The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือเปลี่ยนแปลงโลกอย่างไรให้ยั่งยืน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือเปลี่ยนแปลงโลกอย่างไรให้ยั่งยืน

คู่มือเปลี่ยนแปลงโลกอย่างไรให้ยั่งยืน

SDG Guidebook for Youth 2

SDG Guidebook for Youth 3

โครงการพัฒนาแหง่ สหประชาชาติ ประจําประเทศไทย
(UNDP Thailand)

โครงการพฒั นาแหง่ สหประชาชาติทาํ งานร่วมกับกว่า 170 ประเทศทัว่ โลก www.undp.org
เพอื่ สนบั สนุนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาท่ยี ่งั ยืน (Sustainable Development www.th.undp.org
Goals) โดยได้ดําเนนิ การสนบั สนนุ และเปน็ พันธมติ รที่นา่ เชอื่ ถือกบั รฐั บาลไทยและ
ประชาชนไทยมากวา่ 50 ปี การทาํ งานของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติใน ธนั วาคม 2564
ประเทศไทยมงุ่ เนน้ ไปทก่ี ารสนบั สนนุ และขบั เคลอ่ื นการพฒั นาเพอ่ื ใหม้ กี ารเปลย่ี นแปลง Copyright © UNDP 2021
ทีด่ ตี อ่ สังคมอยา่ งรอบด้านและยง่ั ยืนตามแนวทางการยึดมนุษยเ์ ป็นศูนย์กลาง All Rights Reserved
ผ่านโครงการความร่วมมือต่าง ๆ ทั้งในเรื่องการปกป้องสิทธิมนุษยชน
การเพ่ิมขดี ความสามารถและความเสมอภาคใหแ้ กป่ ระชาชนทง้ั เพศชายและหญงิ โครงการพฒั นาแห่งสหประชาชาติ
เยาวชนและกลมุ่ เปราะบาง อาคารสหประชาชาติ ชน้ั 12
ในประเทศไทย โครงการพฒั นาแหง่ สหประชาชาติทํางานรว่ มกับหนว่ ยงาน ถนนราชดาํ เนินนอก เขตพระนคร
ภาครฐั เอกชน สถาบันการศกึ ษา และภาคประชาสังคมในการใหค้ ําปรึกษาระดบั กรุงเทพฯ 10200 ประเทศไทย
นโยบาย และระดบั ผู้เช่ยี วชาญ เพือ่ การแลกเปลี่ยนองค์ความร้แู ละดาํ เนนิ การพฒั นา โทรศัพท์ (+66) 2 304 9191
ในหลากหลายด้าน เชน่ การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมอยา่ งย่งั ยืน
การรกั ษาความหลากหลายทางชวี ภาพ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ Disclaimer: The views,
ภูมอิ ากาศ การตอ่ ต้านคอรร์ ัปชั่น การสร้างชมุ ชนทีน่ ่าอยู่และย่ังยนื และการพัฒนา designations and recom-
นวตั กรรมทางสังคม เป็นต้น mendations that are repre-
sented in this publication
are not necessarily reflect
the official position of UNDP.

SDG Guidebook for Youth 4

INTRODUCTION

เยาวชนเปน็ กลุ่มประชากรท่ีมบี ทบาทตอ่ การขับเคล่อื นเปา้ หมายการพัฒนาท่ยี งั่ ยนื โครงการภายใต้
(Sustainable Development Goals: SDGs) ทง้ั ในมติ ิของการเปน็ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี
จากปรากฏการณ์ สถานการณ์สงั คมทีเ่ กดิ ข้ึน และเปน็ กลมุ่ ประชากรทม่ี ีศกั ยภาพ รว่ มกับ
ในการเรียนรู้ มีปัจจัยแวดล้อมที่ยังเอื้อให้เกิดการพัฒนาตนเองไปพร้อมกับ
การพัฒนาสงั คม

ปจั จบุ ันเยาวชน1 ในประเทศไทยมีบทบาทกบั การลงมือทำ�กิจกรรม โครงการตา่ ง ๆ
เพ่ือแกไ้ ขปญั หาในประเดน็ ทต่ี นมคี วามถนัดหรอื สนใจมากขึ้น ซง่ึ การทำ�ความเขา้ ใจ SDG
จะทำ�ให้เยาวชนมีกรอบแนวคิดทชี่ ่วยยกระดบั กจิ กรรมท่ีทำ�อยูใ่ หส้ อดคล้อง
กบั ความต้องการและแก้ไขปัญหาของพนื้ ที่ภายใต้ทรพั ยากรท่มี ีอยูไ่ ดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

การจดั ทำ�คมู่ อื การนำ� SDG ไปใช้สำ�หรับเยาวชนมงุ่ นำ�เสนอความเข้าใจเกี่ยวกับ SDG
ในระดบั พ้ืนฐานพรอ้ มทง้ั แนวทางพัฒนาโครงการหรอื กจิ กรรมทเี่ ยาวชนลงมอื ทำ�
ให้สอดคล้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืน แบ่งการนำ�เสนอออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่
ส่วนที่ 1 นำ�เสนอความสำ�คัญ บทบาทของเยาวชนต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ส่วนที่ 2 หลกั การพนื้ ฐาน และความเชอื่ มโยงของประเด็นทางสงั คมกบั SDG
ส่วนที่ 3 การลงมอื ทำ�เพ่อื บรรลุ SDG ในชวี ิตประจำ�วัน และส่วนท่ี 4 วธิ ีการพฒั นา
โครงการใหส้ อดคล้องกับ SDG ในแต่ละส่วนจะนำ�เสนอส่อื วิดโิ อประกอบด้วย
เพ่อื ง่ายต่อความเขา้ ใจ และการนำ�ไปทดลองปฏิบัติจรงิ

1 ในการทำ�งานกับเยาวชนของ UNDP ประเทศไทย จะครอบคลมุ ตัง้ แตผ่ มู้ ีอายุ 15-30 ปี, โปรดดู UNDP Thailand, UNDP
Thailand Youth Strategy <https://www.th.undp.org/content/thailand/en/home/library/other-publications/
youth-strategy.html> (30 ธันวาคม 2564)

SDG Guidebook for Youth 5

สารบัญ

ท�ำ ไมต้อง SDGs 1
1. การพัฒนาที่ยั่งยนื 2
1.1. การพฒั นาคอื อะไร 3
1.2. กว่าจะ ‘พฒั นา’ พวกเขาแลกมากับอะไร ? 5
1.3. ทำ�ไมเราต้องทำ�เพอ่ื การพฒั นาท่ียั่งยืน ? 8
1.4. การพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื คอื อะไร 10
1.5. เยาวชนกับการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื 11
1.6. มาดูกนั !! ว่าคุณมสี ว่ นรว่ มการพฒั นาทย่ี ั่งยนื ในระดับใด 12

2. ท�ำ ความรู้จักเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ่ังยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) 16
2.1. SDGs คอื อะไร? 17
2.2. กวา่ จะเปน็ SDGs 17
2.3. โครงสรา้ ง SDGs : เป้าหมายยอ่ ย ตวั ชว้ี ดั 21
2.4. นกั พฒั นาสายไหนก็ใช้ประโยชน์จาก SDGs ได้ 24
2.5. จะนำ� SDGs ไปใช้ต้องนึกถึง 4 หลกั การนี้ 25
2.6. จะรไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ งานท่ีทำ�อยสู่ อดคล้องกับ SDGs จริง ๆ 27
2.7. จำ� SDG 17 เปา้ หมาย ใหง้ า่ ยข้นึ ดว้ ย 5 Ps 32
2.8. งานทเี่ ราทำ�เกย่ี วขอ้ งกบั SDGs อยา่ งไร 33
2.9. SDGs กับประเด็นที่คุณอาจสนใจ 34

3. ลงมอื ทำ�เพือ่ บรรลุ SDGs ในชีวติ ประจ�ำ วนั 46
3.1. 3 ส่งิ ที่คนธรรมดา (หรอื แม้แตค่ นข้ีเกียจ) ก็ลงมือทำ�ตาม SDGs ได้ 47
3.2. แนวทางแนวทางลงมอื ทำ�สำ�หรับพลเมอื งทม่ี ีความตื่นตวั (Active citizen) 49
3.3. ทำ�ตามแนวคิด SDGs แลว้ ได้อะไร 51

4. How to ออกแบบโครงการอยา่ งไรให้สอดคล้องกับ SDGs 52
4.1 เปล่ยี นโครงการธรรมดาให้เจง๋ ขนึ้ กว่าทเี่ คยดว้ ย SDGs 53
4.2 ขนั้ ตอนการออกแบบโครงการให้สอดคล้องกับ SDGs 54
4.3 SDGs กบั ตวั ช่วยทำ�ให้ใคร ๆ กอ็ ยากรู้จักงานของเรา 67
4.4 กรณตี ัวอยา่ งของกจิ กรรมท่ีนำ� SDGs เข้าไปใช้จรงิ 70
4.5 สิง่ ที่ตอ้ งคำ�นงึ ถึงเพอื่ ไม่ให้คุณนำ� SDGs ไปใชแ้ บบผดิ ๆ 72

SDG Guidebook for Youth 1

ทำ�ไมตอ้ ง SDGs?

กระแสความยั่งยืนกำ�ลังได้รับความสนใจและถูกกล่าวถึงแทบทุกวงการไม่ว่าจะเป็นผู้นำ�ประเทศท่ีออกมา
ประกาศนโยบายสนับสนุนความยั่งยืน ภาคธุรกิจที่เปิดตัวสินค้าใหม่ด้วยวิถีการผลิตที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ดูเหมือนว่า
‘ความยง่ั ยนื ’ จะกลายเปน็ เทรนดใ์ หมข่ องทกุ วงการ และเมอ่ื พดู ถงึ ‘ความยง่ั ยนื ’ สง่ิ ทจ่ี ะตามมานน่ั กค็ อื ‘SDGs’
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals) หรือ SDGs เป็นเป้าหมายระดับโลก
จำ�นวน 17 เป้าหมาย ทีส่ มาชิกสหประชาชาติ 193 ประเทศ รว่ มกนั กำ�หนด โดยสัญญาว่าทุกประเทศต้องชว่ ยกันผลกั ดัน

เรื่องเหล่านี้เพื่อให้ทุกคนบนโลกทั้งในรุ่นนี้และรุ่นหน้ามีชีวิตที่ดีทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมภายในปี 2030

แลว้ ทำ�ไมเราตอ้ งท�ำ เพือ่ บรรลุ SDGs ด้วย ?
ในเมื่อ SDGs เกี่ยวข้องกับปัญหาสังคมที่ถูกพูดถึงและมีความพยายามหาทางออกด้วยวิธีต่าง ๆ มากมายอยู่แล้ว

จงึ เกิดคำ�ถามตามมาว่า ‘เราจำ�เปน็ ต้องทำ�ตาม SDGs จริง ๆ หรอื ?’ คำ�ตอบกค็ อื

ยงั ไมต่ ้องตดั สินใจก็ได้
แตเ่ รามารจู้ ัก SDGs เพ่ือใชป้ ระโยชนจ์ ากมนั ดีกวา่

เพราะจุดเด่นของ SDGs คือการเป็นเป้าหมายขนาดใหญ่ ที่ครอบคลุมแทบทุกประเด็นที่สุดเท่าที่โลกนี้เคยมี
ทง้ั ยงั ถูกกำ�หนดโดยการมีสว่ นร่วมของตวั แทนจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกกวา่ 8.5 ลา้ นคน สมาชิกสหประชาชาตทิ ุกประเทศ
ตา่ งเขา้ รว่ มกระบวนการและสญั ญาวา่ จะนำ� SDGs เขา้ ไปเปน็ เปา้ หมายสำ�คญั เพอ่ื พฒั นาประเทศของตนเอง สง่ ผลใหก้ ารทำ�งาน
ของรัฐบาล บริษัทเอกชน แหล่งระดมทุน คนทำ�งานเพื่อสังคมที่รู้จัก SDGs ต่างเริ่มปรับเปลี่ยนวิธีทำ�งานเพื่อให้มุ่งหน้าไป
ในทิศทางเดยี วกันมากขนึ้

นั่นหมายความว่า หากเรารจู้ ัก เข้าใจแนวคดิ ของ SDGs จะทำ�ให้เรา “พูดภาษาเดยี วกนั ” กับทุกคนท่ที ำ�งานพฒั นา
หรอื สนใจในประเดน็ คลา้ ยกนั และเปน็ โอกาสในการสรา้ งเครอื ขา่ ยการทำ�งานรว่ มกนั เขา้ ถงึ ทรพั ยากรแหลง่ ทนุ ความรใู้ หม่ ๆ
ซงึ่ อาจช่วยให้เราสามารถยกระดับโครงการหรือกิจกรรมท่เี รากำ�ลงั ทำ�อยใู่ ห้ดีย่งิ ขึน้ ก็เป็นได้

SDG Guidebook for Youth 2

01
การพัฒนาทย่ี ่งั ยนื

SDG Guidebook for Youth 3

01 การพัฒนาท่ยี ่งั ยนื

ปัจจุบันทกุ สังคมตา่ งบอกกับเราว่า ‘ต้องพัฒนา’ หรือต้องเติบโต ก้าวไปข้างหนา้
หากอยใู่ นโรงเรียนหรอื มหาวิทยาลัยเรามักถกู สอนว่าตอ้ งเรียนหนงั สือเพ่อื พฒั นาความรู้ของตนเอง
หากเป็นนักธรุ กิจ ผบู้ ริหาร การพัฒนาของพวกเขาอาจเป็นการทอี่ งคก์ รเติบโต มีผลกำ�ไรมาก
หรือหากเปน็ นักวทิ ยาศาสตรก์ ารพฒั นาอาจหมายถงึ การคิดค้นเทคโนโลยี นวตั กรรมใหม่ ๆ ทไ่ี ม่เคยมมี าก่อน
แลว้ ‘การพัฒนา’ คืออะไรกันแน่ ทำ�ไมทกุ คนถงึ ให้ความสำ�คญั กับมันมากขนาดน้ี กอ่ นจะไปทำ�ความรู้จกั SDGs
อยากชวนทกุ คนลองตอบคำ�ถามกบั ตนเองสน้ั ๆ ว่า สำ�หรบั ทกุ คนแลว้ “การพัฒนาคอื อะไร?”

1.1 การพัฒนาคืออะไร ?





ในทางทฤษฎีคำ�ถามสั้น ๆ เรียบง่ายนี้นำ�มาสู่การศึกษาหาคำ�ตอบอย่างจริงจังถึงขนาดเป็นสาขาวิชาหนึ่งเลยทีเดียว
เนื่องจากการพัฒนานั้นเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต พฤติกรรมของมนุษย์ เรียกได้ว่าทุกสาขาวิชาต่างมีมุมมอง
การพัฒนาในแบบของตนเอง แต่วันนี้เราจะชวนทุกคนไปหาคำ�ตอบผ่าน 5 ตัวละครนี้กัน

ทำ�ความรู้จักการพัฒนาที่ยั่งยืนในรูปแบบวิดิโอโมชั่นกราฟฟิกโดยสแกนคิวอาร์โค้ด
หรือคลกิ ทน่ี ี่ https://youtu.be/P8YrSsJDiAU

https://youtu.be/P8YrSsJDiAU
https://youtu.be/P8YrSsJDiAU
https://youtu.be/P8YrSsJDiAU
https://youtu.be/P8YrSsJDiAU

Sir John ขุนนางชาวยุโรป เกิดช่วงศตวรรษที่ 16 เถ้าแก่บุญธรรม - เจ้าของโรงสี
หน้าที่ของ Sir john คือพากองเรือไปค้าขายต่างแดน ผู้สร้างเนื้อสร้างตัวมาจากการซื้อขายข้าวในยุคสมัยที่คน
เขาต้องทำ�อย่างไรก็ได้ ให้สินค้าของพวกเขาขายได้ราคาดี กลัวอาหารขาดแคลน มีเท่าไรขายได้หมด แต่ข้าวที่ขายดี
นั้นมีอยู่ไม่กี่พันธุ์เถ้าแก่จึงบอกให้ชาวนารวมถึงตาบุญมีเลิก
และซื้อของกลับประเทศในราคาที่ถูกที่สุด ปลูกข้าวพันธุ์แปลก ๆ แล้วหันมาซื้อเมล็ดพันธุ์จากเขาไป
สำ�หรับ Sir John ยิ่งประเทศของเขามีทองคำ� แร่เงิน โลหะ ปลูกแล้วนำ�มาขายให้กับเขาจะได้ราคาดี สำ�หรับเถ้าแก่แล้ว

มีค่ามากเท่าไร ก็ยิ่งแสดงว่าประเทศของพวกเขารํ่ารวย ยิ่งผลิตได้เยอะเท่าไร ก็ยิ่งดีเท่านั้น
พัฒนามากเท่านั้น

พาณิชย์นิยม ยุคล่าอาณานิคม ปฏิวัติเ
ศตวรรษที่ 16 -18 ช่วง 19

ปฏิวัติอุตสาหกรรม
ช่วง 1760s

นายสมิท - ช่างยนต์ผลิตเครื่องจักร
ช่างยนต์ผลิตเครื่องจักรสมิทเกิดในยุคที่มีนักวิทยาศาสตร์คิดค้นสิ่ง
ประดิษฐ์ใหม่ ๆ เต็มไปหมดโดยเฉพาะ ‘เครื่องจักรไอนํ้า’ ที่พลิกโฉม
ประเทศของเขาให้ดูทันสมัยผลิตของได้เยอะ เร็ว และถูกกว่าใคร เพราะ
มีเครื่องจักรทำ�แทน แม้ว่าเขาจะต้องทนกลิ่นควันและฝุ่นจากถ่านหินที่
ขุดมาใช้มหาศาล สมิทไม่รู้หรอกว่ายุคสมัยของเขาเป็นจุดเริ่มต้นของการ

สะสมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่พุ่งสูงปรี๊ด ในเวลาต่อมา

ตาบุญมี – ชาวนายุคในนํ้ามีปลาในนามีข้าว เจน – ฟรีแลนซ์กราฟิกดีไซน์เนอร์
ตาบุญมีเกิดมาพร้อมกับเพื่อนร่วมรุ่นนับล้านหลัง เจนชอบงานออกแบบดีไซน์ และไม่สมัครงานประจำ�
สงครามโลก เขาขายข้าวให้เถ้าแก่บุญธรรมที่รับซื้อไม่อั้น เพราะได้ทำ�ในสิ่งที่ชอบ แถมยังยืดหยุ่นไม่มีใครมาคอยบังคับ
มีศัตรูตัวฉกาจเป็นแมลงในนาข้าว ตาบุญมีจึงซื้อปุ๋ยเคมี แต่ก็แลกมากับความไม่แน่นอน เจนต้องทำ�งานด่วน
ตามสั่งลูกค้า หลายครั้งต้องยอมลดค่าจ้างเพื่อให้ได้งาน
ยาฆ่าแมลงมาใช้ทำ�ให้ปลูกข้าวได้เยอะขึ้น ถึงอย่างนั้น เจนก็ยังหาเวลาเก็บเงินไปเที่ยว ทำ�งานอาสมัคร
และยอมซื้อของแพงหากสินค้าชิ้นนั้นเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

เขียว เทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสาร SDG Guidebook for Youth
930s ปัจจุบัน

โลกาภิวัฒน์ การค้าเสรี
ช่วง 1990s

สันติ – วิศวกร
สันติ วิศวกรในโรงงานผลิตชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ทำ�งานมาตั้งแต่สมัยที่มี

การตั้งโรงงานในไทยหมาด ๆ
นั่นเป็นครั้งแรกที่เขามีเพื่อนชาวต่างชาติ มีโทรศัพท์มือถือ มีรถยนต์ขับ

ในราคาที่ถูกกว่าสมัยรุ่นพ่อแม่
สำ�หรับสันติแล้วการมีเงินใช้ มีงานมั่นคง แม้บางครั้งทำ�งานเกินเวลา
แบบไม่ได้ค่าแรงเพิ่มก็ไม่เป็นไร เพราะอย่างน้อยเขาก็ยังมีงานเลี้ยงตัว

เองและครอบครัว

4

SDG Guidebook for Youth 5

1.2 กว่าจะ ‘พัฒนา’ พวกเขาแลกมากับอะไร ?

Sir John : ยุคลา่ อาณานคิ ม
(ศตวรรษท่ี 16 – 18)

Sir John เป็นตวั แทนของคนทเ่ี กดิ ในช่วงศตวรรษท่ี 16 ซ่งึ ลทั ธิพาณชิ ย์นยิ ม
กำ�ลงั เฟอ่ื งฟู ในยคุ นช้ี าตมิ หาอำ�นาจตอ้ งการสง่ั สมความมง่ั คง่ั อยา่ งสดุ ขดี เชอ่ื วา่ ชาตทิ ม่ี ี
ทองคำ� แร่เงิน โลหะมีค่า แสดงถึงความรํ่ารวยและเป็นชาติที่เจริญแล้ว จึงทำ�ทุก
อย่างเพื่อขายสินค้าที่ตนเองผลิตได้ในราคาสูงที่สุดและยดึ ครองอาณาเขตทม่ี ีทรพั ยากร
สมบรู ณ์ แรงงานราคาถกู เพ่ือผลิตวตั ถุดิบผลติ สินค้าทีต่ นเองตอ้ งการไดใ้ นตน้ ทุนตํ่า

ในความมั่งคงั่ และเจริญรงุ่ เรืองของพวกเขา ถูกมองเป็นอำ�นาจทางการเมอื งในการเขา้ ไปยึดครอง ใช้ทรัพยากร
และจัดการดินแดนอื่นตามมุมมองการพัฒนาของตนเราจึงเห็นได้ว่าในการล่าอาณานิคมจะมีการเปลี่ยนแปลงของ
ประเทศอาณานิคมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การยกเลิกธรรมเนียมดั้งเดิม การเปลี่ยนวิธีการปกครองซึ่งก็นำ�มาสู่รากฐาน
การปกครองของหลายประเทศในปจั จุบนั

การพัฒนาในยุคของ Sir John ถงึ แม้จะนำ�ไปส่กู ารเปลย่ี นแปลงทีเ่ ปน็ รากฐานของปจั จุบนั ในหลายประเทศ
แต่กท็ �ำ ให้เกดิ การสญู หายของวฒั นธรรมท้องถิ่น หลายทอ้ งท่เี กิดการกดี กนั เช้ือชาติ
ความเหลือ่ มล้าํ ทย่ี งั ส่งผลมาจนถึงทุกวนั น้ี

นายสมิท : ยคุ ปฏิวัติอุตสาหกรรม
(ทศวรรษท่ี 1760 – 1840)

นายสมทิ – ชา่ งยนตผ์ ลติ เครอ่ื งจกั ร ผเู้ ปน็ ตวั แทนของยคุ สมยั ทเ่ี ปลย่ี นโลกจากเพาะปลกู
ค้าขาย ทำ�งานฝีมือไปตลอดกาลนั่นคือ ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ในยุคนี้มีนักวิทยาศาสตร์
คดิ คน้ ส่ิงประดิษฐ์ใหม่มากมายโดยเฉพาะ ‘เคร่ืองจกั รไอน้ํา’ ทีพ่ ลิกโฉมประเทศซกี โลกตะวนั ตก
ใหท้ นั สมยั สามารถผลติ สนิ คา้ ไดใ้ นจำ�นวนมาก รวดเรว็ ราคาถกู เพราะมเี ครอ่ื งจกั รทุ่นแรงสมทิ และคน
รุ่นเดียวกับเขาตื่นเต้นกับสิ่งเหล่านี้มากเพราะมันทำ�ให้เขาและเพื่อนร่วมชาติเป็นส่วนหนึ่งของ
ความยิ่งใหญ่ ไม่ว่าประเทศไหนก็ต้องอยากมีจักรเย็บผ้า รถไฟ ใช้เหมือนพวกเขา อย่างไรก็ตามพวกเขาไม่ได้ตระหนัก
ว่าสิ่งประดิษฐ์ใหม่เหล่านี้ก็นำ�ไปสู่การเปลี่ยนแปลงในชีวิตของพวกเขาไม่ว่าจะเป็น ผู้หญิงในครอบครัวต้องเลิกทอผ้า
แลว้ ไปทำ�งานโรงงาน หรือตัวเขาเองทต่ี อ้ งสดู ดมกลื่นควนั และฝนุ่ จากถา่ นหนิ ท่ีขุดมาใช้มหาศาล โดยที่ไม่รเู้ ลยว่ายุคสมยั
ของเขาคอื จุดเรม่ิ ตน้ ของการเพ่มิ ขึ้นของคาร์บอนไดออกไซด์ทคี่ อ่ ย ๆ พงุ่ สงู ขน้ึ ในเวลาต่อมา

การพฒั นาในยคุ ของสมทิ ทำ�ใหโ้ ลกกา้ วพ้นจากการผลติ ท่ีต้องลงมือทำ�ทุกอยา่ งดว้ ยแรงงาน มาพึ่งเครื่องจักร
เพ่มิ ความสะดวกสบายใหม้ นษุ ย์ แตก่ ็เป็นจดุ เร่มิ ต้นของการสะสมคาร์บอนไดออกไซดใ์ นชน้ั บรรยากาศ
ทเี่ กิดจากฝีมอื มนุษย์นำ�มาสภู่ าวะโลกรอ้ นในปจั จุบัน

SDG Guidebook for Youth 6

เถา้ แกบ่ ญุ ธรรม- คุณตาบญุ มี: ปฏวิ ัติเขียว
(ทศวรรษท่ี 1930 – 1960)

‘ปฏวิ ตั เิ ขียว’ เป็นช่อื เรียกยุคสมัยที่โลกเร่ิมหันมาเพาะปลูกเพ่อื ขาย
แทนการเพาะปลูกไวบ้ รโิ ภคในครวั เรอื น เกิดข้ึนในช่วงหลงั สงครามโลกครง้ั ท่ี 2
ในตอนนั้นโลกของเรามีประชากรเกิดใหม่พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว หรือที่เรียกว่า
เบบบี้ มู เมอร์(Babyboomer)เถา้ แกบ่ ญุ ธรรมกบั คณุ ตาบญุ ม ี ก เ็ ปน็ หนงึ่ ในนนั้
พวกเขาสองคนเกิดในยุคที่คนกลัวอาหารขาดแคลนเพราะมีคนบริโภค
มากกว่าอาหารที่ผลิตได้ จึงต้องหาวิธีเร่งเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์ ทำ�อย่างไรก็ได้
ให้ไดผ้ ลผลิตมากทีส่ ดุ คนในยคุ นท้ี ำ�ทกุ อยา่ งตง้ั แตก่ ารปรบั ปรงุ พนั ธ์พุ ชื ให้โตเร็ว ใช้ปยุ๋ เคมี ยาฆ่าแมลงเพื่อใหพ้ ชื ผล
ทนต่อโรคจนมีอาหารเพียงพอกับทุกคน ชาวนาอย่างตาบุญมี จึงมีรายได้ ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ขณะที่คนค้าขาย
อย่างเถา้ แก่บุญธรรมกส็ ามารถสรา้ งเนือ้ สร้างตัวไดจ้ ากเหตุการณ์นี้
อยา่ งไรกต็ าม การเปลย่ี นแปลงของคนรนุ่ เถา้ แกบ่ ญุ ธรรม กบั ตาบญุ มกี เ็ ปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ของการใชป้ ยุ๋ เคมยี าฆา่ แมลง
ในปรมิ าณมากจนเกดิ สารตกคา้ งสง่ ผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพทง้ั คนกนิ และคนปลกู ความหลากหลายทางชวี ภาพ จำ�นวนพนั ธพ์ุ ชื
พนั ธส์ุ ตั วก์ ล็ ดลงเพราะทกุ คนหนั มาปลกู พชื เฉพาะพนั ธท์ุ ข่ี ายไดร้ าคา นอกจากนย้ี งั เกดิ การบกุ รกุ พน้ื ทป่ี า่ ไมเ้ พอ่ื ใชท้ ำ�เกษตร

การพัฒนาในยุคของเถ้าแก่บุญธรรม ตาบุญมี (รวมถึงคณุ ทวดของเรา) ทำ�ให้โลกมอี าหารเพียงพอ
กับทุกคน แต่ก็ผลิตอาหารทส่ี ง่ ผลเสยี ต่อสขุ ภาพ และทำ�ให้สิง่ แวดลอ้ มเสอื่ มโทรม

สันติ: ยคุ โลกาภวิ ัฒน์ การคา้ เสรี
ตั้งแตท่ ศวรรษท่ี 1990s ถงึ ปั จจุบัน

สันติเป็นวิศวกรท่ีเริ่มต้นชีวิตการทำ�งานในสมัยท่ีโลกเริ่มให้ความสำ�คัญกับอิสระ
เสรภี าพ จากเคยมรี ะเบยี บเครง่ ครดั กบั ชาวตา่ งชาตทิ เ่ี ขา้ มาทำ�การคา้ กผ็ อ่ นคลายลงการเดนิ ทาง
ไปต่างประเทศสะดวกสบายขึ้น สันติจึงได้มีโอกาสไปศึกษาดูงานต่างประเทศ มีเพื่อนชาวต่าง
ชาติ มรี ถยนต์ขับในราคาท่มี นษุ ยเ์ งนิ เดือนรายไดป้ านกลางแบบเขาสามารถซอ้ื ได้
เพราะในขณะนั้นกระแสแนวคิดแบบประชาธิปไตย ความเทา่ เทยี ม สิทธมิ นษุ ยชน
กำ�ลงั ไดร้ บั ความนยิ ม มคี วามเชอ่ื มน่ั วา่ หากเราสามารถเดนิ ทางไปไหนกไ็ ด้ ลงทนุ สรา้ งกจิ การไดอ้ ยา่ งอสิ ระ โดยไมถ่ กู ควบคมุ
จากรฐั (หรือควบคมุ นอ้ ยท่สี ุด) จะทำ�ใหเ้ ศรษฐกจิ ดี เม่อื ทุกคนมเี งินประเทศก็จะพัฒนาไปเอง
ซึง่ ก็เป็นเชน่ นัน้ จรงิ ประเทศกำ�ลงั พัฒนารวมถึงประเทศไทยกลายเปน็ ฐานการผลิตอตุ สาหกรรมทม่ี าแรงทสี่ ุด
ประเทศหน่งึ ในเอเชีย คนยากจนทัว่ โลกลดลง คนวัยทำ�งานรนุ่ น้ี (ซ่งึ ก็คือพ่อแม่ของเราในเวลาตอ่ มา) เหน็ วา่ การทำ�งาน
เป็นโอกาสที่จะทำ�ให้ตนเองมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ประกอบกับได้รับการสั่งสอนจากคนรุ่นก่อนหน้า (คุณตา คุณยาย
ของพวกเรา) ว่าการมีงานทำ�คือความโชคดีมาก หากเทียบกับสมัยก่อนหน้าซึ่งมีอาชีพไม่หลากหลายและใช้ชีวิตลำ�บาก
มากกวา่ มาก ดงั นน้ั เมอ่ื มงี านทด่ี ที ำ�ตอ้ งขยนั อดทน จงึ จะสามารถสรา้ งฐานะทางการเงนิ ครอบครวั ทม่ี น่ั คงได้ ใหค้ วามสำ�คญั
กับการศกึ ษา คนร่นุ นี้ยอมจา่ ยค่าเข้าเรียนทแ่ี พงข้นึ หากมันจะทำ�ใหเ้ รา ลกู ของพวกเขาได้เรยี นในสถานศกึ ษาท่มี ีคุณภาพ

SDG Guidebook for Youth 7

แม้การเติบโตทางเศรษฐกิจแบบพุ่งพรวดจะทำ�ให้คนจนลดลง แต่มนั กลบั ทำ�ใหค้ วามแตกตา่ งของรายไดร้ ะหว่าง
คนจนกบั คนรวยเพมิ่ มากข้ึน โอกาสทคี่ นจนจะยกระดับตนเองให้มฐี านะทีด่ ีเป็นเร่อื งยากกวา่ เดมิ เพราะคนจนมที ุนตง้ั ตน้ น้อย
ขาดการศึกษาและสุขภาพที่ดี ขาดที่ดินที่จะเป็นหลักทรัพย์คํ้าประกันเงินกู้มาลงทุนทำ�กิจการ ค่าจ้างก็เพิ่มขึ้นช้ามาก
ทั้งหมดนี้นำ�มาสู่ปัญหา ความเหลื่อมลํ้า นอกจากนี้ การพัฒนาเศรษฐกิจที่ละเลยผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม ทำ�ให้โลก
เสื่อมโทรมลงไปมาก

การพฒั นาในยุคของสนั ติ (รวมถงึ พ่อแม่ของเรา) ย่อโลกให้เลก็ ลง ส่งิ อำ�นวยความสะดวกเพม่ิ ขึน้
คนยากจนน้อยลงเพราะมงี านท�ำ แตก่ ็แลกมากบั ความเหลื่อมล้�ำ และท�ำ ให้สิ่งแวดล้อมท่ีเส่ือมโทรม

ยุคขอ้ มูลขา่ วสาร และดิจทิ ัล
ปั จจบุ นั

เจน ตัวแทนของคน Gen Z รุ่นแรก (เกิดในปี 1997 – 2015) ที่เพ่ิงเรม่ิ ตน้ ชีวติ วยั ทำ�งาน
คนรุ่นเดียวกับเจน ซึ่งรวมถึงพวกเราเยาวชนทุกคนเกิดมาพร้อมกับโทรศัพท์มือถือ อินเตอร์เน็ต
ปัจจัยที่ทำ�ให้พวกเราแตกต่างกับคนรุ่นพ่อแม่อย่างสุดขั้ว ทั้งวิธีคิด ความช่างถาม ช่างสงสัย
และไม่ได้รู้สึกว่าการมีเงินมากเพียงอย่างเดียวจะทำ�ให้มีชีวิตที่ดี นั่นเป็นเหตุผลว่าทำ�ไมเจนจึงเลือก
อาชพี ฟรแี ลนซ์ไมย่ อมสมัครงานประจำ� เพราะตอ้ งการความยืดหยนุ่ แตก่ แ็ ลกมากับความไมแ่ นน่ อน
ไม่มสี วัสดกิ ารและบางครั้งก็ถูกกดค่าแรง
แม้จะดูทนั สมัย สะดวกสบาย แตเ่ จนและพวกเราตา่ งเตบิ โตมาพร้อมกบั การรับรูถ้ งึ ปัญหาส่ิงแวดล้อม
ความเหลือ่ มล้ําท่ีรุนแรงขน้ึ เรือ่ ย ๆ คนรุ่นน้ีจงึ ไม่คดิ ว่าการขยนั ทำ�งานเพียงอย่างเดียวจะทำ�ให้มีชีวติ ท่ีดไี ด้ เพราะอาจตอ้ งอาศัย
อยใู่ นโลกทอ่ี ากาศเป็นพษิ เกิดโรคระบาดถ่ีขน้ึ และอีกมากมายท่ียังคาดไมถ่ งึ คนรุ่นนี้จงึ กังวล และให้ความสำ�คญั กับปัญหา
รอบตวั มากเปน็ พเิ ศษ การพฒั นาสำ�หรับคนร่นุ นี้จงึ ไม่ได้หยุดแคม่ เี งนิ เลีย้ งชีพอกี ต่อไป

ไมว่ า่ ส�ำ หรับคนยุคไหน ‘การพัฒนา’ จะตอ้ งเปน็ สงิ่ ทที่ ำ�ใหช้ วี ติ ของทุกคนดขี ึน้ ไมว่ ่าด้านใดดา้ นหนง่ึ
ทว่า ‘ดขี น้ึ ’ สำ�หรบั ทุกคนกลับต่างกนั ทง้ั ยงั ก่อให้เกดิ ปญั หาใหมโ่ ดยไม่ตง้ั ใจ

แล้วแบบไหน ? จงึ จะเป็ นการพัฒนาท่ดี ีสำ�หรับทุกคน

เมื่อปี 2012 มีการเผยแพรเ่ อกสารช่ือ “The Future we want” ท่ีมีเนอื้ หาเกย่ี วกับ
สภาพสังคมปญั หาท่โี ลกกำ�ลงั เผชิญโดยรวบรวมขอ้ มูลเพอื่ ยืนยนั คำ�ตอบว่าการพัฒนาเศรษฐกิจ
เพียงอย่างเดียวไม่อาจทำ�ให้ทุกคนมีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(Climate Change) เป็นเรื่องจริง โดยที่มนุษย์เป็นตัวการสำ�คัญที่ทำ�ให้มันรุนแรงขึ้น
ซึ่งหากเป็นเช่นนี้ต่อไป พวกเราและคนรุ่นต่อไปอาจไม่สามารถอาศัยอยู่บนโลกนี้ได้
นั่นเป็นเหตุผลที่มีคนเสนอแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนขึ้น โดยเสนอว่า การพัฒนาตอ่ จากนี้
ตอ้ งสรา้ งความสมดลุ ระหว่างเศรษฐกิจ สงั คม ส่งิ แวดล้อม จึงจะดีกบั ทกุ คนและโลก

SDG Guidebook for Youth 8

1.3 ทำ�ไมตอ้ งเราตอ้ งทำ�เพ่ือการพัฒนาท่ยี ่งั ยนื ?

โลกเผชิญความเส่ียงท่เี ปล่ยี นไป

จากเรื่องราวของ 5 ตัวละครผู้เป็นตัวแทนของแต่ละยุคสมัยจะเห็นว่า มนุษย์ต่างต้องรับมือกับปัญหา
ต่างรปู แบบกนั เชน่ ยุคลา่ อาณานคิ มของ Sir John ทีต่ ้องแกง่ แย่งดนิ แดน ทรัพยากรเพื่อความย่งิ ใหญ่และเอาตวั รอด
ยคุ ปฏวิ ตั เิ ขยี วของเจา้ สวั บญุ ธรรม และคณุ ตาบญุ มี เผชญิ กบั ภาวะอาหารขาดแคลนหลงั เกดิ สงครามโลก ยคุ โลกาภวิ ฒั น์
และการค้าเสรี ของสนั ติท่ตี ้องปรบั ตัว ทำ�งานอย่างหนักเพ่อื หน้าทีก่ ารงานม่ันคง และเอาตวั รอดจากวกิ ฤติเศรษฐกิจ
ขณะที่เจนซึ่งเป็นตัวแทนของคนวัยใกล้เคียงกับพวกเราเยาวชน เติบโตมาท่ามกลางการรับรู้ถึงปัญหา
สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม อากาศแปรปรวน ร้อนจัด หนาวจัด ความเหลื่อมลํ้าระหว่างรายได้ของคนรวย – คนจน
โรคอบุ ัตใิ หม ่ ซง่ึ ล้วนเป็นเรอื่ งทม่ี นุษยไ์ มเ่ คยเจอมาก่อน นอกจากนมี้ ันยังมีความซบั ซ้อนไม่สามารถแกไ้ ข หรอื แยกกนั
ทำ�ทีละเรื่อง ทั้งยังส่งผลกระทบวงกว้างแม้ในประเทศที่ไม่ได้สร้างปัญหาก็อาจต้องได้รับความเสียหายจากมันอยู่ด ี
นั่นหมายความว่า เราจะทำ�แบบเดิม เพ่อื จดั การปัญหาใหมไ่ มไ่ ดอ้ กี ต่อไป

3 ส่ิงท่ที ำ�ให้วิธีคดิ แบบเดิมเอาชนะปั ญหาไม่ได้
เหตุผลท่ีเราไม่สามารถจัดการกับปัญหาท้ังท่ีกำ�ลังเผชิญอยู่และอาจเกิดขึ้นในอนาคตด้วยวิธีการเดิมได้
เนื่องจากลักษณะของแนวคิดแบบเดิมนั้นจะเน้นการทำ�แบบเส้นตรง ทำ�ทีละขั้นตอน และมองทุกอย่างแยกขาด
จากกนั ชดั เจน แตท่ วา่ สง่ิ ทเ่ี ราเผชญิ อยนู่ น้ั ตรงขา้ มกบั วธิ กี ารเหลา่ นโ้ี ดยสน้ิ เชงิ เพราะปญั หาของโลกปจั จบุ นั และอนาคต
โดยส่วนใหญ่มลี กั ษณะ 3 ประการตอ่ ไปน้ี

ปั ญหาซับซอ้ นขน้ึ ไมส่ ามารถแกไ้ ขได้ด้วย แบ่งแยกไมไ่ ด้ และมุมมอง
มีสาเหตุหรอื เป็นผลมาจากปัญหาอื่น ๆ จิตสำ�นกึ เพียงอยา่ งเดยี ว ชาตินิยมแบบสุดโตง่
ส่งผลตอ่ การแกป้ ั ญหา
ท่ีมีขนาดใหญ่และรุนแรงไม่แพก้ นั หลายปญั หานน้ั เกดิ ขน้ึ ยาวนาน
การเลือกทำ�ค่อย ๆ แกท้ ลี ะปญั หา มากเกนิ กวา่ จะแกไ้ ขดว้ ยการเปลย่ี น เพราะปญั หาทเ่ี ผชญิ อยนู่ น้ั ไมแ่ บง่ แยก
นอกจากจะไมส่ ำ�เร็จแลว้ อาจส่งผลเสยี พฤตกิ รรมเพยี งอยา่ งเดยี วตอ้ งอาศยั พรมแดน เชอ้ื ชาติ ไมว่ า่ คนจากพน้ื ทน่ี น้ั
การเปลย่ี นระบบ และสภาพแวดลอ้ ม หรอื ประเทศนน้ั เปน็ ตน้ เหตขุ องปญั หา
หรือเกดิ ปญั หาใหมข่ น้ึ มาได้ ใหเ้ ออ้ื ตอ่ การมพี ฤตกิ รรม ทด่ี เี หลา่ นน้ั ดว้ ย หรอื ไม่ เมอ่ื เกดิ ขน้ึ แลว้ ทกุ คนตา่ งไดร้ บั
จงึ เปน็ เหตผุ ลวา่ ท�ำ ไมแคมเปญรณรงคต์ า่ ง ๆ ผลกระทบจากมนั และไมส่ ามารถรอดพน้

จงึ ไดผ้ ลเพยี งชว่ั คราว หากไมใ่ ชค้ วามรว่ มมอื อยา่ งจรงิ จงั

SDG Guidebook for Youth 9

ตัวอยา่ งปั ญหาท่สี ะท้อนว่าเราทำ�แบบเดมิ ไม่ไดอ้ ีกแล้ว

ปั ญหาขยะพลาสติกในทะเล

ปัจจบุ นั มีการประเมินวา่ หากเรานำ�ขยะพลาสตกิ ในทะเลมากองรวมกนั จะมขี นาดใหญ่สองเทา่ ของรัฐเท็กซสั
ประเทศสหรฐั อเมรกิ า2 โดยสว่ นใหญม่ าจากขยะบนบก แมเ้ ราไมไ่ ดท้ ง้ิ ขยะลงในทะเลโดยตรง ขยะทท่ี ง้ิ ลงถงั อยา่ งถกู ตอ้ ง
แล้วก็อาจลงสู่ทะเลได้อยู่ดี การแก้ปัญหานี้ต้องมีระบบจัดการขยะที่ดีมาก และไม่ใช่แค่ประเทศใดประเทศหนึ่ง
แต่ต้องเป็นทกุ ประเทศท่ีมที างออกสูท่ ะเล ซง่ึ ไมใ่ ช่เร่ืองงา่ ยเลย เพราะการจดั การขยะทีส่ มบูรณแ์ บบเกดิ ขึ้นตงั้ แต่กอ่ น
วัสดเุ หล่านัน้ จะกลายเปน็ ขยะด้วยซํา้ กล่าวคือ เรม่ิ ต้นตง้ั แต่ การผลิต การทง้ิ ขยะในครัวเรือน ไปจนถงึ การกำ�จัดขยะ
ในบ่อขยะขนาดมหึมา จะเห็นว่ามีคนเข้ามาเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้มากมายการออกมาตรการเชิงบังคับที่เข้มงวดทันทีจะ
สง่ ผลกระทบในวงกวา้ ง แตห่ ากไมท่ ำ�อะไรเลยหรือทำ�นอ้ ยเกนิ ไปก็จะแก้ปัญหาไม่ได้

นอกจากปญั หาขยะทางทะเลแล้วยงั มีปญั หาอน่ื ๆ อกี มากท่ีมีลกั ษณะเหมอื น 3 ขอ้ ข้างตน้ จนไม่สามารถ“
แกไ้ ขด้วยวธิ เี ดมิ ได้ ทุกคนคดิ วา่ มีอะไรอีกบา้ ง ?



จากขอ้ มลู และเหตกุ ารณต์ วั อยา่ ง ท�ำ ใหเ้ หน็ แลว้ วา่ โลกเผชญิ ความเสย่ี งทแ่ี ตกตา่ ง รนุ แรงกวา่ เดมิ
และไม่สามารถแก้ปัญหาด้วยวิธีเดิมได้อีกแล้ว เราจำ�เป็นต้องคำ�นึงถึงและทำ�ตามแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
ด้วยการสร้างความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง เพราะปัญหาทั้งหมดทำ�ให้
ความย่ังยืนไมใ่ ชท่ างเลือก แต่เปน็ ทางรอดของพวกเราทุกคน

2 theoceancleanup, ‘WHAT IS THE GREAT PACIFIC GARBAGE PATCH?’ <https://theoceancleanup.com/great-pacific-
garbage-patch/> (1 ธันวาคม 2564)

SDG Guidebook for Youth 10

1.4 การพัฒนาท่ีย่งั ยืนคอื อะไร?

การพัฒนาทย่ี ่งั ยืน

“การพฒั นาทต่ี อบสนองความตอ้ งการของคนในรนุ่ ปจั จบุ นั โดยไมท่ �ำ ใหค้ นรนุ่ ตอ่ ไปในอนาคต ตอ้ งประนปี ระนอม
ยอมลดทอนความสามารถในการตอบสนองความตอ้ งการของตนเอง” - นยิ ามจาก Our Common Future

หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า คือ การพัฒนาที่เราสามารถใช้ชีวิตในแบบที่ต้องการ แต่ต้องไม่ทำ�ให้คนรุ่นหลัง
ลำ�บากหรือต้องมาแก้ปัญหาที่เราสร้างเอาไว้นั่นเอง ซึ่งการพัฒนาแบบนี้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อทุกคนเข้าใจ
และเหน็ ตรงกันวา่ เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอ้ มเป็นมิตทิ มี่ ีความเกอ้ื หนุนกันอยู่ หากระบบใดมีปัญหาก็จะส่งผลเสยี ต่อ
อีกระบบหนึ่งไปด้วย ดังนั้น การพัฒนาที่ยั่งยืนจึงเน้นการสร้างสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
หรือ ท่เี รยี กวา่ 3 เสาหลกั ความยงั่ ยืน

เศรษฐกิจ เศรษฐกจิ

สิ่งแวดลอ้ ม สังคม สงิ่ แวดลอ้ ม สงั คม

ส่ิงทเ่ี ปน็ ส่ิงทค่ี วรจะเป็น

ทง้ั นี้ เนือ่ งจากทผี่ ่านมาเราไดท้ ำ�ลายส่งิ แวดล้อมจนเสอื่ มโทรมอย่างมาก จึงอาจกลา่ วไดว้ า่ การพฒั นาที่ยั่งยืน
เป็นความพยายามทำ�ให้ส่ิงทีเ่ ป็นอยู่ในภาพซ้ายกลับเข้ามาสู่สิง่ ที่ควรจะเปน็ ดงั ภาพขวา

SDG Guidebook for Youth 11

1.5 เยาวชนกับการพัฒนาท่ยี ่งั ยนื

ทำ�ไมการพัฒนาท่ยี ่งั ยืนจึงสำ�คัญกบั เยาวชน

คุณภาพชีวิตของเยาวชน 1.3 พันล้านคนขึ้นอยู่กับการพัฒนาที่ยั่งยืน – ในปี 2030 จะมีเยาวชนทั่วโลก
ถึง 1.3 พันล้านคน หรือประมาณร้อยละ 15 ของประชากรโลกในขณะนั้น ซึ่งคาดว่าจะอยู่ที่ 8.5 พันล้านคน
(United nation: New York, 2015) แม้ตัวเลขจะไม่พุ่งสูงอย่างที่เคยเกิดขึ้นในช่วงหลังสงครามโลก แต่เยาวชนรุ่นนี้
และที่กำ�ลังจะเกิดตามมา ล้วนเติบโตท่ามกลางปัญหาสิ่งแวดล้อม ความเหลื่อมลํ้าทางเศรษฐกิจและปัญหาสังคม
อีกมากมาย หากไม่เร่งผลักดันให้โลกพัฒนาอย่างยั่งยืนตั้งแต่ตอนนี้ เยาวชนจำ�นวนมากอาจมีความเป็นอยู่ที่ไม่ดี
กล่าวคือ อาจมีเยาวชนขาดแคลนสารอาหาร เจ็บป่วย หลุดจากระบบการศึกษา รวมถึงต้องอาศัยอยู่ในชุมชน
ทเี่ สือ่ มโทรม เผชญิ กบั มลพษิ ทางอากาศ

เอเชีย

แอฟรกิ า
ลาตนิ อเมริกาและแคริเบียน
ยโุ รป

อเมรกิ าเหนือ
โอเชียเนีย

แนวโนม้ การเติบโตของจำ�นวนเยาวชนแตล่ ะภมู ภิ าค
ทม่ี า: Youth Population trends and Sustainable Development

เยาวชนคอื ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี กลมุ่ ส�ำ คญั – เยาวชน เยาวชนรนุ่ นีจ้ ะเติบโตเป็นผู้ใหญใ่ นชว่ งเวลา
มกั เปน็ ผไู้ ดร้ บั ผลกระทบ หรอื ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามการตดั สนิ ใจ ทที่ ้าทายทีส่ ุด - อีก 5 -10 ปีขา้ งหน้าเป็นชว่ งเวลาทค่ี าด
ของผใู้ หญ่ ไมว่ า่ จะเปน็ ครอบครวั ครู หรอื รฐั บาลทก่ี ำ�หนด การณ์ว่าโลกจะเผชญิ กบั ปญั หาทีม่ นุษยไ์ ม่คนุ้ เคยอกี มาก
นโยบายที่ส่งผลต่อพวกเรา ดังนั้น เยาวชนจึงควรมีส่วน
ร่วมออกแบบ ตดั สินใจในเร่อื งทเี่ กยี่ วกับชีวติ ของตนเอง โดยเฉพาะปญั หาส่งิ แวดลอ้ ม เยาวชนรนุ่ นี้จะเตบิ โตเป็น

ผู้ใหญใ่ นชว่ งเวลาทีท่ า้ ทายมากทสี่ ุด ดงั นน้ั หากวนั น้ีเรา

ไมท่ ำ�ความเขา้ ใจ หรอื พยายามเขา้ มามสี ว่ นรว่ มทางใดเลย

คนทจี่ ะไดร้ ับผลกระทบอยา่ งหนกั คือ พวกเราเอง

SDG Guidebook for Youth 12

ทำ�ไมเยาวชนจึงสำ�คญั กับการพัฒนาทย่ี ่งั ยืน

นอกจากเราจะตอ้ งการโลกทีด่ แี ลว้ โลกท่ีดีจะเกิดขนึ้ ไดต้ อ้ งอาศัยพลังจากเยาวชนดว้ ยเหตผุ ล ดังน้ี

เยาวชนรนุ่ นี้ คอื คนทีก่ �ำ หนดอนาคตโลก - เยาวชนทม่ี อี ายุ 15 -24 ปี
ในปัจจุบัน คือ ประชากรที่จะเติบโตเข้าสู่วัยทำ�งานกลายเป็นคนขับเคลื่อน
เศรษฐกิจและดูแลคนในครอบครวั รวมถึงกลายเปน็ ผนู้ ำ�ภาคส่วนตา่ ง ๆ ในอีก
5-10 ปี เยาวชนจึงจำ�เป็นต้องเข้ามามีบทบาทร่วมออกแบบอนาคตที่เราเห็น
ตง้ั แตเ่ รม่ิ ตน้

เยาวชนสอื่ สารและบอกความต้องการทีน่ �ำ มาสู่การแก้บางปญั หา
ไดด้ ีกวา่ ผ้ใู หญ่ โดยเฉพาะปญั หาทเ่ี กย่ี วกบั เยาวชนเอง เชน่ รปู แบบการเรยี นรู้
ปญั หาการกลั่นแกล้ง ความกดดัน ความเครียดในระบบการศกึ ษา เปน็ ต้น

เยาวชนมที กั ษะบางอยา่ งทจ่ี �ำ เปน็ ตอ่ การแกไ้ ขปญั หา ดงั กลา่ วขา้ งตน้
ว่าสภาพปัญหาต่อจากนี้ซับซ้อน และแตกต่างจากในอดีต จำ�เป็นต้องใช้
ทักษะใหม่ ๆ เข้ามาช่วยหนุนเสริม รับมือกับมันไม่ว่าจะเป็นการใช้เทคโนโลยี
ความคดิ สร้างสรรค์ ความยดื หยนุ่ ปรับตัวเร็ว การส่อื สารทมี่ พี ลัง ซง่ึ เปน็ ทักษะ
โดดเด่นของเยาวชนรุน่ น้ี

1.6 มาลองดู!! คุณมีส่วนร่วมกับการพั ฒนา
ท่ีย่ังยืนในระดับใด

เราทุกคนสามารถมีส่วนร่วมทำ�ให้การพัฒนาที่ยั่งยืนเกิดขึ้นอย่างเป็นจริงได้ ตั้งแต่ระดับที่ง่ายที่สุด
ทำ�ได้ทันที ไปจนถึงระดับที่สามารถเปลี่ยนแปลงสังคมได้ในวงกว้าง มาลองสำ�รวจไปพร้อมกันว่าตอนนี้เรากำ�ลัง
มีส่วนร่วมอยู่ในระดับใด ? แล้วยังทำ�อะไรได้อีกบ้าง ?

ระดบั ผ้สู ร้างการเปล่ียนแปลง
(Change Makers)

ระดับบคุ คล ระดับพลเมืองตน่ื รู้
(Individual) (Active Citizen)

SDG Guidebook for Youth 13

ระดับบุคคล (Individual) :
ต้งั คำ�ถามต่อสิ่งรอบตัว เปลย่ี นแปลงพฤติกรรม

เป็นระดับการลงมือทำ�ที่ง่ายที่สุด ทำ�ได้ทันทีนั่นคือ “การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเอง” ลองถามตัวเองว่า
คณุ ทำ�สงิ่ เหลา่ นเ้ี ป็นประจำ�หรือเปล่า ?

(1) ฝึกตั้งคำ�ถามต่อสิ่งรอบตัว: การตั้งคำ�ถามเป็นจุดเริ่มต้นของการฉุกคิดถึง
ความสมเหตสุ มผลในสงิ่ ท่ีเกดิ ขึ้น ความสงสยั จะทำ�ให้เราพยายามหาคำ�ตอบโดยปราศจาก
อคติ ช่วยให้เราเป็นคนมีเหตุผล รู้จักไตร่ตรองก่อนตัดสิน (Critical Thinker) ซึ่งเป็น
ประโยชน์ต่อการทำ�ความเข้าใจปัญหาที่ซับซ้อนมีมุมมองสอดคล้องกับวิธีคิดการพัฒนา
ทย่ี ง่ั ยืน

(2) เปลยี่ นพฤตกิ รรมการบรโิ ภค: ทำ�ได้ทัง้ ทำ� และงด ยกตวั อย่างเชน่
ทำ�: เร่ิมตน้ จากการรับประทานอาหารไมเ่ หลือทงิ้ เลอื กซอื้ สนิ คา้ ที่มฉี ลากแสดง
ว่าเปน็ กระบวนการผลติ ไมท่ ำ�ลายสิง่ แวดล้อม
งด: ไมซ่ ้อื สนิ คา้ ทม่ี ีกระบวนการผลติ ขัดกบั แนวทางความย่งั ยนื เช่น ผูผ้ ลิตสินค้า
ใช้แรงงานทาส กดข่พี นกั งงาน หรอื โรงงานผลติ ปลอ่ ยของเสยี
เป็นอนั ตรายต่อชมุ ชน สง่ิ แวดลอ้ ม วิธกี ารนี้จะชว่ ยสง่ สญั ญาณถงึ ใหผ้ ผู้ ลติ ปรบั ตัวได้เปน็ อย่างดี

(3) หยุดพฤติกรรมที่ขัดแย้งกับความยั่งยืน: ความยั่งยืนไม่ได้จำ�กัดแค่เรื่องสิ่งแวดล้อม แต่ยังรวมถึงการปฏิบัติ
กับทุกคนอย่างเคารพ ให้เกียรติผู้อื่น ดังนั้นเราจึงต้องหยุดพฤติกรรมที่เป็นการบั่นทอน ไม่ให้เกียรติผู้อื่นไม่ว่าโดยตั้งใจ
หรอื ไมก่ ็ตาม เชน่ การไมล่ ้อเลยี นหรือบูลล่ี รูปร่าง หน้าตา ไมใ่ ชอ้ ายุ ฐานะเอาเปรยี บหรอื ดูหม่นิ คนอน่ื
(4) เปิดกว้างทางความคิด ทำ�ความเข้าใจความหลากหลาย: เราอยู่ในสังคมที่มีความหลากหลาย ทั้งเชื้อชาติ
ศาสนา ภาษา วฒั นธรรม ความคดิ เหน็ จึงควรเปดิ กว้าง ไม่แสดงความรงั เกียจ ไม่ยึดความคดิ เหน็ ของตวั เองเป็นใหญ่

หากคุณมีสิ่งเหล่าน้ีเกิน 3 ขอ้ หรือท�ำ ค่อนขา้ งบอ่ ย ถือว่ามสี ว่ นรว่ มในระดับบุคคลแล้ว
การเปลี่ยนแปลงระดับน้เี ห็นผลชัดเจนตอ่ ตนเองในทันที แมจ้ ะดเู ล็กนอ้ ยแต่ก็สามารถนำ�มาส่ผู ลกระทบ

หรอื เกิดเปน็ คา่ นยิ มใหมใ่ นสังคมได้ หากจ�ำ นวนผู้ท่เี ปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมมีมากข้นึ

SDG Guidebook for Youth 14

ระดบั ผู้สรา้ งการเปลย่ี นแปลง (Change
Makers) : มีจดุ ยนื ทำ�ใหค้ นอ่นื อยากเปล่ยี นแปลง

เป็นระดับการมีส่วนร่วมของคนธรรมดาที่มีพฤติกรรมสอดคล้องกับความยั่งยืนอยู่แล้ว และอยากทำ�ให ้
คนรอบตัวเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย คนที่อยากสร้างการเปลี่ยนแปลงในระดับนี้ไม่จำ�เป็นต้องตั้งกลุ่มกิจกรรม หรือคิด
โครงการใด ๆ แต่จะเน้นไปที่การแสดงจุดยืนของตนเอง เพื่อส่งสัญญาณให้คนรอบตัว เริ่มเข้าใจ เห็นด้วยกับเรา
คุณอาจเป็นมีส่วนร่วมในระดับนี้ ถ้าคุณมักทำ�สิ่งเหล่านี้…

(1) แสดงออกทางจุดยืนของตนเองเพื่อสนับสนุนกิจกรรมที่สอดคล้องกับความยั่งยืน และต่อต้านกิจกรรม
ทขี่ ดั ตอ่ ความยัง่ ยืน - เช่น การแสดงความเห็นบนโซเชียลมีเดยี การรณรงค์เชิงสญั ลกั ษณเ์ พื่อแสดงออกว่าตนเองสง่ เสรมิ
หรือ ไม่เห็นดว้ ยกับประเดน็ หนง่ึ ๆ ทเี่ กดิ ข้ึน

(2) สื่อสารให้ข้อมูลที่ถูกต้องเมื่อพบเห็นพฤติกรรมที่ขัดต่อความยั่งยืน - เช่น พบเห็นการล้อเลียน จึงให้
ขอ้ มูลตอ่ คนรอบตวั ว่าส่งิ ทท่ี ำ�อยู่ไม่ถกู ตอ้ ง ตกั เตือน หรือแนะนำ�ด้วยวธิ กี ารทีเ่ หมาะสม

คุณมักออกมาพูดหรอื แสดงความเหน็ เสมอ หากมนั เป็ นเร่อื งเก่ยี วกับ…





ระดับพลเมืองตน่ื รู้ หรอื Active citizen : เข้าไป
มสี ่วนรว่ ม มบี ทบาทน�ำ ตอ้ งการเห็นการเปลย่ี นแปลง

เชิงโครงสรา้ ง

เป็นการมีส่วนร่วมระดับสูงสุดของคนธรรมดาที่ตื่นตัวไม่เพียงแต่มีพฤติกรรมที่ดีและชักชวนคนรอบตัว
ใหท้ ำ�ตาม แต่ยังต้องการใหแ้ นวคิดที่ตนเองเชื่อมน่ั ผลกั ดันไปสู่การเปล่ยี นแปลงในระดบั ใหญ่ขึน้ คนกลมุ่ นจี้ ะเร่ิมให้ความ
สำ�คญั กบั ความเป็นไปของสังคม เขา้ ไปมบี ทบาทเป็นผู้นำ� มสี ่วนรว่ มในประเดน็ ทตี่ นเองสนใจ อยากผลกั ดันใหเ้ กดิ ขน้ึ จรงิ
ยกตวั อย่างเชน่

(1) การมีสว่ นรว่ มทางการเมือง - การใชส้ ิทธิเลือกต้งั เลือกผู้นำ�ทม่ี นี โยบายสอดคลอ้ งกับความย่งั ยนื ร่วมแสดง
ความเห็นต่อกจิ กรรมหรอื นโยบายทสี่ ง่ ผลต่อความยั่งยนื
(2) การมีส่วนร่วมในการเรียกร้อง ตรวจสอบ ผ่านช่องทางที่ตนเองสามารถทำ�ได้ เช่น การเรียกร้อง
โดยสนั ตผิ า่ นแคมเปญทางโซเชยี ลมเี ดยี การรว่ มสง่ ความเหน็ ตอ่ ประเดน็ ทางสงั คมตอ่ ชอ่ งทางรบั ความคดิ เหน็ ของรฐั เปน็ ตน้

(3) การรวมกลมุ่ เพอ่ื ผลกั ดนั สง่ิ ทต่ี นเองสนใจ – เปน็ การรวมตวั ของคนทเ่ี ชอ่ื มน่ั หรอื ตอ้ งการสรา้ งความเปลย่ี นแปลง
ในเรื่องเดียวกัน อาจทำ�ในรูปแบบของการจัดตั้งชุมนุม ชมรมในสถานศึกษา หรือรวมตัวกันโดยอิสระเพื่อทำ�กิจกรรม
บางอย่างรว่ มกัน

SDG Guidebook for Youth 15

ยังจำ�ไดไ้ หม? นโยบายเด่นของสส. หรอื ผนู้ ำ�คนล่าสุดท่ีคณุ เลือกคอื อะไร
ตอนน้พี วกเขาได้ลงมือทำ�มนั หรอื ยงั



หลงั จากเรยี นรใู้ นบทแรกคณุ คดิ วา่ การพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื จำ�เป็ นกบั ตวั คณุ แคไ่ หน“

1 2 3 45
แทบไมจ่ �ำ เปน็ เลก็ น้อย ปานกลาง มาก จำ�เปน็ ท่สี ดุ

คณุ คดิ ว่าตนเองมสี ่วนรว่ มกบั ชว่ ยยกตัวอยา่ งส่ิงท่สี ะทอ้ น
การพัฒนาท่ยี ่งั ยืนในระดับใด ว่าคณุ มสี ่วนรว่ มในระดบั น้นั

1. ระดับบุคคล “
2. ระดับผู้สร้างการเปล่ยี นแปลง
3. ระดับพลเมอื งต่นื รู้

SDG Guidebook for Youth 16

02
ทำ�ความรจู้ ักเป้ าหมาย
การพัฒนาทย่ี ่งั ยืน

(Sustainable Development
Goals: SDGs)

SDG Guidebook for Youth 17

02 ท�ำ ความรู้จกั เป้ าหมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยืน
(Sustainable Development Goals: SDGs)

2.1 SDGs คอื อะไร?

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) หรือเรียกอีกอย่างว่า
วาระพฒั นา 2030 (Agenda 2030) เป็นเป้าหมายระดบั โลกจำ�นวน 17 เปา้ หมายท่ีสมาชกิ สหประชาชาติ 193 ประเทศ
ร่วมกันกำ�หนด โดยให้คำ�มั่นว่าทุกประเทศต้องร่วมกันผลักดันประเด็นเหล่านี้เพื่อให้ทุกคนบนโลก มีชีวิตที่ดีทั้งในมิติ
เศรษฐกจิ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม ภายในระยะเวลา 15 ปี ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2559 – 2573 (ค.ศ. 2016-2030)

แตท่ ำ�ไมสมาชิกสหประชาชาติจงึ เหน็ ตรงกนั วา่ ควรกำ�หนด SDGs ?
เราจะพาทกุ คนไปหาค�ำ ตอบน้ดี ว้ ยการยอ้ นกลับไปกอ่ นจะเกดิ SDGs

2.2 กว่าจะเป็ น SDGs

ก่อนจะเกิด SDGs โลกของเราเคยมีเป้าหมายการพัฒนาอื่นมาก่อนเรียกว่า เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ
(Millennium Development Goals หรือ MDGs) เป็นวาระทก่ี ำ�หนดในช่วงปี 2001-2015 มหี ลักการสำ�คญั คือต้องการ
ให้ประเทศท่ีพฒั นาแลว้ สง่ เสรมิ ช่วยเหลอื ประเทศกำ�ลังพัฒนาใน 8 เปา้ หมาย ไดแ้ ก่

เป้าหมายท่ี 1 ขจัดความยากจนและความหวิ โหย
เป้าหมายท่ี 2 ใหเ้ ด็กทุกคนได้รับการศกึ ษาระดับประถมศึกษา
เป้าหมายที่ 3 ส่งเสรมิ ความเทา่ เทียมกนั ทางเพศและส่งเสรมิ บทบาทสตรี
เปา้ หมายที่ 4 ลดอตั ราการตายของเด็ก
เปา้ หมายท่ี 5 พัฒนาสขุ ภาพสตรมี ีครรภ์
เป้าหมายท่ี 6 ต่อสู้โรคเอดส์ มาลาเรยี และโรคติดต่ออน่ื ๆ
เปา้ หมายท่ี 7 รกั ษาและจดั การสิง่ แวดลอ้ มอยา่ งยง่ั ยืน และ
เปา้ หมายที่ 8 ส่งเสริมความเป็นหุน้ สว่ นการพัฒนาในประชาคมโลก

SDG Guidebook for Youth 18

ผลของ MDGs ทำ�ให้คุณภาพชีวิตคนทั่วโลกโดยเฉพาะประเทศกำ�ลังพัฒนาและประเทศที่มีการพัฒนา
น้อยทส่ี ุด (Last Development Countries : LDCs) ดขี น้ึ ในหลาย ๆ ด้านยกตวั อยา่ งเช่น

ผมู้ รี ายไดใ้ ตเ้ สน้ ความยากจนสดุ ขดี (ขณะนน้ั วดั จากคนทม่ี คี า่ ใชจ้ า่ ยดำ�รงชพี รายวนั ตา่ํ กวา่ $1.25 ตอ่ วนั )
ลดลงกวา่ ครง่ึ เหลือประมาณ 836 ลา้ นคนในปี 2015
เกิดความเสมอภาคทางเพศในการเขา้ ถงึ การศกึ ษาในประเทศสว่ นใหญพ่ ัฒนาไปจากปี 2000
ลดการตายของเดก็ อายุต่าํ กวา่ 5 ปี ได้มากกว่าครึ่งหน่งึ เทยี บกบั ปี 1990
การตายของแม่ระหวา่ งคลอดลดลงกว่า 45% ทั่วโลก
การตายจากมาลาเรยี และวณั โรคลดลง 6.2 ลา้ นเคสและ 37 ล้านเคส
มีคนเขา้ ถงึ นํา้ ดืม่ ทสี่ ะอาดเพ่มิ ข้นึ 2.6 พันล้านคนในชว่ งปี 1990 – 2015

อย่างไรก็ตาม ปัญหาเหล่านี้ก็ยังไม่หมดไป ทั้งยังมีปัญหาใหม่เกิดขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลง
สภาพภมู อิ ากาศ (Climate Change) การเพม่ิ ขน้ึ ของประชากรทท่ี ำ�ใหก้ ารใชท้ รพั ยากรธรรมชาตเิ พม่ิ ขน้ึ และเสอื่ มโทรมลง
อย่างรวดเร็ว เกิดความเหลือ่ มลา้ํ ด้านเศรษฐกิจ สงั คมและปัญหาการเมอื งรุนแรงขึ้น

ด้วยเหตุนี้ในการประชุม Rio+ 20 ซึ่งเป็นการประชุมสหประชาชาติที่มีบทบาทสำ�คัญต่อความร่วมมือ
เพอ่ื จดั การกบั ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม ณ เมอื งรโี อเดจาเนโร ประเทศบราซลิ เมอ่ื ปี 2012 ไดห้ ารอื กนั วา่ หลงั จากเปา้ หมาย MDGs
สิ้นสุดลงในปี 2015 โลกจะทำ�อย่างไรกับปัญหาเหล่านี้ ที่ประชุมจึงเสนอให้เริ่มร่างวาระการพัฒนาหลังปี 2015
อันจะเป็นเป้าหมายการพัฒนาชุดใหม่หลัง MDGs โดยออกแบบกระบวนการใหท้ กุ ฝา่ ยเข้ามามีสว่ นรว่ มระดมความเห็น
ตั้งแต่องค์กรระดับนานาชาติไปจนถึงคนทั่วไป โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง รวมกว่า 8.5 ล้านคน เพื่อหาคำ�ตอบว่า ‘โลก
ทที่ ุกคนอยากเห็นในปี 2030 ควรเปน็ อยา่ งไร’ จนออกมาเปน็ เป้าหมายการพฒั นาทยี่ งั่ ยืน จำ�นวน 17 เป้าหมาย ที่เรา
รจู้ ักกนั ในนาม SDGs

SDG Guidebook for Youth 19

แล้วโลกท่คี ณุ อยากเหน็ ในปี 2030 เป็ นอยา่ งไร?





การเดินทางของ SDGs

มนี าคม 2015 กรกฎาคม 2015 ธนั วาคม 2015

ค.ศ 2012 กันยายน 2015

กระบวนการเจรจาทางการทูต
กผมรา่ีคะนนบภรวาานวคกว8าิช.ร5ารกลา่ าง้ารนSแคDลนGะทsภวั่ าโคลปกรระ่วชมาสังคม

การที่คนเข้ามามีส่วนร่วมกว่า 8.5 ล้านคน อาจไม่ได้มากหากเทียบกับสัดส่วนของประชากรทั้งโลก
แต่นถี่ อื เปน็ กระบวนการคดิ เปา้ หมายทีม่ คี นเขา้ มารว่ มแสดงความเห็นมากทีส่ ดุ เทา่ ทโ่ี ลกเคยมมี า ความแตกต่างสำ�คัญ
ของ MDGs กับ SDGs คือระดับการมีส่วนร่วมในการกำ�หนดเป้าหมาย และการนำ�เป้าหมายไปปฏิบัตินี่เอง
ในขณะที่ MDGs เป็นเป้าหมายที่ประเทศพัฒนาเป็นผู้กำ�หนดขึ้น เพื่อยกระดับการพัฒนาของประเทศกำ�ลังพัฒนานั้น
SDGs มีที่มาจากกระบวนการมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวางและการเจรจาร่วมกันของทุกประเทศ กลายเป็นความตกลง
ร่วมกันของประเทศสมาชิกสหประชาชาติและมีลักษณะเป็นสากล ซึ่งทุกประเทศที่ร่วมลงนามนำ�ไปปฏิบัติเพื่อบรรลุ
เป้าหมายและสรา้ งอนาคตทเี่ ราอยากเหน็ ร่วมกนั

Fun fact
ประเทศไทยมีส่วนร่วมกับการคิด SDGs ด้วยเช่นกัน โดยในขณะนั้นโครงการ Social Watch
โดยสถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นผู้รับผิดชอบในการสร้างการมีส่วนร่วมนำ�ความเห็น
จากนกั วิชาการ ภาคประชาสังคม และกลุม่ เปราะบางอน่ื ๆ

2.3 เรอ่ื งทค่ี วรรเู้ กย่ี วกับ SDGs
เคารพสิทธมิ นุษยชน (Human R

ไมท่ ง้ิ ใครไวข้ ้างหลัง พัฒนาเศรษฐกิจ โดยไ
Leave no one behind Decou

ครอบคลุม แบง่ แยกกนั ไมไ่ ด้ เป็ นสากล เปล่ยี
Inclusive Indivisble Universal T

Right) SDGS

ไมท่ ำ�ลายส่ิงแวดล้อม เป้ าหมายชุดท่ี 2 ของโลก
upling 3 เสาหลัก
5Ps
SDG Guidebook for Youth
17 เป้ าหมาย (Goals)
169 เป้ าหมายย่อย (Targets)

247 ตัวชว้ี ดั (Indicators)

ทำ�ความรู้จักการพัฒนาที่ยั่งยืน

ยนแปลงจากรากฐาน ในรูปแบบวิดิโอโมชั่นกราฟฟิก
Tranformative
โดยสแกนคิวอาร์โค้ด หรือคลิกที่นี่https://youtu.be/hSILMzRIqfY
https://youtu.be/hSILMzRIqfY
https://youtu.be/hSILMzRIqfY
https://youtu.be/hSILMzRIqfY
https://youtu.be/hSILMzRIqfY

20

SDG Guidebook for Youth 21

โครงสรา้ งของ SDGs

ถา้ คุณเป็ นหน่งึ ในผูน้ �ำ โลก คณุ คิดวา่ การตง้ั เป้ าหมายทง้ั 17 ข้อออกมานน้ั เพียงพอไหม?

เพ่ื อให้นักพัฒนาและคนท่ัวโลกเอาเป้ าหมายน้ีไปใช้ได้จริง SDGs จึงต้องมีกรอบแนวทางที่ชัดเจน
และมีการติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ จงึ ไดอ้ อกแบบโครงสร้างของ SDGs ออกเป็น 3 ส่วน ประกอบดว้ ย

ระดับเป้าหมาย หรือ Goals เป็นเป้าหมายใหญ่ที่สุดเพื่อกำ�หนดภาพอนาคต
ทเี่ ราอยากสรา้ งรว่ มกัน ซ่งึ ในท่ีนี้คือ SDGs 17 เปา้ หมาย

ระดับเป้าหมายย่อย หรือ Target (เดิมเรียกว่า เป้าประสงค์) เป็นเป้าระดับย่อย
จำ�นวน 169 เป้าหมายยอ่ ย (Target) ที่กำ�หนดเพอื่ ใหร้ วู้ า่ เราต้องทำ�อะไรบ้างจึงจะบรรลุ
เป้าหมายหลัก (Goal) จึงมคี วามเปน็ รูปธรรมและมรี ายละเอยี ดทีเ่ ฉพาะเจาะจงมากกวา่

ระดบั ตัวชว้ี ดั หรือ Indicator เปน็ เคร่อื งมอื ท่ีถูกออกแบบมาเพื่อวัดผล
สง่ิ ทเ่ี ราดำ�เนนิ การเพอ่ื บรรลเุ ปา้ หมายยอ่ ยวา่ ไดผ้ ลดมี ากนอ้ ยเพยี งใด เราตอ้ งเรง่ ทำ�อะไรเพม่ิ เตมิ
หรอื ไม่ ปจั จบุ ันมที ้ังหมด 247 ตวั ชี้วดั

ยกตัวอย่างเช่น

SDG 1 ยตุ คิ วามยากจนทกุ รูปแบบในทุกท ่ี เปา้ หมายหลัก (Goal)
SDG 1.1 ขจดั ความยากจนทง้ั หมด ซง่ึ ในปจั จบุ นั วดั จากคนทม่ี คี า่ ใชจ้ า่ ยดำ�รงชพี
รายวนั ต่อวนั ตาํ่ กวา่ 1.25 ดอลลารส์ หรัฐตอ่ วัน
(ปัจจบุ นั แก้ไขเป็น 1.7 ดอลลาร์สหรัฐตอ่ วัน) ภายในปี 2573

เปา้ หมายย่อย (Target)

กล่าวโดยสรปุ คือ Goal จะช่วยให้เราเหน็ ภาพกว้างกว่า Target จะทาํ ให้เราตอ้ งทาํ อะไรบ้างจึงจะบรรลุ

เป้าหมาย สว่ น Indicator ใช้วัดวา่ ส่งิ ท่เี ราทาํ นั้นไดผ้ ลดมี ากน้อยเพยี งใด ซึ่งในการลงมอื ทําเราจะใหค้ วามสําคัญ
กบั ‘เป้าหมายยอ่ ย – Target’ เปน็ หลกั

SDG Guidebook for Youth 22

รู้จกั Keyword ทเ่ี กย่ี วข้องกบั SDG 17 เป้ าหมาย!

ในแต่ละเป้าหมาย SDGs จะมีประเด็นย่อยระบุรายละเอียดที่เกี่ยวข้องจำ�นวนมาก เพื่อให้สะดวกต่อ
การทำ�ความเขา้ ใจและนำ�ไปใช้ในระดบั พื้นฐาน เราได้รวบรวมคำ�สำ�คญั (Keywords) ท่ีเป็นตัวแทนของเป้าหมายยอ่ ย
(Target) และมกั พบบอ่ ยในระดบั ลงมือทำ� ดงั ตาราง

5Ps เป้าหมาย SDGs (Goals) ค�ำ สำ�คัญ (keywords)
People
People 1: ขจดั ความยากจน ความยากจน ความเปราะบาง ภัยพิบตั ิ (ทมี่ ีผลกระทบตอ่
People No poverty กล่มุ เปราะบาง) การเปน็ เจา้ ของทีด่ นิ
People
2: ขจดั ความหวิ โหย ความมนั่ คงทางอาหาร อาหารปลอดภยั โภชนาการ
People Zero hunger สารอาหาร ตลาดเกษตร ความหลากหลายของพืชเกษตร
Planet เกษตรกรรมยัง่ ยนื นมแม่
Prosperity
Prosperity 3: มสี ขุ ภาพและความเปน็ อยทู่ ีด่ ี โรคติดต่อ โรคไม่ติดตอ่ ประกันสุขภาพ บริการสาธารณสุข
Prosperity Good health and well-being การเข้าถึงยา สารเคมี แพทย์ บุคลากรการแพทย์ พยาบาล
อุบัติเหต-ุ ถนน มลพษิ แอลกอฮอล-์ เหลา้ วัคซนี

4: การศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพ ทนุ การศึกษา ความเหลอ่ื มลา้ํ ทางการศึกษา การจ้างงาน
Quality Education อ่านออกเขยี นได้ คณติ ศาสตร์ ครู อาจารย์ เพศศึกษา
เพศภาวะ การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ การศกึ ษาทางเลอื ก
การศกึ ษาท้องถิน่ การศกึ ษาศิลปะ วัฒนธรรม

5: ความเท่าเทยี มทางเพศ ความรุนแรงในครอบครวั ผูห้ ญิง แรงงานผหู้ ญิง,
Gender Equality เด็กผูห้ ญิง คา้ มนษุ ย์ สทิ ธสิ ตรี ผมู้ คี วามหลากหลายทาง
เพศ LGBTQI การขม่ ขนื

6: นํา้ สะอาดและสุขอนามัย น้าํ ดม่ื น้ําสะอาด คุณภาพนา้ํ การบำ�บดั นาํ้ เสยี
Clean water and sanitation ขาดแคลนนํ้า การจดั การนํ้า แหล่งนํา้ จืด สุขาภิบาล
หอ้ งนํ้าสะอาด

7: พลงั งานสะอาดทีท่ กุ คนเข้าถงึ ได้ พลังงานทดแทน พลงั งานสะอาด ราคาถูกพลังงานแสง
Affordable and clean energy อาทติ ย์ พลังงานลม พลงั งานชีวมวล พลงั งานจากขยะ

พลงั งานไฟฟ้า

8: การจา้ งงานทมี่ ีคณุ ค่าและ การจ้างงาน แรงงาน SMEs วสิ าหกจิ ชุมชน การทอ่ งเท่ียว
การเติบโตทางเศรษฐกจิ Decent ย่งั ยนื การคา้ ระหว่างประเทศ กฎหมายการค้า
work and economic growth นโยบายการคลัง

9: โครงสร้างพนื้ ฐาน นวัตกรรม และ พฒั นาอุตสาหกรรม โครงสร้างพน้ื ฐาน
อตุ สาหกรรม Industry, วิจัยทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เทคโนโลยีการสื่อสาร
innovation and infrastructure นวตั กรรม บริการทางการเงิน มลู คา่ เพ่ิม

SDG Guidebook for Youth 23

5Ps เป้าหมาย SDGs (Goals) ค�ำ ส�ำ คัญ (keywords)
Prosperity 10: ลดความเหลอ่ื มลา้ํ ความไม่เสมอภาค การกระจายรายได้ การเลอื กปฏบิ ตั ิ
Reduced inequalities ความเหลอ่ื มลํา้ ความยตุ ธิ รรม แรงงานทาส ผู้อพยพ
Prosperity โอกาสทเี่ ท่าเทยี ม คา่ จ้าง ค้มุ ครองสังคม
11: เมืองและชุมชนท่ียัง่ ยืน บรกิ ารพน้ื ฐาน ทพี่ ักอาศยั ระบบคมนาคม ขนส่งสาธารณะ
Planet Sustainable cities ถนนปลอดภัย มรดกทางวฒั นธรรม ภัยพิบตั ิ คุณภาพ
and communities อากาศ พน้ื ทีส่ เี ขยี ว พนื้ ที่สาธารณะ
Planet 12: การผลติ และบรโิ ภคท่ีย่ังยนื สารเคมี การจัดการของเสีย การจดั การขยะ ขยะอาหาร
Responsible consumption รายงานเพื่อความยง่ั ยืน จัดซ้อื จัดจา้ ง ผลกระทบ
Planet and production การทอ่ งเท่ยี ว
Planet 13: การรบั มือกับการเปลี่ยนแปลง โลกร้อน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ก๊าซเรอื น
สภาพภูมิอากาศ กระจก การปรบั ตัว
Peace Climate action
14: ทรัพยากรทางทะเล มหาสมทุ ร ทะเล ชายฝ่งั ประมง ความหลากหลายทาง
Life below water ชวี ภาพในทะเล
15: ระบบนเิ วศบนบก ปา่ ไม้ ระบบนเิ วศ ความหลากหลายทางชีวภาพ สัตวป์ า่
Life on Land ภเู ขา ชนดิ พนั ธุ์ตา่ งถน่ิ ท่ีรุกราน แหลง่ นา้ํ จดื เชน่ แมน่ ํ้า
ลำ�ธารเขอื่ น
16: ความสงบสุข ยุตธิ รรม ความยตุ ิธรรม ความรุนแรง อาชญากรรม กฎหมาย สทิ ธิ
และสถาบนั เข้มแขง็ เสรีภาพ การกอ่ การร้าย ขอ้ มูลรัฐ ทุจริต คอรร์ ัปชนั
Peace, Justice and strong
institutions

Partnership 17: ความร่วมมือเพือ่ การพฒั นา ความรว่ มมือโลก การเกบ็ ภาษี ภาครัฐ ความร่วมมอื
ทีย่ ง่ั ยนื ระหวา่ งประเทศ การค้าระหว่างประเทศ นวัตกรรม
Partnership for the goals ระหว่างประเทศ การเงินระหว่างประเทศ การค้าพหภุ าคี
ระบบข้อมูล

ชื่อเป้าหมายแบบยอ่ อ้างอิงจากสำ�นักงานสภาพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ (สศช.)

คำ�สำ�คัญ (Keywords) ในตารางได้มาจากการคัดเลือกเฉพาะคำ�ที่เป็นตัวแทนของ
เป้าหมายย่อย (Target) และมักพบบ่อยเพื่อง่ายต่อการนำ�ไปใช้ในระดับพื้นฐานเท่านั้น
หากต้องการศึกษาอย่างละเอียด สามารถเข้าถึงชื่อเป้าหมายฉบับเต็มได้โดยแสกน QR Code
หรือคลกิ ทน่ี ี่https://bit.ly/3DLI2bj

https://bit.ly/3DLI2bj
https://bit.ly/3DLI2bj

SDG Guidebook for Youth 24

2.4 นกั พัฒนาสายไหนก็ใชป้ ระโยชนจ์ าก SDGs ได้

คุณเป็นนักพัฒนาสายไหน? คนทำ�กิจกรรมพัฒนาสังคมมีหลายแบบขึ้นอยู่กับความถนัดและสนใจส่วนตัว
บางคนเป็นนักวางแผน นักประสานงาน นักสื่อสารบอกเล่าเรื่องราวที่ทำ� แต่ไม่ว่าจะเป็นคนแบบไหน ก็สามารถนำ�
SDGs ไปกบั งานเพราะมันจะชว่ ยเราได้ ดังน ี้

ช่วยใหเ้ รารู้จักงานของตวั เอง ช่วยใหง้ านของเราเป็ นท่รี จู้ กั ช่วยพาเราไปรจู้ กั กบั คนท่ที ำ�งาน
รอบด้านข้นึ อดุ ชอ่ งว่าง ในวงกวา้ ง หรอื สนใจเร่อื งเดยี วกัน
ท่เี คยมองข้ามไป
เม่อื ทุกคนตา่ งรูจ้ กั และใช้ SDGs SDGs ชว่ ยจดั กลมุ่ ให้ทราบวา่ มใี คร
เพราะ SDGs เป็ นเป้ าหมายท่คี รอบคลุม ท่ีทำ�กจิ กรรมคลา้ ยคลงึ กบั เราบา้ ง
เสมือนวา่ พูดภาษาเดียวกัน ท้งั ยังเปิ ดพ้ืนท่ใี ห้เกดิ การรวมกลมุ่
แทบทุกประเด็นสังคม จงึ ช่วยเป็ นกรอบ ทำ�ให้ส่ือสาร นำ�เสนองานของเรา มโี อกาสพูดคุย แลกเปล่ยี นแนวคิดมากข้นึ
แนวคดิ ใหเ้ รามองเห็นความเช่อื มโยง ได้ง่ายข้นึ และอาจกลายเป็ นต้นแบบ

ในงานของเราตอ่ ประเด็นต่าง ๆ กวา้ งข้นึ หรอื ไอเดียใหค้ นอ่นื อีกดว้ ย

ช่วยให้เรามีเคร่อื งมอื ใหมว่ ดั ผล ชว่ ยให้เราเขา้ ถึงทรพั ยากร ใช้ส่งเสียงเตือนม่อื พบว่าการ
ในส่ิงท่เี ราทำ� มาทำ�งานมากข้นึ กระทำ�ท่ขี ัดแยง้ กับความย่งั ยืน

SDGs ระบุรายละเอยี ดท่ตี อ้ งทำ� ปั จจบุ นั ภาครฐั ธรุ กิจ แหลง่ ทนุ มนี โยบาย เพราะ SDGs เป็ นเร่ืองท่ผี ู้นำ�ประเทศ
พร้อมทง้ั ออกแบบตัวช้วี ดั แตล่ ะประเด็น ใหท้ ุนกบั ผทู้ ่ที ำ�งานส่งเสริม การพัฒนา
อยา่ งละเอยี ด ซ่งึ เราสามารถนำ�ตัวชว้ี ัด ใหส้ ัญญาเอาไวใ้ นระดบั โลก
เหล่านน้ั มาประยุกต์เป็ นเคร่อื งมือวัดผล ท่ยี ่ังยนื SDGs จึงเป็ นตวั ช่วยใหเ้ รา
เราจึงสามารถอา้ งองิ SDGs มาเสริมพลงั
ใหม่ของเราได้ สามารถเขา้ ถงึ การสนับสนุนความรู้ การส่ือสาร เพ่ือส่งเสียงเตือนผ้นู ำ�
คนท่มี คี วามเช่ยี วชาญในส่ิงท่เี รา
หรอื ผู้ท่มี บี ทบาทตดั สินใจในเร่อื งสำ�คญั
ต้องการ รวมถงึ เงนิ ทุนสำ�หรับ รับรู้วา่ ส่ิงท่ที ำ�ขดั แย้งกบั ความย่งั ยืน
เพ่ือหยุดย้งั ไมใ่ หส้ ่ิงเหลา่ นน้ั เกดิ
ทำ�กิจกรรมได้
จนสร้างความเสียหายได้

ดูการใช้ประโยชน์จาก SDGs และคำ�แนะนำ�วิธีลงมือทำ�ที่สอดคล้องกับ SDGs ในรูปแบบ
https://www.youtube.com/watch?v=96IznvYmeRI

วิดีโอโมชันกราฟิกโดยแสกนคิวอาร์โค้ดหรือคลิกที่นี่https://www.youtube.com/watch?v=96IznvYmeRI
https://www.youtube.com/watch?v=96IznvYmeRI
https://www.youtube.com/watch?v=96IznvYmeRI

SDG Guidebook for Youth 25

2.5 จะนำ� SDGs ไปใชต้ ้องนึกถึง 4 หลักการน้ี

คณุ คิดว่าแคท่ �ำ ตาม SDG 17 เป้ าหมายเพียงพอให้เกิดการพัฒนาที่ยง่ั ยนื หรอื เปล่า ?

ในอดีตมีโครงการและกิจกรรมมากมายที่ทำ�ตามประเด็นที่ SDGs ระบุ แต่มันกลับไม่ได้ผลดีอย่างที่คิด
แถมบางครั้งยังส่งผลเสียหรือก่อให้เกิดปัญหาใหม่ขึ้นมาอีก ยกตัวอย่างเช่น โครงการการปลูกต้นไม้นอกรั้วบ้าน
เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชนสอดคล้องกับเป้าหมาย SDGs แต่ปลูกได้ไม่นานต้องล้มเลิก เพราะต้นไม้ทำ�ให้ถนน
ในชุมชนแคบลงสญั จรลำ�บาก คนในชุมชนบางคนไม่อยากได้เพราะเกรงว่ารากของมนั จะทำ�ให้รว้ั บา้ นของเขาเสยี หาย

ที่เป็นเช่นนี้เพราะในความเป็นจริงสภาพปัญหาสังคมมีความซับซ้อนและเกี่ยวพันกัน การมุ่งแก้ปัญหาหนึ่ง
อาจส่งผลเสียต่ออีกปัญหาหรือก่อให้เกิดปัญหาใหม่ขึ้นได้ จึงจำ�เป็นต้องมีการวางแผนแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
การนำ� SDGs ไปใช้ใหเ้ หน็ ผลจรงิ จำ�เป็นต้องคำ�นงึ ถึงหลกั การพ้นื ฐาน 4 หลกั การตอ่ ไปน้ี

ครอบคลุม 1. Inclusive – การพฒั นาต้องครอบคลมุ
คอื การพฒั นาทค่ี ำ�นงึ ถงึ ผลกระทบทจ่ี ะเกดิ ตอ่ คนทกุ กลมุ่

โดยเฉพาะคนตัวเล็กตัวน้อย คนชายขอบกลุ่มเปราะบาง
ที่พวกเขาอาจไม่สามารถปรับตัวหรือเข้าถึงทรัพยากรได้
ยากกวา่ คนทว่ั ไปหรอื ทเ่ี รามกั ไดย้ นิ วลที ว่ี า่ “ไมท่ ง้ิ ใคร
ไว้ข้างหลัง (Leave no one behind)”

4 ห ลักการ 2. Indivisible - ตอ้ งมองปญั หา
พ้ื นฐา น
เปล่ยี นแปลง ของ SDG S แ บมบอไงมปแ่ ั บญ ง่ หแายก แบบไม่แบ่งแยก ดังกล่าวข้างต้นว่า
แบบพลกิ โฉม ปัญหาที่เราเผชิญมีความซับซ้อนและ

เกยี่ วพนั กับปญั หาอ่นื อย่างหลกี เล่ยี งไม่ได ้

บางครง้ั การแกป้ ญั หาหนง่ึ สำ�เรจ็ อาจสรา้ งปญั หาใหม ่

เป็ น ส า ก ล หรอื ทำ�ใหป้ ญั หาอน่ื หนกั ขน้ึ ดงั นน้ั วธิ คี ดิ วางแผน ตอ้ งมองภาพรวม

ไมม่ องปญั หาขาดจากกนั จะชว่ ยให้เราร้วู ่า สงิ่ ท่ีเราทำ�จะชว่ ยแก้

จุดไหนและมีอะไรต้องระวังบ้างวิธีคิดแบบนี้จะช่วยให้เห็นว่างาน

ของทุกคนมันเกี่ยวข้องกัน ลดการแบ่งแยกงานช่วยให้ หน่วยงาน

หรอื ภาคสว่ นตา่ ง ๆ ทำ�งานร่วมกันได้มากขึน้

3. Universal เป็นสากล
เปน็ การพฒั นาทค่ี ำ�นงึ ถงึ หลกั การ หรอื แนวทางพน้ื ฐานทโ่ี ลกยอมรบั เชน่ หลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน สทิ ธขิ น้ั พน้ื ฐาน
การยอมรับว่าทุกคนเทา่ เทยี มกนั การไมเ่ หยยี ดเชอ้ื ชาติ ผวิ สี เปน็ ตน้ และ SDGs เปน็ เปา้ หมายทท่ี กุ ประเทศนำ�ไป
ปฏบิ ตั มิ ใิ ชเ่ พยี งเปา้ หมายของประเทศกำ�ลงั พฒั นาเทา่ นน้ั

SDG Guidebook for Youth 26

4. Transformative การเปลีย่ นแปลงในระดับฐานราก
การทำ�ตามแนวทางเดมิ ไมส่ ามารถแกป้ ญั หาใหมไ่ ดอ้ ยา่ งแนน่ อน SDGs จงึ แนะนำ�วา่ ตอ้ งทำ�ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง
ด้วยการมองลึกลงไปถึงรากฐานของปัญหา ซึ่งอาจเป็นปัญหาเชิงระบบโครงสร้างทางสังคม ค่านิยม ธรรมเนียม
พฤติกรรมของชุมชนที่สั่งสมมาเป็นเวลานานเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง นำ�มาสู่แก้ปัญหาอย่างตรงจุด ไม่เกิดปัญหาซํ้าซาก
โดยการจะเกิดการเปล่ยี นแปลงในระดับฐานรากได้นน้ั SDGs ได้แนะนำ�วา่ เราสามารถนำ� 2 ส่ิงน้มี าเป็นตวั ช่วยทดี่ ไี ด้ คือ

เน้นใหค้ วามสำ�คญั กบั ทอ้ งถ่นิ นำ�เทคโนโลยมี าใชช้ ว่ ยขบั เคล่อื น

(Locally-focused) (Technology-driven)

เนน้ ให้ทอ้ งถิน่ ชมุ ชน โรงเรยี น การนำ�เทคโนโลยเี ข้ามาใชช้ ว่ ยให้เรอื่ งยุง่ ยาก
รวมถงึ กลุม่ คนตวั เลก็ ตวั น้อยที่มกั เปน็ ซับซ้อน หรอื เคยทำ�ไดล้ า่ ชา้ กลายเปน็
ผไู้ ด้รับผลกระทบเข้ามามสี ว่ นรว่ มสะท้อน
ปญั หา บอกความต้องการ และออกแบบวิธกี าร เรื่องงา่ ยขนึ้ และไม่จำ�เป็นตอ้ งใช้เทคโนโลยี
พัฒนาทีส่ อดคล้องกับบรบิ ทของพ้นื ทต่ี นเอง ท่ลี าํ้ หนา้ หรือมรี าคาแพงมากกไ็ ด้ แตค่ วร
สอดคล้องกบั วัตถุประสงคก์ ารใชง้ าน เชน่

แลว้ คุณละ่ ? เทคโนโลยีทเ่ี ปลย่ี นชีวิตคุณ หันมาจดั เก็บขอ้ มูลของชมุ ชนหรอื
จากเดิมคอื ะไร คุณใชม้ นั ท�ำ อะไรบา้ ง ? พ้ืนท่ีโครงการบนคลาวดเ์ พ่ือให้ทุกคน
เขา้ ถงึ ง่าย รวดเรว็ ปอ้ งกันการสญู หาย

น�ำ แอพพลเิ คชนั่ มาชว่ ยใหท้ กุ คนแสดง
ความเห็นไดโ้ ดยไม่ต้องเปิดเผยตวั ตน
สร้างความร้สู ึกปลอดภยั

ใช้อากาศยานไรค้ นขับ (โดรน)
ถ่ายภาพทางอากาศ
หรือสำ�รวจพนื้ ท่ีโครงการ

หลักการพื้นฐานเป็นจุดสำ�คัญที่ทำ�ให้งานที่คำ�นึงถึง SDGs แตกต่างจากงานหรือกิจกรรมอื่น ๆ เพราะหลักการ
เหล่านชี้ ว่ ยช้นี ำ�ให้ผูล้ งมือปฏิบัติทราบว่าตอ้ งใหค้ วามสำ�คญั หรือคำ�นงึ ถงึ สิง่ ใด ขณะเดยี วกนั ก็เปน็ เครื่องมือชว่ ยตรวจสอบ
วา่ งานทที่ ำ�อยูน่ ั้นมจี ดุ บกพรอ่ ง หรือตอ้ งเพม่ิ เตมิ สว่ นใดอีกบ้าง

SDG Guidebook for Youth 27

2.6 จะรู้ได้อย่างไรวา่ งานท่ที ำ�อยสู่ อดคลอ้ ง
กับ SDGs จรงิ

เมื่อลงมือทำ�ไปแล้ว จะรู้ได้อย่างไรว่าโครงการของเราสอดคล้องกับแนวทางของ SDGs จริง
เรามีวิธีตรวจสอบง่าย ๆ โดยดูว่าโครงการของเราเป็นไปตาม 2 เงื่อนไข ต่อไปนี้

(1) โครงการหรอื กจิ กรรมนนั้ ต้องไมท่ ้งิ ใครไวข้ ้างหลัง (2) โครงการหรือกิจกรรมนนั้ ต้องเนน้ การพัฒนา
ท่ีไม่ทำ�ลายส่ิงแวดลอ้ มและใช้ทรัพยากรหมนุ เวียน

(1) ไม่ท้งิ ใครไวข้ า้ งหลงั (Leave no one behind)

เนื่องจากที่ผ่านมาการพัฒนาไม่ได้ส่งผลดีกับคนทุกกลุ่ม และกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบมักไม่ได้รับการช่วยเหลือ
เยียวยา SDGs จึงแนะนำ�วา่ การพัฒนาต่อจากนีต้ ้องคำ�นงึ ถึงผลประโยชน์และผลเสยี ทีจ่ ะเกิดขึน้ กับทุกคน โดยเฉพาะ
คนชายขอบ กลมุ่ เปราะบาง ซ่ึงอาจไม่สามารถปรบั ตัวหรือเขา้ ถึงทรพั ยากรไดย้ ากกวา่ คนทว่ั ไป จึงเป็นทีม่ าของคำ�ว่า
“ไม่ทง้ิ ใครไว้ข้างหลงั ” โดยโครงการ หรอื กิจกรรมของเราพิจารณาถึงกลุม่ คนที่มีสว่ นเก่ียวข้อง หรือไดร้ บั ผลกระทบ
จากโครงการ กจิ กรรม หรือนโยบายที่ถกู กำ�หนดข้นึ อย่างละเอียดท่สี ุด ชดั เจนทส่ี ุด เทา่ ทจ่ี ะเป็ นไปได้

ตวั อยา่ งทสี่ ะท้อนว่าท�ำ ไมตอ้ ง ไมท่ งิ้ ใครไวข้ า้ งหลัง?

การยกเลิกพลาสติกใช้แล้วท้ิง - แน่นอนว่าพลาสติกใช้แล้วท้ิง
เป็ นขยะท่ีต้องลดปริมาณของมันให้มากท่ีสุด และการยกเลิกก็เป็ นวิธีการ
ท่ีเด็ดขาดได้ผลแน่นอน แต่การยกเลิกทันทีโดยไม่มีข้ันตอนท่ีเป็ นระบบ
ก็ทำ�ให้คนบางกลุ่มได้รับผลกระทบอย่างหนักได้ เช่น คนงานใน โรงงาน
อาจตกงาน ผู้ประกอบการอาจปรับตัวไม่ทัน ดังน้ัน การตัดสินใจลงมือทำ�
จึงต้องรอบคอบ และเตรยี มการช่วยเหลือพวกเขาไวด้ ้วย

นี่เป็นตัวอย่างของเหตุการณ์ที่สะท้อนว่าคนทุกกลุ่มได้รับผลกระทบไม่เท่ากัน และมีความพร้อมที่จะปรับตัว
หรอื รบั มอื กบั ปญั หาเหลา่ นไ้ี มเ่ ทา่ กนั จงึ ควรไดร้ บั การชว่ ยเหลอื หรอื สนบั สนนุ ดว้ ยวธิ สี อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของแตล่ ะกลมุ่
แนวคดิ นจ้ี ะชว่ ยใหก้ ารลงมอื ทำ�โครงการ หรอื กจิ กรรมของเราเปน็ ไปอยา่ งรอบคอบ ลดผลกระทบทางลบ และลดโอกาส
เกิดปัญหาใหม่ตามมาในภายหลงั เพราะได้วางแผนอยา่ งครอบคลมุ ทกุ ด้านแล้ว

SDG Guidebook for Youth 28

ใครบ้างทเ่ี ราต้องคำ�นงึ ถงึ

เราจำ�ตอ้ งรู้วา่ เรากำ�ลงั ทำ�งานกบั ใคร หรือควรนึกถงึ ใครบา้ ง มิฉะนนั้ แลว้ หากเราบอกวา่ ทกุ คนสำ�คญั และไมไ่ ด้
กำ�หนดกลุ่มเป้าหมายหรือวางแผนไว้เลย เราจะไม่ทราบคนที่ได้รับผลกระทบ หรือมองเห็นคนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ในประเด็นที่เราทำ� ท้ายที่สุดจะกลายเป็นว่า “เราไม่ได้ให้ความสำ�คัญกับใครเลย” เพื่อให้การโฟกัสและคำ�นึงถึง
คนทุกกลมุ่ เกดิ ได้งา่ ยขน้ึ สหประชาชาติ (UN) ได้เสนอกลมุ่ คนทเี่ ราควรนกึ ถงึ เม่อื ทำ�งาน SDGs เรียกว่า “ผมู้ สี ่วนไดเ้ สีย
(Stakeholder)” แบง่ ออกเป็น 9 กลุ่ม ไดแ้ ก่

เดก็ และเยาวชน ผ้หู ญิง NGO

ผนู้ ำ�ชุมชน ภาคประชาสังคม/NGOs

เกษตรกร ชนพ้ืนเมอื ง

นักวทิ ยาศาสตร์ นกั ธุรกจิ
ผู้เช่ยี วชาญเทคโนโลยี

แรงงานในภาคธุรกิจ

เราสามารถจำ�แนกคนเหลา่ นไ้ี ดเ้ ป็น 2 กลมุ่ คอื

กลุ่มท่มี กั ได้รบั ผลกระทบ (สีน้ําเงนิ ) หรือมักเป็นกลมุ่ เป้าหมายท่เี ราต้องดูแล ช่วยเหลือ เมอ่ื ทำ�งานกบั คนกลมุ่ นี้
เรามกั จะตอ้ งตง้ั คำ�ถามวา่ “เราสามารถชว่ ยอะไรพวกเขาไดบ้ า้ ง” คนกลมุ่ นไ้ี ดแ้ ก่ เดก็ และเยาวชน เกษตรกร ชนพน้ื เมอื ง
ผูห้ ญงิ แรงงานในภาคธุรกจิ

กลมุ่ ผมู้ สี ่วนไดเ้ สียทเ่ี ป็ นกลมุ่ องคก์ ร (สีแดง) คนกลมุ่ นม้ี กั มอี ทิ ธพิ ลหรอื ชว่ ยผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ได้
เมื่อทำ�งานกับคนกลุ่มนี้เราจะดูว่า “พวกเขาสามารถช่วยอะไรได้บ้าง” คนกลุ่มนี้ได้แก่ ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม
เจา้ หนา้ ทช่ี มุ ชน/ทอ้ งถิน่ ภาคประชาสังคม/ NGOs นักวทิ ยาศาสตร์ ผูเ้ ชีย่ วชาญเทคโนโลยี

SDG Guidebook for Youth 29

ประเด็นสังคมท่คี ณุ สนใจเป็ นพิเศษคือ..? พวกเขาเป็ นใครบา้ ง ?





ใครมักไดร้ ับผลกระทบ (สีน้าํ เงนิ ) ใครท่มี ีส่วนเก่ยี วข้อง
หรอื อาจช่วยเราแกไ้ ขมันได้ (สีแดง)

เราชว่ ยอะไรได้บา้ ง พวกเขาสามารถชว่ ยอะไรไดบ้ ้าง

SDG Guidebook for Youth 30

(2) การพัฒนาที่ไมท่ ำ�ลายส่ิงแวดลอ้ มและใชท้ รพั ยากรหมุนเวียน

นอกจากการคำ�นงึ ถงึ คนทกุ กลมุ่ แลว้ SDGs ยงั ตอ้ งการใหก้ ารพฒั นาตอ่ จากนไ้ี มท่ ำ�ลายสง่ิ แวดลอ้ ม เพราะทผ่ี า่ นมา
การพฒั นามกั เนน้ ใหเ้ ศรษฐกจิ เตบิ โตเปน็ หลกั แลว้ คอ่ ยเยยี วยาสง่ิ แวดลอ้ ม ซง่ึ ไมเ่ พยี งพอทจ่ี ะชดเชยธรรมชาตทิ เ่ี สอ่ื มโทรมลง
อย่างมาก ดังนั้น งานที่สอดคล้องกับ SDGs จึงต้องคิดเรื่องการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการเติบโตด้านอื่น ๆ
ซึ่งวิธีที่จะทำ�ให้แนวคิดนี้เป็นจริงได้ ทุกคนต้องเปลี่ยนการผลิต และใช้ทรัพยากรแบบเส้นตรง หันมาสนับสนุน
การใช้ทรัพยากรหมุนเวียน

ตอ้ งใช้วัตถดุ ิบใหม่ ถ้าทำ�แบบน้ตี ่อไป ทรพั ยากรอาจไมเ่ พียงพอกบั ทกุ คน กลายเป็ นขยะ
เร่อื ย ๆ ตอ้ งกำ�จัด
ทำ� ใช้ ท้งิ
ทำ�ลาย ใชไ้ ม่คมุ้ คา่
ทรัพยากรธรรมชาติ

ใช้ทรพั ยากรแบบเส้นตรง Vs ใช้ทรัพยากรหมนุ เวียน

ออกแบบผลติ ภณั ฑ์ให้ทนทาน ทำ� ออกแบบให้เอ้อื ต่อการแยกชน้ิ ส่วน
มีอายกุ ารใชง้ านยาวนานขน้ึ เพ่ือรไี ซเคลิ หรือใช้ซ้าํ

ใชว้ ัตถดุ ิบท่ไี ดจ้ าก คัดแยก
การรีไซเคิลและใชซ้ ้าํ ทิ้งใหถ้ ูกวธิ ี

น�ำ กลับมา ใชข้ องท่ที ำ�จาก วัสดยุ ่อยสลายได้
ท�ำ ใหม่ นำ�กลับไปแปรรปู ได้

ใช้

ใช้วตั ดุ บิ คุม้ คา่ ไดป้ ระโยชนส์ ูงสุด ลดการทำ�ลายทรพั ยากรใหมจ่ ากแหล่งธรรมชาติ

SDG Guidebook for Youth 31

คนธรรมดากม็ สี ่วนทำ�ให้แนวคดิ ทรพั ยากรหมนุ เวยี นเป็ นจริงได้

จากแผนภาพ แมด้ เู หมอื นวา่ ผผู้ ลติ โรงงานอตุ สาหกรรม และหนว่ ยงานรฐั จะมบี ทบาทหลกั ตอ่ การทำ�ใหแ้ นวคิด
การใช้ทรัพยากรหมุนเวียนเกิดขึ้นจริง แต่แท้จริงแล้วการเปลี่ยนพฤติกรรมของคนธรรมดาแบบเราทุกคนก็มีบทบาท
ถงึ ขนาดท่ีสามารถเปลีย่ นใจผู้ผลติ ผลักดนั ให้ภาครฐั ต้องมนี โยบายมาสนบั สนนุ เลยทเี ดยี ว ลองทำ�ความเข้าใจไปพร้อมกัน
ดว้ ยแผนภาพนี้

เปล่ยี นแปลงสู่การใช้ทรพั ยากร
หมุนเวียนทง้ั ระบบ

ภาครฐั มีมาตรการ กฎ รัฐกำ�หนดนโยบาย/ เปิ ดทางให้ภาครฐั ผลกั ดนั
ควบคุมชดั เจนขน้ึ กฎระเบียบ นโยบายง่ายขน้ึ

ภาคธุรกิจจำ�เป็ น แหล่งทุน/ธนาคารออกผลติ ภนั ฑ์ นักลงทนุ เห็นโอกาสใหม่
ตอ้ งทำ�ตาม การเงินสนบั สนุน
ทำ�ใหท้ กุ ภาคธุรกิจปรบั ตวั
ผู้บรโิ ภคท่เี หลือคอ่ ย ๆ ภาคธุรกิจ ผู้ผลติ เปล่ยี นรปู แบบ
เปล่ยี นพฤติกรรม การผลิตสินคา้ สัญญาณจากผ้บู ริโภค

ผู้บริโภคเปล่ยี นพฤตกิ รรม
ในจำ�นวนมาก ในช่วงเวลาใกล้เคียงกนั

จะเหน็ วา่ การเปล่ยี นแปลงทง้ั หมดน้เี กดิ ขนึ้ เพราะ ‘การสง่ สญั ญาณจากผบู้ ริโภค’ หรือคนธรรมดาแบบพวกเรา
ทกุ คนท่ีมพี ฤติกรรมการเลอื กซอ้ื ของท่ตี า่ งจากเดิมจนนำ�มาสกู่ ารปรับตวั ของผผู้ ลิต และเปน็ การส่งเสรมิ ใหภ้ าครฐั สามารถ
กำ�หนดนโยบาย หรอื ออกกฎหมายทีเ่ คยผลกั ดนั ยากใหง้ ่ายขน้ึ

เพียงแต่การเปลี่ยนแปลงสู่การใช้ทรัพยากรหมุนเวียนเท่านั้น การเปลี่ยนแปลงประเด็นอื่น ๆ ในสังคมก็อาศัย
แรงสนับสนุนจากคนธรรมดาบน 2 เงื่อนไข คือ ต้องเปลี่ยนแปลงในจำ�นวนมาก และต้องทำ�พร้อมกันหรือในช่วงเวลา
ใกล้เคยี งกนั จงึ จะสามารถส่งสญั ญาณทมี่ ีแรงกระตนุ้ ชัดเจน

SDG Guidebook for Youth 32

2.7 จำ� SDG 17 เป้ าหมาย ให้งา่ ยข้นึ ดว้ ย 5 Ps

การที่ SDG มีเปา้ หมายมากถึง 17 เปา้ หมาย และมปี ระเดน็ ทก่ี ระจดั กระจายครอบคลมุ แทบทกุ เรอ่ื งเปน็ ความทา้ ทาย
สำ�หรับการทำ�ความเข้าใจ และสื่อสาร ดังนั้นเพื่อให้ผู้เริ่มทำ�ความรู้จักเข้าใจว่า SDGs นั้นเกี่ยวข้องกับเรื่องใดบ้าง
และสื่อสารได้กระชับง่ายขึ้นสหประชาชาติจึงลองเอา SDGs มาจัดกลุ่มที่มีความใกล้เคียงกันจะแบ่งได้เป็น 5 กลุ่ม
หรือเรยี กงา่ ย ๆ ว่า 5Ps ได้แก่

People เป้ าหมายในกลุ่มน้อี ยากใหเ้ ราทุกคนมีคณุ ภาพชีวิตท่ดี ี กล่าวคือ ทุกคนตอ้ งมรี ายได้
คนและสังคม มีอาหารทด่ี ี สุขภาพดี เขา้ ถงึ การศึกษาที่ดี และทุกเพศได้รับการปฏิบัตอิ ย่างเทา่ เทียมกัน

Prosperity เป้ าหมายนอ้ี ยากเห็นทกุ คนมงี านทม่ี ่นั คง สามารถเขา้ ถึงพลงั งานสะอาด อนิ เตอรเ์ น็ต
ความมง่ั คง่ั รถสาธารณะท่ดี ี ในราคาไม่แพง ไมถ่ กู เอาเปรยี บ เลือกปฏิบัติ

Planet การจะมีชีวิตท่ดี ไี ด้ทกุ คนตอ้ งอยูใ่ นส่ิงแวดล้อมท่ดี ีอากาศบริสุทธิ์ มีน้าํ สะอาดใช้ด่มื กิน
ส่ิงแวดล้อม ทุกคนใช้ทรพั ยากรอยา่ งคมุ้ คา่ ไมเ่ หลือท้งิ ดแู ลรกั ษาทะเล ป่ าไม้ สัตว์

Peace สนั ตภิ าพ Partnership
เป้ าหมายนอ้ี ยากใหเ้ ราอยใู่ น หนุ้ สว่ นความรว่ มมอื
สงั คมทส่ี งบสขุ ยตุ ธิ รรม เป้ าหมายนอ้ี ยากใหท้ กุ ประเทศรว่ มกนั
แกไ้ ขปั ญหา ระดบั โลกไปดว้ ยกนั
ทกุ คนเคารพ ใหเ้ กยี รตกิ นั

SDG Guidebook for Youth 33

2.8 งานท่เี ราทำ�เก่ยี วข้องกบั SDGs อย่างไร

เราพาทกุ คนไปทำ�ความรจู้ กั เรอ่ื งพน้ื ฐานเกย่ี วกบั SDGs แลว้ ตอ่ ไปเราจะเรม่ิ นำ� SDGs มาใชก้ บั ทำ�งานหรอื วเิ คราะห์
ประเด็นที่สนใจ ซึ่งสามารถทำ�ได้ในหลายรูปแบบ เช่น ใช้ SDGs เป็นกรอบในการเลือกประเด็น ที่ต้องการลงมือทำ�
กำ�หนดกลุ่มเป้าหมาย ตรวจสอบกลุ่มคนที่ต้องเข้ามามีส่วนร่วมกับงานของเรา หรือจะนำ�มาประเมินผลก็ได้เช่นกัน
แตท่ ุกสว่ นล้วนมจี ุดเร่มิ ตน้ เดยี วกันคอื หาความเช่ือมโยงว่า “ประเดน็ ที่เราสนใจเกยี่ วขอ้ งกบั SDGs อยา่ งไร” เราสามารถ
เชือ่ มโยง SDGs กบั ประเดน็ ท่ีสนใจง่าย ๆ ใน 4 ข้นั ตอน ดงั น้ี

1 เลือกประเด็นทต่ี อ้ งการเช่ือมโยงโดยอาจเป็น ปัญหา หรือสถานการณก์ ็ได้
ขอบเขตของประเดน็ มีผลต่อผลลพัธ์ที่ได้จากการเชื่อมโยง ดังนนั้ หากต้องการทราบ

เลือกประเดน็ ภาพรวม ใหก้ ำ�หนดประเดน็ ขนาดใหญ่ แตห่ ากตอ้ งการทราบรายละเอยี ดชดั เจนขน้ึ
ใหก้ ำ�หนดประเดน็ ทเ่ี ฉพาะเจาะจง

2 ถามตนเองวา่ จะเกิดอะไรขึน้ ถา้ หากปัญหา หรือสถานการณท์ ี่เราเลอื กเกดิ ขึน้
ตอบคำ�ถามนโ้ี ดยอาจเริม่ จากส่ิงท่ีนึกถงึ หรือคดิ วา่ จะเกิดขึ้นเปน็ ลำ�ดบั แรก ๆ
จะเกิดอะไรข้นึ โดยยังไม่จำ�เปน็ ต้องระบเุ ป้าหมาย SDGs
ถา้ ...

3 ใส่เครื่องหมายว่าส่งิ ท่ีเกดิ ขน้ึ นน้ั มีความเกยี่ วข้องกบั ประเด็นในเชงิ บวกหรอื ลบ

+/-

4 ระบวุ า่ ประเดน็ ทเ่ี ราเขยี นเอาไวน้ น้ั เกย่ี วขอ้ งกบั SDGs เปา้ หมายใด โดยเปดิ ดคู ำ�สำ�คญั
(Keyword) ในบทที่ 2 หรอื แสกน QR Code ขา้ งลา่ งนีเ้ พื่อเชื่อมโยงจากคำ�สำ�คญั
ระบุ SDGs ในเปา้ หมายย่อย (Target)
ไม่จำ�เป็นตอ้ งเชอ่ื มโยงใหค้ รบ 17 เปา้ หมาย และใน SDG เปา้ หมายเดียวกนั อาจมี
ทัง้ ผลทีเ่ ป็นบวกและลบกไ็ ด

เข้าถงึ ช่อื เป้าหมายย่อย (Target) ทดลองเชือ่ มโยง SDGs กบั ปัญหาหรอื ประเด็นทางทีเ่ ราสนใจ
โดยแสกน QR Code หรือคลิกท่นี ี่https://bit.ly/3DLI2bj
ในรปู แบบวดิ ิโอโมชันกราฟิกโดยแสกนควิ อาร์โคด้
https://bit.ly/3DLI2bj หรอื คลิกที่น่ีhttps://youtu.be/AHXmiISLgY0
https://bit.ly/3DLI2bj
https://bit.ly/3DLI2bj https://youtu.be/AHXmiISLgY0
https://youtu.be/AHXmiISLgY0

SDG Guidebook for Youth 34

2.9 SDGs กับประเด็นท่คี ณุ อาจสนใจ

มาทำ�ความเข้าใจว่า SDGs เกยี่ วข้องกบั ประเดน็ ทีเ่ ราสนใจอย่างไรผ่าน 5 ตวั อย่างต่อไปน้ี

ตวั อยา่ งท่ี 1: ขยะพลาสตกิ
เริ่มต้นด้วยประเด็นที่อยู่ในการรับรู้ของสังคมและเป็นปัญหาที่เยาวชนมักเลือกทำ�โครงการเพื่อแก้ปัญหานี้

บ่อยคร้งั น่ันคือ “ขยะพลาสตกิ ” ในตัวอยา่ งนี้ เราจะทดลองเช่ือมโยง SDGs ท่เี กีย่ วกับปญั หา ‘ขยะพลาสตกิ ล้นโลก’ ดงั น้ี

1 STEP ท่ี 1 เลือกประเดน็ ทตี่ อ้ งการเช่อื มโยง – อาจเป็นปัญหา หรือสถานการณ์ทเี่ กดิ ขึ้นกไ็ ด้

เลือกประเด็น เนื่องจากขอบเขตของประเด็นมีผลต่อผลลัพธ์ที่จะได้จากการเชื่อมโยง จึงขอแนะนำ�ว่า

หากต้องการทราบภาพรวม ควรก�ำ หนดประเด็นท่มี ขี อบเขตกว้าง แต่หากตอ้ งการทราบรายละเอยี ด

ท่ีชัดเจนข้ึน ควรกำ�หนดประเด็นท่ีเฉพาะเจาะจง สำ�หรับตัวอย่างแรกเราจะเริ่มต้นจากประเด็นที่มีขอบเขตกว้างขวาง

อยา่ งปัญหา “ขยะพลาสติกล้นโลก”

2 STEP ที่ 2 ลองถามตัวเองว่า “จะเกิดอะไรขึ้น ถ้า..”– ตอบคำ�ถามนี้โดยอาจเริ่มต้นด้วยการนึกถึง
จะเกิดอะไรข้นึ สง่ิ ท่คี ิดวา่ จะเกดิ ขนึ้ อยา่ งแนน่ อนหรือนึกถงึ เป็นอย่างแรก ยกตวั อยา่ งเช่น

ถา้ ...

ปรมิ าณขยะพลาสตกิ ทต่ี อ้ งกำ�จดั เพม่ิ ขน้ึ พราะ ขยะพลาสตกิ บางประเภทนำ�กลบั มาใชใ้ หมไ่ มไ่ ด้
หนว่ ยงานท้องถน่ิ มขี ยะพลาสติกในครัวเรือนท่ีตอ้ งจดั การมากข้นึ
เกดิ แพขยะขนาดยกั ษ์ ระบบนเิ วศทางทะเลเสื่อมโทรม
พ้นื ดนิ ที่ฝังกลบขยะเส่ือมโทรมไม่สามารถเพาะปลูกได้
ขยะพลาสติกปนเปอ้ื นทำ�ให้แหลง่ นา้ํ ที่สามารถนำ�ไปผลติ สำ�หรับดื่มกนิ ใชส้ อยน้อยลง
เม่ือต้องกำ�จัดขยะมากข้นึ กเ็ กดิ มลพิษทางอากาศ เกิดการปล่อยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์
ซึง่ เป็นตัวการสำ�คญั ทีท่ ำ�ใหอ้ ณุ หภูมิโลกสงู ขึ้น
การปนเปอ้ื นทง้ั ในแหลง่ นา้ํ และบนบกทำ�ใหอ้ าหาร โดยเฉพาะสตั วนา้ํ อาจปนเปอ้ื นพลาสตกิ
ขนาดเลก็
ขยะพลาสตกิ อาจเป็นโอกาสของโรงไฟฟ้าขยะ
อาจนำ�มาสอู่ ตุ สาหกรรมทีม่ ีวัตถุดบิ ตน้ ทางจากขยะกเ็ ป็นได้
กระบวนการกำ�จดั ขยะทำ�ให้เกดิ มลพิษตอ่ รา่ งกาย เกิดการปนเปื้อนในอาหาร ทำ�ใหร้ า่ งกาย
สะสมสารพิษนำ�มาสกู่ ารเจ็บปว่ ย
ผู้รับผลกระทบรุนแรงมักเป็นคนยากจน กลุ่มเปราะบาง หรือผู้ที่ประกอบอาชีพจัดเก็บ
ทำ�ลายขยะพลาสตกิ เหลา่ นี้ ซง่ึ มคี วามเสี่ยงตอ่ การเจบ็ ป่วย และยงั เขา้ ถงึ การรักษาทีด่ ไี ด้ยาก
ขยะพลาสติกเปน็ ปัญหาส่ิงแวดล้อมระดบั โลก จึงตอ้ งอาศัยความร่วมมอื จากทกุ ประเทศ

SDG Guidebook for Youth 35

3 STEP ที่ 3 เมอ่ื เขียนประเด็นทคี่ ิดว่าเกย่ี วขอ้ งครบแล้วขอให้ ลองใส่เครอ่ื งหมาย แทนประเด็น

+ / - ท่ีคิดวา่ เป็ นผลดี และเครอ่ื งหมาย แทนประเด็นท่เี ป็ นผลเสีย

การทำ�แบบนจ้ี ะช่วยใหเ้ ราเห็นมิตเิ ชิงบวกเชิงลบที่เกิดขึน้ หากลองเขียนแล้วมเี ครอ่ื งหมาย

อนั ใดอนั หนง่ึ มากเกนิ ไป ไมต่ อ้ งตกใจ เพราะวา่ นน้ั เปน็ เรอ่ื งปกตแิ ตใ่ หล้ องสำ�รวจอกี ครง้ั วา่ มปี ระเดน็ ไหนตกหลน่ หรอื ไม่

หากนกึ ไมอ่ อกใหข้ า้ มไป STEP ที่ 4

4 STEP ที่ 4 ระบุ SDG ที่เกี่ยวข้อง - ขั้นตอนนี้อยากให้ทุกคนลองเชื่อมโยงประเด็นที่เขียนไว้กับ
ระบุ SDGs เป้าหมาย SDG โดยดทู ีค่ ำ�สำ�คัญในตารางทเี่ ราเตรยี มเอาไว้ให้ในคูม่ อื สว่ นท่ี 2 แต่หากตอ้ งการขอ้ มลู
ท่ีละเอยี ดมากขนึ้ ให้ดาวน์โหลด SDG Booklet ทีร่ วบรวมเป้าหมายย่อย หรอื Target ทงั้ หมดเอาไว้https://www.th.undp.org/content/thailand/en/home/library/other-publications/sdg-booklet.html

https://www.th.undp.org/content/thailand/en/home/library/other-publications/sdg-booklet.html

https://www.th.undp.org/content/thailand/en/home/library/other-publications/sdg-booklet.html

โดยเร่ิมสงั เกตตามขัน้ ตอนตอ่ ไปน้ี
สงั เกตวา่ ประเด็นทีเ่ ขยี นไว้นั้นเกีย่ วขอ้ งหรอื ใกลเ้ คียงกบั SDG ในระดบั Goal ใดมากท่ีสุด
ถ้าไม่แนใ่ จใหด้ ทู ่ีเปา้ หมายย่อย (Target) จะทำ�ใหไ้ ดค้ ำ�ตอบชดั เจนว่าประเดน็ นั้นเก่ียวข้อง
กบั SDG เปา้ หมายใด
เมื่อเชือ่ มโยง SDG แล้วเราจะเหน็ ความเช่ือมโยงดังแผนภาพ

ความเช่อื มโยงกับ SDGs ความเช่อื มโยงกับ SDGs ความเช่อื มโยงกับ SDGs
‘ขยะพลาสติกล้นโลก’ ‘การกลน่ั แกล้งรังแก หรือ Bully’ ‘พลกิ โฉมชมุ ชนให้กลายเป็ นแหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว

(16.1) การยุติการบลู ลเ�ี ปน� การลด เชิงอนุรกั ษ์’ (Ecotourism)
ความรุนแรง ทําใหน้ ักเรียนรู้สึกปลอดภยั

เกิดภาวะมลพิษบนบก
พ�ืนดนิ ที�ฝง� กลบขยะเส�ือมโทรม

ไม่สามารถเพาะปลูกได้

เกดิ แพขยะขนาดยกั ษ์ ขยะพลาสติกเปน� ปญ� หาส�ิง สามารถเข้าถึงอาหารทด�ี ี และมีสุขภาพ มสี ุขภาพความเปน� อยูท่ ี�ดีขึ�น ลดปริมาณขยะทีเ� กดิ จาก
ระบบนิเวศทางทะเลเสื�อมโทรม แวดล้อมระดบั โลก จงึ ต้องอาศัย ความเปน� อยูท่ ด�ี ขี ึ�น เพราะ สามารถเข้าถงึ อาหารท�ดี ี การบริโภคของนกั ทอ่ งเที�ยว

ความรว่ มมอื จากทกุ ประเทศ เพราะ สิ�งแวดล้อมในชมุ ชนดี และมสี �ิงแวดล้อมในชมุ ชนดี

คนยากจนมักเส�ียงต่อการเจบ็ ปว� ย อุณหภูมโิ ลกสูงอากาศแปรปรวน
จากมลภาวะทเี� กิดจากการกําจดั ขยะ Climate Change รนุ แรงขึ�น

พลาสติก หรอื การปนเป� อ� น

เกิดการส่งเสริมการท่องเทย�ี ว
ทย�ี งั� ยืน ไมท่ าํ ลายทรัพยากร

ข ารกลน�ั แกลง้ (4.7) การรณรงคย์ ตุ กิ ารบูลลี� ถ้าจดั การไม่ดีกอ็ าจกระทบกับรายได้ ระบบนเิ วศในทะเล
ุย ิตก เพิ�มความเข้าใจและความเคารพ ของชาวบา้ นทที� าํ การท่องเที�ยวแบบเดมิ ไม่ถูกทําลาย
ยะพลาสตกิ ลน้ โล รงั แก ในสิทธิมนุษยชนอันเปน� ความรู้
อาหารโดยเฉพาะ ก หรือปรบั ตัวไมท่ นั Ecotourism
สัตวน์ �ํา ปรมิ าณขยะท�ตี อ้ ง ทเ�ี ยาวชนควรได้รับ
กําจัดเพ�ิมขึน� เปน� ส่วนหนึง� ของการศึกษา มรี ายได้สม�าํ เสมอ
อาจปนเป� อ� น เพื�อการพัฒนาทีย� ัง� ยืนและเสรมิ สรา้ ง ชวี ติ ความเปน� อยดู่ ขี น�ึ
พลาสตกิ เพราะขยะพลาสตกิ
ขนาดเล็ก บางประเภทนํากลบั ความเปน� พลโลก ไม่ยากจน

มาใชใ้ หมไ่ ม่ได้ ระบบนเิ วศบนบก
ปา� ไมไ้ ด้รบั การดูแล
ฟ� น� ฟู ไม่ถูกทําลาย

(3.4) นักเรยี นมีสุขภาพจติ ใจสมบรู ณ์ (4.1) นักเรยี นมาเรยี นไม่ขาด
แจ่มใสยิง� ขึ�น ลดโอกาสทีเ� ดก็ จะหลุดออกจากการศึกษา

หรือยา้ ยออกกลางคัน
ทาํ ให้เด็กทุกคนได้รบั การศึกษาขัน� พื�นฐาน

(4.5) การลดการบูลลี�ชว่ ย
ลดความเหลอ�ื มลา�ํ ในการเรยี นรรู้ ะหวา่ งเพศ
ผพู้ ิการ ชนพื�นเมอื ง และกลมุ่ เปราะบางอนื� ๆ

กระบวนการกําจัดขยะ หนว่ ยงานท้องถิน� เปน� การส่งเสริม เกดิ ความรว่ มมือระหวา่ งคน
ทําใหเ้ กดิ มลพิษต่อรา่ งกาย มขี ยะพลาสตกิ ในครวั เรอื น การใชพ้ ลังงานสะอาด ในชุมชน ผูป้ ระกอบการ

การปนเป� อ� นในอาหาร ที�ต้องจัดการมากขึน� ความสัมพันธ์ท�ดี ีกับภาครัฐ
ทําให้รา่ งกายสะสมสารพิษ
เกิดอตุ สาหกรรมทางเลอื ก ชาวบ้านที�ยังจัดการท่องเท�ยี วแบบเดิม/
นํามาสู่การเจบ็ ปว� ย ทม�ี ีวัตถุดิบตน้ ทางจากขยะ ปรับตัวไม่ทนั อาจขาดรายได้หรอื ตกงาน

ขยะพลาสตกิ ปนเป� อ� น อาจเปน� โอกาสของ เกิดรายไดแ้ ละเพ�ิมมูลคา่ แก่ชุมชน
ทําใหแ้ หลง่ น�ําทสี� ามารถนําไปผลติ โรงไฟฟา� ขยะ

สําหรบั ดม�ื กนิ ใชส้ อยนอ้ ยลง

36 (5.2) ลดความรุนแรงตอ่ ผู้หญิงและเด็กหญิง 38 40
รวมถึงกลมุ่ LGBT

ความเช่อื มโยงกับ SDGs ความเช่อื มโยงกับ SDGs
‘ปั ญหาสุขภาพจิต’ ‘ทจุ ริตคอร์รัปชนั ‘

(3.4) การมีปญ� หาสุขจิตทาํ ให้เกิดความเส�ียงในการฆ่าตวั ตายได้มากขน�ึ (3.c) งบประมาณดา้ นสาธารณสุขของประเทศถูกลดลง

(3.5) การใช้สารเสพติดและแอลกอฮอลใ์ นทางที�ผิดเปน� อันตรายต่อ ความสามารถของรัฐบาลในบรหิ ารจดั การงานด้าน
ทัง� สุขภาพกายและสุขภาพจิต
สาธารณสุข การจัดหายาทจ�ี าํ เปน� ลดลง เพิ�มความเส�ียง
ในการได้รับผลติ ภัณฑท์ �ไี ม่ปลอดภัยหรอื ไม่ไดม้ าตรฐาน

(2.1) ปญ� สุขภาพจติ ลดความอยากอาหาร (4.1, 4.2, 4.3) ประสิทธิภาพใน (9.1) การทุจรติ คอร์รปั ชนั ส่งผลกระทบ (4.5) ค่าใช้จา่ ยในภาคการศึกษาท�สี ูง และการทุจริต
การทีเ� รารบั สารอาหารไม่เพียงพอส่งผล การเรียนร้ลู ดต�าํ ลง ต่อโครงสร้างพ�ืนฐานขนาดใหญ่ ทอ�ี าจถกู สร้างข�นึ
ตอ่ พัฒนาการทางสมองและอาจทําให้ ลดโอกาสทางการศึกษาของคนยากจน ในทางกลับกัน
ในลกั ษณะทต�ี �ํากว่ามาตรฐาน
เปน� โรคซมึ เศรา้ และโรควิตกกังวล และอาจเปน� อนั ตรายต่อสาธารณะ การศึกษาท�ดี ีชว่ ยเพิ�มพูนความรู้ ส่งเสรมิ ทศั นคตทิ ด�ี ี
และช่วยให้คนมีภูมิต้านทานต่อการทจุ ริต

ปญ� หาสุขภาพจิต (16.4, 16.5) การทจุ ริตทาํ ให้เกดิ การรับสินบน ทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั
มากขึ�น เปน� ช่องโหว่ทาํ ให้เกดิ การลกั ลอบ
(1.2) หากสุขภาพจิตย�าํ แย่ เคล�อื นย้ายอาวธุ เงิน และอาชญากรรม ฿
จนเจบ็ ปว� ยไปทํางานไม่ได้ รูปแบบอืน� ๆ

จะทาํ ใหข้ าดรายได้

(8.8) การเจบ็ ปว� ย สภาพจติ ใจ (16.6, 16.10) การทจุ ริตทาํ ใหก้ ารทาํ งาน (10.1) อํานาจจากความมัง� คัง� สร้างโอกาสในการเตบิ โต
ที�ไมม่ นั� คงส่งผลตอ่ ประสิทธภิ าพ ของหน่วยงานตา่ ง ๆ ขาดความโปร่งใส ของรายไดใ้ หก้ ับคนรวยในอัตราทส�ี ูงกวา่ คนส่วนใหญ่
การทาํ งานจนทาํ ใหง้ านมีปญ� หา
ประสิทธิภาพของงานลดต�าํ ลง ของประเทศ ส่งผลให้ความเหลอ�ื มล�าํ ยิ�งเพ�ิมสูงข�นึ
และมแี นวโน้มท�จี ะปกปด� การเข้าถึงขอ้ มลู
ของสาธารณชน ในบางกรณอี าจรุนแรง
ถงึ ขัน� จํากดั ลดิ รอนเสรภี าพของประชาชนได้

(16.1) หากมปี ญ� หา (10.1) หากเปน� คนทีม� ีรายไดน้ ้อย (15.2, 15.5, 15.6, 15.7) การทุจริตเปน� ปจ� จัยเรง่ ให้เกิด (14.2, 14.4, 14.5, 14.6) การทุจริตคอร์รัปชนั อาจทําให้
สุขภาพจติ รนุ แรง การคุกคามทรัพยากรท�มี ีอยูอ่ ยา่ งจํากัดการคา้ พืช การจัดสรรงบประมาณสําหรับปกปอ� งดแู ลทรพั ยากร
ไม่ไดร้ บั การรกั ษา บางกรณีอาจเกดิ 42ฐานะทางเศรษฐกจิ ต�าํ กวา่ จะมโี อกาส และสัตวอ์ ย่างผดิ กฎหมายมีส่วนทาํ ให้เกิดการสูญพันธุ์
ภาวะคลุ้มคลัง� ทาํ ร้ายคนรอบตวั ได้ ท�มี ปี ญ� หาสุขภาพจติ มากกว่า ชายฝ� ง� ขาดประสิทธิภาพเปด� ช่องโหว่
อยา่ งรวดเรว็ ของสัตวค์ ุ้มครองหลายชนดิ ใหม้ กี ารทาํ ประมงโดยผดิ กฎหมาย
เกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพทัว� โลก
44
และเกดิ ความเส�ือมโทรมของระบบนิเวศ

SDG Guidebook for Youth 36

ความเชอ่ื มโยงกับ SDGs
‘ขยะพลาสตกิ ลน้ โลก’

เกิดภาวะมลพิษบนบก
พื�นดนิ ที�ฝง� กลบขยะเส�ือมโทรม

ไมส่ ามารถเพาะปลกู ได้

เกิดแพขยะขนาดยกั ษ์ ขยะพลาสติกเปน� ปญ� หาส�ิง
ระบบนเิ วศทางทะเลเสื�อมโทรม แวดล้อมระดับโลก จึงตอ้ งอาศัย

ความร่วมมอื จากทกุ ประเทศ

คนยากจนมักเส�ียงตอ่ การเจ็บปว� ย อุณหภูมโิ ลกสูงอากาศแปรปรวน
จากมลภาวะท�เี กิดจากการกําจดั ขยะ Climate Change รุนแรงขึน�

พลาสติก หรอื การปนเป� อ� น

อาหารโดยเฉพาะ ข ยะพลาสตกิ ลน้ โล ปรมิ าณขยะท�ตี อ้ ง
สัตวน์ �ํา ก กาํ จดั เพ�ิมขึ�น

อาจปนเป� อ� น เพราะขยะพลาสตกิ
พลาสตกิ บางประเภทนาํ กลบั
ขนาดเล็ก
มาใชใ้ หม่ไม่ได้

กระบวนการกําจัดขยะ หนว่ ยงานทอ้ งถน�ิ
ทาํ ใหเ้ กดิ มลพิษต่อรา่ งกาย มขี ยะพลาสตกิ ในครัวเรอื น

การปนเป� อ� นในอาหาร ท�ีตอ้ งจดั การมากขึน�
ทาํ ใหร้ า่ งกายสะสมสารพิษ
เกดิ อตุ สาหกรรมทางเลอื ก
นาํ มาสู่การเจบ็ ปว� ย ท�มี ีวตั ถดุ บิ ตน้ ทางจากขยะ

ขยะพลาสตกิ ปนเป� อ� น อาจเปน� โอกาสของ
ทาํ ใหแ้ หลง่ น�ําทส�ี ามารถนําไปผลติ โรงไฟฟา� ขยะ

สําหรับด�มื กนิ ใชส้ อยน้อยลง

SDG Guidebook for Youth 37

ตัวอยา่ งท่ี 2 : การกลนั่ แกลง้ รงั แก หรือ Bully
มาตอ่ กันที่ตัวอย่างที่ 2 ในตวั อย่างน้ีเราจะพาทุกคนไปเชอื่ มโยงกับ SDG ในประเดน็ ท่ีเฉพาะเจาะจง เพ่อื จะได้นำ�
ไปใช้ในการทำ�งานได้มากขึ้น สำ�หรับประเด็นที่เราจะเชื่อมโยงกันต่อไปเป็นประเด็นที่สังคมให้ความสำ�คัญมากขึ้นเรื่อย ๆ
เนอ่ื งจากเปน็ ปญั หาทใ่ี กลต้ วั และสง่ ผลกระทบกบั เยาวชนในปจั จบุ นั เปน็ อยา่ งมาก นน่ั คอื “การกลน่ั แกลง้ รงั แก หรอื Bully”

1 STEP ที่ 1 ด้วยการก�ำ หนดประเด็น – ซง่ึ ในวันนเ้ี ราอยากชวนทุกคนสมมติตนเองเป็นกลุม่ เยาวชน
เลอื กประเด็น ท่ีต้องการตง้ั ชมรมเพ่ือ “หยดุ การกล่นั แกลง้ รังแกหรอื Bully ในโรงเรียน”

2 STEP ท่ี 2 ต้งั คำ�ถามวา่ - “จะเกิดอะไรขึน้ ถา้ เราสามารถหยดุ การบลู ลีใ่ นโรงเรยี นได”้

จะเกิดอะไรข้นึ ถ้าโรงเรียนไม่มีการบลู ล่ีนักเรยี นทุกคนจะรูส้ กึ ปลอดภัยไมห่ วาดกลัว
ถ้า... เม่ือไม่หวาดกลวั จะอยากมาโรงเรยี นมากขน้ึ



เม่อื อยากมาโรงเรียนก็จะลดโอกาสทีจ่ ะหลุดออกจากการศกึ ษากลางคัน

นักเรยี นสขุ ภาพจิตใจดี ลดอาการซึมเศรา้

เมอ่ื สุขภาพจิตใจเข้มแข็ง กจ็ ะมีความสมั พนั ธท์ ี่ดีกับเพ่อื น ครู คนรอบตวั

การอยใู่ นสภาพแวดลอ้ มทีด่ ีชว่ ยส่งเสรมิ ใหเ้ รียนรไู้ ด้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

นอกจากนใ้ี นมิติทางเพศ การทโ่ี รงเรียนมีคนคอยปอ้ งกนั การกล่ันแกลง้ ล้อเลยี น

ชว่ ยให้ทุกเพศ โดยเฉพาะ LGBTQI รสู้ ึกปลอดภยั ขนี้ เพราะนกั เรียนกลุม่ นี้ มกั เปน็ กลุ่มคนท่ี

ถกู กลนั่ แกล้งอยูเ่ สมอ

เม่อื ได้ประเดน็ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งแล้ว กไ็ ปสูข่ ัน้ ต่อไป คือ

3 STEP ท่ี 3 เชือ่ มโยง SDG แตเ่ พอ่ื ใหเ้ หน็ ประเดน็ ละเอยี ดขน้ึ ในตวั อยา่ งนอ้ี ยากชวนทกุ คนเชอ่ื มโยง SDG
+/- ลึกลงไปถึงระดับเป้าหมายย่อย (Target) จากนั้นดูว่าประเด็นนั้นเกี่ยวข้องกับ Goal ใดแล้วจึงค่อย

สงั เกตวา่ ประเด็นนั้นจัดอยใู่ น Target ใดพร้อมระบลุ งไปด้วย ยกตวั อยา่ งเชน่

การไม่มบี ลู ลที่ ำ�ให้นักเรยี นรู้สึกวา่ ตนเองปลอดภยั จากความรุนแรงในทกุ มิตติ าม SDG 16.1

รวมถงึ ส่งผลดีต่อการขจดั ความรุนแรงในผ้หู ญงิ และเด็ก ตาม SDG 5.2

การทน่ี ักเรียนมสี ขุ ภาพจติ ท่ีสมบรู ณ์ แจ่มใส สอดคลอ้ งกบั SDG 3.4 สนับสนุนการมสี ุขภาพ

จติ และความเปน็ อยทู่ ด่ี ี

การมาเรียนไม่ขาดทำ�ให้ลดโอกาสที่เด็กจะหลุดออกจากการศึกษา หรือย้ายออกกลางคัน

สอดคล้องกบั SDG 4.1 ทำ�ใหเ้ ดก็ ทุกคนไดร้ บั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

หากไมม่ ีการบูลล่จี ะยงิ่ ช่วยลดความเหล่อื มลำ้ �ในการเรยี นรู้ระหว่างเพศ ผู้พิการ ชนพืน้ เมอื ง

ตาม SDG 4.5 ลดความเหลอื่ มล้ําทางเพศดา้ นการศกึ ษา

การทำ�ใหค้ วามเขา้ ใจและหยดุ บลู ลอ่ี ยา่ งจรงิ จงั เปน็ การเคารพในสทิ ธมิ นษุ ยชนและเปน็ ความรู้

ทเ่ี ยาวชนควรไดร้ บั ตาม SDG 4.7 ทกุ คนตอ้ งไดร้ บั ความรทู้ กั ษะทส่ี ง่ เสรมิ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื สทิ ธมิ นษุ ยชน ความเปน็ พลโลก

จะเห็นว่าเมื่อกำ�หนดประเด็นให้แคบลง แม้จะมีจำ�นวนเป้าหมาย SDGs น้อยกว่า แต่เราสามารถพิจารณา

รายละเอียดของสถานการณ์หรือสิ่งที่เกิดได้ชัดเจนมากขึ้น ทั้งยังทำ�ให้ทราบว่าสิ่งที่เราคิดนั้นมีทิศทางที่สอดคล้องหรือ

ขดั แยง้ กับเป้าหมายทเ่ี ราตอ้ งการบรรลุ

เขา้ ถงึ ชอ่ื เปา้ หมายยอ่ ย (Target) ทดลองเช่ือมโยง SDGs กับปญั หาหรือประเดน็ ทางทเี่ ราสนใจ

โดยแสกน QR Code ในรปู แบบวิดิโอโมชันกราฟิกโดยแสกนควิ อาร์โคด้
หรอื คลกิ ท่นี ่ีhttps://www.th.undp.org/content/thailand/en/home/library/other-publications/sdg-booklet.html https://youtu.be/MWLtUDykvgU

https://www.th.undp.org/content/thailand/en/home/library/other-publications/sdg-booklet.html หรอื คลิกที่น่ีhttps://youtu.be/MWLtUDykvgU
https://youtu.be/MWLtUDykvgU
https://www.th.undp.org/content/thailand/en/home/library/other-publications/sdg-booklet.html https://youtu.be/MWLtUDykvgU

SDG Guidebook for Youth 38

ความเช่อื มโยงกบั SDGs
‘การกลน่ั แกล้งรังแก หรือ Bully’

(16.1) การยุติการบูลลเ�ี ปน� การลด
ความรุนแรง ทําใหน้ ักเรียนรู้สึกปลอดภยั

ุย ิตการกลน�ั แกลง้ (4.7) การรณรงคย์ ตุ กิ ารบูลล�ี
รงั แก เพ�ิมความเขา้ ใจและความเคารพ
ในสิทธิมนษุ ยชนอนั เปน� ความรู้

ทีเ� ยาวชนควรไดร้ บั
เปน� ส่วนหน�ึงของการศึกษา
เพ�ือการพัฒนาทย�ี งั� ยืนและเสริมสร้าง

ความเปน� พลโลก

(3.4) นักเรียนมีสุขภาพจิตใจสมบูรณ์ (4.1) นักเรียนมาเรียนไม่ขาด
แจ่มใสย�งิ ข�นึ ลดโอกาสทเ�ี ดก็ จะหลดุ ออกจากการศึกษา

หรือย้ายออกกลางคัน
ทําใหเ้ ดก็ ทุกคนได้รบั การศึกษาขนั� พื�นฐาน

(4.5) การลดการบูลล�ชี ่วย
ลดความเหลอ�ื มลา�ํ ในการเรยี นรรู้ ะหวา่ งเพศ
ผพู้ ิการ ชนพื�นเมอื ง และกลมุ่ เปราะบางอนื� ๆ

(5.2) ลดความรุนแรงต่อผู้หญงิ และเด็กหญงิ
รวมถงึ กลมุ่ LGBT

SDG Guidebook for Youth 39

ตวั อยา่ งท่ี 3 การทอ่ งเท่ียวเชงิ อนรุ ักษ์ ( Ecotourism )
สำ�หรับตัวอย่างที่ 3 มาต่อกันที่ประเด็นเรื่องของการท่องเที่ยวซึ่งเป็นกิจกรรมสำ�คัญที่สร้างรายได้แก่
หลายชมุ ชนในประเทศไทย ซง่ึ ปจั จบุ นั ทกุ ภาคสว่ นเรม่ิ หนั มาใหค้ วามสำ�คญั และพยายามผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การจดั การทอ่ งเทย่ี ว
วถิ ใี หม่ ในตวั อยา่ งนเ้ี ราจะใชเ้ ปน็ ประเดน็ การพลกิ โฉมการทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนแบบดง้ั เดมิ ใหก้ ลายเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเชงิ อนรุ กั ษ์

1 STEP ที่ 1 ด้วยการกำ�หนดประเด็น – การพลิกโฉมแกล่งท่องเที่ยวชุมชนแบบดั้งเดิมให้กลายเป็น
เลอื กประเดน็ แหล่งทอ่ งเที่ยวเชงิ อนุรกั ษ์

2 STEP ท่ี 2 ตง้ั คำ�ถามว่า – จะเกิดอะไรขึน้ ถา้ เราสามารถเปลีย่ นแปลงรูปแบบการทอ่ งเที่ยวให้จริงจงั

จะเกดิ อะไรข้นึ กับการรักษาสิ่งแวดล้อมมากขึ้นได้ ยกตัวอย่างเช่น เมื่อทุกคนจริงจังกับการรักษาสิ่งแวดล้อม
ถ้า... สง่ิ ทต่ี ามมากค็ อื ปรมิ าณขยะ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จะลดนอ้ ยลง ไมว่ า่ จะเปน็ ทง้ั จากคนในพน้ื ทเ่ี อง หรอื นกั ทอ่ งเทย่ี ว



ระบบนเิ วศตา่ ง ๆ ไมถ่ กู ทำ�ลาย สง่ิ แวดล้อมในชุมชนดขี น้ึ สขุ ภาพ ความเป็นอยขู่ องคนในชมุ ชนก็จะดขี น้ึ ตามไปด้วย

3 STEP ท่ี 3 เชอ่ื มโยง SDG – ในประเดน็ น้ี SDG ทเ่ี กย่ี วขอ้ งหลกั ๆ ไดแ้ ก่
+/- SDG 12 เกดิ การส่งเสริมการทอ่ งเทย่ี วที่ย่งั ยนื ไมท่ ำ�ลายทรพั ยากร ลดปรมิ าณขยะท่ีเกดิ จาก
การบริโภคของนกั ท่องเทยี่ ว
SDG 14 ระบบนเิ วศในทะเลไม่ถูกทำ�ลาย
SDG 15 ระบบนเิ วศบนบก ปา่ ไม้ได้รับการดแู ลฟนื้ ฟู ไมถ่ ูกทำ�ลาย
SDG 8 เกดิ รายไดแ้ ละเพม่ิ มลู คา่ แกช่ มุ ชน ชาวบา้ นทย่ี งั จดั การทอ่ งเทย่ี วแบบเดมิ /ปรบั ตวั ไมท่ นั
อาจขาดรายไดห้ รือตกงาน
SDG 1 มรี ายไดส้ มา่ํ เสมอ ชวี ติ ความเปน็ อยดู่ ขี น้ึ ไมย่ ากจน แตถ่ า้ จดั การไมด่ กี อ็ าจกระทบ
กบั รายได้ของชาวบ้านท่ที ำ�การท่องเท่ียวแบบเดิมแตป่ รับตัวไม่ทันได้
SDG 2 สามารถเขา้ ถึงอาหารทดี่ ีได้ เพราะส่งิ แวดล้อมในชมุ ชนดี
SDG 3 มสี ขุ ภาพความเปน็ อยทู่ ด่ี ขี น้ึ เพราะ สามารถเขา้ ถงึ อาหารทด่ี แี ละมสี ง่ิ แวดลอ้ มในชมุ ชนดี
SDG 7 เปน็ การส่งเสริมการใชพ้ ลงั งานสะอาด
SDG 17 เกิดความรว่ มมือระหวา่ งคนในชมุ ชน ผู้ประกอบการ ความสัมพนั ธท์ ี่ดกี บั ภาครฐั

SDG Guidebook for Youth 40

ความเชอ่ื มโยงกับ SDGs
‘พลิกโฉมชุมชนใหก้ ลายเป็ นแหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว

เชิงอนุรกั ษ์’ (Ecotourism)

สามารถเขา้ ถึงอาหารที�ดี และมีสุขภาพ มีสุขภาพความเปน� อย่ทู ีด� ีข�นึ ลดปรมิ าณขยะที�เกดิ จาก
ความเปน� อยูท่ ด�ี ขี �นึ เพราะ สามารถเขา้ ถึงอาหารทีด� ี การบริโภคของนกั ทอ่ งเทีย� ว

เพราะ ส�ิงแวดล้อมในชมุ ชนดี และมีสิ�งแวดล้อมในชมุ ชนดี

เกิดการส่งเสรมิ การท่องเทย�ี ว
ทีย� งั� ยืน ไม่ทําลายทรัพยากร

ถ้าจดั การไม่ดีกอ็ าจกระทบกบั รายได้ ระบบนิเวศในทะเล
ของชาวบ้านท�ีทําการทอ่ งเทีย� วแบบเดิม ไม่ถูกทาํ ลาย

หรอื ปรับตัวไมท่ นั Ecotourism

มีรายได้สม�าํ เสมอ ระบบนิเวศบนบก
ชวี ติ ความเปน� อยดู่ ขี น�ึ ปา� ไมไ้ ด้รบั การดูแล
ฟ� น� ฟู ไม่ถกู ทาํ ลาย
ไม่ยากจน

เปน� การส่งเสริม เกิดความรว่ มมือระหว่างคน
การใชพ้ ลังงานสะอาด ในชุมชน ผู้ประกอบการ

ความสัมพันธ์ทด�ี กี บั ภาครัฐ

ชาวบ้านทีย� งั จัดการทอ่ งเที�ยวแบบเดมิ / เกิดรายไดแ้ ละเพ�ิมมูลคา่ แกช่ มุ ชน
ปรบั ตัวไม่ทนั อาจขาดรายได้หรอื ตกงาน

SDG Guidebook for Youth 41

ตวั อยา่ งที่ 4 ปัญหาสขุ ภาพจิต
การมีสุขภาพจิตที่ดีส่งผลต่อการสุขภาพกายที่แข็งแรง และส่งผลต่อประสิทธิภาพการงาน การเรียน
ความสัมพันธ์ของเรากับคนรอบตัวได้ แต่การจะมีสุขภาพจิตใจที่ดีนั้นยังต้องอาศัยปัจจัยภายนอกมากมาย ไม่ว่าจะเป็น
การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี การมีรายได้ที่เพียงพอ ไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่าย ไปจนถึงอยู่ในชุมชนที่ปลอดภัยไม่ต้อง
เผชญิ กบั การทะเลาะววิ าท ความรนุ แรงจนหวาดกลวั ปญั หาสขุ ภาพจติ จงึ มคี วามซบั ซอ้ นยง่ิ กวา่ ระดบั บคุ คล และเปน็ ตวั อยา่ ง
ท่นี ่าสนใจในการเช่ือมโยง SDG

1 STEP ท่ี 1 ด้วยการกำ�หนดประเดน็ – กำ�หนดเปน็ หวั ข้อประเดน็ การลดปจั จัยท่สี ง่ ผลใหเ้ กิดปัญหา
เลอื กประเด็น
สขุ ภาพจติ

2

STEPจะเกดิ อะไรข้นึ ที่ 2 ตั้งค�ำ ถาม – จะเกิดอะไรขน้ึ ถา้ เรามีสุขภาพจติ ใจยา่ํ แย่
ถ้า...

3 STEP ท่ี 3 เช่ือมโยง SDG – สำ�หรับ SDG ท่ีขาดไมไ่ ด้เลยของประเดน็ ปัญหาสขุ ภาพจติ นัน้ กค็ ือ
+/- SDG 3.4 การมปี ัญหาสุขภาพจิตทำ�ใหเ้ กิดความเสี่ยงในการฆา่ ตวั ตายได้มากขึน้
SDG 3.5 การใช้สารเสพติดและแอลกอฮอล์ในทางที่ผิดเป็นอันตรายต่อทั้งสุขภาพกาย
และสขุ ภาพจิต
นอกจากนยี้ ังสามารถเชอื่ มโยงไดก้ บั SDG เปา้ หมายอ่ืน เชน่
SDG 1.2 หากสขุ ภาพจิตยํา่ แย่ จนเจบ็ ปว่ ยไปทำ�งานไมไ่ ด้ จะทำ�ใหข้ าดรายได้
SDG 2.1 ในบางกรณี ปญั สขุ ภาพจิตลดควาอยากอาหาร การทเ่ี รารบั สารอาหารไม่เพียงพอ
สง่ ผลต่อพฒั นาการทางสมองและอาจทำ�ใหเ้ ป็นโรคซมึ เศรา้ และโรควติ กกงั วล
SDG 4.1, 4.2, 4.3 ประสทิ ธภิ าพในการเรยี นรู้ลดต่าํ ลง
SDG 8.8 การเจ็บป่วย สภาพจิตใจที่ไม่มั่นคงส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำ�งานจนทำ�ให้งาน
มีปัญหา
SDG 10.1 หากเป็นคนที่มีรายได้น้อย ฐานะทางเศรษฐกิจตํ่ากว่าจะมีโอกาสที่มีปัญหา
สขุ ภาพจติ มากกว่า
SDG 16.1 หากมปี ัญหาสขุ ภาพจติ รุนแรง ไมไ่ ด้รับการรกั ษา บางกรณอี าจเกิดภาวะคลุ้มคลงั่
ทำ�รา้ ยคนรอบตัวได้

SDG Guidebook for Youth 42

ความเช่อื มโยงกับ SDGs
‘ปั ญหาสุขภาพจติ ’

(3.4) การมปี ญ� หาสุขจิตทาํ ให้เกิดความเส�ียงในการฆ่าตวั ตายได้มากขน�ึ

(3.5) การใชส้ ารเสพติดและแอลกอฮอล์ในทางทผ�ี ิดเปน� อนั ตรายตอ่
ทัง� สุขภาพกายและสุขภาพจิต

(2.1) ปญ� สุขภาพจติ ลดความอยากอาหาร (4.1, 4.2, 4.3) ประสิทธภิ าพใน
การทเ�ี รารับสารอาหารไมเ่ พียงพอส่งผล การเรยี นรลู้ ดต�ําลง
ต่อพัฒนาการทางสมองและอาจทําให้

เปน� โรคซมึ เศร้าและโรควติ กกงั วล

ปญ� หาสุขภาพจิต

(1.2) หากสุขภาพจติ ย�ําแย่
จนเจบ็ ปว� ยไปทาํ งานไม่ได้

จะทําใหข้ าดรายได้

(8.8) การเจ็บปว� ย สภาพจติ ใจ
ท�ไี มม่ นั� คงส่งผลต่อประสิทธภิ าพ
การทํางานจนทาํ ใหง้ านมปี ญ� หา

(16.1) หากมปี ญ� หา (10.1) หากเปน� คนทีม� รี ายไดน้ ้อย
สุขภาพจติ รนุ แรง ฐานะทางเศรษฐกจิ ต�าํ กวา่ จะมโี อกาส
ไม่ไดร้ ับการรกั ษา บางกรณอี าจเกิด
ภาวะคลุ้มคลงั� ทํารา้ ยคนรอบตัวได้ ทม�ี ปี ญ� หาสุขภาพจิตมากกว่า

SDG Guidebook for Youth 43

ตัวอยา่ งที่ 5 ทจุ รติ คอร์รปั ช่นั
ในตัวอย่างสุดท้าย เราขอหยิบยกเร่ืองทหี่ ลายคนอาจคิดว่าเปน็ เร่ืองไกลตวั แต่ในความเปน็ จริงอาจใกล้
ตวั เรามากกวา่ ท่ีคดิ นัน่ คือ “การทุจริตคอร์รปั ชัน่ ” ตวั อยา่ งสุดท้ายนช้ี วนทุกคนลองคิดไปด้วยกนั วา่ การทุจริตคอรร์ ปั ชัน่
เก่ียวข้องกบั SDGs ประเดน็ ใดบา้ ง

ประเด็นทีเ่ กี่ยวข้องโดยตรง ไดแ้ ก่
SDG 16.4, 16.5 การทจุ ริตทำ�ใหเ้ กิดการรับสนิ บนมากขน้ึ เป็นช่องโหวท่ ำ�ให้เกดิ การลกั ลอบ
เคลือ่ นย้ายอาวุธ เงนิ และอาชญากรรมรปู แบบอ่ืน ๆ
SDG 16.6, 16.10 การทจุ ริตทำ�ใหก้ ารทำ�งานของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ขาดความโปรง่ ใส
ประสทิ ธภิ าพของงานลดตา่ํ ลง และมแี นวโน้มทีจ่ ะปกปดิ การเขา้ ถึงขอ้ มูลของสาธารณชน ในบางกรณอี าจรนุ แรง
ถงึ ข้ันจำ�กัด ลดิ รอนเสรีภาพของประชาชนได้
และยังมี SDGs อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบจากการคอรร์ ปั ช่ันตอ่ ภาคสว่ นต่าง ๆ ได้แก่
SDG 3.4 งบประมาณด้านสาธารณสุขของประเทศถูกลดลง ความสามารถของรัฐบาล
ในบริหารจัดการงานด้านสาธารณสุข การจัดหายาที่จำ�เป็นลดลง เพิ่มความเสี่ยงในการได้รับผลิตภัณฑ์
ที่ไม่ปลอดภัยหรือไม่ได้มาตรฐาน
SDG 4.5 ค่าใชจ้ ่ายในภาคการศกึ ษาท่สี งู และการทุจรติ ลดโอกาสทางการศกึ ษาของคนยากจน
ในทางกลบั กนั การศกึ ษาที่ดชี ว่ ยเพ่ิมพูนความรู้ ส่งเสรมิ ทัศนคตทิ ด่ี ี และช่วยให้คนมีภูมิตา้ นทานตอ่ การทุจริต
SDG 9.1 การทจุ รติ คอรร์ ปั ชน่ั สง่ ผลกระทบตอ่ โครงสรา้ งพน้ื ฐานขนาดใหญ่ ทอ่ี าจถกู สรา้ งขน้ึ ในลกั ษณะ
ทต่ี า่ํ กว่ามาตรฐานและอาจเปน็ อันตรายตอ่ สาธารณะ
SDG 10.1 อำ�นาจจากความมง่ั คั่ง สรา้ งโอกาสในการเติบโตของรายไดใ้ ห้กับคนรวย
ในอัตราท่ีสงู กว่าคนส่วนใหญ่ของประเทศ สง่ ผลให้ความเหลอ่ื มลา้ํ ยง่ิ เพิม่ สูงขึ้น
SDG 14.2, 14.4, 14.5, 14.6 การทจุ ริตคอรร์ ปั ชนั่ อาจทำ�ใหก้ ารจัดสรรงบประมาณสำ�หรับปกป้อง
ดูแลทรพั ยากรชายฝ่งั ขาดประสทิ ธภิ าพเปดิ ชอ่ งโหว่ให้มีการทำ�ประมงโดยผดิ กฎหมาย
SDG 15.2, 15.5, 15.6, 15.7 การทุจริตเปน็ ปจั จยั เร่งให้เกิดการคุกคามทรพั ยากรที่มีอยู่อย่างจำ�กัด
การคา้ พชื และสัตวอ์ ย่างผิดกฎหมายมีสว่ นทำ�ให้เกดิ การสญู พนั ธ์ุอย่างรวดเรว็ ของสตั ว์คุ้มครองหลายชนิด
เกดิ การสญู เสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพทั่วโลกและเกิดความเส่อื มโทรมของระบบนิเวศ


Click to View FlipBook Version