The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-bookนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์2 (ว30103)โดย นางสาวทรรศนภรณ์ ประเสริฐศรี เลขที่31 และ นางสาววิจิตตรา เพื่อทนง เลขที่38

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-01-14 03:48:32

E-bookนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์2 (ว30103)โดย นางสาวทรรศนภรณ์ ประเสริฐศรี เลขที่31 และ นางสาววิจิตตรา เพื่อทนง เลขที่38 (2)

E-bookนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์2 (ว30103)โดย นางสาวทรรศนภรณ์ ประเสริฐศรี เลขที่31 และ นางสาววิจิตตรา เพื่อทนง เลขที่38

เรื่องปิโตรเลียม

E-book นี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ2 (ว30103)
โดย

1.นางสาวทรรศนภรณ์ ประเสริฐศรี เลขที่31
2.นางสาววิจิตตรา เพื่อทนง เลขที่38
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/11
เสนอ
ครูรัตนา หมู่โยธา
โรงเรียนสตรีราชินูทิศ

สำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี

4.1 ปิโตรเลียมคืออะไร และเกิดขึ้นได้อย่างไร

ปิโตรเลียม คือ เชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil fuel) หรือเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ที่ถือกำเนิดขึ้นจาก
การทับถมกันของซากพืชซากสัตว์ใต้ทะเลลึกเมื่อหลายล้านปีก่อน ซากสิ่งมีชีวิตที่เกิดการเน่า
เปื่ อยผุพังและย่อยสลายกลายเป็นอินทรียสารที่สะสมรวมตัวกับตะกอนต่าง ๆ ทับถมกันจนเกิด
ชั้นตะกอนหนาแน่น ซึ่งจมตัวลงจากแรงกดทับของชั้นการสะสมต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลงของ
แผ่นเปลือกโลก

แก๊สธรรมชาติ น้ำ

น้ำมันดิบ

อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ห ลั ก ข อ ง ปิ โ ต ร เ ลี ย ม
แ ล ะ ก า ร สำ ร ว จ แ ห ล่ ง ปิ โ ต ร เ ลี ย ม

คือ ของผสมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลายชนิดที่เกิดขึ้นเอง
ตามธรรมชาติใต้ผิวโลก อาจมีสารประกอบขอล กำมะถัน ออกซิเจน
ไนโตรเจน และโลหะบางชนิดปนอยู่ด้วย

โดยทั่วไปปิ โตรเลียมถูกกักเก็บอยู่ภายใต้ผิวโลกในชั้นหินทรายที่
อยู่ระหว่างชั้นหินดินดาน เนื่องจากหินทรายมีความพรุนสูงจึงยอมให้น้ำ
และปิ โตรเลียมซึมผ่านได้ง่ายปิ โตรเลียมจึงสามารถแทรกอยู่ในช่องว่าง
ระหว่างเม็ดทราย ในขณะที่หินดินดานมีสมบัติไม่ยอมให้น้ำและ
ปิโตรเลียมซึมผ่านได้ง่าย หินดินดานจึงต้องกักเก็บและป้ องกันการ
ระเหยของปิ โตรเลียม

บุคคลแรกที่ถือได้ว่าขุดพบน้ำมัน

ซามูเอล เอ็ม เกียร์ (Samuel M. Kier)

โดยใน
ปี พ.ศ. 2391 เขาได้ขุดพบน้ำมันดิบ
โดยบังเอิญจากบ่อที่เขาขุดขึ้นบนฝั่งแม่น้ำ
อัลเลเกนี (Allegheny) ในมลรัฐเพนน์ซิลวา
เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา

4.2 การกลั่นน้ำมันดิบและผลิตภัณฑ์

กระบวนการกลั่นน้ำมันดิบ คือ การเปลี่ยนสภาพน้ำมันดิบให้เป็นผHลิตAภัBณIฑT์สAำเTร็จLรูOปตS่าSง ๆ ตามความ

ต้องการของตลาดที่แตกต่างกัน Presentations are communication

กระบวนการกลั่นน้ำมันของแต่ละโรงกลั่น จะแตกต่างกันบ้างขึ้นอยtู่oกัoบlอsงคt์hปaระtกcอaบnหลbาeยปdรeะmกาoรnstrations.

เข่น คุณสมบัติของน้ำมันดิบที่นำเข้า ชนิดและคุณภาพของผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปที่ต้องการ แต่ทั่วไป

กระบวนการกลั่นจะประกอบด้วยกรรมวิธีย่อยที่สำคัญดังนี้

CLIMATE CHANGE

1. การแยก (Separation)

กรรมวิธีการแยกน้ำมันดิบ คือ การแยกส่วนประกอบทางกายภาพขPอrงeนs้ำeมnันtดaิบtioซึ่nงสs่วaนrมeากcจoะmแยmกโuดnยiวcิธaีกtาioรกn
ลั่นลำดับส่วน (Fractional Distillation) คือ การนำน้ำมันดิบมากลั่นtใoนoหlsอกthลั่นatน้cำaมัnนดbิบeจะdถูeกmแยoกnตัsวtอrอaกtiเoป็nนs.

น้ำมันสำเร็จรูปประเภทต่าง ๆ ตามช่วงจุดเดือดที่ต่างกัน

2. การเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมี (Conversion) POLLUTION

คือ การเปลี่ยนแปลงโมเลกุลหรือโครงสร้างทางเคมี เพื่อให้คุณภาพPขrอeงsนe้ำnมัtนaเtหioมnาะsสaมrกeับcคoวาmมตm้องuกnาiรcation

ใช้ประโยชน์ tools that can be demonstrations.

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นลำดับส่วน อาจมีปริมาณไม่เท่ากับปริมาณผลิตภัณฑ์น้ำมันที่ต้องการใช้

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการกลั่นน้ำมันดิบ
มีอะไรบ้าง???

ก๊าซปิโตรเลียมเหลว น้ำมันเบ
นซิน น้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องบินใบพัดน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่อง

บินไอพ่น น้ำมันก๊าด น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา ยางมะตอย ข้อมูลจาก เวปไซด์กรมเชื้อ

เพลิงธรรมชาติ

4.3 การแยกแก๊สธรรมชาติและผลิตภัณฑ์

แก๊สธรรมชาติเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญอีกชนิดหนึ่ง ประเทศไทยสำรวจพบแหล่งแก๊ส
ธรรมชาติในบริเวณอ่าวไทยเมื่อปี พ.ศ. 2516 โดยพบว่ามีปริมาณมากพอในเชิงพาณิชย์
นอกจากนั้นยังพบแหล่งแก๊สบนแผ่นดินที่อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น เมื่อ พ.ศ. 2524
การนำแก๊สธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ ต้องขุดเจาะและนำขึ้นมาจากใต้พื้นดิน ซึ่งมีสารที่เป็นของเหลว
และแก๊สผสมกัน จากนั้นจึงแยกสารทั้งสองส่วนนี้ออกจากกันโดยการแยกสารที่ไม่ใช่สารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนออกก่อน ด้วยการส่งแก๊สผสมไปกำจัดสารเจือปนที่ไม่ต้องการ

แท่นขุดเจาะแก๊สธรรมชาติ

ผลิตภัณฑ์ที่ได้
จากกระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติ

แก๊สมีเทน (C1) ใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้ าและให้ความร้อนในโรงงาน
อุตสาหกรรม และหากนำไปอัดใส่ถังเรียกว่า แก๊สธรรมชาติอัด สามารถใช้
เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์ที่ใช้แก๊สธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง (NGV) ได้ นอกจาก
นี้ยังเป็ นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยเคมีได้ด้วย




แก๊สอีเทน (C2) เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้นเพื่อผลิต
เอทิลีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการผลิตเม็ดพลาสติก เส้นใยพลาสติก พลี
เอทิลีน (PE) เพื่อใช้ผลิตเส้นใยพลาสติก และผลิตภัณฑ์พลาสติกชนิด
ต่าง ๆ

แก๊สโพรเพน (C3) ใช้ผลิตโพรพิลีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในอุตสาหกรรม
ปิโตรเคมี เพื่อใช้ในการผลิตเม็ดพลาสติกโพลีโพรพิลีน (PP) เช่น ยางในห้อง
เครื่องยนต์ หม้อแบตเตอรี่ กาว สารเพิ่มคุณภาพน้ำมันเครื่องรวมทั้งใช้เป็นเชื้อ
เพลิงในโรงงานอุตสาหกรรมได้อีกด้วย

4.4 เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติ หรือผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมส่วนใหญ่ ถูกนำมาใช้เป็นเชื้อ
เพลิง เช่น แก๊สมีเทน (CNG) แก๊สหุงต้ม (LPG) น้ำมันเบนซิน (benzene) น้ำมันดีเซล (diesel) โดยมีตัว
กำหนดคุณภาพของเชื้อเพลิงบางชนิด คือเลขออกเทน และเลขซีเทน

1. แก๊สมีเทน ใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้ า บางส่วนนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงรถยนต์ ในชื่อ NGV

2. แก๊สหุงต้ม เป็ นแก๊สผสมระหว่างแก๊สโพรเพน และแก๊สบิวเทน แก๊สผสมดังกล่าวถูกอัดลงในถังเหล็ก
ภายใต้ความดันสูง ทำให้แก๊สนี้เปลี่ยนสถานะเป็ นของเหลว เรียกว่า LPG (liquefied petroleum gas)

3. น้ำมันเบนซีน เป็นเชื้อเพลิงที่ใช้ในรถยนต์เครื่องยนต์แก๊สโซลีน มีการกำหนดคุณภาพของน้ำมันด้วยเลขออก
เทน(octane) สามารถผสมกับเอทานอล (ethanol) ในอัตราส่วนต่าง ๆ กลายเป็นน้ำมันแก๊สโซฮอล์ (gasohol)
เป็นพลังงานทดแทน เพื่อประหยัดน้ำมัน

4. น้ำมันดีเซล ใช้สำหรับเครื่องยนต์ดีเซล โดยมีการกำหนดคุณภาพของน้ำมันด้วยเลขซีเทน (cetane)

5. ไบโอดีเซล (biodiesel) เป็นเอสเทอร์ที่ผลิตจากน้ำมันพืชหรือน้ำมันสัตว์ โดยนำไปทำปฏิกิริยากับแอลกอฮอล์
โดยมีกรดหรือเบสเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา จะได้เอสเทอร์กับกลีเซอรอล

4.5 ผลของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

ผลิตภัณฑ์ปิ โตรเลียมมีสารประกอบให้ดูคาร์บอนเป็ นองค์
ประกอบหลักเมื่อผอมมากจะเกิดปฏิกิริยาระหว่างสาร
ไฮโดรคาร์บอนกับออกซิเจนปฏิกิริยานี้เกิดได้สมบูรณ์ต่อเมื่อ
มีปริมาณแก๊สออกซิเจนเพียงพอ ได้แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์กับน้ำ สารประกอบไฮโดคาร์บอนส่วน
ใหญ่ที่นำมาใช้ประโยชน์ได้มาจากน้ำมันดิบและแก๊ส
ธรรมชาติองค์ประกอบหลักของแก๊สธรรมชาติคือแก๊สมีแทน
เมื่อเผาไม่สมบูรณ์จะไม่มีเถ้าถ่านแก๊สพิษหรือฝุ่นละอองเกิด
ขึ้นแต่จะให้แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ

อ้างอิง

https://sites.google.com/site/rukjungeiei/kar-sarwc-pitorleiym-laea-haelng-pitorleiym
https://dmf.go.th/public/list/data/detail/id/1
1275/menu/604/page/3

http://nuntiwapetroleum.blogsp
ot.com/2014/06/groups-fractions-distillation.html?
m=1

https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34056

https://sites.google.com/site/sumamalyjoy/phlitphanth-thi-di-cak-
krabwnkar-yaek-kaes-thrrmchati

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ สารและสมบัติของสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖


Click to View FlipBook Version