค้าบางอย่างที่เก่ียวกับสุขภาพอนามัย
และเป็นอันตรายต่อมนุษย์และสนิ คา้ ทเี่ กย่ี วด้วยศีลธรรมจรรยาหรือความม่นั คงของประเทศ

2. ความหมายของเขตการค้าเสรี
เขตการค้าเสรี หมายถึง การวมกลมุ่ เศรษฐกจิ โดยมเี ป้าหมายเพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกนั ภายในกลุ่ม ที่ทา
ขอ้ ตกลงใหเ้ หลือน้อยท่ีสดุ หรือเป็น 0% และใชอ้ ัตราภาษปี กตทิ ่ีสงู กว่ากบั ประเทศนอกกลมุ่ การทาเขตการคา้
เสรใี นอดีตมงุ่ ในดา้ นการเปิดเสรดี า้ นสนิ ค้า โดยการลดภาษีและอปุ สรรคทไี่ มใ่ ชภ่ าษเี ป็นหลักแตเ่ ขตการค้าเสรี
ในระยะหลัง ๆ นั้น รวมไปถงึ การเปิดเสรีดา้ นอ่ืน ๆ ดว้ ย เชน่ ด้านการบรกิ ารการลงทุน เป็นตน้

3. เขตการค้าเสรีทีส่ าคญั ของไทย
เขตการคา้ เสรที ีม่ ีมลู ค่าสูงในทางการค้า ไดแ้ ก่ เขตการคา้ เสรอี าเซียน (AFTA) เขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน ไทย-
ญ่ีปุ่น อาเซยี น-เกาหลี เป็นตน้

ประโยชนแ์ ละผลกระทบของการทา FTA
ในภาพรวมแล้วการทา FTA มที ง้ั ผลดแี ละผลกระทบ แต่คู่เจรจาได้พยายามศึกษารวบรวมข้อมูล และ

เจรจาเพ่ือให้ต่างฝ่ายต่างพอใจ ได้รับผลประโยชน์มากที่สุด หรือได้รับผลกระทบน้อยที่สุด อย่างไรก็ตาม
สภาพแวดล้อมเฉพาะ และสภาพแวดล้อมทั่วไปของคู่เจรจาจะแตกต่างกันไปในแต่ละ FTA หากจะวิเคราะห์
แต่ละด้านของแต่ละ FTA จะมีบางกลุ่มอุตสาหกรรม บางกลุ่มสินค้าได้ประโยชน์ บางกลุ่มสินค้าไม่ได้รับ
ผลกระทบ สาหรับกลุ่มสินค้าที่ได้รับผลกระทบ การเจรจาก็สามารถยืดเวลาในการลดหรือยกเว้นภาษีออกไป
จนกวา่ ภาคการผลติ จะสามารถปรบั ตัวได้ หรอื ภาครฐั จะเข้ามาชว่ ยเหลอื เยียวยา ชดเชยผลกระทบเหล่านั้นใน
ภาพรวมการทา FTA น่าจะมปี ระโยชนด์ งั นี้

1. ลดอปุ สรรคทางการคา้ ทัง้ ที่เปน็ อุปสรรคทางภาษี และทม่ี ิใชภ่ าษี
2. เพม่ิ มูลคา่ ในทางการค้าระหวา่ งประเทศสมาชิก
3. เพมิ่ โอกาสการส่งออก ได้ตลาดใหม่ และขยายตลาดเดิม
4. เพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน
5. สร้างอานาจตอ่ รองทางเศรษฐกิจ การเมอื ง
6. ให้ความร่วมมือทางด้านศุลกากร การแลกเปล่ียนความรู้ ข้อมูลการลักลอบ หลีกเล่ียง และสินค
อันตราย สนิ ค้าละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ
7. พฒั นาศกั ยภาพทางเศรษฐกจิ และดงึ ดูดการลงทุนจากตา่ งประเทศ
8. ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ อน่ื ๆ และเทคโนโลยีการผลิต
9. สรา้ งความสัมพันธใ์ ห้ใกล้ชดิ ยิง่ ขนึ้

หน่วยที่ 10 การจดั การโลจิสติกส์และโซอ่ ปุ ทานระดับโลก

10.3 ผเู้ กยี่ วข้องในการดาเนินการโลจสิ ตกิ สร์ ะหงา่ งประเทศ

3. ผู้ขายในประเทศ (Exporter)
4. ผู้อานวยความสะดวกในการสง่ ออก (Freight forwarder)
5. หนว่ ยงานภาครฐั ในประเทศ (Domestic Government)
6. หน่วยงานภาครัฐในต่างประเทศ (Foreign Government)
7. ธนาคารในต่างประเทศ (Foreign Bank)
8. ธนาคารในประเทศไทย (Domestic Bank)
9. ผ้ขู นสง่ ในประเทศ (Domestic Carrier)
10. ผู้ขนสง่ ระหวา่ งประเทศ (Freight forwarder)
11. ท่าขนส่งในประเทศ (Thai port and airport)
12. ทา่ ขนสง่ ในต่างประเทศ (Foreign port and airport)
13. ผขู้ นสง่ ในตา่ งประเทศ (Foreign Carrier)
14. ผูซ้ ้ือในตา่ งประเทศ (Importer)

10.4 เอกสารเพื่อการส่งออก

PO, Purchasing Order หรือใบส่ังซ้ือสินค้า – ใบน้ีคือใบที่ผู้นาเข้า (ผู้ซ้ือสินค้า) จะส่งให้ผู้ส่งออก
(ผูข้ าย) เพอ่ื เปิดออเดอรส์ าหรับการส่งั ซ้ือ ปัจจุบันใบนี้จะลดบทบาทลงและกลายเป็นการเขียนอีเมลหรือเขียน
ใบ Inquiry ไปทผ่ี ู้ขาย ซ่งึ สามารถส่ง PI มาใหไ้ ดเ้ ลย จะเห็นไดม้ ากจากประเทศจีนโดยเฉพาะเว็บซ้ือสินค้าดังๆ
อยา่ ง Alibaba, dhgate.com คนทา Shipping จะสะดวกข้นึ มาก

PI, Proforma Invoice – ใบนี้ได้กล่าวแล้วในข้อดังกล่าวว่าสามารถส่งใบ PI แทนที่ใบ PO ได้เลย
ซึ่งใบ PI น้ีจรงิ ๆ คอื ใบเรยี กเกบ็ เงนิ ทาหน้าทีบ่ อกราคาสนิ คา้ โดยผ้สู ง่ ออกจะออกใบน้ีใหก้ บั ผูน้ าเขา้

PL, Packing List รายการบรรจุสนิ ค้า – เปน็ เอกสารสาหรับแจ้งว่าสินค้าใด ถูกบรรจุหรือ Packing
มาแบบใด อยกู่ ลอ่ งใด โดยใบนจี้ ะออกโดยผสู้ ่งออก ฉะน้นั เหล่าบรรดา Shipping ควรต้องเก็บเอกสารนี้ไว้ให้ดี
เพราะหากหายจะระบุสนิ ค้าไดย้ ากมากจนเกดิ ความยุ่งยากและเสยี เวลา

CI, Commercial invoice – ใบน้ีเป็นเอกสารสาคัญมากๆ ท่ีบริษัท Shipping ท้ังหลายต้องเข้าใจ
และเรียนรู้ เพราะใบน้เี ป็นเอกสารทีผ่ ู้ส่งออกจะต้องออกใบนใ้ี ห้กับผู้นาเขา้ ใช้สาหรบั แนบไปกับเอกสารอ่ืนเพื่อ
ออกของกับกรมศุลกากร เสริมอีกนิดว่าในทางปฏิบัติเราอาจเจอปัญหาต่างๆ กับกรมศุลกากรได้ ไม่ว่าจะเป็น
เรือ่ งภาษี เรื่องการนาเขา้ ฉะน้ันคนทา Shipping ต้องเตรียมตัวให้พร้อมและหากเป็นไปได้ควรมีคนในบริษัทที่
พร้อมเคลียร์หากมปี ัญหา

หน่วยท่ี 10 การจดั การโลจสิ ติกสแ์ ละโซ่อุปทานระดับโลก

B/L, Bill of lading ใบตราส่งสินค้าทางเรือ – ใบนี้เป็นอีกใบที่สาคัญมากๆ สาหรับคนทา
Shipping น่นั คือใบที่ผ้สู ง่ ออกต้องใหข้ ้อมูลกบั ทางผู้ใหบ้ ริการขนส่ง (บริษทั ขนส่ง) เพื่อออกเอกสารน้ี ส่วนผู้นา
เขา้ จะต้องใช้และผนู้ าเข้าเองต้องตรวจแบบรา่ งก่อนท่จี ะออกตัวจริงเพื่อป้องกันความผดิ พลาด

AWB, Airway Bill ใบตรางสง่ ทางอากาศ – คลา้ ยๆ กบั ใบตราสง่ สนิ ค้าทางเรือ เพียงแต่มีข้อมูลต่า
กนั บางสว่ นเพราะขนสง่ ต่างกัน

D/O, Delivery order ใบปล่อยสินค้า – ใบนี้ผู้นาเข้าจาเป็นต้องใช้สาหรับนาไปปล่อยตู้สินค้าท่ี
ท่าเรือหรือท่าอากาศยาย โดยผู้ที่จะออกใบนี้ให้คือผู้ให้บริารขนส่งระหว่างประเทศ ดังน้ันใบนี้ก็สาคัญมาก
เช่นกัน ผู้ท่ีทาธรุ กจิ Shipping จาเป็นต้องดรู ายละเอียดใหด้ ี

Export / Import entry ใบขนสินค้าขาออก / ขาเข้า – ใบนี้เป็นเอกสารสาหรับแจ้งข้อมูลสินค้า
ทง้ั ชนดิ ราคา จานวนให้กับกรมศุลกากรทราบ โดยนาไปคิดภาษีและจัดเก็บข้อมูลการนาเข้าส่งออกของเราได้
โดยดาเนนิ การโดย Shipping

Marine/Air Insurance ประกนั ภัยขนสง่ สนิ คา้ – ใบนีส้ าคญั อย่างมากเช่นกัน โดยแนะนาว่าบริษัท
Shipping ทกุ เจ้าควรจะมีระบบประกันภายสินค้า โดยปกติประกันจะลดความเสียหายที่จะช่วยลดความเสี่ยง
จากการขนส่ง ซง่ึ คา่ ป้องกนั สงู สุดมกั อยทู่ ่ี 90% ของมลู ค่าสนิ ค้า

CO, Certificate of Origin เอกสารยืนยันถ่ินกาเนิด เป็นใบที่แสดงว่า สินค้าผลิตจากท่ีไหน
วัตถุดิบที่ใช้ผลิตมาจากท่ีใด เข้ากับข้อกาหนดการยกเว้นหรือลดภาษีหรือไม่ ปัจจุบันทุกประเทศมีสิทธิพิเศษ
ทางภาษีแบบทต่ี ้องใช้ใบยนื ยันถ่ินกาเนดิ กันหมดแลว้ ผู้ส่งออกและผนู้ าเข้า รวมถึงบริษัท Shipping ต้องศึกษา
มากๆ เพราะสามารถลดตน้ ทนุ นาเขา้ และสง่ ออกได้เป็นจานวนมากเลยทีเดียว

หน่วยท่ี 10 การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานระดับโลก

10.5 INCOTEERMS

Incoterms ย่อมาจาก International Commercial terms หมายถึงเงื่อนไขการส่งมอบสินค้า
ระหว่างผู้ค้าและผู้ซ้ือ ทาให้ท้ัง 2 ฝ่าย ทราบถึงขอบเขตความรับผิดชอบและค่าใช้จ่ายความเส่ียงต่างๆท่ี
เกิดข้นึ

1. EXW – Exworks
การสง่ มอบแบบนีผ้ ู้ขายจะรบั ผดิ ชอบสินคา้ ว่ามีครบไหม มีแตกหักตรงไหนรึเปล่า เฉพาะ ณ จุดทผ่ี ู้ค้าวางขาย
สนิ ค้าเท่านนั้ เช่น หนา้ ร้านขาย หนา้ โรงงานหรอื หลายคนเรียกเทอมแบบนว้ี ่า “ราคาหน้าโรงงาน”

2. FCA – Free Carrier
การส่งของประเภทน้ผี ู้ขายจะรบั ผดิ ชอบค่าใชจ้ ่ายในการขนส่งสนิ คา้ ถงึ แค่สนามบินหรอื ศุลกากร เพือ่ เตรียม
สง่ ออกโดยเคร่ืองบนิ หรือเรือ เม่ือสินค้าอยูบ่ นพาหนะที่กาลังเดินทาง คา่ ใช้จ่ายด้าน ค่าสง่ และอืน่ ๆ จะตก
เป็นภาระของผูซ้ ื้อ ฉะน้ันราคาของกร็ วมกึงค่า Shipping โดยเคร่อื งบินหรือเรือไปแลว้

หนว่ ยท่ี 10 การจดั การโลจสิ ติกส์และโซอ่ ุปทานระดบั โลก

3. FAS – Free Along Side
ชอื่ ก็บอกอยู่แล้วว่าฟรี คอื ไมเ่ สียค่าใชจ้ ่ายตง้ั แตต่ ้นทางจนถึงปากทางทา่ เรือ ขนสง่ หรือสนามบิน ฉะนัน้ ผคู้ ้าจะ
รบั ผดิ ชอบสนิ คา้ จนถงึ ปลายทางทีเ่ ปน็ กาบเรือของทา่ เรอื ต้นทางเท่านัน้ หลังจากน้นั ผู้ซ้ือจะตอ้ งรบั ผดิ ชอบ
คา่ ใช้จา่ ย และความเส่ยี งต่างๆเอง

4. FOB – Free Onboard Vessel
ผู้ขายจะรบั ผดิ ชอบคา่ ใช้จ่ายทุกอย่าง จนกระทงั่ สินคา้ ถูกขนข้ึนไปบนเรือ หรอื เครื่องบนิ หลังจากทข่ี องออก
เดินทางไปจนถงึ ทีห่ มาย ผู้ซอ้ื ตอ้ งรับผิดชอบเอง

5. CFR – Cost and Freight
ผู้ขายจะรบั ผิดชอบค่าขนสง่ ค่าภาษีศลุ กากรปลายทางและรับผิดชอบดา้ นความเสีย่ งเมื่อสนิ ค้าถึงเรอื หรือ
เคร่อื งบิน ถ้าความเสยี่ งระหวา่ งที่เครื่องบนิ หรือเรอื ออกเดินทางผู้ขายจะไม่มสี ว่ นรับผิดชอบ

6. CIF – Cost, Insurance & Freight
เทอมนผ้ี ู้ขายจะต้องรบั ผิดชอบคา่ ใชจ้ ่ายต่างๆในการส่งสนิ ค้าเชน่ ค่าขนสง่ และคา่ ประกัน ระหว่างทางไปที่เรือ
จนถงึ บนเรือ ถ้าเกดิ มีการเสียหายบนเรอื ผขู้ ายต้องรับผดิ ชอบ แตห่ นา้ ที่ของผขู้ ายจะหมดลงเมื่อสินคา้ ถงึ ท่าเรือ
ปลายทาง

7. CIP – Carriage and Insurance Paid To
ผู้ขายจะดแู ลครอบคลุมไปถงึ ชว่ งทต่ี วั แทนรับสนิ คา้ หรอื บริษัทโลจิสติกสท์ มี่ ารับชว่ งตอ่ เพอ่ื ส่งสนิ ค้าไปถงึ มือ
ผซู้ ื้ออยา่ งสมบูรณ์ ผู้ขายจะดูแลค่าประกันสนิ ค้า คา่ ภาษศี ุลกากร และคา่ ขนส่ง เปน็ ตน้

8. CPT – Carriage Paid To
ผขู้ ายจะต้องรบั ผดิ ชอบคา่ ใชจ้ ่าย จนถึงปลายทางทีบ่ ริษัทขนส่งมารับของ ภาระตา่ งๆเหลา่ น้อี นั ได้แก่ ค่า
ขนสง่ คา่ ประกนั สินคา้ จะสิ้นสุดเมอ่ื สินคา้ ถกู ส่งมอบไปสู่บรษิ ัทขนส่ง

9. DDU – Delivery Duty Unpaid
เทอมน้จี ะใหค้ านิยามของการส่งมอบสินค้าอยา่ งสมบรู ณแ์ บบ เมอื่ สนิ ค้าถูกขนลงจากรถบรรทกุ หรอื นาไปไว้
ตามปลายทางทร่ี ะบุไว้ เชน่ ขนไปไว้ที่อาคารเก็บสินค้าของผซู้ ้ือ ไวท้ ี่บา้ น ไว้ที่ทางานของผูซ้ ือ้ เปน็ ตน้

10. DAP – Delivered At Place
เทอมนี้ผู้ขายจะต้องรบั ผิดชอบเองทุกอย่างค่ะ ยกเว้นภาษีนาเข้าในแตล่ ะประเทศปลายทางที่ของจะไปถงึ และ
ค่าประกันสนิ คา้ เมื่อเกดิ เหตไุ มค่ าดคิด สิ่งเหล่านี้จะเป็นภาระของผู้ซ้ือ

11. DDP – Delivered Duty Paid
เทอมประเภทนผ้ี ้ซู ้ือจะชอบเปน็ พิเศษ เพราะผคู้ า้ ต้องรบั ผิดชอบค่าใช้จา่ ยไมว่ า่ จะเป็นค่าขนสง่ สนิ คา้ ขน้ึ รถ ลง
เรอื ขนขึ้นเครือ่ งบนิ คา่ ประกันสนิ คา้ คา่ ศลุ กากร ทุกสงิ่ อย่างผูซ้ ื้อไม่ต้องรับผิดชอบใดๆ ทัง้ นั้น มักพบบ่อยกบั
Market Place ดงั ๆ อย่าง Amazon

หนว่ ยท่ี 10 การจัดการโลจิสติกสแ์ ละโซอ่ ุปทานระดบั โลก

หนว่ ยการเรียนรทู้ ้ายบท

1. International business หมายถึงยกเว้นข้อใด
ก. กจิ กรรมและความรบั ผดิ ชอบ
ข. การสนับสนุนและการประเมินความพยายามทางการตลาด
ค. การตลาดท่ดี าเนนิ ข้ามเขตของประเทศ หรอื ค้าข้ามพรมแดน
ง. การขบั รถส่งของ

2. CIP ยอ่ มาจากคาว่า
ก. Cass la pi
ข. cat lam pa
ค. deldrt
ง. Carriage and Insurance Paid To

3. Multinational corporation กลมุ่ ความร่วมมือทางธรุ กิจหลายประเทศ มีการขยายจาก
ธรุ กจิ ระหว่างประเทศ ลงทนุ และควบคุมกีป่ ระเทศ

ก. มากกว่า1ประเทศ
ข. 2
ค. 3
ง. 6

4. FTA ย่อมาจากคาวา่
ก. Free Trade Area
ข. Free Tas Ay
ค. Ferr cam
ง. Ferr Cam Aom

หนว่ ยท่ี 10 การจดั การโลจิสติกสแ์ ละโซ่อปุ ทานระดบั โลก

5. ผขู้ ายในประเทศ คอื ข้อใด
ก. (Exporter)
ข. (Freight forwarder)
ค. (Domestic Government)
ง. (Foreign Government)

6. ผู้อานวยความสะดวกในการสง่ ออก คือขอ้ ใด
ก. (Exporter)
ข. (Freight forwarder)
ค. (Domestic Government)
ง. (Foreign Government)

7. หนว่ ยงานภาครัฐในประเทศ คอื ข้อใด
ก. (Exporter)
ข. (Freight forwarder)
ค. (Domestic Government)
ง. (Foreign Government)

8. หน่วยงานภาครฐั ในประเทศ คอื ขอ้ ใด
ก. (Exporter)
ข. (Freight forwarder)
ค. (Domestic Government)
ง. (Foreign Government)

10. ผซู้ อ้ื ในต่างประเทศ ข้อใด
ก. (Importer)
ข. (Freight forwarder)
ค. (Domestic Government)
ง. (Foreign Government)


Click to View FlipBook Version