The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

19 ลูกเสือ กศน. ม.ต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 335ed000119, 2022-07-14 10:01:15

19 ลูกเสือ กศน. ม.ต้น

19 ลูกเสือ กศน. ม.ต้น

ครง้ั ท่ี 19 ความปลอดภัยในการจัดกิจกรรมลกู เสือ
ข้นั ตอนการเรยี นรู้บทเรียนออนไลน์

1. ให้นกั ศกึ ษาทำแบบทดสอบก่อนเรยี น
2. ศกึ ษาเนื้อหา
3. ให้นกั ศกึ ษาทำแบบทดสอบหลังเรียน

คำช้แี จง จงเลอื กคำตอบที่ถกู ต้องเพียงข้อเดยี ว

แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน ครง้ั ที่ 19

1. . ขอ้ ใดตรงกบั ความหมายของความปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลกู เสือที่ถกู ต้อง
ก. ปิติ หลดุ พน้ จากการเข้าร่วมกจิ กรรมลูกเสอื
ข. เพชร เดินป่าหยอกล้อกบั หมขู่ องตนเองอย่างสนกุ สนาน
ค. สมหมาย ป่วยเปน็ หวดั แต่ร่วมเดนิ ทางไกลกบั ผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมอ่นื
ง. มานะ เดินทางไกลโดยไมไ่ ดร้ ับอันตรายจากการเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสือ

2. ข้อใดตรงกับความหมายของความปลอดภยั ในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสือท่ีถกู ต้อง
ก. เตรียมอุปกรณ์ เครื่องใชป้ ระจำตัวและเตรียมพาหนะในการเดนิ ทางให้พร้อม
ข. ไมค่ วรศึกษาเสน้ ทางเดนิ ทางไกลลว่ งหน้า เพราะจะทำใหไ้ ม่ตืน่ เตน้
ค. เตรยี มอุปกรณ์ทจี่ ะใช้ในการปรงุ อาหารไปให้มากที่สุด
ง. ถกู ทง้ั 3 ข้อ

3. ขอ้ ใดตรงกับความหมายของความปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลกู เสือท่ีถกู ต้อง
ก. เพ่อื ใหเ้ กิดความสวยงาม
ข. เพ่อื ใหเ้ กิดความคล่องตัว
ค. เพื่อให้เป็นไปตามระเบยี บ
ง. เพอื่ ความเปน็ อันหนึง่ อันเดียวกนั

4. ขอ้ ใดคือ ความสำคัญของความปลอดภัยในการเข้ารว่ มกิจกรรมลูกเสือ
ก. เป็นการป้องกันตนเองและผู้อนื่ ใหพ้ น้ จากภัยอนั ตราย หรอื การเสยี ชวี ิต
ข. เป็นการรู้จกั วิธกี ารเอาตวั รอดเม่ือเกดิ เหตุ ความไม่ปลอดภัย
ค. มีอุปกรณก์ ารปฐมพยาบาลพน้ื ฐาน ไว้ในหอ้ งพยาบาล
ง. มีเวรยามรกั ษาความปลอดภยั

5. กจิ กรรมลูกเสือข้อใด ทีต่ ้องคำนงึ ถึงเรื่องความปลอดภยั เปน็ สำคัญท่ีสดุ
ก. การประกอบอาหารในหมู่
ข. การฝกึ ระเบยี บแถว
ค. การเข้าฐานเรยี นรู้
ง. การผจญภัย

ครัง้ ท่ี 19 ความปลอดภัยในการจัดกจิ กรรมลูกเสอื
ควำมปลอดภยั ในกำรเขำ้ ร่วม กจิ กรรมลูกเสือ

1.1 ความหมายของความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสือ ความปลอดภยั หมายถึง การทรี่ ่างกาย
ปราศจากอบุ ัติภยั อย่ใู นสภาวะท่ปี ราศจากอนั ตราย หรือสภาวะท่ปี ราศจากการบาดเจบ็ เจ็บปวด เจ็บปว่ ย จะมาก
หรอื นอ้ ย ขนึ้ อยู่กับการปฏบิ ตั ิหรอื การกระทำของตนเอง

1.2 ความสำคัญของความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสือ ความปลอดภัยช่วยใหเ้ กดิ ความ
ระมดั ระวังในการป้องกันตนเอง และผู้อื่นให้พ้นจากภัยอันตราย หรือการเสยี ชวี ิต โดยการให้คำแนะนำในการใช้
เคร่อื งมือ เคร่ืองใช้ และส่ิงอำนวย ความสะดวกตา่ ง ๆ เพ่อื ใหเ้ กดิ ประโยชน์ และปลอดภัย
หลกั การ วธิ ีการในการเฝ้าระวังเบ้ืองต้นในการเข้ารว่ มกิจกรรมลูกเสอื

ลูกเสอื ต้องตระหนักในความสำคัญ และมจี ติ สำนกึ ต่อความปลอดภยั ในการรว่ มกจิ กรรมท่อี าจเกิด
อบุ ัติเหตุ เนอ่ื งจาก

1. ขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการร่วมกิจกรรมนั้น ๆ ลูกเสือตอ้ งทำความเข้าใจ ในกฎ กติกา ของกจิ กรรม
นั้น ๆ อยา่ งถ่องแท้ และปฏบิ ัติตามอยา่ งเคร่งครัด

2. ขาดประสบการณ์ และขาดความชำนาญ ลูกเสือตอ้ งขวนขวายในการหาประสบการณแ์ ละความรู้
ทกั ษะที่จำเปน็ ต่อการรว่ มกิจกรรมนั้น ๆ

3.ขาดความพร้อมทางด้านรา่ งกายและจิตใจ ลูกเสอื ต้องเตรียมความพร้อม ทางดา้ นร่างกายและจิตใจ
ก่อน

4. ขาดการตรวจสอบความสมบูรณ์ ความแข็งแรงของอุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นแตล่ ะกจิ กรรม ลกู เสอื ต้องตรวจสอบ
อุปกรณ์ทีใ่ ช้ในแตล่ ะกจิ กรรมใหม้ ีสภาพแข็งแรง พร้อมใชง้ านอยู่เสมอ

การเฝ้าระวังเบ้ืองตน้ ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสือ เปน็ การฝึกตนเองของ ลูกเสือให้ปลอดภัยจาก
อบุ ัติเหตุ และภยั อันตรายตา่ ง ๆ เปน็ วิธีการในการเตรยี มความพรอ้ ม ของลกู เสอื ทั้งด้านรา่ งกายและจติ ใจ ดังนี้

ด้านร่างกาย ลกู เสอื ตอ้ งเตรียมร่างกายให้พร้อม โดยออกกำลงั กายอยา่ งสม่ำเสมอ และหาเวลาพักผ่อนให้
เพียงพอ เพอื่ สุขภาพและร่างกายจะได้แข็งแรงอยตู่ ลอดเวลา

ดา้ นจิตใจ ลกู เสอื ตอ้ งทำจติ ใจให้สบาย ๆ สรา้ งความรสู้ ึกท่ีสนุกสนานกบั กิจกรรมตา่ ง ๆ มคี วามรา่ เริง
พร้อมรับการฝึกฝนปฏบิ ัติด้วยตนเอง หรอื ช่วยผูอ้ น่ื หาวิธหี ลีกเล่ยี งอบุ ตั ิเหตุ อนั จะเกิดขน้ึ ไดใ้ นขณะปฏิบัติกิจกรรม
ลูกเสอื

การช่วยเหลือเม่ือเกิดเหตุความไม่ปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกิจกรรมลูกเสอื
การเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสือ อาจมีความไมป่ ลอดภัยในด้านร่างกายข้ึนได้ ลูกเสือ จงึ มีความจำเปน็ ตอ้ ง
เรยี นรู้ถงึ สาเหตุทท่ี ำให้เกดิ ความไมป่ ลอดภยั ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสือ และวธิ กี ารสร้างความปลอดภยั ในการ
เข้าร่วมกิจกรรมลูกเสอื ดังนี้

1. สาเหตุทท่ี ำให้เกิดความไม่ปลอดภยั ในการเขา้ รว่ มกจิ กรรม มี 3 ประการ คือ
1.1 สาเหตุท่เี กิดจากมนุษย์มีดงั น้ี

1) ผ้ปู ฏิบัติกจิ กรรม มีความประมาทโดยคิดว่าไมเ่ ป็นไร ลองผดิ ลองถูก หรอื รูเ้ ท่าไม่ถึงการณ์
2) ผปู้ ฏิบตั ิกจิ กรรม มีความเชื่อใจ ไว้วางใจผใู้ ดผู้หน่งึ ทไี่ ด้รับมอบหมาย ให้ดำเนินการ และไม่มี
การตรวจสอบก่อน จึงอาจทำให้มขี ้อผิดพลาดได้
3) ผปู้ ฏิบัตกิ จิ กรรมมสี ขุ ภาพไม่แข็งแรง หรือมโี รคประจำตวั แตเ่ ขา้ ร่วม กิจกรรมบางอยา่ งท่ีอาจ
ทำใหเ้ กิดอุบัตเิ หตุได้
4) ผปู้ ฏบิ ตั ิกิจกรรมแตง่ กายไมเ่ หมาะสมในการเขา้ รว่ มบางกิจกรรม
5) ผปู้ ฏิบตั ิกิจกรรมขาดการประเมนิ ตนเอง หรอื บางคร้งั ประเมนิ ตนเอง ผิดพลาด โดยคิดว่า
ตนเองสามารถปฏิบตั ิกจิ กรรมนั้นได้ และบางครงั้ ผู้ปฏบิ ัติเกิดความคึกคะนอง กลัน่ แกลง้ และหยอกลอ้ กนั
6) ผู้ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ขาดระเบียบวินยั ไมเ่ ชือ่ ฟังผู้บงั คับบญั ชา
1.2 สาเหตทุ เ่ี กิดจากเคร่ืองมือ หรืออุปกรณ์มดี ังน้ี
1) ขาดเครือ่ งมอื และอปุ กรณ์ในการชว่ ยเหลอื เม่ือเกดิ เหตุความไมป่ ลอดภัยในการเขา้ ร่วม
กิจกรรมทีเ่ หมาะสม หรืออปุ กรณบ์ างชนดิ เสื่อมสภาพไม่เหมาะท่จี ะนำมาใชง้ าน
2) ขาดความรูใ้ นการใชเ้ คร่ืองมือและอปุ กรณ์แตล่ ะประเภท หรือใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ท่ีใชผ้ ดิ
ประเภท
3) ขาดทักษะ ความชำนาญในการใชเ้ ครอ่ื งมือ และอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ
4) ขาดการตรวจสอบความสมบูรณ์ ความแขง็ แรงของอุปกรณใ์ นฐาน โดยละเอยี ดและขาดการ
บำรงุ รักษาท่เี หมาะสม
1.3 สาเหตุทเี่ กิดจากภยั ธรรมชาติ มดี งั นี้
1) ภัยทางน้ำ อาจเกิดความไม่ปลอดภยั ในขณะท่ปี ฏบิ ตั ิกิจกรรมได้ เชน่ น้ำหลากไหลเช่ียว เปน็
ตน้
2) ภัยทางบก อาจเกิดความไม่ปลอดภัยในขณะปฏบิ ตั ิกจิ กรรมได้เชน่ การสร้างสะพานด้วยเชอื ก
ท่ไี ปผูกกับต้นไม้ ทำใหต้ ้นไม้อาจหกั เป็นตน้
3) ภัยทางอากาศ อาจเกิดความไม่ปลอดภยั ขณะปฏิบตั ิกจิ กรรมได้ เช่น เกดิ มีพายุ ลมแรง เป็น
ตน้
2. การสรา้ งความปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลูกเสอื คือ วิธกี ารป้องกัน ก่อนจดั สร้างอปุ กรณ์ และ
ก่อนเข้าร่วมกจิ กรรม โดยมอี ุปกรณป์ ้องกนั หรือสร้างอปุ กรณท์ ีใ่ ชใ้ น กจิ กรรมให้ปลอดภัย โดยให้ความรมู้ ี
มาตรการบังคบั ควบคุมการใชอ้ ปุ กรณใ์ ห้ถกู กบั กจิ กรรม จะชว่ ยสรา้ งความปลอดภยั ให้กับลกู เสอื ในการปฏิบตั ิ
กจิ กรรม เช่น กิจกรรมบุกเบิก กจิ กรรม ผจญภยั และกิจกรรมเดินทางไกล ดังนี้

2.1 กจิ กรรมบุกเบิก
1) ลูกเสือต้องเตรียมความพร้อมทางร่างกายและจติ ใจ
2) ลกู เสอื ต้องมรี ะเบียบวนิ ยั เชอ่ื ฟงั และปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำของ ผกู้ ำกบั ลูกเสือ
3) ลูกเสอื ต้องตรวจเชค็ อุปกรณ์ในฐานบกุ เบิก อย่างสม่ำเสมอ
4) ลกู เสอื ต้อง ไมก่ ล่ันแกลง้ เพือ่ นขณะทำกิจกรรม
5) ลกู เสือต้องเตรียมพร้อมทางดา้ นความรู้ ศึกษากจิ กรรม และทำความเข้าใจก่อนเข้าร่วม

กิจกรรม
2.2 กิจกรรมผจญภัย
1) ลูกเสอื ต้องการเตรยี มความพรอ้ มทางร่างกายและจิตใจ
2) ลูกเสือต้องมีระเบยี บวินยั เช่ือฟังและปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำของ ผูก้ ำกบั ลกู เสือ
3) ลูกเสือต้องตรวจเช็คอุปกรณใ์ นฐานบุกเบิก อยา่ งสม่ำเสมอ
4) ลกู เสอื ต้องไมก่ ล่ันแกลง้ เพื่อนขณะทำกิจกรรม
5)ลูกเสือต้องเตรียมพร้อมทางดา้ นความรู้ ศกึ ษากจิ กรรม และทำความเข้าใจ กอ่ นเข้ารว่ ม

กิจกรรม
2.3 กิจกรรมเดินทางไกล
1) ก่อนทีจ่ ะกำหนดเสน้ ทางการเดนิ ทางไกล ลกู เสอื ต้องสำรวจเสน้ ทาง หากจำเปน็ ตอ้ งขอ

อนญุ าต ควรขอจากเจ้าของสถานท่นี ั้น ๆ และศึกษาประเพณวี ฒั นธรรมใน ทอ้ งถิ่นนนั้ ตามสมควร
2) ในการกำหนดเส้นทางเดนิ ลูกเสอื ควรเลี่ยงการเดินตามถนนใหญ่ทม่ี ี การจราจรคบั คงั่ เพอ่ื

ปอ้ งกนั การเกิดอุบตั ิเหตุ
3) ในระหว่างการเดินทางไกล ลกู เสอื ไม่ควรแข่งขนั หรอื แทรกกนั เดนิ ระหวา่ งหมู่
4) ในระหวา่ งการเดินทางไกล ลกู เสอื ควรออกเดินทางเป็นหมู่ และต้อง ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ

ของลกู เสอื และกฎจราจรอย่างเครง่ ครัด เพ่ือความปลอดภัย
การปฏบิ ัติตนตามหลกั ความปลอดภยั
ลูกเสอื ต้องปฏิบตั ติ นตามหลักความปลอดภัย ดงั น้ี
ดา้ นรา่ งกาย ต้องเตรียมความพรอ้ มของร่างกาย การออกกำลงั กาย รักษารา่ งกายไมใ่ หเ้ จ็บป่วย พร้อม

ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมต่าง ๆ ได้
ดา้ นจิตใจ ควรศกึ ษาหาความรู้ในกจิ กรรมลูกเสอื โดยเฉพาะลูกเสือ กศน.เป็นการ เตรียมความพร้อมดา้ น

หนึง่ ในการปฏิบัตติ นเองและพรอ้ มชว่ ยเหลือผู้อื่นไดต้ ามความเหมาะสม ลกู เสอื ต้องทำความเขา้ ใจในความหมาย
ของคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ เพ่ือนำมาใชใ้ นการอยูร่ ่วมกันทง้ั เวลาพบกลุม่ และการเข้าคา่ ยพกั แรมรว่ มกนั

วิเคราะห์ สถานการณค์ วามปลอดภยั ความไม่ปลอดภยั และความเสี่ยงวิเคราะห์ข้อดี ข้อเสยี และนำขอ้ บกพร่อง
หรือชอ่ งทางที่จะปอ้ งกันไวเ้ บ้ืองต้น เป็นมาตรการในการอยู่รว่ มกันและการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ดังนี้

1. นำข้อมูลจากการวเิ คราะห์จากกฎของลกู เสือ มาระดมพลงั สมองเปรียบเทยี บ กบั ฐานการเรยี นรแู้ ละ
ฐานกิจกรรมท่ีสร้างข้ึนในค่ายพกั แรม และสรุปความเสย่ี งเพื่อป้องกนั ไม่ให้เกิดเหตหุ รือภัยตา่ ง ๆ ไว้ลว่ งหน้า

2. นำเสนอผลการจัดทำมาตรการในการอยู่ร่วมกัน ทั้งการพบกลุ่มและการอยู่ คา่ ยพักแรม เพ่อื กำหนด
มาตรการให้ใช้รว่ มกันอย่างเหมาะสม

3. ทดลองนำข้อบกพร่องของกระบวนการผลติ ท่ีมคี วามเสย่ี งในการปฏบิ ตั ิ มานำเสนอและแสดงบทบาท
สมมุติ (Role play) เพื่อฝกึ ปฏิบตั ิ เปน็ การเตรียมความพร้อม เพ่ือเตรียมการก่อนผลติ สื่อหรอื สรา้ งคา่ ยกิจกรรม
ลูกเสือ กศน.

ใบงาน ครัง้ ที่ 19
คำชแ้ี จง ใหผ้ ู้เรยี นอธบิ ายความหมายและความสำคัญของความปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลกู เสือ

1. ความหมายของความปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลูกเสือ
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................

2. ความสำคญั ของความปลอดภยั ในการเขา้ รว่ มกิจกรรมลูกเสือ
............................................................................................................................................................................. .......
............................................................................................................................ ........................................................
............................................................................................................................. ............................................
.......................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version