ความร้เู ก่ียวกับคุณธรรม จริยธรรม
และคุณธรรมในการทางาน
๑. “คุณธรรม” เปน็ นามธรรมเป็นเรอื่ งของจิตทม่ี ีหน้าท่คี ิด ตามสงิ่ ตา่ ง ๆ
ทม่ี ากระทบ เช่น ตาเหน็ รปู หไู ด้ยินเสียง จมกู ไดก้ ลิ่น ลิ้นล้ิมรส กายสมั ผัส ความเยน็
ความรอ้ น ความอ่อน ความแข็ง ใจเปน็ ทกุ ข์ ใจเปน็ สขุ ทาใหค้ ดิ ถึงอดตี ปัจจุบันและ
อนาคต วนเวียนอย่อู ย่างนต้ี ลอดไป เพราะเป็นธรรมชาติของจติ ทม่ี ีหน้าท่คี ิด
คุณ ในขอ้ น้ี หมายถึง ความคดิ ท่ดี ีมปี ระโยชน์ ต่อตนเองและผอู้ ื่น
ธรรม ในขอ้ นี้ หมายถงึ คาสอนของพระสมั มาสัมพุทธเจ้า พระองค์ทรง
ตรัสสอนตามธรรมชาตทิ ่ีเกิดขนึ้ มาแลว้ กับมวลมนุษยแ์ ละสัตว์ท้งั หลายที่อยูร่ ว่ มกัน
ในโลกใบน้ี
คุณธรรม หมายถงึ ธรรมชาติทเี่ ป็นคณุ เป็นประโยชน์ ซ่งึ ธรรมชาตขิ อง
มนษุ ยม์ ีชีวติ จิตใจ มีสติ ปญั ญา มคี วามรูส้ กึ นกึ คดิ ท่ีดีกนั ทุกคน หรอื ท่เี รียกวา่ “คดิ ด”ี
สว่ นจะมมี ากหรือมีนอ้ ยแตกตา่ งกนั ไป
“ผ้ทู มี่ ีคณุ ธรรม” หมายถึง ผู้ทม่ี ีสติ มีปญั ญาดี รผู้ ดิ รชู้ อบ รู้ช่วั รู้ดี รู้บาป
บญุ คุณ โทษ เช่ือวา่ ทาดไี ดด้ ี ทาชวั่ ได้ช่ัว คดิ แต่สิง่ ท่ดี ีมีประโยชน์ตอ่ ตนเองและผอู้ ืน่
รวมทัง้ ประเทศชาติบ้านเมือง หรอื ไดศ้ กึ ษาและปฏบิ ตั ติ าม พระธรรมคาสอนของ
พระสมั มาสัมพุทธเจ้ามาดแี ล้ว เรียกว่า “เป็นผู้มีคณุ ธรรม ประจาใจ”
ตวั อย่างผู้ทม่ี คี ุณธรรม หมายถึง ผู้ท่มี คี วามเมตตา กรณุ า คอื มคี วามรกั
ความสงสาร มจี ติ ใจโอบออ้ มอารี เอ้ือเฟ้ือเผอื่ แผ่ มคี วามซ่อื สตั ย์สุจริตต่อตนเอง และผูอ้ ื่น
มคี วามกตญั ญรู คู้ ณุ บดิ า มารดา ครู อาจารย์ และชาติศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ มีจติ ใจ
อันสูงสง่ และเป็นผู้มีหริ ิโอตตปั ปะ มคี วามละอายตอ่ บาป มีความเกรงกลวั ตอ่ บาป ไม่ดถู กู
เหยยี ดหยามอ่นื มีจติ สานกึ อันดี ประพฤติตนเป็นคนดเี ปน็ แบบอย่างท่ีดีสรา้ งความเจรญิ
รงุ่ เรืองให้กับตนเองและผอู้ น่ื รวมท้ังประเทศชาตบิ า้ นเมือง น้คี ือตวั อยา่ ง
“ผทู้ ี่มีคุณธรรมประจาใจ”
ตัวอย่างผ้ทู ี่ขาดคณุ ธรรม หมายถงึ ผูท้ มี่ ีสติปัญญานอ้ ย ขาดความเมตตากรณุ า
ไม่มคี วามรัก ไมม่ คี วามสงสารตอ่ ผ้ใู ด ขาดหิริโอตตัปปะ ไมม่ ีความละอายตอ่ บาป ไมม่ คี วามเกรงกลวั
ต่อบาป ไมเ่ ชอื่ คาสอนของพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ไม่เชอื่ เรือ่ งกฎแหง่ กรรม ไม่เชอ่ื ว่าทาดีได้ดี ทาชว่ั -
ได้ชัว่ ไม่เชื่อว่ามชี าติก่อน มชี าติหนา้ ไม่ไดศ้ กึ ษาและปฏิบตั ิตามพระธรรมคาสอนขององค์สมเด็จ
พระสมั มาสมั พุทธเจ้า จิตถกู กิเลส คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ครอบงา คิดแตส่ ิง่ ชัว่ รา้ ย
เหน็ แก่ประโยชน์ส่วนตนมากกว่าประโยชนส์ ว่ นรวม สร้างความเดอื ดร้อนใหก้ ับตนเองและผู้อ่นื
รวมทง้ั ประเทศชาติบา้ นเมือง ถือวา่ ผู้นั้นมธี รรมชาตทิ ่เี ป็นโทษ หรอื เรยี กวา่ “ขาดคุณธรรม
ประจาใจ” นคี้ ือตัวอย่างผู้ที่ขาดคณุ ธรรม
จริยธรรม เป็นรปู ธรรม เป็นเร่อื งของการแสดงออกทางกาย ทางวาจา
จริย หมายถงึ การแสดงออกทางกาย ทางวาจา ของมนษุ ย์
ธรรม หมายถึง ธรรมชาติของมนุษย์ทมี่ กี าย วาจา เป็นส่อื ภาษาท่ใี ชใ้ นการตดิ ตอ่ สื่อสารระหวา่ งกนั
จริยธรรม หมายถงึ การแสดงออกทางกาย ทางวาจา
การแสดงออกทางกาย คอื ทาแต่สง่ิ ที่ดีมีประโยชนต์ ่อตนเองและผอู้ ่ืน รวมท้ังประเทศชาติบ้านเมอื ง
เรียกว่า “ทาดี”
การแสดงออกทางวาจา คือ พูดแตเ่ ร่ืองทีด่ ีมปี ระโยชนต์ ่อตนเอง และผู้อืน่ ที่เรียกวา่ “พูดด”ี
ผ้มู ีจรยิ ธรรม หมายถงึ ผทู้ ่ีมีสติปญั ญาดีแสดงออกในส่งิ ที่ดงี าม ทางกาย ทางวาจา เปน็ ประโยชน์
ตอ่ ตนเองและผู้อืน่ รวมทงั้ ประเทศชาตบิ า้ นเมอื ง หรอื ผู้ท่ีไดร้ บั การอบรม
ส่งั สอน จากพระธรรมคาสอนของพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า มคี วามสารวม
ทางกาย ทางวาจาดแี ลว้ เรยี กวา่ ผูน้ น้ั มี “จรยิ ธรรม”
ตวั อยา่ ง
ผู้ทม่ี ีจรยิ ธรรม คือ ผ้ทู ี่มีกิรยิ าวาจาสภุ าพ เรยี บรอ้ ย อ่อนน้อมถอ่ มตน การแสดงออกทางกาย
เชน่ แตง่ ตวั สุภาพเรียบรอ้ ย ถกู กาลเทศะ ตามขนบธรรมเนยี มและประเพณีอันดงี ามของไทย ไมแ่ สดงกริ ยิ า
กระดา้ ง กระเดอ่ื ง ใช้วาจา สภุ าพออ่ นโยน ไมพ่ ดู ปด ไมพ่ ูดคาหยาบ ไม่พดู เพ้อเจอ้ ไมพ่ ดู ส่อเสยี ดให้ผู้อนื่
ต้องเสียใจ นค้ี อื ตัวอย่างผทู้ ่ี มีจรยิ ธรรม คือการพูดดี ทาดกี ายประกอบกรรมดี วาจาพูดแต่เรือ่ งที่ดมี ปี ระโยชน์
ที่เรียกว่า “พดู ดี ทาดี”
ตัวอย่าง
๑) ผูท้ ม่ี คี ณุ ธรรมและมจี ริยธรรม หมายถึง ผทู้ มี่ สี ติปญั ญาดี มจี ิตใจบริสุทธิ์ มคี วามเมตตา กรุณา
คอื มคี วามรัก มคี วามสงสาร ปรารถนา ให้ผ้อู ื่นเปน็ สุข มหี ริ ิโอตตปั ปะ มีความละอายตอ่ บาป มคี วามเกรงกลัวตอ่ บาป
มขี ันตโิ สรัจจะ มคี วามอดทน มคี วามสงบเสง่ยี ม ไม่คิดช่ัว ไม่พดู ชว่ั ไม่ใชก้ ายวาจาทาให้ผอู้ น่ื เดอื ดรอ้ น เพราะกลวั ว่า
จะเป็นบาปเปน็ โทษ ตดิ ตวั ตามตนไปในชาตนิ ้ี และชาติตอ่ ๆ ไป จงึ คิดแตเ่ รื่องทด่ี ี พดู แต่คาที่ดี ทาแตส่ ิ่งที่ดี
เรยี กวา่ เป็น “ผ้ทู ี่มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม”
ตวั อย่าง
๒) ผูท้ ่ีขาดคุณธรรมและขาดจริยธรรม หมายถึง ผทู้ ม่ี สี ติ ปัญญานอ้ ย ไมเ่ ชือ่ ฟังคาสอน
ของพระผู้มพี ระภาคเจา้ จติ อยูใ่ ต้อานาจของกิเลส คอื ความโลภ ความโกรธ ความหลง ครอบงาจติ ใจ
จึงไมม่ คี ณุ ธรรมประจาใจ เปน็ เหตุใหข้ าดความเมตตากรุณา ไม่มีความรัก ไมม่ คี วามสงสาร ขาดหิรโิ อตตัปปะ
ไม่มคี วามละอายตอ่ บาป ไมเ่ กรงกลวั ตอ่ บาป ไม่มขี ันตโิ สรัจจะ ไม่มคี วามอดทน ไม่มคี วามสงบเสง่ียม ไมร่ ู้บาป
บญุ คุณ โทษ ไม่รู้ผิด ชอบ ช่ัว ดี มีความเห็นแก่ตวั เอารดั เอาเปรยี บผู้อืน่ จะคดิ จะพูด จะทาอะไร ก็ไม่เกรงกลัว
ความเดอื ดรอ้ นจะเกิดข้นึ กบั ตนเองและผู้อน่ื รวมทัง้ ประเทศชาติบ้านเมือง คดิ ชั่ว พดู ช่วั ทา ชั่ว ไดท้ กุ เวลา
ทกุ โอกาสนค้ี อื ตวั อยา่ งของผ้ทู ี่ “ขาดคณุ ธรรมและขาดจรยิ ธรรม”
ตัวอยา่ ง
๓) ผทู้ ีม่ ีคณุ ธรรมแต่ขาดจริยธรรม หมายถงึ ผ้ทู ี่มีความคดิ ดี มีความเมตตากรณุ า
คือ มคี วามรกั ความสงสาร มีความคดิ ท่ีจะช่วยเหลือผู้อืน่ ถือว่าผู้น้นั มคี ุณธรรมประจาใจ แต่การแสดงออก
ทางกิรยิ า วาจา ตรงข้ามกับความรูส้ ึกนึกคดิ แสดงกริ ยิ า วาจา ไม่สภุ าพเรยี บร้อย ไมร่ ูจ้ ัก กาลเทศะ พดู ปด
พูดคาหยาบ พูดเพ้อเจอ้ พูดสอ่ เสยี ดใหผ้ ้อู ่ืนเสยี หาย “ถือวา่ ผนู้ ้นั ขาดจรยิ ธรรมนี้”
ตวั อยา่ ง
๔) ผ้ทู ่ีขาดคณุ ธรรมแตม่ จี รยิ ธรรม หมายถึง ผู้ทม่ี ีสติปญั ญานอ้ ย ขาดคณุ ธรรมประจาใจ
คือ ขาดความเมตตา กรุณา ไม่มคี วามรัก ไม่มีความสงสาร มจี ิตใจโหดรา้ ยทารุณ เห็นแกต่ วั ไมส่ นใจช่วยเหลือ
ผู้อ่ืน ถือว่าเป็นผู้ท่ีขาดคุณธรรมประจาใจ แต่การแสดงออกทางกาย ทางวาจาตรงกันข้ามกับความรู้สึก
นึกคิดของจิตใจ แสดงกิริยาวาจาทีส่ ภุ าพเรียบรอ้ ย ชว่ ยเหลือผ้อู น่ื อยา่ งไม่เต็มใจเสแสร้งแกลง้ พดู ดีใชว้ าจา
ทไ่ี พเราะ ซ่งึ ไม่ตรงกับใจหรอื ท่ีเรียกกันวา่ “ปากกบั ใจไม่ตรงกัน” ถือวา่ เป็นผู้ “ขาดคณุ ธรรมแตม่ ี
จริยธรรม”
คณุ ธรรมในการทางาน
คุณธรรมในการทางาน หมายถึง ลกั ษณะนิสัยทด่ี ีทคี่ วรประพฤตปิ ฏบิ ัตใิ นการประกอบอาชีพคุณธรรม
สาคัญทช่ี ว่ ยให้การทางานประสบความสาเรจ็ มดี ังนี้
1. ความมสี ติสัมปชญั ญะ หมายถึง การควบคมุ ตนเองให้พร้อม มสี ภาพตนื่ ตัวฉบั ไวในการรับรูท้ าง-
ประสาทสัมผสั การใช้ปัญญาและเหตุผลในการตัดสินใจที่จะประพฤตปิ ฏบิ ัตใิ นเรือ่ งตา่ ง ๆ ได้อย่างรอบคอบ
เหมาะสม และถูกต้อง
2. ความซือ่ สัตย์สุจรติ หมายถงึ การประพฤติปฏิบตั อิ ย่างตรงไปตรงมาทง้ั กาย วาจา และใจไมค่ ิด
คดทรยศ ไม่คดโกง และไมห่ ลอกลวงใคร
3. ความขยนั หมน่ั เพียร หมายถงึ ความพยายามในการทางานหรอื หน้าท่ขี องตนเองอย่างแขง็ ขัน
ด้วยความมงุ่ ม่นั เอาใจใส่อยา่ งจริงจงั พยายามทาเรื่อยไปจนกว่างานจะสาเร็จ
4. ความมีระเบียบวนิ ัย หมายถงึ แบบแผนทว่ี างไวเ้ พื่อเป็นแนวทางปฏิบัตแิ ละดาเนนิ การให้ถูกลาดบั
ถกู ที่ มีความเรยี บร้อย ถกู ต้องเหมาะสมกบั จรรยาบรรณ ข้อบงั คบั ข้อตกลง กฎหมาย และศลี ธรรม
5. ความรบั ผดิ ชอบ หมายถงึ ความเอาใจใสม่ ่งุ มัน่ ตง้ั ใจต่องาน หนา้ ท่ี ดว้ ยความผูกพนั
ความพากเพยี ร เพือ่ ใหง้ านสาเร็จตามจดุ มุง่ หมายทีก่ าหนดไว้
คุณธรรมในการทางาน
6. ความมนี ้าใจ คือ ปรารถนาดีมีไมตรีจติ ต้องการช่วยเหลอื ใหท้ กุ คนประสบความสขุ และชว่ ยเหลอื
ผู้อ่นื ให้พน้ ทกุ ข์
7. ความประหยดั หมายถงึ การรู้จกั ใช้ รจู้ ักออม รู้จักประหยดั เวลาตามความจาเปน็ เพือ่ ใหไ้ ด้
ประโยชนอ์ ยา่ งคุ้มคา่ ทสี่ ุด
8. ความสามัคคี หมายถึง การที่ทกุ คนมคี วามพร้อมทั้งกาย จิตใจ และความเป็นนา้ หนง่ึ ใจเดียวกัน
มจี ุดมงุ่ หมายทจ่ี ะปฏบิ ตั ิงานให้ประสบความสาเรจ็ โดยไมม่ ีการเก่ยี งงอน
จริยธรรมในการทางาน หมายถึง กฎเกณฑท์ ่เี ปน็ แนวทางปกิบตั ติ นในการประกอบอาชีพทถ่ี ือวา่ เปน็
ส่งิ ทด่ี งี าน เหมาะสมและยอมรบั การทางานหรอื การประกอบอาชีพ คือ
“จริยธรรมในการทางาน” จริยธรรมทน่ี ามาซง่ึ ความสขุ ความเจริญในการทางานและการดารงชวี ติ
เรยี กวา่ มงคล 38 ประการ มงคลชีวติ ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การทางานมีดังน้ี
1. ชานาญในวชิ าชพี ของตน (มงคลชีวติ ขอ้ ท่ี 8) เปน็ การนาความรทู้ ี่เลา่ เรียน ฝึกฝน อบรม
มาปฏิบัติใหเ้ กดิ ความชานาญจนสามารถยดึ เป็นอาชีพได้
2. ระเบียบวนิ ยั (มงคลชีวิตขอ้ ท่ี 9) การฝึกกาย วาจาใหอ้ ยู่ในระเบียบวินัยท่สี ังคมหรือสถาบัน
วางไว้เปน็ แบบแผน
3. กล่าววาจาดี (มงคลชวี ติ ขอ้ ที่ 10) คือ วจสี จุ ริต 4 ประการ ไดแ้ ก่ ความจริง คาประสาน
สามคั คี คาสภุ าพ คามปี ระโยชน์
4. ทางานไมค่ งั่ คา้ งสบั สน (มงคลชีวติ ขอ้ ที่ 14) ลักษณะการทางานของคนโดยท่วั ไปมี 2 แบบ
คอื – การทางานคั่งค้างสับสน คือ ทางานหยาบย่งุ เหยิง ทางานไม่สาเรจ็
– การทางานไมค่ ่ังคา้ ง คือ การทางานดมี ีระเบยี บ ทางานเต็มฝมี อื และทางานใหเ้ สร็จ