The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นิตยาสารแฟชั่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Hunmer Jin, 2022-12-06 11:27:24

Thai Lue Woven Fabric

นิตยาสารแฟชั่น

วันเกิด QIANGJING AUTHOR BIOGRAHY
23 กย(SEPTEMBER) 1620801561
1999(2542)
อายุ 23 ปี

02


03


CONTENTS

04 ACKNOWLEDGEMENTS
06 INTRODUCTION
10 ITERATUER REVIEW
13 TARGET GROUP
17 METHODOLOGY
22 INSPIRATION
24 SILHOUETTE

TECHNIPE/DETAILS
MATERILS

27 SKETCH DESIGN
28 MOODBOARD
30 PROTOTYPE
33 LOOK BOOK


CONTENTS

35 CONCLUSION
RECOMMENDATION
36 BIBLOGRAPHY


ACKNOWLEDGEMENTS

โครงงานวิจัยเล่มนี้นำเร็จได้ข้อมูลคบเพราะได้รับความกรุณา
คำชี้แจ้งต่างๆจากอาจารย์ประจำวิชา อาจารย์ดาลิตา เกตุ
ศักดิ์ ที่คอยให้คำชี้แนะเป็นแนวทางในการทำเล่มโครงงานนี้
และคอยจี้จุดผิดให้แก้ไขปัญหาต่างๆ ผู้วิจัยจะต้องขอ
ขอบคุณเป็นอย่างสูง

ขอขอบคุณ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการทำเล่มวิจัยโครงงานนี้เป็น
อย่างสูงที่คอยให้คำชี้แนะ แนะนำข้อมูลต่างๆมาโดยตลอด
และคอยให้กำลังใจที่ดีตลอดมาจนเล่มโครงงานวิจัยนี้_ด้
เสร็จโดย สมบูรณ์

04


0
5


INTRODUCTION

1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

0เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มเป็น 1 ในปัจจัย 4 ของมนุษย์ในการ

ดำรงชีวิตประจำวันเพื่อปกปิดร่างกาย และป้องกันอากาศหนาว
เย็นการนำเสื้อผ้ามาประยุกต์ใช้ในแต่ละประเทศก็เป็นภูมิปัญญาที่
สำคัญในการดำเนินชีวิตในสภาพภูมิอากาศนั้นๆ การสร้างเครื่อง
นุ่มห่มจากวัสดุตามจังหวัดนั้นๆก็เช่นกันในการนำวัสดุมาปรับใบ้ให้
เข้ากับชีวิตประจำในปัจจุบัน

ผ้าทอไทลื้อ เป็นภูมิปัญญาของจังหวัดเชียงราย ทอด้าน
เทคนิคเกาะ มีรายประกอบทอด้วยเทคนิคขิด เสื้อผ้าของชาวไทลื้อ

6จะบ่งบอกถึงฐานนะทางสังคมของผู้สวมใส่ เนื่องจากผ้าทอไทลื้อ

เป็นภูมิปัญญาของจังหวัดและปัจจุบันกำลังจะเลื่อนหายไป จึงได้
ออกแบบและดีไซน์ให้เข้ากับเสื้อผ้าปัจจุบันและทันสมัยสวมใส่ได้ทั้ง
วัยรุ่นและผู้ใหญ่เพื่ อไม่ใช้ภูมิปัญญาของชาวไทยเลื่ อนหายไปกลาย
เป็นเรื่องเล่า

ในปัจจุบันภูมิปัญญาของไทยกำลังเริ่มเลื่อนหายไป จึงได้
ออกแบบดีไซน์ ผ้าทอไทลื้อ ให้สามารถนำมาสวมใส่ได้ในชีวิตประจำ
และเพื่อไม่ให้ภูมิปัญญาที่ล้ำค่าหายไป


ขอบเขตของการวิจัย วัตถุประสงค์

กลุ่มประชากรที่ศึกษา จะ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
อยู่ในช่วงวัย 18-30 ที่ใช้ชีวิต การศึกษาหาแนวทางการแก้ไข้
อยู่ย่านแฟชั่นต่ามสถานที่ต่างๆ ปัญหาของภูมิปัญญาที่กำลังจะ
เช่น ห้างสรรพสินค้า จุดท่อง หายไป เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้
เที่ยว และ ศูนย์รวมวัยรุ่นต่างๆ ในชีวิตประจำวันไม่ให้เลือนหายไป
ทั่วเมือง และเพื่อให้ดูทันสมัยกับทุกยุค

สถานที่การศึกษา คือ 1.เพื่อศึกษา ประเภขอผ้าทอไท
แหล่งศูนย์รวมวัยรุ่นต่างๆ ห้าง ลื้ อและนำดีไซน์เหล่านั้นมา
สรรพสินค้า จุดท่องเที่ยว สยาม ออกแบบให้เข้ากับยุคสมัย
พารากอน เนื่องด้วยเป็นสถานที่
ที่มีวัยรุ่นเป็นจำนวนมาก ที่แต่ง 2. เพื่ อนำผ้าทอไทลื้ อมาใช้กับ
แฟชั่นสไตล์สตรีทค่อนข้างมาก แฟชั่นให้มากขึ้น

ระยะเวลาที่ทำการศึกษา 3. เพื่ อศึกษาภูมิปัญญาอันล้ำค่า
คือ เดือนตุลาถึงเดือน ของชุมชนไทลื้ อ
พฤศจิกายน 2565 วิธีการ
ศึกษาและวิธีการกรอก 4. เพื่ อศึกษาแฟชั่นสตรีทของ
แบบสอบถาม วัยรุ่นในเมือง

ขอบเขตของสินค้าสตรีท 05. เพื่ อศึกษาวัสดุที่ใช้ในการทอ
คือ เสื้อผ้าที่เป็น ผ้าไทลื้ อ
SUSTANABLE

7


นิยามศัพท์เฉพาะ

1. ผ้าทอไทลื่อ เป็นผ้าทอที่มีลวดลายอ่อนไหวเห็นได้จากการนำเอาความ
เป็นธรรมชาติของสิ่งแวดล้อมในชุมชนมาจินตนาการเป็นลวดลาย
ต่างๆ เช่น เห็นปลากำลังว่ายน้ำอยู่ก้นแม่น้ำ ก็นำมาจินตนาการ
ลวดลายเกาะแหย่หางปลาหรือสายน้ำไหล โดยมีตำนานอ้างเป็นคำขับ
ลื้อ ที่ร้องให้ลูกได้ฟัง และทำให้เกิดความรัก ความผูกพันในผ้าทอ
สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญา

2.พรมแดน แนวแบ่งเขต หรือที่กั้นเขตแดน, รอยต่อระหว่างแดน, ขีด
ขั้นเขตแดน, แดนต่อแดน.

3.ล้านนา ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีต ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือ
ตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง
(จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ภาคตะวันออกของประเทศพม่า
เช่น ฝั่ งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก
ฝั่ งตะวันตกแม่น้ำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และครอบคลุม

4.


ประโที่ได้รับจากการวิจัย

ประโยชน์จากการทำวิจัยในครั้งนี้ทำให้ผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและ
ผลกระทบที่เกิดจากพูมิปัญญาผ้าทอไทยหรือที่กำลังเจริญหายไปจนทำให้ผู้
วิจัยเสนอตกตะกอนทางความคิดและมีความคิดที่อยากจะแก้ไขปัญหาใน
การนำภูมิปัญญามาใช้ในชีวิตประจำวันนำมาแปลรูปเป็นเสื้อผ้าแฟชั่นที่
สามารถใส่ได้ในปัจจุบันทั้งวัยรุ่นและผู้ใหญ่หรือนำมาทกใหม่เหล่ านั้นนำมา
ผสมผสานออกแบบให้เข้ากับแฟชั่นในปัจจุบัน


02

LITERATUER REVIEW


ผ้าทอไทลื้ อ เป็นผ้าทอที่เป็นเอกลักษณ์ของชนเผ่าไทลื้อ

ซึ่งได้รับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ ที่ได้อพยพมาจากดินแกนสิบ

สองปันนา โดยการนำอาเมล็ดฝ้ายติดตัวมาด้วย เมื่อปักหลักตั้ง
รกรากที่ใดก็จะปลูกต้นฝ้าย เพื่อนำดอกฝ้ายผลิตเป็นเส้นด้าย ซึ่ง

เป็นปัจจัยสำคัญในการทอผ้าเดิมที่ทุกครอบครัวจะมอเป็นเครื่องนุ่ง

ห่ม และนำมาประดิษฐ์เป็นของใช้อื่นๆ เพื่อใช้กันเอง

ผ้าทอไทลื่อ เป็นผ้าทอที่มีลวดลายอ่อนไหวเห็นได้จาก
การนำเอาความเป็นธรรมชาติของสิ่งแวดล้อมในชุมชนมาจินตนาการเป็น
ลวดลายต่างๆ เช่น เห็นปลากำลังว่ายน้ำอยู่ก้นแม่น้ำ ก็นำมาจินตนาการ
ลวดลายเกาะแหย่หางปลาหรือสายน้ำไหล โดยมีตำนานอ้างเป็นคำขับลื้อ
ที่ร้องให้ลูกได้ฟัง และทำให้เกิดความรัก ความผูกพันในผ้าทอ สะท้อนให้
เห็นถึงภูมิปัญญา ที่พยายามถ่ายทอดสั่งสมกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ที่
ต้องการให้ลูกหลานได้ช่วยกันอนุรักษ์ผ้าทอและลวดลายต่างๆ ไว้ไม่ให้
สูญหาย ตามเรื่องเล่าหรือขับกลอน (ขับลื้อ) ที่คนเฒ่าคนแก่ได้ร้องขับ
ขานให้ลูกหลานฟังกันสืบมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๘๐ เป็นต้นมา

กลุ่มทอผ้าไทลื้อบ้านหาดบ้าย ตั้งอยู่ระหว่าง 1
เส้นทางเชียงแสน – เชียงของ เป็นถนนเรียบริมแม่น้ำโขง เป็น 1
หมู่บ้านของชาวไทลื้ อที่มีขนบธรรมเนียมประเพณีอันงดงามน่าสนใจ
โดยเฉพาะฝีมือการทอผ้าพื้นเมืองที่มีชื่อเสียงจากอำเภอเชียงของ
นักท่องเที่ยวสามารถนั่งเรือหางยาวไปยังบ้านหาดบ้าย โดยขึ้นเรือที่
ท่าเรือบั๊ก ใช้เวลาประมาณ ๑ ชั่วโมง และยังได้ชมทัศนียภาพสองฝั่ ง
โขงอันสวยงาม บ้านหาดบ้ายถือเป็นอีกหมู่บ้านหนึ่งที่ตั้งอยู่บนพื้นที่
ราบลุ่มฝั่ งแม่น้ำโขงทางด้านตอนเหนือของดอยหลวง เป็นบ้าน
ชายแดนระหว่างอำเภอเชียงของ – เชียงแสน รวมทั้งชายแดนของ
ประเทศไทยและลาวอันมีแม่น้ำโขงกั้นพรมแดน
เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๕ บ้านหาดบ้ายถูกแยกออกเป็นสองหมู่บ้าน คือบ้าน
หาดบ้ายหมู่ที่ ๑ และบ้านหาดทรายทอง หมูที่ ๘ ในเขตตำบลริมโขง
อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย โดยอยู่ห่างจากตัวอำเภอเชียงของ
ประมาณ ๓๖ กิโลเมตร โดยมีถนนหมายเลข ๑๑๒๙ เป็นเส้นทางสาย
หลักตัดเลียบแม่น้ำโขงผ่านอำเภอเชียงของและเชียงแสน ประชากร
ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเสริมในการทอผ้าไทลื้อ ซึ่งมีทักษะความ
สามารถด้านภูมิปัญญาการทอผ้า ซึ่งเป็นผ้าทอมือ ลวดลายไทยลื้อ
ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่เป็นผ้าซิ่นเป็นสีหม้อฮ้อม เป็นลายริ้วและมีการ
ยกลายอย่างงดงาม ส่วนลื้อเป็นสีหม้อฮ่อม แต่งด้วยแถบลวดลาย
ให้สวยงามซี่งเป็นเอกลักษณ์ของชาวไทลื้อดั้งเดิม และมีผ้าโพกหัว


วิถีผ้าทอไทยลื้ อ
ท่ามกลางการ
เปลี่ยนแปลงของสังคม
โลก

“ในปัจจุบันสังคมโลกเปลี่ยนแปลงไปทั้งระบบ

เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมและกระแสโลกการวิบัติวิถีชีวิตของมนุษย์จึง
เปลี่ยนแปลงไปด้วยอาทิเช่นการแต่งกายอาหารการดำรงชีวิตจะสังเกต
เห็นว่าในสมัยโบราณการดำรงชีวิตของผู้ควรจะมีวิถีที่เรียบง่ายงดงามใช้
ชีวิตโดยการเคารพธรรมชาติปรับตัวอยู่กับธรรมชาติอย่างมีความสุข
ความสุขของคนสมัยนั้นสามารถหาได้ง่ายๆกับชีวิตรอบตัวชีวิตไม่ต้อง
จำเป็นต้องดิ้นรนตามความต้องการที่มีมากเกินกว่าจำเป็นดั่งเช่นสมัย
ปัจจุบัน

วิถีชีวิตของคนชนบทในสมัยโบราณมักเกี่ยวข้องกับ
ธรรมชาติและเกษตรกรรมฤดูฝนจะมีการหว่านกล้านำหน้าในช่วง 9 เดือน
10 หรือช่วงเข้าพรรษาในระหว่างการปลูกทำนาจะมีการหาปูหาปลาเพื่อ
เลี้ยงชีพ พ่อบ้านที่ว่างจากการทำงานก็จะไปเป็นภารล่าสัตว์ส่วนแม่บ้านจะ
ปลูกฝ้ายในเดือน 8 เดือน 9 และเก็บเอาวงฝ้ายมาปั่ นเป็นเส้นด้ายฝ้ายซึ่ง
มีการนำศิลปะการแสดงมาร่วมกับการทำงานเพื่อไม่ให้การทำงานน่าเบื่อ
เกิดวรรณกรรมล้านนาขึ้นหลากหลายเรื่องราวอาทิเช่นจ้อยจีบสาวฟ้อน
สมัยเพลงปั่ นฝ้ายเป็นต้น

12


13

TARGET GROUP
03


MUSE

เป็นคนที่แต่งตัวทัน
สมัยและใส่อะไรง่ายๆให้
ดูดี รความเป็นผู้นำสูง
และอ่อนโยน มีความ
มั่นใจ และดูเป็นมิตรกับ
คนรอบข้าง อบอุ่น เข้า
กับใครง่ายๆ

14


TASTE FO LIFE ในการใช้ชีวิตกับการท่องเที่ยว 15
แสดงหนังทำกิจกรรมอนุรักษ์
วัฒนธรรมไทย ใช้เครื่องแต่งกาย
ตามประเพณีนั้นๆ


TASTE FO ACTIVTY

16 ชอบการท่องเที่ยวไหในวัตธรรมต่างๆ
เรื่องรู้จากหลาย วัฒนธรรม


QUESTIONNAIRE

18

20

25

มากกว่า 30

0 20 40 60
กลุ่มเป้าหมายในช่วง GEN Xและ GEN Y ทั้งหมด
35 คนแบ่งเป็นGEN X ทั้งหมด จำนวน 67.9%
GEN Y จำนวน 40.1%

อายุ ทั้งหมดจากจำนวน35คน

กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด35 เป็นเพศหญิง
50%และเพศชาย50%


ส่วนมากกลุ่มเป้าจะไม่รู้
จักผ้าทอไทลื้ อเนื่ องจาก
ภูมิปัญญากำลังจะได้
หายไป

เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายไม่รู้จัก
ผ้าทอไทลื้ อจึงมีความสนใจ
66.7%เท่านั้นและไม่สนใจ
เลย33.3%

เนื่องจากยังไม่เป็นไรที่
แพร่หลายที่แบรนด์
ต่างๆจะเอาผ้าทอไทลื้ อ
มาใช้ จึงไม่เป็นที่รู้จัก


กลุ่มเป้าหมายที่สนใจในตัวผ้าไท
ยลื่้อ มี 66.7%
และไม่สนใจ 33.3%

จากการวิเคราะห์ปัจจัยในกานซื้อพบ
ว่า66.7%มีแรงจูงใจในดีไซน์มากกว่า
ในการซื้อ และ 33.3%มุ่งหปที่ความคุ้ม
ค่าของสินค้า

จนกกลุ่มเป้าหมาย 100% สนใจแบบ
เสื้อมากที่สุดจ


แบบสอบถามทั้งหมด 35 คนในหัวข้อ คุณรู้จักผ้าไทลื้อไหม สรุปได้ว่า ส่วนมาก
66.7%ไม่รู้จักเลย
จากแบบสอบถาม จำนวน 35คนในหัวข้อความสนใจในผ้าทอไทลื้อ ส่วนมาก
ไม่รู้จักผ้าทอไทลื้อจึงทำให้สนใจเพียง 66.6% และที่เหลือไม่สนใจเลย
จากแบบสอบถามจำนวน35 คน ในหัวข้อแรงจูงใจในการซื้อ
66.7% ส่วนมากจะตัดสินใจจากดีไซน์


METHODOLOGY

2
1


INSPIRATION

เป็นการนำภูมิปัญญาไทยมาปรับ
ใช้ให้เข้ากับยุคสมัยและใช้ได้หลาย
โอกาสเพื่ อไม่ให้ภูมิปัญญาเลื่ อน

2หายไป
2


INSPIROTON MOODBORAD

23


SILHOUETTE 2
TECHNIPE/DETAI 4
LS
MATERILS


2
5


26


SKETCH DESIGN

27


MOODBOARD

28


29


PROTOTYPE

30


31


32


LOOK BOOK

33


CONCLUSION
RECOMMENDATION

การดำเนินการทำวิจัยโครงงานออกแบบ
เสื้อผ้าสตรีจากวัสดุผ้าทอไทยหรือมีหัวข้อ
เสนอแนะดังนี้
1.ควรมีควรมีการศึกษาข้อมูลที่นำมาเป็น
แรงบันดาลใจให้เข้มข้นมากกว่านี้
2.ควรนำผ้าทอไทลื้ อมาออกแบบให้เข้ากับ
อายุผู้ใช้งานมากกว่านี้
3.ควรเพิ่มความหลากหลาย แปลกใหม่ใน
การวิจัยให้มากขึ้นเพื่อเพิ่มงานใช้งาน


BIBLOGRAPHY


BIBLOGRAPHY

คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.(2561).
:ทอผ้ากะเหรี่ยง สืบค้น 30 พฤศจิกายน 2565, จาก https://art-
culture.cmu.ac.th/Lanna/articleDetail/1487
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอขุนยวม. (2560). :ผ้าทอกระเหรี่ยง สืบค้น 30
พฤศจิกายน 2565, จาก https://doc-00-4s-docs
.googleusercontent.com/docs/securesc/gv6kjh6ajs9l7srbcjiqsl59v4s20s
au/3bkf6ueck1c4t0df6of2vd31onu0dklp/1669621800000/06240388921
750817869/06823147526639649843Z/1Z68tbkCBh4mPKRxWUXeG3B
pQ0m0ph5tZ?e=download&uuid=7cc008df-71e1-41d0-9569-
2421ef1c3d74&nonce=tegtbv4532nn6&user=06823147526639649843
Z&hash=scjbrf4n0oecjcekljacvujgs74mldjj
นาริญจ์ รุจิพรรณ. (2560). :ผ้าทอกระเหรี่ยง จังหวัดราชบุรี สืบค้น 30 จาก
https://huso.kpru.ac.th/khlonglanpattana/?page_id=242&lang=TH
เทศบาลตำบลแม่ยาว จังหวัดเชียงราย.(2558) :กลุ่มทอผ้ากระเหรี่ยง
สืบค้น 30 จาก https://souvenirbuu.wordpress.com/
%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%9B
%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%97
%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%B4
%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2/
%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%9B
%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%A0
%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B2
%E0%B8%87/%E0%B8%9C%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%81
%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3
%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%81
%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2
%E0%B8%A2/%E0%B8%9C%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%97
%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0
%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88
%E0%B8%A2%E0%B8%87/


Click to View FlipBook Version