The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน(วางแผนเเละวิเคราะห์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kwan.ream98, 2021-11-05 04:40:38

รายงานผลการดำเนินงาน(วางแผนเเละวิเคราะห์

รายงานผลการดำเนินงาน(วางแผนเเละวิเคราะห์

จา้ งวเิ คราะห์และวางแผนโครงการ
พฒั นาศกั ยภาพเพื่อสร้างกระบวนการทางาน

ในรปู ภาคีเครือขา่ ยชมุ ชน

ผู้จัดทา
นางสาวรนิ รดี นพกจิ

ณ มหาวิทยาลยั ราชภัฏราไพพรรณี จงั หวดั จนั ทบรุ ี

สารบัญ

เร่ือง หน้า

บทท่ี 1 วเิ คราะห์โครงการ 1

1.1 แนวคดิ เกยี่ วกับกจิ การเพือ่ สังคม 1

1.2 ประเภทของกิจการเพ่ือสงั คม 1

1.3 คุณลกั ษณะของวสิ าหกจิ เพอื่ สังคม/กิจการเพื่อสงั คม 1

1.4 วสิ าหกจิ เพื่อสงั คม/กจิ การเพ่ือสังคมในประเทศไทย 2

1.5 รปู แบบของวสิ าหกิจเพ่ือสงั คม 3

1.6 ปัจจยั ความสาเร็จของกจิ การเพอ่ื สงั คม 4

บทที่ 2 แผนการดาเนินโครงการ 6

2.1 ศกึ ษาเกีย่ วกับ Social Enterprise : SE 7

2.2 ยกร่างรายชอื่ คณะกรรมการ SE 7

2.3 ศึกษาเกีย่ วกบั Positioning ของรา้ นค้า/แบรนด์ และหลกั เกณฑ์การคดั เลือกสินค้า/ 7

ผลิตภณั ฑ์

2.4 ศึกษาเกยี่ วกับผลิตภณั ฑ์ OEM 8

2.5 ศึกษาผลติ ภณั ฑเ์ พอ่ื การแปรรปู 9

2.6 ศึกษาเป้าหมายเรื่องการจดทะเบียน SE 9

2.7 เสนอรายช่อื คณะกรรมการเขา้ สภา 9

2.8 ประชมุ คณะกรรมการประจาเดือน 9

2.9 ศกึ ษาดูงาน 9

2.10 อบรมการตลาด พฒั นาช่องทางการตลาด พัฒนา Platform และคลปิ วดิ ีโอ 10

2.11 ถอดบทเรยี น/สรุป 10

บทที่ 3 ผลการดาเนินโครงการ 11

3.1 ผลการศกึ ษาเกยี่ วกับ Social Enterprise 11

3.2 สรุปการยกรา่ งรายชือ่ คณะกรรมการ SE 16

3.3 ผลการศึกษาเกี่ยวกับ Positioning ของร้านค้า/แบรนด์ และหลักเกณฑ์การคัดเลือก 20

สนิ คา้ /ผลติ ภณั ฑ์

3.4 ผลการศึกษาเก่ียวกับผลิตภณั ฑ์ OEM 21

3.5 ผลการศึกษาผลิตภณั ฑเ์ พื่อการแปรรปู 24

3.6 ผลการจดั ประชมุ คณะกรรมการประจาเดอื น 25

สารบญั ตาราง

ตารางท่ี หนา้
3.1 แสดงคาถาม และคาตอบระหว่างผู้เข้าร่วมอบรมกับบริษัทดี มี สุข ในการอบรมหนุนเสริม 15

ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ดา เ นิ น ง า น ภ า ย ใ ต้ โ ค ร ง ก า ร ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ บุ ค ล า ก ร แ ล ะ ก ล ไ ก เ พื่ อ
ขบั เคลือ่ นกจิ การเพอ่ื สงั คม (Social Enterprise : SE)

สารบญั รปู ภาพ

ภาพท่ี หนา้
1.1 แสดงคณุ ลักษณะของวสิ าหกิจเพ่ือสังคม/กจิ การเพ่อื สงั คม 2
1.2 แสดงปัจจัยความสาเรจ็ ของกิจการเพื่อสังคม 5
3.1 สรุปสมั มนา เร่ืองก้าวต่อไปของวิสาหกิจเพื่อสงั คม 11
3.2 รายงานการประชุมเพื่อวางแผน และกาหนดรปู แบบการดาเนนิ งานโครงการ SE 12
3.3 สรุปความรเู้ ร่อื งเวทีสร้างการเรยี นรู้ SE TALK FOR CSO ครั้งที่ 1 13
3.4 สรุปความรูเ้ ร่ืองแผนธรุ กิจเพื่อชมุ ชน (CBMC) 14
3.5 สรุปความรู้การอบรมหนนุ เสริม 15
3.6 เขา้ พบเกษตรจังหวดั จนั ทบุรีเพ่ือขอเชญิ เปน็ คณะกรรมการ 16
3.7 เข้าพบพาณิชย์จงั หวดั จนั ทบรุ ีเพอ่ื ขอเชญิ เป็นคณะกรรมการ 17
3.8 เข้าพบผู้อานวยการการท่องเทีย่ วแหง่ ประเทศไทย สานกั งานจงั หวดั จันทบรุ ีเพอ่ื ขอเชญิ เปน็ 17

คณะกรรมการ 18
3.9 หนังสอื ขอเชญิ เปน็ คณะกรรมการในโครงการฯ 19
3.10 ตวั อยา่ งหนงั สือตอบรับเป็นคณะกรรมการในโครงการฯ 20
3.11 ประชุมคณะกรรมการดาเนนิ งานเพ่ือคดิ ค้นหลกั การทางานเกยี่ วกับ Positioning 20
3.12 หลกั เกณฑ์ในการคดั เลือกสนิ ค้า 21
3.13 สรุปหลกั การจดทะเบยี นเป็นวสิ าหกิจเพื่อสังคม 22
3.14 กระบวนการจดั ทา OEM น้าด่มื ในฐานะเป็นผูร้ บั จ้างผลิต และในฐานะลูกค้า 22
3.15 กระบวนการจัดทา OEM อาหารเสริม ในฐานะเป็นผู้รับจา้ งผลิต และในฐานะลูกค้า 23
3.16 กระบวนการจัดทา OEM เครือ่ งสาอาง ในฐานะเป็นผู้รับจา้ งผลิต และในฐานะลกู ค้า 23
3.17 การจดทะเบียนเคร่อื งหมายการค้า 24
3.18 ข้อมูลวสิ าหกจิ ชุมชนเกษตรเพ่อื สุขภาพบ้านปัถวี 24
3.19 ข้อมลู วสิ าหกิจชมุ ชนกลุ่มรักษ์ช้างรกั ษาปา่ ตะวนั ออก 25
3.20 รายงานการประชมุ เพื่อวางแผน และกาหนดรปู แบบการดาเนินงานโครงการ SE 25
3.21 จดั ประชุมในรปู แบบออนไลน์ วนั ท่ี 26 กนั ยายน พ.ศ. 2564 26
3.22 รายงานการประชุมเรื่องติดตามผลความคืบหน้าการดาเนินงานของโครงการฯ 26
3.23 จัดประชุมในรปู แบบออนไลน์ วนั ที่ 27 ตลุ าคม พ.ศ. 2564

บทท่ี 1
วิเคราะหโ์ ครงการ

1.1 แนวคิดเก่ยี วกบั กิจการเพอื่ สงั คม

กิจการเพื่อสังคม หรือ Social Enterprise (SE) คือ กิจการท่ีมีจุดมุ่งหมายหลักในการแก้ไขปัญหาสังคม
และส่ิงแวดล้อม โดยใช้กลไกการบริหารจัดการที่ดีของภาคธุรกิจมาบวกกับความรู้และนวัตกรรมสังคม
มคี วามยั่งยืนทางการเงนิ จากรายได้หลักท่ีมาจากสินค้าหรือบริการโดยไมต่ ้องพ่ึงพาเงินบรจิ าค และมีการนาผล
กาไรทเี่ กดิ ขน้ึ ไปลงทุนซ้าเพื่อขยายผลกระทบทางสังคมทีเ่ กิดขึน้

1.2 ประเภทของกจิ การเพือ่ สงั คม

กิจการเพ่ือสังคมสามารถแบ่งจากการพัฒนารูปแบบกิจการท่ีมาจากองค์กรประเภทต่างๆ ที่มี
ความหลากหลายได้ 3 ประเภท ดังนี้

1.2.1 กิจการเพ่ือสังคมที่ไม่แสวงหากาไรแต่มีการหารายได้ (Nonprofit with income generating
activities)

เป็นองค์กรมีส่วนหน่ึงในการดาเนินงานท่ีแสวงหากาไร ท่ีให้ความสาคัญกับพันธกิจทางสังคม
มากกว่าผลกาไร และมีเงินทุนในการดาเนินงานจากการบริจาคหรือการสนับสนุนเป็นหลัก กิจการเพ่ือสังคม
ประเภทน้ีมกั พัฒนามาจากองคก์ รสาธารณประโยชนห์ รือองค์กรการกศุ ล เชน่ มูลนธิ หิ รอื สมาคมต่างๆ

1.2.2 กิจการเพือ่ สงั คมประเภทลกู ผสม (Hybrid)
กิจ กา ร เ พ่ื อสั ง ค มป ร ะ เ ภ ท น้ี เ ป็ น กา ร ผ ส มผ ส า น ร ะ ห ว่ า ง อง ค์ กร แ ส ว ง ห า ผ ล กา ไร แ ล ะ อ ง ค์ ก ร

ไม่แสวงหาผลกาไร ให้สามารถเช่ือมโยงและสนับสนุนซ่ึงกันและกัน ได้โดยที่องค์กรแสวงหาผลกาไรจะนา
รายไดไ้ ปสนบั สนนุ องค์กรไมแ่ สวงหาผลกาไรทมี่ ีพันธกจิ ทางสังคมอีกทอดหนงึ่

1.2.3 กจิ การเพอื่ สังคมทพ่ี ัฒนาจากธุรกจิ ทม่ี ีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม (Socially Responsible Business)
กิจการเพ่ือสังคมประเภทน้ีเป็นองค์กรธุรกิจที่มีวัตถุประสงค์ในการแสวงหากาไร และมีการนาเอา

กาไรกลับคืนสู่ผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของ แต่ในขณะเดียวกันก็ได้ให้ความสาคัญกับพันธกิจทางสังคมควบคู่ไปกับ
พันธกจิ ทางธรุ กิจด้วย โดยมกี ารเชือ่ มโยงการแก้ไขปญั หาและพฒั นาสงั คมเข้าไปส่กู ระบวนการปกติของธรุ กจิ

1.3 คุณลักษณะของวสิ าหกิจเพือ่ สงั คม/กิจการเพ่อื สงั คม

จากความหมายของวิสาหกิจเพื่อสังคม/กิจการเพื่อสังคม แม้จะมีรายละเอียดบางอย่างที่แตกต่างกัน
แต่สงิ่ ที่เป็นแก่นหลกั ของการดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของวิสาหกิจเพ่ือสังคม/กิจการเพ่ือสังคมยังคงมุ่งหวัง
ในสิ่งเดียวกัน คือ การดาเนินการเพ่ือหาทางแก้ปัญหาอย่างย่ังยืนเก่ียวกับสังคมและชุมชน โดยคานึงถึง
ผลประโยชน์สู่สังคมเป็นหลัก ซ่ึงการดาเนินงานของกิจการเพื่อสังคมมี “ความหลากหลาย” ทั้งรูปแบบ
การดาเนินการ แนวทางการดาเนินธุรกิจ และวิธีการดาเนินการท่ีอิสสระ (Diversity & Independence)
แต่จะมีลักษณะสาคัญท่ีสามารถบ่งช้ีได้ว่า การดาเนินงานดังกล่าวเป็นวิสาหกิจเพื่อสังคม/กิจการเพ่ือสังคม
ตามลักษณะ ดงั ต่อไปนี้

ประการที่ 1 มีพันธกิจขององค์กรเพื่อแก้ไขปัญหาของสังคมท่ีส่งผลกระทบต่อสังคม และมีการคานึงถึง
ความยั่งยืนทางการเงิน (Sustainability) เป็นการให้ความสาคัญทั้งด้านสังคมในการสร้างประโยชน์ และ
การสร้างรายได้ให้แกอ่ งคก์ รเพอ่ื การลงทุนต่อไปได้อยา่ งย่งั ยืน

2
ประการท่ี 2 มีการใช้กลไกการตลาด และการคิดค้นนวัตกรรม ซึ่งสามารถนาไปใช้ และมีประสิทธิภาพ
ทางการแข่งขนั ในตลาดไดจ้ ริง (Competitiveness)
ประการที่ 3 รายได้ส่วนใหญ่ขององค์กรต้องมาจากการดาเนินธุรกิจ ไม่ใช่มุ่งเน้นเพียงเงินบริจาค
(Self-sustain) เพื่อเปน็ การพึง่ พาตนเองได้อยา่ งยัง่ ยนื
ประการที่ 4 ผลกาไรจากการดาเนินงานขององค์กรส่วนใหญ่ต้องนากลับมาลงทุนเพ่ือสังคมหรือองค์กร
(Reinvest)
ประการท่ี 5 วิสาหกิจเพ่ือสังคม/กิจการเพ่ือสังคมจะมีการติดต่อความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในสังคม
สามารถประสานการทางานร่วมกับทุกฝ่ายโดยไม่มีข้อจา กัดมาผูกมัดหรือเป็นอุปสรรคในก ารดาเนิ นง าน
(No Boundary) ดังนั้นการจะเป็นวิสาหกิจเพ่ือสังคม/กิจการเพ่ือสังคมเป็นการดาเนินงานที่เปล่ียนแปลง
แนวคิดการทาธุรกิจแบบเดิมที่คานึงถึงเพียงกาไรสูงสุดท่ีจะได้รับมาจากการดาเนินการมาเป็นประสิทธิภาพ
สงู สดุ เพื่อประโยชน์แกส่ ังคมและสามารถอยูไ่ ด้อยา่ งย่ังยนื ขององคก์ รและชุมชนไปพรอ้ ม ๆ กัน

ภาพท่ี 1.1 แสดงคุณลักษณะของวิสาหกิจเพื่อสังคม/กิจการเพอ่ื สงั คม
ท่มี า : สานกั งานสรา้ งเสรมิ กจิ การเพ่ือสงั คมแห่งชาติ (สกส.)

1.4 วสิ าหกิจเพ่อื สังคม/กจิ การเพื่อสงั คมในประเทศไทย

ประเทศไทยเป็นอีกหนึ่งประเทศที่มีการลงทุนประกอบธุรกิจและอยู่ในตลาดการแข่งขันทางธุรกิจ
ที่รุนแรงจนก่อให้เกิดผลกระทบทางสังคม และยังรวมไปถึงผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีอีกด้วย
สร้างปัญหาทางสงั คมไม่ว่าจะเป็นความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจจากความเป็นทุนนิยมที่มุ่งเน้นแต่เพียงผลกาไร
สูงสุด โดยไม่มีการคานึงถึงประโยชน์ต่อส่วนร่วม ผู้ท่ีตกทุกข์ได้ยากบางกลุ่มก็ต้องพ่ึงพารัฐบาลหรือองค์กร
สาธารณะกุศลในการให้ความช่วยเหลือสาหรับผู้ท่ีไม่อาจแข่งขันในตลาดที่รุนแรงสาหรับผู้ที่มีความพร้อมใน
ปัจจัยต่าง ๆ มากกว่าได้ ดังนั้นประเทศไทยจึงรับเอาแนวคิดที่มีการพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาเหล่านี้อย่างย่ังยืน
มาปรับใช้ น่ันคือ แนวคิดวิสาหกิจเพื่อสังคมที่นาเอาการสร้างประโยชน์เพ่ือสังคมตามเป้าประสงค์ขององค์กร
สาธารณะกุศลมาผสมผสานกับการทาธุรกิจของภาคเอกชนที่สามารถสร้างกาไร เม่ือนามาผนวกรวมกัน
ก็จะเป็นรูปแบบของการ ทาธุรกิจโดยมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาสังคมเป็นวัตถุประสงค์หลัก โดยยังมีผลกาไร
เพ่ือนามาพัฒนาการดาเนินงาน ด้วยการพ่ึงพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ประเทศไทยเห็นความสาคัญของประเด็น

3

การจัดต้ังวสิ าหกิจเพื่อสังคมจึงมีการจดั ต้ังสานักงานสรา้ งเสริมกิจการเพ่ือสังคมแห่งชาติ (สกส.) ซงึ่ เป็นองค์กร
ท่ีจัดตั้งข้ึนตามระเบียบกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพว่าด้วยการจัดต้ังสานักงานสร้างเสริมกิจการ
เพ่ือสังคมแห่งชาติ พ.ศ.2553 เพื่อเป็นกลไกสนับสนุนการดาเนินงานตามแผนแม่บทว่าด้วยการสร้างเสริม
กิจการเพ่ือสังคม ในปี พ.ศ. 2553-2557 ตามนโยบายของรัฐบาล โดยสานักงานสร้างเสริมกิจการเพ่ือสังคม
แห่งชาติมีเป้าหมายสาคัญในการกระตุ้น สนับสนุน ประสานความร่วมมือเพ่ือให้เกิดกิจการเพ่ือสังคมและ
พัฒนาเป็นเครือข่ายกิจการเพ่ือสังคมท่ัวประเทศไทย รวมทั้งตอบสนองตอ่ ปัญหาท่ีเกิดขึ้นทางเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม โดยครอบคลุมการประกอบการจากบุคคลทั่วไปท่ีมีจุดมุ่งหมายในการทาธุรกิจ
ที่คานึงถึงผลกระทบต่อสังคม และส่ิงแวดล้อม ให้เกิดแรงบันดาลใจและสร้างจิตสานึกท่ีดีให้ทุกคนสามารถมี
ส่วนรว่ มรบั ผิดชอบต่อสังคม นาพาใหส้ ังคมโดยรวมดีขนึ้ ตอ่ ไป

ในปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยได้มีการออกกฎหมายเกี่ยวกับวิสาหกิจเพื่อสังคม/กิจการเพื่อสังคมของ
ประเทศไทยไว้ในพระราชกฤษฎีกา ฉบับท่ี 621 พ.ศ. 2559 โดยมีการให้ความหมายของคาว่าวิสาหกิจเพ่ือ
สังคมว่าเป็น “บริษัทหรือห้างหนุ้ สว่ นนิตบิ ุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ซึ่งมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อประกอบกิจการ
ขายสินค้าหรือการให้บริการ โดยมุ่งส่งเสริมการจ้างงานในท้องถ่ินท่ีวิสาหกิจเพื่อสังคมต้ังอยู่หรือมีเป้าหมาย
ในการจัดต้ังตั้งแต่แรกเริ่มในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน สังคม หรือส่ิงแวดล้อม โดยมิได้มุ่งสร้างกาไร
สูงสุดต่อผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วน และนาผลกาไรไม่น้อยกวา่ ” และมีการกาหนดถึงหลกั เกณฑ์เงื่อนไขในการ
เป็นวสิ าหกจิ เพ่ือสงั คมไว้วา่

วิสาหกิจเพือ่ สงั คมต้องปฏบิ ัติตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงอ่ื นไขดังต่อไปน้ี
(1) มีคาว่า “วสิ าหกจิ เพอ่ื สงั คม” อยใู่ นช่อื บริษัทหรือห้างหนุ้ ส่วนนติ บิ คุ คลนน้ั
(2) ได้รับการรับรองเป็นวสิ าหกจิ เพื่อสังคมจากหน่วยงานที่อธบิ ดปี ระกาศกาหนด
(3) ย่ืนคารอ้ งขอและไดร้ บั อนมุ ัติใหเ้ ปน็ วสิ าหกิจเพือ่ สงั คมจากอธิบดีตามแบบที่อธิบดีประกาศกาหนด
(4) ไม่มีการจ่ายเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกาไรหรือเงินลดทุนของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน

นิติบุคคล อันเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (4) (ข) และ (ง) แห่งประมวลรัษฎากร ให้แก่ผู้ถือหุ้นหรือ
ผ้เู ป็นหุน้ ส่วน

(5) ไม่มีการจาหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สินท่ีใช้ในกิจการ เว้นแต่การโอนทรัพย์สินตามท่ีอธิบดี
ประกาศกาหนด

(6) ไม่เป็นคู่สัญญากับผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนและไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนใดๆ ให้แก่ผู้ถือหุ้น
หรือผู้เป็นหุ้นส่วน รวมถึงบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วน เว้นแต่ที่อธิบดีกรมสรรพากร
ประกาศกาหนด

(7) ไม่เปล่ียนแปลงประเภทการประกอบกิจการจากกิจการวิสาหกิจเพ่ือสังคมเป็นการประกอบกิจการ
อื่นกอ่ นครบสิบรอบระยะเวลาบัญชี นบั ตงั้ แต่รอบระยะเวลาบัญชีแรกท่ีไดร้ ับอนมุ ัติให้เปน็ วิสาหกจิ เพื่อสังคม

(8) ปฏิบัตติ ามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงอ่ื นไขอ่ืนทอี่ ธิบดปี ระกาศกาหนด

1.5 รูปแบบของวสิ าหกิจเพื่อสังคม

ในการจัดกลุ่มวิสาหกิจเพ่ือสังคมให้เห็นลักษณะร่วมนั้น พบว่า ศาสตราจารย์ ดร. โมฮัมมัด ยูนูส
ไดก้ าหนดธุรกิจเพื่อสงั คม ออกเปน็ 2 รูปแบบ คือ

รูปแบบท่ี 1 เป็นธุรกิจท่ีเน้นการสร้างประโยชน์โดยตรงกับกลุ่มเป้าหมายท่ีต้องการแก้ไขปัญหาทาง
สังคม จงึ เน้นไปทีส่ ินค้าหรือบริการในราคาต่าหรอื ราคาทเี่ หมาะสม

4

รูปแบบที่ 2 ที่เป็นธุรกิจที่ถือครองกรรมสิทธ์ิโดยกลุ่มเป้าหมายท่ียากจน ดังน้ันจึงสามารถเน้นการสร้าง
ผลกาไรได้อยา่ งเต็มท่ี

นอกจากการพิจารณาตามประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นแล้ว หากนามุมมองของโมเดลทางธุรกิจมาเป็นหลัก
จะพบว่า วิสาหกิจเพ่ือสังคมมีรูปแบบท่ีแตกต่างกันอย่างมีนัยยะสาคัญ โดยสามารถจาแนกวิสาหกิจเพ่ือสังคม
ออกได้เป็น 5 ลกั ษณะ ได้แก่

(1) โมเดลที่เน้นการสร้างหน่วยธุรกิจท่ีมีรายได้สูง เพ่ือนากาไรไปช่วยเหลืองานหรือกิจกรรมทาง
สังคม (Plough-back-profit model) ตัวธุรกิจไม่ต้องสร้างผลกระทบทางสังคมโดยตรง และไม่จาเป็นต้อง
สร้างผลกระทบทางสังคมโดยตรง และไม่จาเป็นต้องเกี่ยวข้องโดยตรงกันกับกิจกรรมทางสังคมท่ีไปช่วยเหลือ
เชน่ กรณีร้านอาหาร Cabbages & Condoms ของคณุ มชี ยั วีระไวทยะ

(2) โมเดลธุรกิจท่ีเน้นการขายสินค้า และบริการในตลาดปกติ เพื่อนาผลกาไรไปสนับสนุนสินคา้
และบริการให้กับกลุ่มที่อยู่ฐานล่างของสังคม (Cross-subsidy model) เช่น กรณีของกรามีน-ดานอนที่ผลิต
โยเกิร์ตขายคนในเมืองเพื่อให้มีส่วนต่างกาไรไปช่วยให้โยเกิร์ตท่ีขายในชนบทมีราคาถูกลง คนยากจนสามารถ
ซ้ือบริโภคเองได้ หรือกิจการท่ีใช้โมเดล One for One คือทุกสินค้าท่ีถูกซ้ือจะมีการบริจาคฟรี 1 ช้ินให้กับ
กลุ่มคนด้อยโอกาสที่เป็นกลุ่มเป้าหมายทางสังคมของกิจการโมเดลน้ีถูกใช้การอย่างแพร่หลาย เช่น รองเท้า
TOMS SHOES (Friends of Toms)

(3) โมเดลธุรกิจที่เน้นไปท่ีการสร้างผลกระทบทางสังคมผ่านกระบวนการ และสินค้า/บริการ ของ
กิจการเอง (Social needs model) ได้แก่ กิจการท่ีจาหน่ายสินค้าหรือให้บริการท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม อินทรีย์
การค้าที่เป็นธรรม ตัวอยา่ งของกรณี เชน่ เลมอนฟาร์ม มลู นธิ ิโรงพยาบาลอภัยภเู บศร์ บรษิ ทั นวตั กรรมชาวบ้าน

(4) โมเดลธุรกิจท่ีถือครองโดยผู้ด้อยโอกาสหรือกลุ่มชายขอบ (Beneficiaries-owned model)
เช่น ธนาคารกรามีน (ถือหุ้นส่วนใหญ่โดยคนฝากเงินท่ีเป็นคนยากจน) กิจการ TRY ARM (ถือหุ้นร่วมกันโดย
กล่มุ คนท่ถี ูกเลิกจา้ งอยา่ งไม่เปน็ ธรรมจากบรษิ ัทชุดชนั้ ในสตรี)

(5) โมเดลธุรกิจท่ีขายผลิตภัณฑ์หรือให้บริการปกติในระบบตลาดแต่เน้นการจ้างงาน
ผู้ด้อยโอกาสเป็นหลักในโครงสร้างองค์กร (Work Integration model) เช่น กิจการ Call center ของมูลนิธิ
เพอ่ื การพัฒนาคนพิการมหาไถ่ (พนักงานทัง้ หมดเป็นคนพิการ)

1.6 ปจั จัยความสาเร็จของกิจการเพอื่ สังคม

ปจั จัยหลักที่มีสว่ นสาคญั ทท่ี าให้การดาเนินกจิ การเพ่อื สังคมประสบผลสาเร็จ ประกอบดว้ ย 8 ประการ ไดแ้ ก่
1.6.1 ความเป็นผปู้ ระกอบการทางสงั คม (Social Entrepreneurship)

ผู้ประกอบการทางสังคมเป็นผู้ให้กาเนิดและผลักดันให้ SE ประสบความสาเร็จ เพราะ SE ก็คือ
ธุรกิจที่มีเป้าหมายหลักในทางสังคม จึงจาเป็นต้องอาศัยผู้นาที่มีทักษะในการขับเคลื่อนธุรกิจ รวมทั้งมี
ความม่งุ มนั่ ท่จี ะแก้ไขปัญหาและพฒั นาสงั คมไปพร้อมกนั

1.6.2 เป้าหมายทางสังคม (Social Mission)
“ภารกิจทางสังคม” เป็นหน่ึงในภารกิจท่ีสาคัญท่ีสุด นอกเหนือจากการดาเนินธุรกิจด้วย เพราะ

กิจการเพ่ือสังคมน้ันเกิดข้ึนมาเพ่ือใช้ธุรกิจในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคมการกาหนดภารกิจทางสังคม
จงึ เป็นข้นั ตอนสาคัญและเป็นจุดเร่มิ ต้นของการกาหนดทศิ ทางการดาเนนิ งานของ SE

1.6.3 นวตั กรรมกรรมทางสงั คม (Social Innovation)
ในฐานะที่ SE มุ่งสร้างความเปล่ียนแปลงเชิงบวกให้กับสังคม SE จึงไม่อาจปฏิบัติงานให้

บรรลุผลสาเร็จด้วยวิธีการและแนวคิดทางธุรกิจทั่วไปได้ ความคิดสร้างสรรค์ของผู้ประกอบการท่ีปรากฏ

5
ในรูปของนวัตกรรมทางสังคมจึงเป็นเสมอื น “คานงัด” เพ่อื สรา้ งการเปลี่ยนแปลงได้อย่างแท้จรงิ

1.6.4 ขดี ความสามารถทางการแข่งขนั (Competitive Advantage)
ขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ ช่วยให้ SE มีประสิทธิภาพ (Efficiency) และ

ประสิทธิผล (Productivity) ในธุรกิจ และสามารถแข่งขันได้ ทาให้มีรายได้หล่อเลี้ยงภารกิจทางสังคมต่อไป
รวมถึงสามารถขยายกจิ การเพือ่ สร้างผลการดาเนินงานใหเ้ พ่ิมมากขึ้นได้

1.6.5 การเชื่อมสมั พันธก์ ับผู้มสี ่วนได้สว่ นเสีย (Stakeholder Engagement)
การดาเนินงานของ SE ต้องมีการเชื่อมโยง (Engage) กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder)

ทุกประเภท เพื่อให้ทราบว่าบุคคลดังกล่าวมีความสาคัญกับการดาเนินธุรกิจขององค์กรอย่างไร และนาข้อมูล
เหล่านั้นไปใช้ในการบริหารงานอย่างรบั ผิดชอบต่อผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสียทง้ั หมด

1.6.6 ความเปน็ เจา้ ของและมสี ว่ นรว่ มของสงั คม (Social Ownership)
SE ควรสร้างความเป็นเจ้าของให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (Inclusive Ownership) เพ่ือให้ทุกฝ่าย

ได้มีส่วนในการขับเคลื่อนกิจการอย่างแท้จริง การสร้างความเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วมให้แก่ชุมชนหรือสังคม
ภายนอกช่วยให้ SE สามารถรักษาภารกิจด้านทางสังคมให้ย่ังยืนต่อไป และสามารถทางานโดยได้รับ
ความร่วมมอื จากทกุ ฝา่ ยในสงั คม

1.6.7 ความสามารถในการขยายกิจการ (Scalability)
นอกเหนือจากการทากาไรและการรกั ษากิจการให้อยู่รอดแล้ว วัตถุประสงค์ของ SE ยังต้องรวม

ไปถึงการขยายกิจการให้เตบิ โตต่อไป ทงั้ ในด้านธรุ กิจและการดาเนินงานทางสงั คม
1.6.8 ผลสัมฤทธิ์ทางสังคม (Social Impact)
ผลสัมฤทธ์ิทางสงั คม หมายถึง ผลสัมฤทธิ์ท่ีเกิดจากการประกอบกิจการเพ่ือสังคม ซึ่งประเมินได้

จากการเปลี่ยนแปลงแก้ไขประเด็นหรือปัญหาทางสังคมที่เกิดข้ึนจริง โดยผลสัมฤทธิ์ดังกล่าวจาต้องมี
ผลกระทบ (Impact ) ท่มี คี วามยง่ั ยืนในตวั อยา่ งเพียงพอ

ภาพท่ี 1.2 แสดงปัจจยั ความสาเรจ็ ของกิจการเพ่ือสงั คม
ทม่ี า : โครงการศึกษารูปแบบการจดั การกิจการเพ่ือสังคม (Social Enterprise : SE) สาหรบั ผู้สงู อายุ

ทมี่ า : โครงการศึกษารปู แบบการจดั การกจิ การเพือ่ สงั คม (Social Enterprise : SE) สาหรับผสู้ ูงอายุ

บทที่ 2 1 ต.ค. 64 – 15 ต.ค. 64
แผนการดาเนนิ โครงการ 16 ต.ค. 64 – 31 ต.ค. 64

แผนการดาเนินงานโครงการ Social Enterprise 1 พ.ย. 64 – 10 พ.ย. 64

ศกึ ษาเก่ยี วกบั Social Enterprise : SE

ยกร่างคณะกรรมการ SE

ศึกษาเกี่ยวกบั Positioning ของร้านคา้ /แบรนด์
และหลักเกณฑ์การคัดเลือกสินค้า/ผลติ ภัณฑ์

ศึกษาเกย่ี วกบั ผลติ ภัณฑ์ OEM 11 พ.ย. 64 – 31 ม.ค. 65
ศกึ ษาผลิตภัณฑ์เพ่ือการแปรรูป

ศึกษาเปา้ หมายในเรื่องของการจดทะเบียน SE 1 ก.พ. 65 – 28 ก.พ. 65

เสนอรายช่ือคณะกรรมการเข้าสภา 1 มี.ค. 65 – 31 ม.ี ค. 65

ประชมุ คณะกรรมการทกุ ๆเดือน ( ตุลาคม 64 – กนั ยายน 65 )

พาไปศึกษาดูงาน เมษายน 65 – พฤษภาคม 65

อบรมการตลาด พฒั นาช่องทางการตลาด พัฒนา Platform และคลิปวิดโี อ มิถนุ ายน 65

สรปุ โครงการ กรกฎาคม 65
สมั มนาข้อมูล/เผยแพรข่ อ้ มลู /ขยายผล สงิ หาคม 65 – กันยายน 65

7

2.1 ศกึ ษาเก่ียวกบั Social Enterprise : SE

2.1.1 สัมมนา (Virtual Seminar)
เข้าร่วมรับฟังสัมมนา เรื่องก้าวต่อไปของวิสาหกิจเพ่ือสังคม ในรูปแบบออนไลน์ เมื่อวันศุกร์ที่ 24

กันยายน พ.ศ. 2564
2.1.2 ประชุมเพ่ือวางแผน และกาหนดรูปแบบการดาเนนิ งาน
เข้าร่วมประชุมในรูปแบบออนไลน์ เพื่อวางแผน และกาหนดรูปแบบการดาเนินงานโครงการ SE

รว่ มกบั คณะกรรมการท่ีปรึกษา เมือ่ วันอาทิตยท์ ี่ 26 กนั ยายน พ.ศ. 2564
2.1.3 เวทสี รา้ งการเรียนรู้ SE TALK FOR CSO ครงั้ ที่ 1
เข้าร่วมรับฟังเวทีสร้างการเรียนรู้ SE TALK FOR CSO ครั้งที่ 1 ในรูปแบบออนไลน์ เมื่อวันศุกร์

ที่ 15 ตลุ าคม พ.ศ. 2564
2.1.4 แผนธุรกิจเพือ่ ชุมชน (CBMC)
เขา้ ร่วมรบั ฟงั แผนธุรกจิ เพอื่ ชุมชน (CBMC) ของคุณบอย ดอยเติมสขุ ในรูปแบบออนไลน์ เม่อื วัน

ศกุ ร์ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2564
2.1.5 อบรมหนนุ เสรมิ
เข้าร่วมอบรมหนุนเสริมระหว่างการดาเนินงานภายใต้โครงการการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและ

กลไกเพ่อื ขบั เคล่อื นกิจการเพ่อื สงั คม (Social Enterprise : SE) ในรปู แบบออนไลน์ เม่อื วันจนั ทรท์ ี่ 25 ตลุ าคม
พ.ศ. 2564

2.2 ยกรา่ งรายช่อื คณะกรรมการ SE

2.2.1 จดั ประชุมคณะกรรมการดาเนนิ งานเพอื่ ยกรา่ งรายชือ่ คณะกรรมการในโครงการฯ
2.2.2 จดั ตงั้ กลุ่มคณะกรรมการในโครงการฯ

จัดต้ังกลุ่มคณะกรรมการ โดยแบ่งเป็นฝ่ายต่าง ๆ เพื่อเรียนเชิญผู้ท่ีมีความรู้ ทักษะ และ
ความเชยี่ วชาญเฉพาะดา้ นมาเปน็ คณะกรรมการในโครงการฯ

(1) คณะกรรมการท่ปี รกึ ษา
(2) คณะกรรมการอานวยการ
(3) คณะกรรมการดาเนนิ งาน
(4) คณะกรรมการฝ่ายพฒั นาผลิตภัณฑแ์ ละออกแบบผลติ ภัณฑ์
(5) คณะกรรมการดา้ นการตลาดและพฒั นา Platform
2.2.3 ยกรา่ งรายชื่อคณะกรรมการ ในแต่ละกล่มุ ท่ีจัดต้ังไว้
2.2.4 เขา้ พบคณะกรรมการท่ียกร่างรายชื่อ
เพ่ือขอเชญิ เป็นคณะกรรมการ และแจง้ รายละเอยี ดเกีย่ วกบั โครงการฯ ใหท้ ราบ
2.2.5 ทาหนังสอื เชิญเป็นคณะกรรมการในโครงการฯ
2.2.6 คณะกรรมการส่งใบตอบรับ

2.3 ศึกษาเกี่ยวกับ Positioning ของร้านค้า/แบรนด์ และหลักเกณฑ์การคัดเลือกสินค้า/
ผลิตภณั ฑ์

2.3.1 ประชุมคณะกรรมการดาเนนิ งานเพ่ือคดิ ค้นหลกั การทางาน หาจุดยืนของร้านค้า/สนิ ค้า/แบรนด์

8

2.3.2 ศกึ ษาหลกั เกณฑใ์ นการคัดเลอื กสนิ คา้
2.3.3 ประชมุ ทมี เพื่อคัดเลอื กเกณฑก์ ารคดั เลอื กสินคา้ /ผลิตภณั ฑ์
2.3.4 สรุปการประชุมในเรื่องของการศึกษาเกี่ยวกับ Positioning และหลักเกณฑ์การคัดเลือก
สนิ คา้ /แบรนด์

2.4 ศกึ ษาเก่ยี วกบั ผลติ ภณั ฑ์ OEM

2.4.1 ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับ OEM นา้ ดม่ื
หาข้อมูลเกี่ยวกับขั้นตอน และกระบวนการจัดทา OEM น้าด่ืม ในฐานะเป็นผู้รับจ้างผลิต และใน

ฐานะลกู คา้
2.4.2 ศกึ ษาหาขอ้ มลู เกยี่ วกับ OEM อาหารเสรมิ
หาข้อมูลเก่ียวกับขั้นตอน และกระบวนการจัดทา OEM อาหารเสริม ในฐานะเป็นผู้รับจ้างผลิต และ

ในฐานะลกู ค้า
2.4.3 ศึกษาหาขอ้ มูลเกีย่ วกับ OEM เครื่องสาอาง
หาข้อมูลเก่ียวกับข้ันตอน และกระบวนการจัดทา OEM เครื่องสาอาง ในฐานะเป็นผู้รับจ้างผลิต และ

ในฐานะลกู ค้า
2.4.4 ศกึ ษาหาขอ้ มลู เกีย่ วกบั การจดทะเบียนเครือ่ งหมายการค้า
2.4.5 ศึกษาหาข้อมูลเก่ยี วกับการจดแจ้ง อย.
การเตรยี มเอกสารเพอื่ ขอจดั ตั้งโรงงานหรือจัดตง้ั การผลติ มดี ังน้ี
(1) สาเนาบตั รประชาชนผู้มอี านาจ
(2) สาเนาทะเบยี นบ้านผู้มีอานาจ
(3) สาเนาหนงั สือรบั รองการจดทะเบยี นนิติบุคคล (เฉพาะกรณีเปน็ นิตบิ คุ คล)
(4) สาเนา ภพ.20 (เฉพาะกรณเี ป็นนติ ิบคุ คล)
(5) สาเนาทะเบยี นบ้านของร้าน หรอื บริษัท (กรณีท่ีอย่ดู ังกล่าว ไม่ตรงกับที่อยูผ่ ู้มีอานาจ
(6) แผนทต่ี งั้ ของรา้ น หรือบริษทั
(7) แผนผงั ภายในรา้ น หรอื บรษิ ทั ระบุ สถานที่ผลติ บรรจุ เกบ็ สินคา้ ให้ชดั เจน
(8) สนิ ค้าตวั อย่างพร้อม ฉลาก
หลักฐานสาคญั สาหรบั ขอรับหนังสือรับรอง อย.
(1) ใบจดทะเบียนผลติ ภณั ฑ์/แจง้ รายละเอียดผลิตภณั ฑ์ (แบบ สบ.5) จานวน 2 ฉบับ
(2) สาเนาการได้รบั อนญุ าตต้ังสถานท่ผี ลติ
(3) ใบรบั รองสถานทผ่ี ลิตทเ่ี ทียบเทา่ เกณฑ์ Primary GMP
ข้นั ตอนการขอเคร่อื งหมาย อย.
(1) จัดเตรียมสถานทีผ่ ลติ ให้ได้ตามหลักเกณฑว์ ิธกี ารผลติ ทดี่ ี (GMP: Good Manufacturing Practice)
(2) จัดเตรียมเอกสารโดยตดิ ต่อขอข้อมลู ไดท้ ่ี สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอที่เปน็ ทต่ี ้งั ของสถานท่ี

ผลติ ทุกแห่ง
(3) ย่ืนเอกสารขออนุญาตต้ังสถานที่ผลิต พร้อมนัดเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอาเภอ และองค์กร

ปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ เพอื่ ตรวจสถานท่ี
(4) ยื่นขอเอกสารอนุญาตขอรับเลขสาระบบ “13 หลัก” (เลข อย.) ตามแต่ชนิดของผลิตภัณฑ์

3 กลุ่มได้แก่ อาหารควบคุมเฉพาะ อาหารที่กาหนดคุณภาพหรอื มาตรฐาน และอาหารท่ีต้องมีฉลาก

9

2.5 ศกึ ษาผลติ ภณั ฑเ์ พือ่ การแปรรปู

2.5.1 ศึกษาหาข้อมูลวสิ าหกิจชุมชนเกษตรเพื่อสุขภาพบา้ นปัถวี
2.5.2 ศึกษาหาขอ้ มลู วสิ าหกจิ ชุมชนกลุ่มรกั ษช์ ้างรักษาปา่ ตะวันออก
2.5.3 ศกึ ษาหาขอ้ มลู เกีย่ วกับการทาผลิตภัณฑ์เพื่อการแปรรปู จากพชื อนิ ทรยี ์

วางแนวทาง และกาหนดรปู แบบผลิตภณั ฑ์เพื่อการแปรรูป ดังน้ี
(1) สบ่กู ้อน
(2) สบู่เหลว
(3) โลชัน
(4) น้ายาล้างจาน
(5) ครมี ยอ้ มผม

2.6 ศึกษาเปา้ หมายเรื่องการจดทะเบยี น SE

2.6.1 ศึกษาหาข้อมูลเกีย่ วกับเรือ่ งการจดทะเบียนเปน็ SE
2.6.2 ศกึ ษาหาข้อมลู เกย่ี วกบั เร่อื งการจดแจ้งเปน็ กล่มุ กจิ การเพ่อื สังคม

การจดแจ้งเป็นกลุ่มกิจการเพื่อสังคม คือ กิจการท่ีมีสิทธิยื่นคาขอจดแจ้งเป็นกลุ่มกิจการ

เพือ่ สงั คมตอ้ งมีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือสังคมเปน็ เปา้ หมายหลกั ของกจิ การ และตอ้ งมีลกั ษณะ ดังน้ี

(1) มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการจ้างงานแก่บุคคลผู้สมควรได้รับการส่งเสริมเป็นพิเศษ
การแก้ไขปัญหาหรอื พฒั นาชุมชน สงั คม และสิง่ แวดล้อม

(2) เปน็ กิจการทมี่ รี ายไดจ้ ากการจาหน่ายสินคา้ และการบรกิ าร
(3) เปน็ กจิ การทไี่ มข่ ดั ตอ่ กฎหมาย ความสงบเรยี บรอ้ ยหรือศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน
2.6.3 ศกึ ษาจากตัวบทกฎหมายเพ่ือจดทะเบียนเป็น SE
2.6.4 สรปุ การจดทะเบยี นขึน้ เป็น SE

2.7 เสนอรายชอื่ คณะกรรมการเขา้ สภา

(อย่รู ะหว่างการดาเนินการ)

2.8 ประชมุ คณะกรรมการประจาเดือน

2.8.1 จัดประชุมคณะกรรมการเพ่ือสรุป/และวางแผนความคืบหน้าในแต่ละเดอื น
(1) จัดประชุมคร้ังท่ี 1 ในรูปแบบออนไลน์ (26 กันยายน พ.ศ. 2564) เร่ืองวางแผน

การดาเนนิ งานโครงการฯ รว่ มกบั คณะกรรมการที่ปรึกษา
(2) จัดประชุมคร้ังท่ี 2 ในรูปแบบออนไลน์ (27 ตุลาคม พ.ศ. 2564) เรื่องติดตามผล

ความคบื หน้าการดาเนินงานของโครงการฯ ร่วมกับคณะกรรมการท่ปี รึกษา

2.9 ศกึ ษาดูงาน

(อยู่ระหว่างการดาเนนิ การ)

10

2.10 อบรมการตลาด พฒั นาช่องทางการตลาด พฒั นา Platform และคลปิ วดิ ีโอ

(อยู่ระหว่างการดาเนินการ)

2.11 ถอดบทเรียน/สรุป

(อยรู่ ะหว่างการดาเนินการ)

บทท่ี 3
ผลการดาเนินโครงการ

3.1 ผลการศึกษาเก่ยี วกับ Social Enterprise

3.1.1 เข้าร่วมรับฟังสัมมนา (Virtual Seminar)
สัมมนาเรื่องก้าวต่อไปของวิสาหกิจเพื่อสังคม ในรูปแบบออนไลน์ เม่ือวันศุกร์ท่ี 24 กันยายน

พ.ศ. 2564 โดยมีรายละเอียด ดังภาพที่ 3.1 – 3.6

ภาพที่ 3.1 สรุปสัมมนา เรื่องกา้ วต่อไปของวิสาหกิจเพื่อสังคม

12
3.1.2 รายงานการประชมุ เพื่อวางแผน และกาหนดรูปแบบการดาเนนิ งาน

เข้าร่วมประชุมในรูปแบบออนไลน์ เพ่ือวางแผน และกาหนดรูปแบบการดาเนินงานโครงการ SE
รว่ มกบั คณะกรรมการที่ปรกึ ษา เมอ่ื วนั อาทติ ย์ท่ี 26 กนั ยายน พ.ศ. 2564

ภาพท่ี 3.2 รายงานการประชมุ เพื่อวางแผน และกาหนดรปู แบบการดาเนนิ งานโครงการ SE
3.1.3 สรปุ ความรู้เรอ่ื งเวทีสรา้ งการเรียนรู้ SE TALK FOR CSO ครัง้ ท่ี 1
เข้าร่วมรับฟังเวทีสร้างการเรียนรู้ SE TALK FOR CSO คร้ังท่ี 1 ในรูปแบบออนไลน์ เมื่อวันศุกร์

ท่ี 15 ตุลาคม พ.ศ. 2564

13
ภาพท่ี 3.3 สรปุ ความร้เู ร่อื งเวทสี รา้ งการเรยี นรู้ SE TALK FOR CSO ครั้งท่ี 1

14
3.1.4 สรปุ ความรูเ้ รื่องแผนธรุ กจิ เพอ่ื ชุมชน (CBMC)

เข้าร่วมรับฟังแผนธุรกิจเพื่อชุมชน (CBMC) ของคุณบอย ดอยเติมสุข ในรูปแบบออนไลน์ เม่ือวัน
ศกุ ร์ท่ี 15 ตุลาคม พ.ศ. 2564

ภาพท่ี 3.4 สรุปความรู้เรือ่ งแผนธรุ กิจเพ่ือชุมชน (CBMC)

15
3.1.5 สรุปความร้กู ารอบรมหนนุ เสริม

เข้าร่วมอบรมหนนุ เสริมระหว่างการดาเนินงานภายใต้โครงการการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากรและ
กลไกเพ่ือขบั เคล่ือนกิจการเพ่อื สังคม (Social Enterprise : SE) ในรปู แบบออนไลน์ เมื่อวนั จนั ทรท์ ่ี 25 ตุลาคม
พ.ศ. 2564

ภาพที่ 3.5 สรุปความรูก้ ารอบรมหนนุ เสรมิ
ตารางท่ี 3.1 แสดงคาถาม และคาตอบระหว่างผู้เข้าร่วมอบรมกับบริษัทดี มี สุข ในการอบรมหนุนเสริม

ระหว่างการดาเนินงานภายใต้โครงการการพฒั นาศักยภาพบุคลากรและกลไกเพ่ือขบั เคลอื่ น
กิจการเพอ่ื สงั คม (Social Enterprise : SE)

16

คาถาม คาตอบ
กรณลี งไปทางานกับชมุ ชนใช้แบรนด์ของชมุ ชนรว่ ม
ด้วยใชไ่ หมค่ะ ชว่ งแรกๆ บรษิ ทั ดี มี สุข ไม่มแี บรนดเ์ ปน็ ของ
ตัวเอง บริษัท ดี มี สขุ คืนแบรนดส์ ูช่ ุมชน แต่เปน็
มแี บรนด์กบั ชุมชนแต่ บริษทั ดี มี สุข เป็นผ้บู รหิ าร การผู้บรหิ ารเอง ว่าแบรนด์ควรเดินไปในทิศทางไหน
จดั การเองใช่ไหมคะ่ ดูแลการตลาดด้วยใชไ่ หมค่ะ แลว้ มาสรา้ งแบรนด์รว่ มกนั กับชมุ ชน
การสร้างแบรนดใ์ ห้เขม้ แข็งน้ันทายงั ไง
Logo ดี มี สุข ได้แปะกบั ชุมชนไหมค่ะ ไม่ทัง้ หมด ชมุ ชนตอ้ งมาทากับเรา มาขายของกบั เรา
ชมุ ชนตอ้ งเรยี นรู้กับเรา
การสรา้ งแบรนด์ให้มชี ื่อเสยี ง เป็นการสง่ คณุ ค่าสู่
ชุมชนได้ไหมค่ะ เปน็ การทาการตลาดใหม้ ีช่ือเสียง
อธบิ ายเคร่ืองมือการจดั การกลุ่ม
ดลี กับชมุ ชน และแปะ ดี มี สุข ว่าเป็นแบรนด์เพื่อ
ตอนไปทางานกับชุมชน มีตวั ช้ีวัดอะไรบา้ งที่ทาให้ สังคม
เตบิ โตขนึ้
การใหค้ ุณคา่ กบั แบรนด์ สร้างชอื่ เสยี ง เหมอื นกบั
การสรา้ งตัวตนของเรา

เช่น ระบบสหกรณ์ มาหนุ้ กัน 1000 บาท มาสร้าง
งานสร้างอาชีพ ให้เกดิ รายได้

ดไู ทม์ไลน์การเตบิ โต ดูการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ ดูทก่ี าร
เติบโตอยา่ งไรบ้าง ตวั รายได้ดูว่ามีรายได้เท่าไหร่บา้ ง

3.2 สรปุ การยกร่างรายชอื่ คณะกรรมการ SE

3.2.1 เข้าพบคณะกรรมการทีย่ กรา่ งรายช่ือ
เพอ่ื ขอเชญิ เป็นคณะกรรมการ และแจง้ รายละเอยี ดเกีย่ วกบั โครงการฯ ให้ทราบ

ภาพที่ 3.6 เขา้ พบเกษตรจังหวดั จันทบรุ ีเพอื่ ขอเชิญเป็นคณะกรรมการ

17
ภาพที่ 3.7 เข้าพบพาณิชย์จังหวัดจนั ทบุรีเพ่ือขอเชิญเป็นคณะกรรมการ
ภาพท่ี 3.8 เข้าพบผู้อานวยการการทอ่ งเที่ยวแห่งประเทศไทย สานกั งานจงั หวดั จันทบุรเี พื่อขอเชญิ เป็นคณะกรรมการ

18

3.2.2 ทาหนังสอื เชญิ เปน็ คณะกรรมการในโครงการฯ

ภาพที่ 3.9 หนังสือขอเชญิ เปน็ คณะกรรมการในโครงการฯ

19

3.2.3 คณะกรรมการส่งใบตอบรับ

ภาพที่ 3.10 ตวั อยา่ งหนังสอื ตอบรบั เปน็ คณะกรรมการในโครงการฯ

20

3.3 ผลการศึกษาเกี่ยวกับ Positioning ของร้านค้า/แบรนด์ และหลักเกณฑ์การคัดเลือก
สินค้า/ผลติ ภัณฑ์

3.3.1 จัดประชมุ คณะกรรมการดาเนนิ งานเพือ่ คดิ ค้นหลักการทางาน หาจดุ ยนื ของรา้ นคา้ /สนิ คา้ /
แบรนด์

ภาพที่ 3.11 ประชุมคณะกรรมการดาเนินงานเพ่ือคิดค้นหลักการทางานเก่ียวกับ Positioning
3.3.2 หลักเกณฑ์ในการคดั เลือกสินคา้

ภาพที่ 3.12 หลกั เกณฑ์ในการคดั เลอื กสนิ คา้

21

3.3.3 สรุปหลกั การจดทะเบียนเปน็ วิสาหกิจเพ่ือสังคม

ภาพท่ี 3.13 สรปุ หลกั การจดทะเบียนเปน็ วิสาหกจิ เพ่อื สังคม

3.4 ผลการศกึ ษาเก่ยี วกบั ผลติ ภัณฑ์ OEM

3.4.1 ผลการศกึ ษาข้อมูล OEM น้าดื่ม
หาข้อมูลเก่ียวกับข้ันตอน และกระบวนการจัดทา OEM น้าด่ืม ในฐานะเป็นผู้รับจ้างผลิต และใน

ฐานะลกู คา้

22

ภาพที่ 3.14 กระบวนการจดั ทา OEM นา้ ดม่ื ในฐานะเปน็ ผู้รับจ้างผลิต และในฐานะลูกค้า
3.4.2 ผลการศึกษาข้อมูล OEM อาหารเสริม
หาข้อมูลเก่ียวกับข้ันตอน และกระบวนการจัดทา OEM อาหารเสริม ในฐานะเป็นผู้รับจ้างผลิต และ

ในฐานะลูกค้า

ภาพที่ 3.15 กระบวนการจดั ทา OEM อาหารเสริม ในฐานะเป็นผู้รบั จ้างผลติ และในฐานะลูกค้า

23
3.4.3 ผลการศกึ ษาข้อมลู OEM เครอื่ งสาอาง

หาข้อมูลเกี่ยวกับขั้นตอน และกระบวนการจัดทา OEM เครื่องสาอาง ในฐานะเป็นผู้รับจ้างผลิต และ
ในฐานะลกู ค้า

ภาพท่ี 3.16 กระบวนการจัดทา OEM เครื่องสาอาง ในฐานะเป็นผรู้ ับจ้างผลติ และในฐานะลูกคา้
3.4.4 ผลการศึกษาขอ้ มูลการจดทะเบยี นเครื่องหมายการคา้

ภาพที่ 3.17 การจดทะเบียนเครื่องหมายการคา้
ท่ีมา : กระทรวงพาณิชย์ (2559)

24

3.5 ผลการศกึ ษาผลิตภณั ฑเ์ พื่อการแปรรปู

3.5.1 ผลการศกึ ษาข้อมูลวิสาหกจิ ชุมชนเกษตรเพ่ือสขุ ภาพบ้านปัถวี

ภาพที่ 3.18 ข้อมูลวสิ าหกจิ ชมุ ชนเกษตรเพื่อสุขภาพบา้ นปัถวี
3.5.2 ผลการศกึ ษาข้อมูลวิสาหกจิ ชมุ ชนกลุ่มรักษ์ชา้ งรกั ษาป่าตะวันออก

ภาพท่ี 3.19 ข้อมลู วสิ าหกจิ ชุมชนกลุ่มรักษช์ ้างรักษาป่าตะวนั ออก

25

3.6 ผลการจัดประชมุ คณะกรรมการประจาเดือน

3.6.1 รายงานการประชมุ เพื่อสรุป/และวางแผนความคบื หน้าในแต่ละเดือน
(1) รายงานการประชุม เร่อื ง วางแผนการดาเนินงานโครงการฯ ร่วมกบั คณะกรรมการท่ปี รึกษา

(26 กันยายน พ.ศ. 2564)

1

ภาพที่ 3.20 รายงานการประชุมเพ่ือวางแผน และกาหนดรูปแบบการดาเนินงานโครงการ SE
ภาพท่ี 3.21 จดั ประชุมในรปู แบบออนไลน์ วนั ท่ี 26 กนั ยายน พ.ศ. 2564

26
(2) รายงานการประชุม เร่ืองติดตามผลความคืบหน้าการดาเนินงานของโครงการฯ ร่วมกับ
คณะกรรมการที่ปรกึ ษา (27 ตลุ าคม พ.ศ. 2564)

ภาพที่ 3.22 รายงานการประชุมเร่ืองติดตามผลความคบื หน้าการดาเนินงานของโครงการฯ

ภาพที่ 3.23 จัดประชุมในรปู แบบออนไลน์ วนั ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2564


Click to View FlipBook Version