ใบความรู้ วิชาสงั คมศึกษา สค 11001 คร้งั ท่ี 15
เร่ือง เศรษฐศาสตร์ท้องถน่ิ
การผลติ หมายถึง การทาํ ให้เกดิ มขี นึ้ ตามความต้องการ โดยแรงคนหรอื เครอื่ งจักร รวมถึงวธิ กี าร อ่นื ๆ ที่ทํา
ให้เกดิ ขนึ้ ปัจจยั ในการผลติ สินค้าและบริการ ส่งิ ที่มีความสําคัญในการผลิตสนิ ค้าและบริการ 4 ประการ ได้แก่
1. ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถงึ ส่ิงที่มีค้าที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น นํ้ามนั แร่ธาตุ ทองคํา น้ํา ป่าไม้ และ
สมุนไพร เป็นต้น
2. ทนุ หมายถึง เงินหรอื ทรัพย์สนิ เช่น โรงงาน เครอื่ งจักรและอปุ กรณ์ในการผลิตทใ่ี นการดาํ เนนิ กิจกรรมเพ่ือ
หาผลประโยชน์
3. แรงงาน หมายถึง ความสามารถและกิจกรรมที่คนในวยั ทํางานกระทําในการทํางาน เพื่อให้เกดิ ประโยชน์
ในทางเศรษฐกจิ
4. การประกอบการ หมายถึง ความสามารถของผู้ประกอบการในการนาํ ทรพั ยากรธรรมชาติ ทุน และแรงงาน
มารวมกนั เพื่อผลิตสนิ ค้าและบรกิ าร โดยได้รับคา่ ตอบแทนเป็นกาํ ไร
ปัจจยั ในการเพ่ิมการผลิตสินค้าและบรกิ าร สิ่งทีท่ ําให้ผู้ประกอบการเพ่ิมการผลติ สนิ ค้า และบรกิ ารให้มี
ปริมาณมากยงิ่ ขนึ้ อยู่กับปจั จัย ได้แก่
1. ความตอ้ งการขั้นพน้ื ฐานของมนุษย์ หมายถึง ปัจจัย 4 คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรคและ ที่อยู่อาศยั
สง่ิ เหล่านี้เป็นสิ่งท่ีมนุษย์ต้องการในการดํารงชีวติ
2. การโฆษณาชวนเชอ่ื ผู้ประกอบการมักใช้สื่อ เช่น โทรทัศน์ วทิ ยุ และหนงั สือพิมพ์ เป็นต้น เพอื่ ทจ่ี ะแนะนํา
ให้ประชาชนได้รู้จักสนิ คา้ และบริการในวงกว้างมากขึ้น เพื่อกระตุ้นให้เกิดการ บรโิ ภคสนิ ค้าและบริการเพิ่มขึน้
3. ประเพณี เป็นส่วนทีม่ ีความสําคัญในการเพิ่มผลผลติ เพ่ือตอบสนองความต้องการของบุคคล เช่น ประเพณี
เขา้ พรรษา ผู้ประกอบการจะเพิ่มผลผลิตเทียนจาํ นําพรรษาและประเพณสี งกรานต์ ผู้ประกอบการจะเพมิ่ การ
ผลติ นาํ้ อบและแป้ง เป็นต้น
4. สภาพสังคม เน่อื งจากสภาพสังคมที่ผู้คนต้องการความสะดวกสบายมากย่ิงข้นึ ผู้ประกอบการ จึงมีการเพมิ่
การผลิตสนิ ค้าเพื่อตอบสนองความต้องการ เช่น รถยนต์ เคร่ืองปรบั อากาศ เครอ่ื งซกั ผ้า เตารีด และตู้เย็น เป็น
ต้น
แรงจูงใจในการผลติ สินคา้
1. การเพ่มิ ข้ึนของประชากร เมอ่ื ประชากรเพิ่มข้นึ ความต้องการบริโภคสนิ คา้ และบริการยอ่ ม เพ่ิมข้นึ ดังน้นั
ผู้ประกอบการย่อมต้องผลติ สินค้ามากขึน้ เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการ
2. การจัดสรรทรพั ยากร เปน็ การนาํ ทรัพยากรท่ีมีอยู่อยา่ งจํากดั มาทําให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ใน การผลิตสนิ ค้า
และบรกิ าร 3. การกระจายทรัพยากร เป็นการนาํ ทรัพยากรจากแหล่งทีม่ ีอยู่มากไปสู่แหลง่ ที่มีอยู่น้อย โดย
ผปู้ ระกอบการต้องคํานึงถึงประโยชนส์ งู สุดและเหมาะสมมากท่ีสุด
การใช้ทรัพยากรในจงั หวดั และภูมิภาคของตน การท่ผี ูป้ ระกอบการนําทรัพยากรในพนื้ ที่มาใช้ในการผลิตสนิ คา้
เน่ืองมาจากสาเหตหุ ลายประการ ดงั น้ี
1. การใชท้ รัพยากรในพื้นทมี่ าผลิตสนิ ค้า ทาํ ให้ลดตน้ ทุนในการขนสง่ อีกทั้งประหยัด เวลาอีกด้วย
2. ทําใหส้ นิ คา้ มีราคาถูกลง เนอื่ งจากต้นทนุ มีราคาต่ำ
3. เกิดอาชพี ขึน้ ภายในท้องถิ่น
ใบงาน วชิ าสังคมศึกษา สค 11001 ครงั้ ท่ี 15
เร่ือง เศรษฐศาสตร์ท้องถน่ิ
1. ผู้เรียนมีหลกั ในการเลือกซื้อของใช้อย่างไรบ้าง จดั ลําดบั ให้เห็นความ สําคัญมาประกอบด้วย
………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………….
แบบทดสอบหลังเรียน วิชาสังคมศกึ ษา สค 11001 ครง้ั ที่ 15
คำสั่ง จงเลอื กคำตอบท่ถี ูกต้องที่สุดเพียงขอ้ เดียว
1. การจดั ตง้ั สหกรณส์ ง่ ผลให้สมาชกิ ได้รบั ประโยชน์ตามข้อใด
ก. สมาชิกได้รับประโยชนจ์ ากเงนิ ปนั ผล
ข. สมาชิกของสหกรณส์ ามารถซอ้ื สนิ ค้าไดใ้ นราคาท่ีถกู ลง
ค. สง่ เสรมิ ให้เกิดความสามัคคีข้ึนในชุมชนและเปน็ แหล่งเงินกูข้ องสมาชกิ
ง. ถกู ทกุ ข้อ
2.เพราะเหตุใดชว่ งวนั แมใ่ นเดือนสิงหาคม ดอกมะลจิ ึงมีราคาแพงกว่าปกติ
ก. เปน็ ดอกไมห้ ายาก
ข. ความต้องการสนิ คา้ สงู
ค. ชาวสวนลดการปลูกลง
ง. ดอกมะลเิ จรญิ เตบิ โตไดด้ ีในชว่ งฤดูฝน
3.ข้อใดต่อไปน้เี ป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรสตั วป์ ่า
ก. นำกระต่ายมาเล้ยี ง
ข. ไม่ล่าสตั ว์
ค. เลย้ี งไก่พันธ์ุไข่
ง. ถูกทกุ ข้อ
4.บคุ คลในข้อใดประกอบอาชีพอิสระ
ก. กล้วย เปน็ พนักงานขบั รถบริษัท ขสมก
ข. แดง เป็นชาวสวนปลกู ผลไม้ท่จี ันทบรุ ี
ค. นอ้ ย เป็นพนกั งานเตมิ น้ำมัน
ง. แกว้ ตา เปน็ พนกั งานเอกชนในกรุงเทพ
5. ก่อนซ้ืออาหารทกุ ครั้ง หนนู า จะดู วัน เดือน ปี ทผี่ ลิตและวันหมดอายเุ สมอ การกระทำน้ี แสดงว่า
หนนู า ใหค้ วามสำคัญกบั เร่ืองใด
ก. ความเช่ือมั่น
ข. ความทันสมัย
ค. ความปลอดภยั
ง. ความคมุ้ คา่ ประโยชน์
เฉลย วิชาสังคมศึกษา สค 11001 ใบความรู้ ครั้ง ท่ี 15
1. ง. ถกู ทุกข้อ
2. ข. ความตอ้ งการสินคา้ สูง
3. ข. ไมล่ ่าสตั ว์
4. ข. แดง เปน็ ชาวสวนปลูกผลไม้ทจ่ี ันทบรุ ี
5. ค. ความปลอดภยั