ประวตั ิ
คาถาอาคม
พระเคร่ือง
อภินิหาร
พระครูวิมลคุณากร (ศุข เกสโร)
วดั ปากคลองมะขามเฒ่า ชยั นาท
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
พระครูวมิ ลคณุ ากร ( ศุข เกสโร )
วดั มะขามเฒ่า อ. วดั สิงห์ จ. ชยั นาท
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
หลวงป่ ูศขุ ถือกาเนิดในตระกลู “ เกศเวชสุริยา “ โดยมีนาย
น่วม เกศเวชสุริยา เป็นโยมบิดา นางทองดี เกศเวสสุริยา เป็น
โยมมารดา เม่ือปี ฉลู พ.ศ. 2390 ท่ี อาเภอวดั สิงห์ จงั หวดั
ชยั นาท โดยมีพนี่ อ้ งร่วมบิดามารดาเดียวกนั รวม 9 คน ดงั น้ี
คนแรก พระครูวมิ ลคุณากร (ศุข)
คนท่ี 2 นางอ่า คนที่ 3 นายลุง
คนท่ี 4 นายไข คนที 5 นายสิน
คนที่ 6 นายมี คนที่ 7 นายขา
คนที่ 8 นายพลอย
คนที่ 9 หลวงพอ่ ปล้ืม (เจา้ อาวาสวดั มะขามเฒ่า
องคต์ ่อจากหลวงป่ ูศูข)
ครอบครวั หลวงป่ ูศุข ประกอบอาชีพคา้ ขาย และ ทาสวน
ตามสภาพของชาวบา้ นทว่ั ไปของบา้ นนอก
หลวงป่ ูศุขเป็นเด็กที่ซุกซนคกึ คะนอง หมือนกบั เด็กทว่ั ไป
ในละแวกบา้ น มีนิสยั เช่ือมนั่ ในตวั เองและไม่ยอมลงใหก้ บั
เรื่องราวต่าง ๆ ที่พบเจอในชีวติ มีพรรคพวกมากมาย เดก็ ๆ
สมยั น้นั ชอบชวนกนั ไปเล่นริมแม่น้าเจา้ พระยา เล่นกนั แลว้
สนุกเกินเลยไม่ยอมเลกิ กนั งา่ ย ๆ และกไ็ ม่คอ่ ย เชื่อฟังผหู้ ลกั
ผใู้ หญ่ที่คอยหา้ มเตอื น พอ่ แม่ตอ้ งลงดุด่าพร้อม ๆ กนั ใชไ้ ม้
เรียวกาหราบ แต่ กไ็ ม่เคยเขด็ จา
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
วนั หน่ึงญาตฝิ ่ายมารดาหลวงป่ ศู ุข ชื่อนายแฟง ซ่ึงมีศกั ด์ิ
เป็ นลุงของหลวงป่ ูศุข นง่ั เรือข้ึนมาชยั นาท จงึ แวะมาเยยี่ ม
ลูกพล่ี ูกนอ้ งกนั นายแฟง เห็นวา่ นางทองดีมีลูกถึงเกา้ คนจงึ
เกิดความสงสารอยากจะช่วยอุม้ ชูลูกหลานใหไ้ ดร้ บั การเล่า
เรียนในบางกอก จงึ เอ่ยปากขอลูกนอ้ งสาวไปเล้ียง นางทองดี
ก็ใหพ้ ช่ี ายเลือกวา่ จะเอาคนไหนไป นายแฟงเลือกเดก็ ชายอายุ
สิบขวบคอื คนโตไป และล่องเรือกลบั บางเขน
นายแฟง มีอาชีพทาสวนผลไม้ หลงั จากทไ่ี ดน้ าเดก็ ชาย
มาอุปการะเล้ียงดูอยา่ งลูกแท้ ๆ ส่วนเด็กชายศุขก็เป็นคนวา่
นอนสอนง่ายผดิ กบั อยกู่ บั แม่ทชี่ ยั นาท ช่วยทางานในสวน
อยา่ งเตม็ กาลงั จนเป็นท่ีรักใคร่ของนายแฟง มีเวลาก็ไปฝาก
กบั วดั ใกลบ้ า้ นใหเ้ ล่าเรียนหนงั สือกบั พระในวดั เพอื่
ความกา้ วหนา้ ของคนในเมืองทวั่ ไป
จากการท่ไี ดค้ ลุกคลีเล่าเรียนกบั วดั ไดม้ ีโอกาสเรียนวชิ า
อาคมไปพร้อมกนั ตามวสิ ยั ลูกผชู้ ายสมยั น้นั คงกระพนั ชาตรี
เพอ่ื ปัองกนั ตวั และเกิดความชอบดา้ นนกั เลง การเรียนรูด้ า้ น
อาคมทาใหม้ ีผใู้ หค้ วามยาเกรง ไม่วถิ ีในการสรา้ งอิทธิพล
รงั แกชาวบา้ น แมน้ ิสยั เดิมท่านจะเป็นคนมีเพอื่ นมาก มี
เช่ือมนั่ ในตวั เองสูงก็ตาม
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ูศขุ ไดส้ มรสกบั น.ส สมบุญ ซ่ึงเป็นหลานสาวของเมีย
นายแฟง นายแฟงก็ไดจ้ ดั การแต่งงานใหอ้ ยกู่ ินกนั ดว้ ยความ
ยนิ ดี เพราะเม่ือแก่ตายไปจะไดม้ ีทายาทดูแลทรพั ยส์ ินของแก
ต่อไป สองสามีภรรยาช่วยกนั ประกอบอาชีพคา้ ขายและทา
สวน อยมู่ าไม่นานภรรยาท่านกไ็ ดก้ าเนิดทายาทคนแรก เป็น
ชาย ต้งั ชื่อใหใ้ นภายหลงั วา่ สอน เกศเวชสุริยา
ตามธรรมเนียมประเพณีของเราคนไทย ซ่ึงส่วนใหญน่ บั
ถือพทุ ธศาสนาสืบทอดกนั มาแต่โบราณ ชายใดท่ีมีอายคุ รบ
ยส่ี ิบปี บริบรู ณ์ ตอ้ งเขา้ อุปสมบทภายใตร้ ่มบวรพทุ ธศาสนา
เพอื่ ตอบแทนพระคุณบิดรมารดา เป็ นบุญกุศลแก่ตวั สืบไป
และเป็นการสืบทอดศาสนาพทุ ธใหย้ นื ยาวต่อไป การ
อุปสมบทตอ้ งไดศ้ กึ ษาเล่าเรียนพระธรรมคาสง่ั สอนและฝึก
ปฏบิ ตั ิ เพอื่ การสงบจติ สงบใจ เมื่อไดล้ าสิกขาบทไปแลว้ จะ
ไดน้ าพระธรรมคาสง่ั สอนท้งั หลายเหล่าน้นั ไปปฏบิ ตั ใิ นการ
ดาเนินชิวติ ทอ่ี ยใู่ นศลี ในธรรม เพอื่ ความเจริญกา้ วหนา้ ในการ
ทามาหาเล้ียงชีพ และความสงบสุขกบั วถิ ีชีวติ ของตนเองและ
สงั คมทวั่ ไป
ท่านปรึกษานายแฟงเรื่องการบวช นายแฟงก็ยนิ ดีเป็นอยา่ งยงิ่
และไดจ้ ดั การเป็นเจา้ ภาพบวชให้ และภาระการดูแลสวนมอบ
ใหน้ างสมบุญ ภรรยารบั ช่วงไปดาเนินการตอ่ ภรรยาทา่ นก็
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
ทราบในความมุ่งมน่ั และร่วมยนิ ดีในบญุ กุศล ทที่ ่านจะบวช
จงึ ไม่คดั คา้ นแต่อยา่ งใด
ในปี ที่ท่านอุปสมบทน้นั ท่านมีอายปุ ระมาณ 22 ปี ทาพธิ ิ
อุปสมบทท่วี ดั โพธ์ิทองล่าง ใกลบา้ นนนั่ เอง โดยมีพระ
อาจารย์ เชย จนั ทสิริ เป็นพระอุปฌาย์ และจาพรรษาทวี่ ดั น้ี
ตลอดมา
พระอาจารยเ์ ชย จนั ทสิริ เป็ นพระทีเ่ คร่งครดั ในศีลธรรม
จรรยาและแนวทงปฏบิ ตั วิ ปิ ัสนากรรมฐานเป็นอยา่ งยงิ่ ใน
ละแวก จงั หวดั นนทบุรี มีท้งั กิตติศพั ท์ ดา้ นอภินิหาร และ
ความศกั ด์ิสิทธ์ิ เป็นท่ี ศรัทธาเลื่อมใส และน่าเกรงขามแก่ญาติ
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
โยมท้งั หลายในยา่ นวดั โพธ์ิทอง ล่าง และในพ้นื ที่ใกลเ้ คยี ง
เป็ นอยา่ งมาก
หลวงป่ ศขู ระหวา่ งทีจ่ าพรรษาไดม้ ีความมุ่งมนั่ ในวตั ร
ปฏบิ ตั ิ ท้งั ช่วยงานวดั อยา่ งไม่ยอ่ ทอ้ ทุกวนั เวลาวา่ งทา่ นกไ็ ม่
วา่ งเวน้ จะเขา้ ไปปรนนิบตั ริ บั ใช้หลวงพอ่ เชยทก่ี ุฏิ เป็นประจา
จนเป็นท่ีรกั ใคร่สนิทสนมกบั หลวงพอ่ เชยเป็น อยา่ งยง่ิ หลวง
พอ่ เชยก็มีความรักเอ็นดูหลวงป่ ศขุ เป็ นอยา่ งมาก โดยท่าน ได้
ถ่ายทอดช้ีแนะแนวทางวปิ ัสนากรรมฐาน แนวทางแห่งกสิณ
วธิ ีสรา้ ง สมาธิใหก้ บั หลวงป่ ูศุขไดฝ้ ึกปฏิบตั ิ พร้อมท้งั คอย
ดูแลกากบั อยา่ งใกลช้ ิด เพอื่ ป้องกนั ไม่ใหป้ ฏิบตั ิผดิ แนวทาง
ดว้ ยหลวงป่ ูศขุ เป็นคนทีม่ ีความเชื่อมน่ั ในตวั เองสูง และ
มีความอดทนไม่ยอ่ ทอ้ ต่ออุปสรรคใด ๆ คดิ จะทาอะไรก็ตอ้ ง
ทาใหไ้ ด้ วริ ิยะอุตสาหะไม่เลิกราจนกวา่ จะประสบผลสาเร็จ
เมื่อไดเ้ ริ่มปฏบิ ตั ิฝึกสมาธิตามวธิ ีทางท่อี าจารยเ์ ชย กเ็ ริ่มได้
เห็นความเป็นอนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา แห่งชีวติ เพียรพยายามที่
จะตดั เครื่องกงั วลใจออกไปจากจิตใจของตนเอง เพอื่ ใหเ้ กิด
ความแน่วแน่ในการฝึกสมาธิใหบ้ งั เกิด ผลแห่งกสิณ 10 ไดแ้ ก่
อาโปกสิณ ปฐวกี สิณฯ.... เป็นอารมณ์ พรอ้ มท้งั พจิ ารณา
ร่างกาย ตวั ตน วา่ เป็นการรวมตวั ของธาตุ ตา่ ง ๆ ดิน น้า ลม
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
ไฟ มาประชุมรวมกนั อยู่ ความสงบ ความปี ตสิ ุข จึงบงั เกิดข้นึ
ในอารมณ์ ทาใหเ้ ห็นหนทางอนั เป็นท่ีพ่งึ เป็นหนทางตาม
แนวองคพ์ ระศาสดาไดส้ ง่ั สอนไวแ้ ต่ก่อนพทุ ธกาล
จงึ ไดพ้ จิ ารณายดึ เป็นหนทางในการดาเนินชิวติ จนกวา่
จะถึงซ่ึงการดบั ไปแห่งกายสงั ขาร ดว้ ยความมุ่งมนั่ เขา้ ถึงแก่น
แทข้ องธรรมะ จึงตดั สินใจแน่วแน่ท่ี จะครองอยใู่ นสมณเพศ
ตลอดไป ดว้ ยความกรุณาและเห็นความต้งั ใจแน่วแน่ของ
หลวงป่ ูศขุ นอกจากการอบรมสง่ั สอนตาม แนวทางปฏบิ ตั ิ
แห่งสมถกรรมฐาน อาจารยเ์ ชย ยงั ไดแ้ นะนาวชิ าการดานการ
เขยี นอกั ขระขอม พรอ้ มท้งั วชิ าไสยศาสตร์ เวทยม์ นตค์ าถา
การปลุกเสก อธิฐานตา่ ง ๆ ท่เี ขียนในหนงั สืออกั ษรขอม เพอื่
เป็ นหนทางอนั หน่ึงท่จี ะช่วยใหส้ มาธิบงั เกิด ความแน่วแน่
เป็ นเอกคั ตารมณ์เร็วยงิ่ ข้ึน หลวงป่ ูศขุ เป็นผูม้ ี พรสวรรค์
ทางดา้ นไสยศาสตร์ เป็ นอยา่ งมากอยแู่ ลว้ ท่านจึงสามารถ
สรา้ งของปลุกเสกไดข้ ลงั และศกั ด์ิสิทธ์ิอยา่ งรวดเร็ว จึงเป็นที่
พงึ พอใจของอาจารยเ์ ชย เป็ นอยา่ งมาก
ไสยศาสตร์และสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิ ทีบ่ งั เกิดข้นึ ดว้ ยพลงั อานาจ
ของญาณสมาธิ เป็นหนทางอนั หน่ึงทจี่ ะนาความเชื่อถือ
ศรทั ธา ใหญ้ าตโิ ยมท้หั ลายใหโ้ อนอ่อนนอ้ มนามายดึ ปฏบิ ตั ิ
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
ยดึ ถือพระพทุ ธศาสนาเป็นท่ีพ่งึ และยนิ ดีทจ่ี ะนา คาสงั่ สอน
ในพระธรรมไปประพฤตปิ ฏิบตั ิไดล้ กึ ซ้ึงมากข้นึ ซ่ึงหลวง
ป่ ูศุข ทา่ นได้ ใชห้ นทางดา้ นน้ีมาสรา้ งศรทั ธาจากบรรดาลูก
ศษิ ยล์ ูกหานอ้ มนามาใชป้ ฏบิ ตั ิ เกิดส่ิงมหศั จรรย์ ทอ่ี ยเู่ หนือ
กฏเกณฑธ์ รรมชาตทิ ว่ั ไป หลวงป่ ไู ดท้ ดลองใหเ้ ห็นประจกั ษ์
ดว้ ยสายตา สามารถพสิ ูจน์ไดต้ ลอดเวลา โดยทาซ้าจนเห็นจริง
แท้ นี่คอื คากลา่ วเล่าขานของลูกศษิ ยล์ ูกหาทตี่ กทอดมาถึง
ปัจจบุ นั
ในทส่ี ุดท่านไดเ้ ห็นทกุ สิ่งทุกอยา่ งท่วี า่ ศกั ด์ิสิทธ์ิและ
มหศั จรรยน์ ้นั เป็นเพยี งสิ่งทป่ี รากฏข้นึ ได้ เป็นธรรมดาของ
โลกน้ีเทา่ น้นั ไม่ใช่ส่ิงที่ จะคงอยตู่ ลอดไป แต่หนทางทีเ่ ป็นสิ่ง
เหนือธรรมชาติ แทจ้ ริง ก็คือ การหลุดพน้ จากวฏั สงสาร ไม่
ตอ้ งเวยี นวา่ ยตายเกิดกนั ตอ่ ไป หนทางตามแนวทอ่ี งคพ์ ระ
ศาสดาไดส้ ง่ั สอนเพอื่ บรรลุนิพพานตามรอยบาทพทุ ธองค์
ตลอดเวลาทที่ า่ นไดศ้ ึกษาแนวทางสมถกรรมฐานและพธิ ี
ทางไสยเวทยต์ า่ ง ๆ จากอาจารยเ์ ชย อุปัชฌาย์ จนมีความรู้และ
สมาธิเป็ นอยา่ งดีแลว้ ท่านยงั คดิ วา่ ไม่เพยี งพออยนู่ ่าจะมีอะไร
ที่แตกต่าง ฉะน้นั ตอ้ งการศกึ ษาใหล้ ึกซ้ึง จงึ ออกเดินทางไปยงั
สถานทอี่ ื่นเพอ่ื ท่ีจะไดพ้ บทท่ี ม่ี ี เป็นความเก่งกลา้ สามารถ เป็น
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
ทเี่ ลื่องลือดา้ นน้ี ทา่ นจงึ มาขอฝากตวั เป็นศษิ ยศ์ ึกษาวชิ าไสย
ศาสตร์ ตา่ ง ๆ เพม่ิ เติม ที่วดั สามง่าม เขตปทุมวนั วดั ชนะ
สงคราม กรุงเทพฯ จนท่านรูส้ ึกวา่ มีญาณสมาธิแก่กลา้ จากน้นั
ท่านไดอ้ อกธดุงคไ์ ปในทอ้ งทห่ี ่างไกล เป็นป่ าเขาลาเนาไพร
เพอื่ บาเพญ็ เพยี รญาณสมาธิ แสวงหาหนทางแห่งปัญญาเพอื่
ความหลุดพน้ ต่อไป
ออกธดุ งค์ ในพรรษาท่ีสองของการบวช ทา่ นกป็ รีกษา
อาจารยเ์ ชยวา่ จะออกปลีกวเิ วกในดงกวา้ ง เพอื่ สรา้ งความเขม็
แขง็ ในสมาธิจิต อาจารยท์ า่ นเห็นวา่ ร่าเรียนมาพอสมควรและ
พร้อมแลว้ ท่จี ะออกไปหาวชิ าเพม่ิ เติมดว้ ยตนเองจึงอนุญาต
(รายละเอยี ดอภินิหาร ตดิ ตามภาคธุดงควตั ร)
หลงั จากทท่ี า่ นไดเ้ ดินท่านธุดงคไ์ ปในทอ้ งที่ต่าง ๆ มากมาย
เป็นเวลานาน จนวนั หน่ึงไดเ้ ดินทางผา่ นจงั หวดั ชยั นาท ได้
แวะเขา้ อาเภอวดั สิงห์ เพอื่ เยย่ี มโยมมารดา บดิ า และญาติพี่
นอ้ ง ซ่ึงไม่ไดต้ ดิ ตอ่ กนั มาเป็นเวลานานกวา่ สามสิบปี ทาให้
ทา่ นจาพ้นื ท่ีไม่ได้ จงึ ขอจาพรรษากบั เจา้ อาวาสทว่ี ดั พกิ ุลงาม
ซ่ึงอยฝู่ ่ังตรงขา้ มเป็นเขตอาเภอมโนรมย์ จงั หวดั ชยั นาท แต่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
เนื่องจากตอนน้นั ยงั เป็ นวดั เลก็ ๆ กฏุ ิทีอ่ าศยั ไม่เพยี งพอจึง
ขอใหท้ ่านกางกลดพกั ทต่ี น้ ไมใ้ หญ่หลงั ริมป่ าชา้
คร้งั รุ่งเชา้ ออกบณิ ฑบาตร กไ็ ดส้ อบถามกบั ชาวบา้ นวา่ รู้จกั
แม่ทองดี และพอ่ น่วมบา้ งหรือไม่ บา้ นอยใู่ ตว้ ดั อู่ทองปาก
คลองมะขามเฒ่า หลายคนส่ายหนา้ อาจเป็นเพราะคนรุ่นใหม่
และคนละอาเภอกนั แตว่ นั หน่ึงมีโยมบอกวา่ ที่วดั อู่ทองน้นั อยู่
ฝ่ังตรงขา้ มลองขา้ มฟากไปฝั่งโนน้ น่าจะมีคนรูจ้ กั กนั บา้ ง
คร้ันออกพรรษาแลว้ ทา่ นอาลาเจา้ อาวาสวดั พกิ ลุ เงิน และก็
ขา้ มฟากไปฝั่งตรงขา้ มบริเวณทเ่ี ป็นวดั ร้าง ชาวบา้ นเรียกวา่ วดั
อู่ทองปากคลองมะขามเฒ่า โดยปักกลดท่ใี ตต้ น้ ไมใ้ หญ่ ขา้ ง
ศาลเจา้ เม่ือไดเ้ วลาออกบณิ ฑบาตรก็ยงั สอบถามชาวบา้ นถึง
พอ่ น่วมและแม่ทองดี วา่ มีใครรูจ้ กั บา้ ง จนกระทงั่ วนั หน่ึง
ท่านรบั อาหารโยมที่มีบา้ นอยใู่ กลก้ บั แม่ทองดี และบอกพระ
ธุดงคไ์ ปวา่ จะบอกแม่ทองดีใหม้ าใส่บาตรพระใน วนั สอง
วนั น้ี แลว้ วนั น้นั พระธุดงคร์ ูปร่างผอมเล็ก ครองจวี รเก่าผปุ ะ
แลว้ หลายจดุ ก็ไดพ้ บกบั โยมมารดา ดว้ ยสญั ชาติญาณความ
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
เป็ นสายสมั พนั ธุแ์ ม่ลูกกส็ ามารถส่ือถึงกนั ได้ พระธุดงคเ์ รียก
โยมแม่ โยมแม่ จาเจา้ ศุขไดไ้ หม ท่านศุขลูกแม่จริง ๆ เสียดาย
เหลือเกินท่พี อ่ มาด่วนตายเสียก่อนที่จะไดเ้ ห็นผา้ เหลือง
โยมมารดาเมื่อเห็นหลวงป่ ศู ขุ ครองจีวรสีเหลืองแห่งสมณ
เพศ ที่มีราศนี ่าเล่ือมใส กม็ ีความปี ตยิ นิ ดีเป็นอยา่ งมาก ท้งั ไม่
พบหลวงป่ ูศุขเป็นเวลานาน ตวั เองก็ชรา ภาพมากแลว้ จึงได้
นิมนตใ์ หห้ ลวงป่ ูอยจู่ านาพรรษาที่วดั มะขามเฒ่า เพอื่ อยใู่ กล้
ๆ โยมแม่เม่ือตายจะไดเ้ กาะผา้ เหลืองข้นึ สวรรค์ หลวงป่ ศู ขุ นึก
ถึงมงคล ๓๘ ประการ การสงเคราะหบ์ ดิ ามารดาเป็นอุดม
มงคล จงึ ไดต้ ดั สินใจเดด็ ขาดทจ่ี ะวางบริขารธุดงค์ และอุทศิ ช่ี
วติ ท่เี หลือสงเคราะหม์ ารดาเพอื่ แทนคุณน้านม บอกกบั โยม
แม่ไปวา่ ตอ่ แต่น้ีไปฉนั จะงดการเดินธุดงคต์ ามทโ่ี ยมแม่
ตอ้ งการ
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
แม่ทองดี ไดน้ าบรรดาชาวบา้ นชาวช่องมาช่วยถากถางพน้ื ที่
ใหเ้ ตียนโล่งเป็นบริเวณกวา้ ง เห็นพระภกิ ษศุ ุขธุดงคก์ ร็ ู้สึก
เลื่อมใสใน วตั รปฏบิ ตั ิ ก็หวงั ท่จี ะใหช้ ่วยทานุบารุงวดั
มะขามเฒ่าใหเ้ จริญรุ่งเรือง ซ่ึงทรุดโทรมมาก ปลูกกุฏิหลงั
แรกใหห้ ลวพอ่ จาพรรษา ขณะน้นั ยงั ไม่มีพระภิกษจุ าพรรษา
กาเนิดของวดั อู่ทองปากคลองมะขามเฒ่าไดฟ้ ้ื นฟขู ้ึนใหม่อีก
คร้ัง
ต้งั แต่หลวงป่ ูจาพรรษาที่วดั มะขามเฒ่าท่านไดเ้ ร่ิม
พฒั นาวดั ท่ีทรุดโทรมและปรับปรุงส่วนที่ไม่ไดร้ ับการ
เหลียวแลจากชาวบา้ นนกั เน่ืองจากมีฐานะยากจน ทา่ นก็รบั
เป็นภาระท้งั หมด หลวงป่ ศู ขุ จาพรรษาท่นี ่ีไม่นานนกั โยม
แม่ไดถ้ ึง แก่กรรมลง ท่านไดจ้ ดั พธิ ีฌาปณกิจ เสร็จแลว้ ก็
พานกั จาพรรษาอยทู่ ี่วดั มะขามเฒ่าตลอดมา
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
บรรดาชาวเรือที่ผา่ นหนา้ วดั ของท่านมกั จะข้นึ มากราบ
หลวงป่ ูเพอื่ เป็นสิริมงคลขอของดีจากหลวงพอ่ เพอ่ื คุม้ ครอง
ป้องกนั อนั ตรายตา่ ง ๆ นานา บางรายตอ้ งเดินทางไปคา้ ขาย
ตา่ งถิ่นท่านก็จะใหศ้ ีล ใหพ้ ร พรมนามนตใ์ ห้แคลว้ คลาด
ปลอดภยั คา้ ขายดีมีกาไรกลบั มา
สิ่งที่หลวงป่ ูใหไ้ ป น้าพทุ ธมนต์ ของขลงั ต่าง ๆ เกิด
ประสบการณ์ดา้ นแคลว้ คลาด ทามาคา้ ข้ึน ปรากฏใหเ้ ห็น
บ่อยคร้ัง แตล่ ะรายก็พดู กนั ตอ่ ๆ กนั วา่ ท่านศกั ด์ิสิทธ์ิ ทา
ใหม้ ีคนมาวดั มากข้นึ วดั มะขามเฒ่าจงึ สามารถพฒั นา
เจริญรุ่งเรืองเป็ นอยา่ งมาก นบั ต้งั แต่ท่ีหลวงป่ ูศุขมาอยู่
วดั มะขามเฒ่าแห่งน้ี
พลงั แห่งพลานุภาพของวตั ถมุงคลทปี่ รากฏตอ่ ผู้
ครอบครอง ชาวบา้ น ชาวเรือ จนเป็นท่ี โจษขานกนั ทว่ั ไป
วา่ พรที่ทา่ นใหข้ ลงั สมเจตนาของผไู้ ดร้ บั ชื่อเสียงของ
หลวงป่ จู ึงค่อย ๆ เล่ืองลือปากตอ่ ปาก ขยายกวา้ งไกล
ออกไป ไม่นานนกั ทา่ น้าวดั มะขามเฒ่า กค็ ราคร่าไปดว้ ย
ผคู้ นสนั จร เรือแพ เขา้ มาเพอ่ื กราบไหวข้ อพรหลวงป่ ูศขุ
ขอน้าพระพทุ ธมนตข์ องขลงั ติดตวั และ เผอ่ื แผญ่ าติพน่ี อ้ ง
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
พรอ้ มกบั มาพกั อาศยั คา้ งแรมก่อนเดินทางต่อไป และเพอื่
อาศยั บารมีหลวงพอ่ จากโจรปลน้ ขโมยสินคา้ เตม็ ท่า
น้าหนา้ วดั ทาใหก้ ิติศพั ยว์ ตั ถุมงคลของหลวงป่ ูศขุ
กระจายไปทว่ั ทิศจากพวกพอ่ คา้ เหล่าน้ี เป็นท่ีเลื่องลือถึง
ความศกั ด์ิสิทธ์ิ ความขลงั ของวตั ถุมงคล ท้งั ทา่ นก็มีใจ
เมตตาแจกให้ ทุกคนที่ไปขอท่านจนหมดรุ่นแลว้ รุ่นเล่า
และไดม้ ีสรา้ งใหม่ติดตอ่ กนั มาหลาย ฝีมือ หลายวดั ท้งั
ฝีมือชาวบา้ นและทว่ี ดั มะขามเฒ่าสรา้ งเอง พระเคร่ืองจึงมี
หลายแบบ สวยบา้ ง ไม่สวยบา้ ง วตั ถุการสร้างก็
หลากหลาย แลว้ แต่จะหามาได้
ต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๔๕๐ เป็ นตน้ มา ช่ือเสียงเกียรติคุณ
หลวงป่ ศู ุข ในดา้ นวชิ าอาคมไสยศาตร์ ความขลงั และ
ความศกั ด์ิสิทธ์ิ เป็นทร่ี ูจ้ กั และศรทั ธาแก่ผคู้ นในทอ้ งถ่ิน
ต่าง ๆจาก จงั หวดั ใกล้ เคยี ง จนถึงกรุงเทพฯ ลูกศิษยล์ ูกหา
ของท่านกระจดั กระจายไปทวั่ ทกุ หวั ระแหง
หากท่านวา่ งเวน้ จากกิจธุระอยา่ งนอ้ ย ปี ละคร้ัง ทา่ น
มกั จะเดินทางเขา้ กรุงเทพ ฯ มาเยย่ี มศษิ ยเ์ อก ในงานไหว้
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
ครูและพานกั ที่วงั กรมหลวงชุมพร ฯ วงั นางเล้ิง ส่วนมาก
เป็นวนั ไหวค้ รูของกรมหลวงฯ
ซ่ึงเสด็จกรมหลวงชุมพร สรา้ งกุฏิหลงั เล็กใหท้ ่านพานกั
บริเวณกลางสระน้าภายในวงั ของพระองค์ (ลุงผล ท่าแร่
ลูกศษิ ยผ์ ตู้ ดิ ตาม) บางคราวก็จะไปพานกั ทีว่ ดั สามง่าม
บา้ ง วดั อนงคารามบา้ ง เพอื่ ปฏิสนั ถารกบั สมเดจ็ พฒุ า
จารยน์ วม ซ่ึง สนิทคุน้ เคยและสนิทกนั มากอยา่ งยง่ิ
ลูกศิษยล์ ูกหาก็มกั จะนิมนตท์ ่านไปสถานทีต่ า่ ง ๆ เพอ่ื
ร่วมปลุกเสกวตั ถุมงคลบ่อย ๆ บางคราว วดั ต่าง ๆ ก็
นิมนตท์ ่านไปร่วมพธิ ีเพอื่ สร้างวตั ถุมงคลของวดั หา
รายไดท้ านุบารุงวดั ท่านกไ็ ม่เคยปฏิเสธ และไดน้ าพระ
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
เครื่องไปแจกในพธิ ีเพอื่ สบทบกบั วดั น้นั ๆ ดว้ ย
ตวั อยา่ งที่ชยั นาท ไดแ้ ก่ วดั หวั หาด วดั โคกเขม็ เป็นตน้
สาหรบั วดั โคกเขม็ อาเภอสรรพยา ร่วมในพธิ ีผกู พทั ธ
สีมาพระอุโบสถ และปลุกเสกพระเคร่ือง นาคปรก
สมเด็จพระพฒุ าจารยน์ วม เป็น ประธานในปลุกเสกพระ
นาคปรกเล็ก มะขามเฒ่า แจกเป็นของชาร่วยใหแ้ ก่ผมู้ า
ร่วมทาบุญในวนั งาน ประมาณเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.
๒๔๖๕ สมเด็จพระพทุ ธาจารยน์ วม ท่านเป็นสหายธรรม
กบั ท่ีสนิทคุน้ เคยหลวงป่ ศู ุขเป็นอยา่ งมาก และพระนาค
ปรกเล็กรุ่นน้ีกเ็ ป็นที่โด่งดงั ในวงการมายาวนาน
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
วดั เขาธรรมมามูล ร่วมพธิ ีปลุกเสกเหรียญหลวงพอ่
ธรรมจกั ร พระพทุ ธรูปยนื คูบ่ า้ นคูเ่ มืองชยั นาท ใน พ.ศ.
๒๔๖๐
วดั โพธาราม นครสวรรคส์ ร้างพระ เครื่องและฉลองพระ
อุโบสถประมาณ ปี พ.ศ. ๒๔๖๑
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
งานพระราชทาน เพลิง พระศพกรมหลวงชมุพรเขตอุดม
ศกั ด์ิ เป็ นศิษยเ์ อกของหลวงพอ่ ท่ีทอ้ งสนามหลวง
กรุงเทพฯ เม่ือวนั ที่ ๒๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๖๖
กิจนิมนตท์ ย่ี ง่ิ ใหญ่ของหลวงป่ ูศขุ จดั ข้นึ ทัี่วดั สุทศั น์ ใน
พธิ ีสรา้ งพระกริ่ง พระชยั วฒั น์ ที่โดงดงั สุดขีดของพระ
กร่ิงประมาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ซ่ึงมีสมเด็จพระสงั ฆราช
(แพ) เป็นประธาน
พระครูวมิ ลคุณากร (ศุข) ปรมาจารยผ์ ยู้ ง่ิ ใหญแ่ ห่ง
สานกั วดั มะขามเฒ่า อาเภอวดั สิงห์ จงั หวดั ชยั นาท เป็ นผู้
ที่มีช่ือเสียงเกียรติคุณดา้ นไสยศาสตร์ อิทธิฤทธ์ิปฏิหารย์
ในทกุ ๆ ดา้ น จาก อดีต ถึง ปัจจุบนั ไดถ้ ึงแก่มรณภาพเม่ือ
วนั ท่ี ๒๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๖๖ (สนั นิษฐานวา่ ทา่ นไป
ร่วมงานพระราชทานเพลิงกรมหลวงชุมพรเพราะฉะน้นั
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
ท่านน่าจะมรณภาพหลงั จากงานพระราชทานเพลิง
กรมหลวง ชุมพร) ดว้ ยโรคชรา สิริอายุ ๗๖ ปี การจาก
ไปของหลวงป่ ูศุขยงั ความเศรา้ สลดโศรกเศรา้ อาลยั และ
เสียใจอยา่ งสุดซ้ึงมาสู่บรรดาลูกศษิ ยล์ ูกหา และผทู้ ่ีมี
ความเคารพศรัทธาเลื่อมใสในท่าน เป็ นอยา่ งยงิ่ นบั เป็ น
การสูญเสียคร้ังยงิ่ ใหญใ่ นตอนน้นั ร่างกายสลายไปแลว้
ยงั แต่อนุสรณ์แห่งความดีและพลงั ญาณในความ
ศกั ด์ิสิทธ์ิของท่านยงั คงอยู่ เพอ่ื ใหผ้ มู้ ีศรทั ธาไดร้ าลึกนึก
ถึงและยดึ เหนี่ยวเป็นทพ่ี ่งึ อีกนานแสนนาน เป็นที่
ภาคภูมิใจของชาวชยั นาท หลวงป่ ศู ุขคือหน่ึงในอริย
สงฆใ์ นยคุ ก่อน ๒๕ พทุ ธศตวรรษ
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
พระเจดีย์คู่อคั รสาวก
หลงั จากการสร้างพระอุโบสถเสร็จสิ้น มีวสั ดุก่อสรา้ งพวกอิฐ
ยงั เหลืออีกจานวนมาก ทา่ นจงึ ใหช้ ่างก่อพระเจดียไ์ วห้ นา้
พระอุโบสถไวส้ ององค์ ซา้ ยขวาเป็นปูชนียวตั ถุแทนองคอ์ คั ร
สาวกพระบรมศาสดา เล่ากนั วา่ หลวงป่ ูศขุ ไดบ้ รรจุพระที่
เหลือจากการหาทนุ ก่อสรา้ งพระอุโบสถ และแม่พมิ พท์ ่เี หลือ
บรรจุไวด้ ว้ ย เป็นทนี่ ่าเชื่อวา่ เป็นไปไดเ้ พราะสมยั ก่อนมกั จะ
บรรจุพระเคร่ืองไวใ้ นเจดียเ์ ป็นส่วนใหญ่ทม่ี กั จะทากนั เพอื่
สืบทอดพระพทุ ธศาสนา อีกอยา่ งหน่ึงมีเร่ืองเล่าวา่ มีขโมย
ลกั ลอบขดุ เจาะเจดียน์ ้ีหลายคร้ัง แต่คนขุดเจาะกไ็ ดร้ ับ
ประสบการณ์ที่แทบเอาตวั ไม่รอด และเขด็ ขยาดไปจนตาย
จากกิติศพั ยจ์ งึ ไม่มีใครกลา้ ลองอีกเลย
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
มณฑปของหลวงป่ ูศุข
เน่ืองมาจากช่วงทท่ี ่านเดินธุดงค์ ทา่ นต้งั ใจที่จะไปกราบ
นมสั การพระพทุ ธบาท ท่ีสระบรุ ี และตน้ พระศรีมหาโพธ์ิท่ี
ปราจีนบรุ ี ท่านจึงไดจ้ า้ งทาพทุ ธบาทจาลองจากกรุงเทพ
ขณะเดียวกนั กไ็ ดก้ ่อสร้างมณฑปสาหรับพระพทุ ธบาทเตรียม
ไว้ สาหรับมณฑปของหลวงพอ่ น้ีมีความสวยงามวจิ ิตรมาก
ต้งั แตซ่ ุม้ ประตู และที่สวยงามหาทีต่ ไิ ม่ไดค้ อื ประตูมณฑป
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
เรื่องราวของบานประตคู ูน่ ้ี ทว่ี จิ ติ รสวยงานจนหาท่ีติ
ไม่ได้ เร่ิมจากช่างท่แี กะสลกั ซ่ึงเป็นชาวจนี จากซวั เถา
หลวงป่ จู า้ งใหม้ าแกะบานประตแู ต่ช่างเรียกแพงมาก
สาเหตทุ ่ีพอฟังไดค้ ือเครื่องแกะสลกั จะตอ้ งทาข้ึนมา
ใหม่ ทุกช้ิน หลวงพอ่ ศุขพจิ ารณาแลว้ จึงเขา้ ใจทาไม
ถึงแพง เมื่อแกะสลกั เสร็จแลว้ ลงรักปิ ดทองอยา่ งดี
เมื่อประกอบกบั ซุม้ ประตูเรียบรอ้ ยแลว้ ช่างก็นาเอา
เครื่องมือแกะสลกั โยนทิง้ น้า เพอื่ ไม่ตอ้ งใชเ้ คร่ืองมือ
เหล่าน้ีไปรับจา้ งตอ่ ไป ดว้ ยความสตั ยซ์ ื่อถือสจั จะไม่
แกะสลกั ใหก้ บั ที่อื่น ๆ ตลอดไป มีเฉพาะวดั มะขาม
เฒ่าเท่าน้นั หลวงป่ ูศุขรกั บานประตนู ้ีมาก เพราะความ
ต้งั ใจจริงความมีสจั จะของช่างท่จี ะฝากฝีมือไวก้ บั ทนี่ ่ี
ทเี่ ดียวในเมืองไทย
แต่หลงั จากหลวงป่ ูศมุ รณภาพไปแลว้ กม็ ีขโมยมาลอง
ดีมาลกั ขายใหก้ บั พอ่ คา้ ของเก่า ดว้ ยความเป็ นกงั วลทา
ใหว้ ญิ ญาณหลวงป่ ตู ิดตามเอาคืนโดยไปเขา้ สิงเด็กอายุ
๑๒ ปี ลูกเจา้ ของโรงเล่ือยในยา่ นบางซ่อน เด็กบอกให้
ไปแจง้ แก่หลวงศภุ ชลาศยั มาหาขา้ หน่อย วา่ บดั น้ีถึง
คราวท่ีไปทวงบานประตูคนื หลวงศภุ ชลาศยั ก็ยงั งงวา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
เดก็ ตวั แคน่ ้ีมีวาจาโอหงั นกั มาอา้ งเป็นอาจารยข์ องตน
และเสดจ็ ในกรมหลวงชุมพร คร้ังจะไม่ไปกร็ ูส้ ึกวา่
ไม่ไดแ้ กป้ ัญหาการหลู่ จึงตอ้ งไปพสิ ูจนใ์ หร้ ูแ้ จง้ เห็น
จริง คอยดูนะถา้ มนั ไม่รู้จกั ท่ตี ่าท่ีสูง ขา้ จะเตะใหก้ ลิ้ง
เชียว ไอพ้ วกลวงโลก เม่ือคุณหลวงเดินทางไปถึง
โรงเล่ือย เด็กน้นั กแ็ สดงอาการเปลี่ยนไปทนั ทโี ดยนงั่
สมาธิ หวั เราะอยา่ งพออกพอใจ คุณหลวงเขา้ ไปนง่ั
ใกล้ ๆ เพอ่ื จะดูวา่ เด็กน้นั มีอาการอยา่ งไร ทนั ใดน้นั
เด็กนอ้ ยก็ลุกข้นึ ยนื แลว้ ช้ีหนา้ คุณหลวง กล่าววา่ ไอ้
หลวง เอ็งมนั หวั แขง็ ก่อนทเี่ อง็ จะออกมา เอง็ วา่ จะเตะ
ใหเ้ ด็กกลิ้ง ขา้ นี่แหละจะเตะเอง็ ก่อน แลว้ ก็เตะมาท่ี
หนา้ คุณหลวงจนแวน่ หกั จึงเชื่อวา่ เป็นวญิ ญาณของ
อาจารยจ์ ริง ๆ จึงบอกกล่าวอาจารยจ์ ะไปดาเนินการ
ตามท่ีทา่ นบอก เจรจาขอซ้ือคืนจากผคู้ า้ ของเก่าจนตก
ลงกนั ได้ ทกุ คร้ังที่เป็นวนั เดือนเพญ็ ผา่ นไปดูบาน
ประตูจะเห็นตาพระราหูกลายเป็นสีแดงคลา้ ยเลือด
และยงั ฝันร้ายเห็นภาพตลอดเวลา การคา้ ก็ซบเซา จึง
ยนิ ดีท่ีจะขายคนื ใหก้ บั ทางวดั และตดิ ต้งั กบั ประตู
มณฑปอกี คร้งั อยา่ งถาวรอยจู่ นบดั น้ี
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
กรมหลวงชุมพรให้ช่างแกะสลักประตูถวายเป็ นพุทธ
บูชาพระอาจารย์ หลวงป่ ูศุข
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
ภาค
วตั ถุมงคลและพระเคร่ือง
พระครูวิมลคณุ ากร ( ศุข เกสโร )
วดั ปากคลองมะขามเฒ่า อ. วดั สิงห์ จ. ชยั นาท
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
การสร้างพระเครื่อง
เป็นเรื่องใหญ่ การทาสกั คร้ังตอ้ งมีพธิ ีใหญ่
วตั ถุดิบ ปรอท แม่พมิ พ์ จานวนมาก เพอ่ื สรา้ งพระเคร่ือง
จานวนมาก สาหรับวตั ถุดิบตอ้ งหาง่าย ราคาไม่แพง สิ่งแรกที่
หลวงป่ ูศขุ ใชค้ อื ตะกวั่ นม แม่พมิ พต์ อ้ งใชห้ ินมีดโกนแขง็
ทนความรอ้ นไดด้ ีแตม่ ีขอ้ หา้ มวตั ถุดิบดงั น้ี
สาหรับตะก่ัว นามาทาตะกรุดน้ัน ท่านห้ามเดด็ ขาดว่า อย่าได้
นาตะกว่ั ตนี แห ตนี อวน มาทาอย่างเด็ดขาด เหตุผล คอื
ตะกั่วเหล่านีเ้ ป็ นของต่า ท่ใี ช้ทาปาณาติบาต ทาให้สัตว์น้า
ต้องตายไปอย่างมากมาย มันจะเป็ นบาปกับผู้ใช้และผู้ทา
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
วัตถมุ งคลรุ่นสร้างพระอุโบสถ
พมิ พ์แรกทสี่ ร้าง รุ่นน้ีเป็นพมิ พส์ ่ีเหล่ียม มีรัศมรี อบพระเศยี ร
มีประภามณฑลบวั สองช้นั เป็นพมิ พท์ ่ีแกะออกมาโดยฝีมือ
ชาวบา้ น แกะรายละเอียดไม่มากนกั เช่นบวั สองช้นั ก็แกะเป็ น
บวั ขดี บวั ฟันปลา มีความหนามากกวา่ รุ่นนิยม ดา้ นหลงั มี
ลกั ษณะนูนบา้ ง ยบุ เป็นหนา้ ขนมเปี ยกปนู บา้ ง มีรอยตามุง้ บา้ ง
ทุกองคห์ ลวงป่ ศู ุขจะลงเหล็กจารท้งั หมด ยนั ตพ์ ทุ ธรอบโลก
จารดว้ ยลายมีท่สี วยงาม เสมอกนั เป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย
การตดั ขอบพระ ใชเ้ คร่ืองมือตดั ขอบทีเ่ ป็นเคร่ืองมือชาวบา้ น
เช่น สิ่ว มีด ทาใหไ้ ม่เรียบสม่าเสมอ และบางองคต์ ดั ไม่ไดฉ้ าก
ขอบสี่ดา้ นไม่เทา่ กนั ของเก้ น้นั เทพมิ พท์ เี ป็นส่ีเหลี่ยมแบบ
ไม่ตอ้ งมาตดั อีก เพยี งแต่มาแตง่ ดว้ ยมือใหเ้ รียบ
พระบางพิมพ์เนื้อจะดามีไขข้นึ จากการใช้ ผวิ ปรอททเ่ี ทหล่อ
ในแม่พมิ พ์ ทาใหเ้ น้ือตะกว่ั ติดตลอด พอเยน็ แลว้ ปรอทยงั จะ
เกาะผวิ พระ ปัจจบุ นั ไม่คอ่ ยเห็นแลว้ เพราะถูกเหงอ่ื ลบเลือน
ไปหมด
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
รุ่นสร้างมณฑป
เป็ นพระโลหะพมิ พส์ ี่เหลี่ยม ทองแดงเถ่ือน และส่วนผสมท่ี
หลวงป่ ูศขุ ใชว้ ชิ าเล่นแร่แปรธาตุในการผสม เน้ือโลหะเกิด
เป็ นเน้ือสาริดทองเหลือง ไม่กลบั ดา และสาริดสีเขยี วอมดา
คลา้ ยเมฆสิทธ์ิ
ในรุ่นน้ีจะเห็นไดช้ ดั วา่ องคพ์ ระมีความ ชดั เจนกวา่
รายละเอียดมีมากข้นึ มีท้งั บวั ขดี บวั ตมุ่ บวั ฟันปลา และเพม่ิ
ประภามณฑลร่วมกบั อกั ขระ
ในยคุ น้ีมีพระพมิ พใ์ ชเ้ น้ือผงคลุกรักมาทาเป็นพระปิ ดตา ผง
วเิ ศษหลวงป่ ทู ่านทาตามวธิ ีของท่านเอง มีท้งั คลุกรกั จุ่มรัก
และเคลือบรัก ส่วนมากเน้ือน้ีเป็นพระปิ ดตาส่วนใหญ่
บางส่วนเป็ นพระสงั ขจายน์ แกะเป็นรูปหลวงป่ ูศุข พมิ พพ์ ระ
พทุ ธ และนางกวกั
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
พระเคร่ืองพิมพ์พเิ ศษ
เน้ือตะกวั่ เป็ นพมิ พท์ ี่ไม่คอ่ ยพบเห็น บางพมิ พม์ ีสองหนา้ มี
ลงเหล็กจาร บางองคก์ ็ไม่มี พระรุ่นแรก ๆ จะมีเน้ือดา หาก
ผา่ นการใชจ้ ะมีไขคลุมผวิ นอ้ ยกวา่ ทไ่ี ม่ผา่ นการใชง้ าน ของเก้
เนื้อจะออกสีเทาอมขาวความสดของเนื้อเห็นชัดเจนว่าเป็ น
พระใหม่ บางองค์ไปทาไขขนึ้ มาใหม่ถ้าสังเกตุให้ดแี ล้วไขจะ
ไม่เกาะถึงเนื้อพระ มอง เป็ นไขของเทียน
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
พระรุ่นปรับปรุงเนื้อ จะมีเน้ือตะกวั่ ผสมดีบุกเน้ือจะดูแน่น
เน้ือออกสีเทาเขม้ ไม่ดาเหมือนรุ่นแรก ผวิ ปรอทจะแหง้ สนิท
เกาะแน่นตามผวิ ของพระ ถา้ ผา่ นการใชผ้ วิ จะหนึก เห็นพราย
ปรอทเกาะวาว เล็ก ๆ ในเน้ือพระ ของเก้ ผวิ ดูแข็งกระดา้ งบาง
รุ่น คลา้ ยเน้ือเหล็กผแุ ละยยุ่ ผวิ ปรอทไม่ยน่
พระเนื้อสาริด
สาริดขนั ลงหิน เป็นเน้ือคลา้ ยทองเหลืองผสม ปรากฏร้ิวรอยท่ี
ไม่กลมกลืนกนั ของโลหะตา่ งชนิดกนั โทนสีพระก็ไม่เสมอ
กนั กระแสจะออกเหลืองอมเขียว อาจมีบางโลหะแก่ไฟสีก็จะ
เปล่ียนไป เช่นเหลืองปนน้าตาล หรือ น้าตาลอมแดง ซ่ึงจะมี
สนนราคาแพงกวา่ เหลืองอมเขียว แต่ท้งั หมดไม่มีกลบั ดา
ของเก้ ตอ้ งสงั เกตุหลกั ของการผสมโลหะใหด้ ีเป็นหลกั ใน
การพจิ ารณา
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
ทองแดงเถื่อน
เกิดจากเสด็จในกรมใหน้ ามาหล่อ เป็นเน้ือทองแดงทีม่ ีความ
บริสุทธ์ิ ๙๐ เปอร์เซนต์ สีจะสุกคลา้ ยนาก หลงั จากน้นั ก็จะ
คล้าอมน้าตาล เกิดสนิมทข่ี มุ ผวิ พระจะไม่เรียบตึงเสมอ มีร้ิว
รอยการหดตวั ไม่เทา่ กนั ของเก้ จะใชล้ วดทองแดงหลอมสี
ออกแดงสด รอยยน่ จากการหดตวั มีใหเ้ ห็นนอ้ ยมาก
การพจิ ารณาพระเนื้อผงคลกุ รัก
พระเน้ือผงคลุกรกั ของหลวงป่ ศู ุข จะมีสีน้าตาลอมดา เน้ือ
ละเอียด ไม่ปรากฏเมด็ รัก หรือผงวเิ ศษปะปนในเน้ือ เน้ือจะ
ละเอียดนุ่ม เพราะเหมือนกบั มีการผสมส่วนตา่ ง ๆ ทลี่ ะเอียด
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
ไดท้ ี่ หากเป็นเน้ือคลุกรักอยา่ งเดียวจะเห็นเน้ือพระแน่น ตาม
ซอกมีรอยยน่ จากการหดตวั ของเน้ือ ไม่มกี ารแตกราน เนื้ออ้า
ของเก้ เน้ือไม่แหง้ ไมม่ ีรอยยน่ มีการลงรักปิ ดทองปกปิ ดไว้
ตอ้ งสงั เกตุความแหง้ ของเน้ือใน การหดหรือยบุ ตวั ใหม้ าก
พระจะมีการแตกราน เน้ือจะอา้ ออกจากกนั เพราะเน้ือผสม
สมไม่กลมกลืนกนั
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒ่า
การสร้างเหรียญ
การสร้างเหรียญของหลวงป่ ูศุขรุ่นแรก ๆ ท่านจะเนน้ สร้างใน
รูปพระพทุ ธ เช่น พระพทุ ธชินราช หลวงพอ่ ธรรมจกั ร และ
พระพทุ ธทีอ่ อกวดั ตา่ ง ๆ แลว้ นามาใหห้ ลวงป่ ูปลุกเสก เริ่ม
ต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๔๖๑ เป็นตน้ มา จนมาถึงปี พ.ศ.๒๔๖๖ ท่าน
จงึ เร่ิมออกเหรียญรูปท่านนงั่ สมาธิ
เหรียญหลวงป่ ูศุข ปี ๒๔๖๖ น้นั เป็นเหรียญแรกและเป็น
เหรียญสุดทา้ ยของหลวงป่ ู ไม่พบเบาะแสวา่ ใครเป็ นผสู้ ร้าง
โดยนาเอาแบบหลวงป่ ศู ุขนง่ั แบบสดุง้ กลบั เป็นแบบ ด้านหน้า
หลวงป่ นู งั่ อยบู่ นริบบิ้น มีเลข พ.ศ. ๒๔๖๖ อกั ษรโคง้ ขอบ
เหรียญ พระครูวมิ ลคุณากร วดั ปากคลองมะขามเฒ่าดา้ นขา้ ง
หลวงพอ่ มีอกั ขระอุณาโลมหวั ข้นึ ท้งั สองขา้ ง
ดา้ นหลงั ตรงกลางเป็นยนั ตใ์ บพดั อกั ขร นะ มะ อะ อุ อกั ขระ
โคง้ ตามขอบเหรียญ นะโมพทุ ธายะ ดา้ นล่าง อายวุ ณั โณสุขงั
พลงั ปลุกเสกกอ่ นเสด็จในกรมส้ินชีพติ กั ษยั เป็นเหรียญที่
ต้งั ใจจะแจกในงานวนั ครบรอบวนั ประสูติ พ.ศ. ๒๔๖๖
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่
หลวงป่ ศู ขุ เกสโร วดั ปากคลองมะขามเฒา่