The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sukanda Pui, 2022-09-11 15:59:51

PA-ป.4-65

PA-ป.4-65

Keywords: PA-65,บันทึกข้อตกลง,PA-ป่าติ้ว-ป.4,pa65



คำนำ

แบบบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement :PA) จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอ
ข้อตกลงในการพัฒนางาน สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู ประจำปี
งบประมาณ 2565 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565 แบบบันทึกข้อตกลงฉบับนี้
นำเสนอตอ่ ผู้อำนวยการโรงเรยี นปา่ ติ้วปา่ เตยวิทยาสรรค์ เพอ่ื เป็นข้อตกลงในการพัฒนาตนเอง ประกอบ
ไปด้วย 2 ส่วน ดงั น้ี

สว่ นท่ี 1 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน
2. งานทีจ่ ะปฏิบตั ิตามมาตรฐานตำแหน่งครู โดยระบุรายละเอยี ดของงานทีจ่ ะปฏบิ ัตใิ น

แตล่ ะดา้ น
สว่ นที่ 2 ข้อตกลงในการพฒั นางานทเ่ี ป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรยี นรู้

ของผ้เู รยี น
ขอขอบพระคุณผู้อำนวยการโรงเรียนป่าติ้วป่าเตยวิทยาสรรค์ ที่ได้อนุเคราะห์ให้คำปรึกษา

แนะนำในการจัดทำบันทึกข้อตลงในการพัฒนางาน (PA) ฉบับนี้ ข้าพเจ้าจะนำข้อตกลงไปพัฒนาผู้เรียน
และพัฒนาตนเอง ให้บรรจุตามเปา้ หมายทไี่ ดต้ ้ังไว้

นางสาวสกุ านดา วงษ์มน่ั
ตำแหน่ง ครู



สารบญั

รายการ หนา้

ขอ้ มูลผจู้ ัดทำข้อตกลง 1
ประเภทห้องเรียนท่ีจดั การเรยี นรู้ 1
ส่วนท่ี 1 ข้อตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตำแหนง่
1
ภาระงาน 3
งานท่จี ะปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานตำแหน่งครู 3
8
ดา้ นการจดั การเรียนรู้ 10
ด้านการสง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั การเรยี นรู้
ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชพี 12
สว่ นท่ี 2 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานทเ่ี ป็นประเด็นทา้ ทาย 12
ประเด็นทา้ ทาย 13
สภาพปญั หาการจัดการเรียนรู้ 14
วิธกี ารดำเนินการให้บรรลุผล 14
ผลลัพธ์การพฒั นาทคี่ าดหวัง
ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศกึ ษา

แบบบันทึกขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (Performance Agreement :PA)
สำหรบั ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู
(ทุกสงั กัด)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ระหวา่ งวันที่ 1 เดอื น ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30 เดอื น กันยายน พ.ศ.2565

ผจู้ ัดทำขอ้ ตกลง

ช่อื นางสาวสกุ านดา นามสกลุ วงษม์ ัน่ ตำแหน่ง ครู

สถานศกึ ษา โรงเรยี นป่าตว้ิ ปา่ เตยวทิ ยาสรรค์

สังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอำนาจเจริญ

รบั เงินเดอื นในอนั ดบั คศ.1 อัตราเงินเดือน 23,430 บาท

ประเภทห้องเรยี นท่จี ดั การเรียนรู้

(✓) ห้องเรยี นวชิ าสามญั หรอื วชิ าพืน้ ฐาน

( ) หอ้ งเรยี นปฐมวัย

( ) ห้องเรยี นการศึกษาพเิ ศษ

( ) หอ้ งเรียนสายวชิ าชพี

( ) หอ้ งเรยี นการศึกษานอกระบบ/ตามอธั ยาศยั

ขา้ พเจา้ ขอแสดงเจตจำนงในการจดั ทำข้อตกลงในการพฒั นางาน ตำแหนง่ ครู ซึง่ เป็นตำแหน่ง ท่ดี ำรงอยู่
ในปจั จุบนั กับผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา ไวด้ งั ต่อไปนี้

สว่ นที่ 1 ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตำแหนง่

1. ภาระงาน

1.1 ชว่ั โมงการสอน จำนวน 21 ชวั่ โมง/สัปดาห์ดังนี้

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 จำนวน 4 ชวั่ โมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 จำนวน 4 ชว่ั โมง/สัปดาห์

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ รายวชิ าภาษาอังกฤษส่ือสาร

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 จำนวน 2 ช่วั โมง/สัปดาห์

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

2

รายวชิ าหน้าทพ่ี ลเมอื ง

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 จำนวน 1 ช่วั โมง/สปั ดาห์

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 จำนวน 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์

รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 จำนวน 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์

รายวิชาการป้องกันการทจุ รติ 4

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 จำนวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

กจิ กรรมลูกเสือ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

กจิ กรรมแนะแนว ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

กิจกรรมชมุ นมุ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

1.2 งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจดั การเรยี นรู้ จำนวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์
การมีสว่ นรว่ มชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี จำนวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์

1.3 งานพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
งานฝา่ ยบรหิ ารงานงบประมาณ (งานพสั ดโุ รงเรียน) จำนวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน้ จำนวน 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์

ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

2. งานท่จี ะปฏิบตั ติ ามมาตรฐานตำแหน่งครู (ใหร้ ะบุรายละเอียดของงานท
ท่ใี ชใ้ นการดำเนินการดว้ ยกไ็ ด)้

ลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ัตติ าม มฐ.ตำแหน่ง งาน (Task)
ทจี่ ะดำเนินการพัฒนา
ตามขอ้ ตกลงใน 1 รอบการประเมิน

(โปรดระบ)ุ

ดา้ นการจดั การเรยี นรู้
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึงการสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร การออกแบ
เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การจัดการเรียนรู้ การศึกษาว
พัฒนาผู้เรยี น และการอบรมและพฒั นาคณุ ลักษณะทีด่ ีของผูเ้ รยี น

1.การสร้างและการพัฒนาหลักสตู ร วิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียน
และตวั ชวี้ ัด ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 นำไ
จัดทำหน่วยการเรียนรู้ให้สอดคล้องก
มาตรฐานการเรียนรตู้ ัวชี้วดั เพื่อให้ผู้เรีย
ได้พัฒนาตามสมรรถนะและเรียนรู้เต
ตามศกั ยภาพ โดยจัดทำหลักสตู ร กล
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช
ประถมศึกษาปีที่ 4 สอดคล้องกับบริบ
ของสถานศึกษา ผู้เรียนและท้องถนิ่

ท่จี ะปฏบิ ัตใิ นแตล่ ะดา้ น วา่ จะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลา

ผลลพั ธ์ (Outcome) ตวั ช้ีวดั (Indicator)

ของงานตามขอ้ ตกลง ทจ่ี ะเกดิ กับผเู้ รียนทแ่ี สดงให้เห็น

น ทีค่ าดหวงั ใหเ้ กดิ ขึ้นกับผู้เรยี น ถงึ การเปลยี่ นแปลงไปในทางทด่ี ีขน้ึ หรือ

(โปรดระบ)ุ มีการพัฒนามากขนึ้ หรอื มผี ลสมั ฤทธท์ิ ่ี

สูงขน้ึ (โปรดระบ)ุ

บบการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างและหรื อพัฒนาสื่อ นวัตกรรม
วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ

นรู้ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ได้เรียนรู้ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ 80

ไป ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดที่หลักสูตร มีความรู้ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และ

กับ กำหนด อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ตัวชี้วัด ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ยน ตรงตามทีห่ ลกั สตู รกำหนด

ต็ม

ลุ่ม

ชั้ น

บท

3

ลักษณะงานที่ปฏิบัติตาม มฐ.ตำแหนง่ งาน (Task)
ทจ่ี ะดำเนินการพัฒนา
ตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน

(โปรดระบ)ุ

2.การออกแบบการจดั การเรียนรู้ ออกแบบและจัดทำหน่วยการเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช
ประถมศึกษาปีที่ 4 ให้สอดคล้องก
คำอธิบายรายวิชา คุณลักษณะอันพ
ประสงค์และสมรรถนะสำคัญตา
หลักสูตร เหมาะสมบรบิ ทของสถานศกึ ษ
ผเู้ รยี นและทอ้ งถ่ิน

3.การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาร
การเรียนรภู้ าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษา
ที่ 4 โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ย
ผู้เรียนเป็นสำคัญ ใช้เทคนิควิธีการปฏิบ
แบบ Active Learning ที่มีความหลา
หลาย สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียน
ตวั ชวี้ ัด ตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา

ผลลพั ธ์ (Outcome) ตวั ชี้วัด (Indicator)

ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดกบั ผู้เรียนทแ่ี สดงให้เหนิ

น ทคี่ าดหวังให้เกดิ ข้นึ กบั ผเู้ รียน ถงึ การเปลย่ี นแปลงไปในทางทด่ี ีขนึ้ หรือ

(โปรดระบุ) มกี ารพฒั นามากขึ้นหรอื มีผลสมั ฤทธิ์ท่ี

สงู ขึน้ (โปรดระบ)ุ

นรู้ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ได้เรียนรู้ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ 80

ชั้น ตามหน่วยการเรียนที่ออกแบบไว้ อย่างมี มีความรู้ตามหน่วยการเรียนรู้ที่ออกแบบ

กับ ประสิทธิภาพ ไว้

พึง

าม

ษา

ระ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4 ได้รับ 1.ผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 ร้อยละ

ปี การพัฒนา ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 80 ไดร้ ับการจดั การเรยี นการสอนแบบ

ยึด Active Learning ที่มีความหลากหลาย Active Learning

บัติ ตามแผนการจัดการเรียนรู้ อย่างมี 2.ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ

าย ประสิทธภิ าพ 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระ

นรู้ การเรียนรู้ภาษาไทยสูงกว่าที่โรงเรียน

กำหนด

4

ลักษณะงานทีป่ ฏิบัตติ าม มฐ.ตำแหนง่ งาน (Task)
ท่ีจะดำเนินการพฒั นา
ตามขอ้ ตกลงใน 1 รอบการประเมิน

(โปรดระบุ)

4.การสรา้ งและหรือพัฒนาส่ือ นวัตกรรม สร้างสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี แล

เทคโนโลยี และแหลง่ เรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องกับกิจกรร

การเรียนรู้ เช่น

- การใช้เกมและเพลงส่งเสริมการเรียน

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช

ประถมศกึ ษาปีที 4

- การใช้คลิปวิดิทัศนส์ ง่ เสริมการเรียนรู้

- การใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและกา

เขียนคำอักษรนำและคำควบกล้ำ กล

สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช

ประถมศึกษาปีที่ 4

- การสร้างแหล่งเรียนรู้ในห้องเรียนโด

จดั มมุ รักการอ่าน และมมุ ความรตู้ า่ งๆ

ผลลัพธ์ (Outcome) ตวั ชีว้ ดั (Indicator)

ของงานตามข้อตกลง ทีจ่ ะเกดิ กบั ผ้เู รยี นที่แสดงใหเ้ หน็

น ที่คาดหวังใหเ้ กิดขนึ้ กบั ผเู้ รียน ถึงการเปลย่ี นแปลงไปในทางทด่ี ีข้ึนหรอื

(โปรดระบุ) มีการพฒั นามากขึ้นหรอื มีผลสมั ฤทธิ์ท่ี

สูงขึน้ (โปรดระบ)ุ

ละ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ได้รับ 1.ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ

รม การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยสื่อ นวัตกรรม 80 ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วย

เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ อย่างมี สอื่ นวตั กรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรยี นรู้

นรู้ ประสทิ ธภิ าพ ตามท่ไี ดส้ รา้ งไว้

ช้ัน 2.ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ

80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระ

การเรียนรู้ภาษาไทย สูงกว่าที่โรงเรียน

าร กำหนด

ลุ่ม

ช้ั น

ดย

5

ลักษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิตาม มฐ.ตำแหนง่ งาน (Task)
ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตามขอ้ ตกลงใน 1 รอบการประเมนิ

(โปรดระบ)ุ

5.การวดั ประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้ สร้างเครื่องมือการวัดและประเมินผ
การเรียนรู้ โดยใช้วิธีการที่หลากหลา
เหมาะสม สอดคล้องกบั มาตรฐาน ก
เรียนรู้ และตัวชวี้ ัดตรงตามหลักสูตรกล
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช
ประถมศึกษาปีที่ 4 ประกอบด้ว
แบบทดสอบ แบบประเมนิ แบบสังเกต
และเกณฑก์ ารประเมินตามสภาพจรงิ

6.การศึกษาวิเคราะห์สังเคราะห์เพ่ือ ทำการศึกษา วิเคราะห์และสังเคราะ

แก้ปัญหาหรือพฒั นาการเรยี นรู้ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนร

ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน โดยได้ศึกษ

ข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคลเพื่อห

แนวทางในการแก้ปัญหา และจัดทำวิจ

ในชั้นเรยี น

ผลลพั ธ์ (Outcome) ตวั ช้ีวดั (Indicator)

ของงานตามข้อตกลง ท่จี ะเกดิ กับผู้เรียนทแ่ี สดงให้เห็น

น ทีค่ าดหวังให้เกิดขนึ้ กับผเู้ รียน ถึงการเปลยี่ นแปลงไปในทางทด่ี ีข้นึ หรือ

(โปรดระบ)ุ มีการพัฒนามากขึ้นหรอื มีผลสมั ฤทธท์ิ ่ี

สงู ข้ึน (โปรดระบุ)

ผล ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ได้รับ 1.ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ

าย การวดั และประเมนิ ผล ด้วยเคร่ืองมือและ 80 ได้รับการวัดและประเมินผลด้วย

การ วิธีการที่หลากหลาย อย่างเป็นระบบและ เครื่องมือที่สร้างขึ้นอย่างเป็นระบบและมี

ลุ่ม มปี ระสิทธภิ าพ ประสิทธภิ าพ

ช้ั น 2.ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ

วย 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระ

ต การเรียนรู้ภาษาไทย สูงกว่าที่โรงเรียน

กำหนด

ะห์ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ได้รับ 1.ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ

รู้ที่ การพัฒนาและแก้ปญั หาการเรียนรู้ ดว้ ย 80 ได้รับการพัฒนาและแก้ปัญหาด้วย

ษา กระบวนการวิจัยในชนั้ เรียน กระบวนการวจิ ัยในชน้ั เรียน

หา 2.ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ

จัย 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระ

การเรียนรู้ภาษาไทย สูงกว่าที่โรงเรียน

กำหนด

6

ลกั ษณะงานที่ปฏบิ ตั ิตาม มฐ.ตำแหน่ง งาน (Task)
ทจี่ ะดำเนินการพัฒนา
ตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมนิ

(โปรดระบ)ุ

7.การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ ทำการจัดบรรยากาศที่สง่ เสริมและพัฒน

พัฒนาผู้เรยี น ผู้เรียนให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีว

ทักษะการทำงาน และทักษะการเรียน

โดย จัดบรรยากาศในชั้นเรียนให้สะอา

น่าอยู่ น่าเรียน เสมือนบ้าน มีมุมความ

มุมรักการอ่าน มุมนำเสนอผลงาน แล

มุมสื่อการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ต

ผ้เู รียน

8.การอบรมพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของ จัดกิจกรรมแนะแนว ส่งเสริม อบร
ผู้เรียน ผู้เรียน ให้เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรร

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิย
ความเป็นไทยที่ดีงาม เป็นประจำทุกว
ก่อนเรยี น

ผลลพั ธ์ (Outcome) ตวั ชี้วัด (Indicator)

ของงานตามขอ้ ตกลง ทจ่ี ะเกดิ กบั ผ้เู รียนท่ีแสดงให้เห็น

น ท่คี าดหวงั ให้เกิดขน้ึ กับผูเ้ รียน ถึงการเปลยี่ นแปลงไปในทางทด่ี ขี ้นึ หรอื

(โปรดระบ)ุ มกี ารพัฒนามากขึน้ หรอื มผี ลสมั ฤทธ์ิท่ี

สูงขึ้น (โปรดระบ)ุ

นา ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ได้เรียนรู้ ผู้เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 ร้อยละ 80

วิต ในชั้นเรียนที่มีบรรยากาศ สะอาด น่าอยู่ มคี วามพึงพอใจทีไ่ ดเ้ รยี นรู้ในช้ันเรียนท่ีมี

นรู้ น่าเรียน เสมือนบ้าน มีมุมความรู้ มุมรัก บรรยากาศ สะอาด น่าอยู่ น่าเรียน

าด การอ่าน มุมนำเสนอผลงาน และมุมส่ือ เสมือนบ้าน มีมุมความรู้ มุมรักการอ่าน

มรู้ การเรียนร้ทู ่เี ปน็ ประโยชน์ มุมนำเสนอผลงาน และมุมสื่อการเรียนรู้

ละ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์

ต่อ

รม ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เป็นผู้ที่มี ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ 80

รม คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอนั พงึ ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณธรรม

ยม ประสงค์ และค่านิยมความเป็นไทย ที่ดี จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์

วัน งาม และค่านยิ มความเป็นไทย

7

ลกั ษณะงานทปี่ ฏบิ ัตติ าม มฐ.ตำแหน่ง งาน (Task)
ทจี่ ะดำเนินการพฒั นา
ตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน

(โปรดระบุ)

ด้านการส่งเสริมและสนับสนนุ การจัดการเรยี นรู้
ลกั ษณะงานท่ีเสนอใหค้ รอบคลุมถงึ การจดั ทำขอ้ มลู สารสนเทศของผเู้ รียนและวิชากา
ของสถานศกึ ษาและการประสานความร่วมมือกบั ผูป้ กครอง ภาคีเครือข่ายและหรอื ส

1.การจัดทำสารสนเทศของผู้เรียนและ 1.จัดทำข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนช

รายวชิ า ประถมศึกษาปีที่ 4 โดยการวิเคราะ

ผู้เรียนเป็นรายบคุ คล

2.จัดทำข้อมูลสารสนเทศผลการเรียนขอ
นกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ในรายวิช
ที่รับผิดชอบตลอดปีการศึกษา

2.ก า ร ด ำ เน ิ น ก า ร ต า ม ร ะบ บ ด ู แล จัดข้อมูลการดำเนินงานตามโครงกา

ช่วยเหลอื ผูเ้ รียน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ประสา

ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพ

พฒั นาและแกป้ ัญหาผ้เู รียนอยา่ งตอ่ เน่อื

ผลลพั ธ์ (Outcome) ตัวช้วี ดั (Indicator)

ของงานตามขอ้ ตกลง ทจ่ี ะเกิดกับผเู้ รยี นทแี่ สดงใหเ้ ห็น

น ที่คาดหวงั ให้เกิดขนึ้ กบั ผู้เรยี น ถึงการเปลี่ยนแปลงไปในทางทด่ี ีขึน้ หรอื

(โปรดระบุ) มีการพัฒนามากข้นึ หรอื มผี ลสัมฤทธ์ิท่ี

สูงขึน้ (โปรดระบุ)

าร ดำเนนิ การตามระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผ้เู รียน การปฏิบัติงานวชิ าการและงานอนื่ ๆ
สถานประกอบการ

ชั้น 1.ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีข้อมูล 1.ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ

ะห์ สารสนเทศพืน้ ฐานเป็นรายบุคคล 100 มีข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานเป็น

รายบคุ คลครบถ้วนอยา่ งเปน็ ระบบ ทกุ

ด้าน

อง 2.ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีข้อมูล 2.ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ

ชา สารสนเทศด้านผลการเรียนตลอดปี 100 มีข้อมูลสารสนเทศด้านผลการเรียน

การศกึ ษา ตลอดปกี ารศึกษา

าร ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ได้รับการ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ 80
าน ดูแลช่วยเหลือ ผ่านระบบการดูแล ได้รับการดูแลช่วยเหลือ เพื่อแก้ไข
พื่อ ช่วยเหลือนักเรียน เพื่อแก้ไข ปรับปรุง ปรับปรุง พัฒนาในเรื่องความประพฤติ
อง พัฒนาในเรื่องความประพฤติ การเรียน การเรยี น ใหเ้ หมาะสมตลอดปกี ารศกึ ษา

ใหเ้ หมาะสมอย่างตอ่ เน่ือง

8

ลักษณะงานทป่ี ฏิบัติตาม มฐ.ตำแหน่ง งาน (Task)
ทีจ่ ะดำเนนิ การพฒั นา
ตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน

(โปรดระบ)ุ

3.การปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่นๆ 1.ปฏบิ ตั งิ านวิชาการ โดยเป็นหัวหน้ากล

ของสถานศึกษา สาระการเรียนรภู้ าษาไทย จัดทำหลักสูต

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

2.ปฏิบัติงานด้านงบประมาณ โดยเป
ผู้นำในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำ
และเป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ติดตา
ตรวจสอบควบคุมภายใน ติดตามการ
งบประมาณเพื่อความโปร่งใส ตรวจสอ
ได้

4 . ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร ่ ว ม ม ื อ กั บ ปฏิบัติหน้าที่ครูประจำชั้นประถมศึกษ

ผูป้ กครอง ภาคเี ครือข่าย และหรือสถาน ปีที่ 4 ประสานความร่วมมือกับผ้ปู กครอ

ประกอบการ ภาคีเครือข่ายและหรือสถานประกอบกา

เพื่อร่วมกันดูแลช่วยเหลือและพัฒน

ผู้เรยี นตลอดปกี ารศกึ ษา

ผลลพั ธ์ (Outcome) ตัวชวี้ ัด (Indicator)

ของงานตามข้อตกลง ทจ่ี ะเกิดกบั ผเู้ รยี นทแี่ สดงใหเ้ ห็น

น ท่คี าดหวงั ให้เกิดข้ึนกับผเู้ รยี น ถงึ การเปลีย่ นแปลงไปในทางทด่ี ีขึน้ หรือ

(โปรดระบ)ุ มีการพฒั นามากขึน้ หรอื มผี ลสัมฤทธิท์ ี่

สงู ข้ึน (โปรดระบุ)

ลุ่ม 1.ผู้เรียนได้รับการพัฒนาความรู้ 1.ผู้เรียน ร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนา
ตร ความสามารถตามหลักสูตรกลุ่มสาระการ ความรู้ความสามารถตามหลักสูตรกลุ่ม

เรียนรู้ภาษาไทย และได้รับการ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย และได้รับ
พัฒนาการเรียนรู้ด้วยสื่อ นวัตกรรมท่ี การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยสื่อ นวัตกรรม
ครผู สู้ อนสร้างขึ้นอย่างมีประสทิ ธิภาพ ท่คี รูผู้สอนสร้างขน้ึ
ป็น 2. ผู้เรยี นได้รบั การพัฒนาตามโครงการใน 2.ผ้เู รียน รอ้ ยละ 80 ได้รับการพัฒนาตาม
ำปี แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีอยา่ งต่อเนอ่ื ง โครงการในแผนปฏิบัติการประจำปี
าม ตลอดปกี ารศกึ ษา
รใช้
อบ

ษา ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ได้รับการ ผเู้ รียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 ร้อยละ 100

อง กำกับ ติดตาม ดูแลช่วยเหลือ โดยการ ได้รับการกำกับ ติดตาม ดูแลช่วยเหลือ

าร ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ด้าน โ ด ยก า รประสานควา มร่วมมือกับ

นา พฤติกรรม และด้านการเรียนอย่าง ผู้ปกครอง ด้านพฤติกรรม และด้านการ

เหมาะสม เรยี นอยา่ งเหมาะสม

9

ลักษณะงานทีป่ ฏบิ ัตติ าม มฐ.ตำแหนง่ งาน (Task)
ทีจ่ ะดำเนนิ การพัฒนา
ตามขอ้ ตกลงใน 1 รอบการประเมนิ

(โปรดระบ)ุ

ดา้ นการพฒั นาตนเองและวิชาชพี
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึงการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
ความรู้ความสามารถทักษะท่ไี ดจ้ ากการพฒั นาตนเองและวิชาชพี มาใชใ้ นการพัฒนาก

1.การพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและ มีการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ โด

ต่อเน่ือง เข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนาที่เกี่ยวข้อ

กับภาระหน้าท่แี ละความรบั ผิดชอบ

การจัดทำ ID PLAN จัดทำรายงาน กา

อบรมพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง

2.การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยน เป็นผู้นำและมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ย

เรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC) เพื่อแก้ไขปัญห

จัดการเรียนรู้ และพัฒนาการเรียนรขู้ องผูเ้ รียนให้ดขี ้นึ

ผลลัพธ์ (Outcome) ตวั ชวี้ ัด (Indicator)

ของงานตามขอ้ ตกลง ท่จี ะเกดิ กบั ผู้เรยี นทแี่ สดงใหเ้ ห็น

น ท่คี าดหวังใหเ้ กิดข้ึนกับผูเ้ รียน ถงึ การเปล่ยี นแปลงไปในทางทด่ี ขี ึ้นหรือ

(โปรดระบุ) มกี ารพัฒนามากข้ึนหรอื มผี ลสัมฤทธ์ิท่ี

สงู ข้ึน (โปรดระบุ)

การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้และการนำ
การจดั การเรียนรู้ การพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้

ดย ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ได้เรียนรู้ 1.ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ

อง ด้วยเทคนิค วิธีการสอนรูปใหม่ๆ อย่าง 80 มีความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัด

มี หลากหลายและทนั สมยั กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค วิธีการ

าร สอนรูปแบบใหม่ อย่างหลากหลายและ

ทนั สมยั

2.ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ

80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระ

การเรียนรู้ภาษาไทย เป็นไปตามท่ี

โรงเรยี นกำหนด

ยน ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ได้รับ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ 80 10
หา การแก้ปัญหาและพัฒนาการเรียนรู้ จาก มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระ
น กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง การเรียนรู้ภาษาไทย สูงกว่าที่โรงเรียน

วิชาชีพ (PLC) อย่างเหมาะสมและเป็น กำหนด
ระบบ

ลักษณะงานท่ปี ฏบิ ตั ิตาม มฐ.ตำแหน่ง งาน (Task)
ทจี่ ะดำเนินการพัฒนา
ตามขอ้ ตกลงใน 1 รอบการประเมนิ

(โปรดระบุ)

3.การนำความรคู้ วามสามารถทกั ษะทไี่ ด้ จัดทำนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียน
จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหร
ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้และ นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4
พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น

หมายเหตุ

1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบ
ระหวา่ งผู้อำนวยการสถานศกึ ษา และข้าราชการครผู ู้จัดทำขอ้ ตกลง

2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางานต้องเป็นงานในหน้าที่ค
วิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น
การปฏิบตั ิงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพฒั นางาน ต

3. การพฒั นางานตามขอ้ ตกลง ตามแบบ PA 1 ใหค้ วามสำคญั กับผลลพั ธ์การ
ประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามขอ้ ตกลง ใหค้ ณะกรรมการด
บรบิ ทของแตล่ ะสถานศกึ ษา และผลลัพธ์การเรียนรขู้ องผเู้ รียนทีเ่ กิดจากการพัฒนางาน

ผลลพั ธ์ (Outcome) ตัวชีว้ ัด (Indicator)

ของงานตามขอ้ ตกลง ทีจ่ ะเกิดกับผู้เรียนท่ีแสดงให้เห็น

น ทคี่ าดหวงั ให้เกิดขึน้ กบั ผเู้ รยี น ถึงการเปล่ียนแปลงไปในทางทด่ี ีข้นึ หรือ

(โปรดระบ)ุ มีการพฒั นามากข้นึ หรอื มีผลสัมฤทธิท์ ่ี

สูงข้นึ (โปรดระบ)ุ

นรู้ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ได้รับ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ 80

รับ การพัฒนาการเรียนรู้ ด้วยนวัตกรรมที่ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระ

ครผู สู้ อนได้สรา้ งขึน้ การเรียนรู้ภาษาไทย สูงกว่าที่โรงเรียน

กำหนด

บริบทและสภาพการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกัน

ความรับผิดชอบหลกั ที่ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรยี น และให้นำเสนอ
ในกรณีที่สอนหลายวิชา สามารถเลือกวิชาใดวิชาหน่ึงได้ โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึง
ตามขอ้ ตกลงสามารถประเมนิ ไดต้ ามแบบการประเมิน PA 2

รเรียนรู้ ของผ้เู รียน (Outcomes) และตวั ชีว้ ัด (Indicators) ที่เปน็ รปู ธรรม และ การ
ดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัตงิ านจริง สภาพการจดั การเรยี นรใู้ น
น ตามข้อตกลงเป็นสำคัญ โดยไมเ่ น้นการประเมินจากเอกสาร

11

12

สว่ นท่ี 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานทีเ่ ป็นประเด็นทา้ ทายในการพฒั นาผลลัพธก์ ารเรียนร้ขู องผเู้ รยี น

ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบัน
ดำรงตำแหน่งครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของวิทยฐานะ
ชำนาญการพิเศษ คือ คศ.1 : ปรับประยุกต์ คศ.2 : แก้ปัญหา คศ.3 : ริเริ่มพัฒนา การจัดการเรียนรู้และ
การพัฒนาคณุ ภาพการเรียนรขู้ องผเู้ รียน ใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงไปในทางที่ดีขึน้ หรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้
ประเดน็ ทา้ ทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏบิ ัติทค่ี าดหวงั ในวิทยฐานะทสี่ งู กวา่ ได้)

ประเด็นท้าทาย เรื่อง การจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning โดยใชแ้ บบฝึกการอ่าน การเขียน
คำอักษรนำและคำควบกล้ำ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

1. สภาพปญั หาการจดั การเรยี นรู้และคณุ ภาพการเรยี นรู้ของผ้เู รียน

การอ่านและการเขียนเป็นทักษะที่มีความสำคัญในชีวิตประจำวัน เพราะเมื่ออ่านออกเขียนได้ก็จะ
เกดิ ความรู้ความเข้าใจ นำไปสกู่ ารสร้างความคดิ การตัดสินใจแก้ปัญหา และกา้ วทันต่อเหตุการณ์ของโลกใน
ยุคปัจจุบัน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรยี นป่าตว้ิ ปา่ เตยวิทยาสรรค์ ปัญหาท่พี บ คอื การใชภ้ าษาของนกั เรียนมีขอ้ บกพร่องหลายประการ ทั้งในดา้ น
การฟงั การพดู การอา่ น และการเขยี น แตท่ ี่เปน็ ปญั หามากคอื ปญั หาการเขียน โดยเฉพาะเรอ่ื งคำควบกล้ำ นักเรียน
อ่านอักษรควบกล้ำไม่ชัดเจน เช่น อ่านอักษรควบ ร โดยไม่ออกเสียงควบกล้ำ เช่น แปรง ออกเสียงเป็น แปง ปราบ
ออกเสียงเป็น ปาบ ครู ออกเสียงเป็น คู อ่านอักษรควบ ล ไม่ออกเสียง ล กล้ำ เช่น กลาง ออกเสียงเป็น กาง ปลอด
ออกเสียงเปน็ ปอด เน่อื งมาจากนกั เรยี นสว่ นใหญ่ขาดทกั ษะดา้ นการอา่ นการเขยี น ทกั ษะเก่ยี วกับหลกั ภาษาและ
การใชภ้ าษา นกั เรยี นมีความสับสนทางด้านภาษาไทยเพราะอิทธิพลของการใช้ภาษาถิ่นในชวี ิตประจำวัน ความเคย
ชินกับการพูดของคนในชุมชน และครอบครัวของนกั เรียนท่ใี ช้ภาษาในท้องถน่ิ ของตนในการส่ือสารกันทำให้ออกเสียง
คำควบกล้ำไม่ชัดเจน ซึ่งมีผลทำให้การเขียนสะกดคำควบกล้ำไม่ถูกต้องตามไปด้วย เมื่อการอ่านการเขียนไม่
ถูกต้องก็มีผลทำให้การสื่อสารผิดเพี้ยนตามไปด้วย ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญอย่างยิ่งในการที่จะ
เรียนรใู้ นกลุ่มสาระอืน่ ๆ ต่อไป การฝึกทักษะภาษาไทยตอ้ งอาศัยองคป์ ระกอบหลายๆอยา่ ง เชน่ การฝึกย้ำซ้ำทวน
ฝึกบ่อยๆ จึงจะทำใหผ้ ้เู รยี นจำได้ ฟงั เขา้ ใจ พดู อา่ นและเขียนได้ถูกต้อง วิธีท่ีจะฝึกทักษะทางภาษาให้ได้ผลดี
อีกวิธีหน่ึงคือได้ลงมือปฏิบัติจริงเพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจและทักษะเพิ่มขึ้น การสอนภาษาไทยที่ครูใช้
อยู่ในปัจจุบันเป็นการสอนแบบบรรยายนักเรียนอ่านตามครู เขียนตามครูยึดเนื้อหาในหนังสือเรียนเป็นหลัก
ไมม่ สี ง่ิ เรา้ ใจ ใชเ้ ทคนคิ เดมิ ๆ ผเู้ รยี นเบ่ือหนา่ ยไมส่ นใจการเรยี น ดังนนั้ จากการศึกษาคน้ คว้าผศู้ ึกษาพบว่า การ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยแบบฝึกทักษะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจในบทเรียนได้ดีขึ้นเพราะ
แบบฝึกทักษะเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในการสอนภาษา แบบฝึกทักษะจะทำให้เด็กเกิดความแม่นยำ
คล่องแคล่วในแต่ละทักษะ สามารถใช้ภาษาสื่อความหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความคิดและเหตุผล และยัง
สามารถเร้าความสนใจของนกั เรียนไดเ้ ปน็ อยา่ งดีและสรา้ งความสนุกสนานโดยไม่เกดิ ความเบ่ือหน่ายในการฝึก
ซำ้ ดงั นน้ั การสอนภาษาไทยใหน้ ักเรียนมีทกั ษะในการฟงั พดู อา่ นและเขียนภาษาไทยได้อยา่ งคลอ่ งแคลว่ รวดเร็ว

13

และถูกต้อง เครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งที่ใช้ฝึกทักษะทางภาษา คือ แบบฝึก ดังที่กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ
กล่าวว่า การสอนภาษาไทยให้สนุกต้องใหน้ ักเรียนได้ทำแบบฝึกหดั ให้มากที่สุด ในแบบฝึกหัดนั้นย่อมมีคำตอบท่ี
ถูกและผิด เมื่อครูชี้แจงใหท้ ราบว่าข้อไหนถูกและข้อไหนผิดจะทำให้นักเรยี นรู้สกึ สนุกยิ่งขึน้ การใช้แบบฝึกเปน็
สื่อการสอนที่จัดทำขึ้นเพ่ือให้ผู้เรียนได้ศึกษาทำความเข้าใจ ฝึกฝนจนเกิดแนวคิดที่ถูกต้องและเกิดทกั ษะในเรื่องใด
เรอ่ื งหนึง่ นอกจากนีแ้ บบฝึกหัดยังเป็นเคร่อื งชว่ ยบง่ ช้ีให้ครทู ราบวา่ ผู้เรียนหรือผูใ้ ช้แบบฝึกมีความรู้ความเข้าใจ
บทเรียนและสามารถนำความรู้ไปใช้ได้มากนอ้ ยเพียงใด แบบฝึกมีความสำคัญในการพฒั นาการเรียนการสอน และมี
ความสำคญั ในการช่วยเหลือให้นักเรยี นพัฒนาทักษะทางภาษา ซ่ึงในการฝกึ ทักษะจำเป็นต้องอาศัยแบบฝึกทักษะ
ในการฝึกฝน หรือฝึกปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติด้วยตนเองและช่วยให้ผู้เรียนสามารถ
เขยี นไดถ้ ูกต้องแมน่ ยำ สอ่ื ความหมายไดแ้ ละเกดิ การเรียนร้ไู ดด้ ี

จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว ผู้ศึกษาจึงได้ดำเนินการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะการ
อ่านและการเขยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ดว้ ยแบบฝึกทักษะการอ่าน การเขยี นคำอกั ษรนำและคำควบกล้ำ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เพื่อส่งเสริมใหน้ ักเรียนเกิดการพัฒนาทางด้าน
การอ่านและการเขยี นคำควบกล้ำได้อยา่ งถกู ต้องและเปน็ พื้นฐานสำคญั ในการเรียนรู้ในระดบั สูงข้นึ ต่อไป

2. วิธีการดำเนนิ การใหบ้ รรลุผล

2.1 ศกึ ษาเอกสารหลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย แนวคิดทฤษฏกี ารเรียนการสอน
2.2 ศกึ ษาปัญหาของนักเรยี น วเิ คราะห์ขอ้ มลู ที่พบในการจดั การเรียนการสอน
2.3 ศกึ ษาเทคนคิ วธิ ีการจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning
2.4 ศึกษาเทคนิคการใช้แบบฝึกทักษะพัฒนาการอ่านและการเขียน เพื่อให้เหมาะสมกับ
เนือ้ หาและผูเ้ รยี น
2.5 สร้างแบบประเมินผลการอา่ นและการเขยี น ก่อนเรียน - หลังเรยี น
2.6 ประเมินผลการอ่าน การเขียน ก่อนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้
แบบฝึกทักษะการอ่าน การเขียนคำอักษรนำและคำควบกล้ำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนช้ัน
ประถมศกึ ษาปที ่ี 4
2.7 ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบ ด้วยการ
จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่าน การเขียนคำอักษรนำและคำควบกล้ำ กลุ่ม
สาระการเรียนรภู้ าษาไทย สำหรบั นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4
2.8 ประเมินผลการอ่านและการเขียน หลังการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย
ใช้แบบฝึกแบบฝึกทักษะการอ่าน การเขียนคำอักษรนำและคำควบกล้ำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับ
นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4

14

3. ผลลัพธ์การพัฒนาทคี่ าดหวัง
3.1 เชิงปรมิ าณ
ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ 80 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ Active

Learning โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่าน การเขียนคำอักษรนำและคำควบกล้ำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สำหรับนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นหลังเรยี นสงู กว่าก่อนเรยี น

3.2 เชิงคณุ ภาพ
ผูเ้ รียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 สามารถอ่านออก เขยี นได้ มคี วามรูค้ วามเข้าใจใน เร่อื ง

การอา่ น การเขียนคำอกั ษรนำและควบกล้ำ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 2551

ลงช่ือ...................................................................
( นางสาวสุกานดา วงษม์ น่ั )
ตำแหนง่ ครู

ผจู้ ัดทำข้อตกลงในการพฒั นางาน
18 เมษายน 2565

ความเห็นของผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา
( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพฒั นางาน
( ) ไมเ่ หน็ ชอบให้เปน็ ข้อตกลงในการพฒั นางาน โดยมขี อ้ เสนอแนะเพ่อื นำไปแกไ้ ข และเสนอ

เพ่อื พิจารณาอกี ครงั้ ดังนี้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ....................................................................
( นางศรีสดุ า พุทธรกั ษา )

ตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นป่าตวิ้ ป่าเตยวทิ ยาสรรค์
19 เมษายน 2565


Click to View FlipBook Version