The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือหลักเกณฑ์และมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมู่บ้านขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือหลักเกณฑ์และมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมู่บ้านขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

คู่มือหลักเกณฑ์และมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมู่บ้านขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

คู่มอื หลักเกณฑแ์ ละมาตรฐาน

00 คณุ ภาพระบบประปาหมู่บ้าน

ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถนิ่
กระทรวงมหาดไทย

เวบ็ ไซต์ www.dla.go.th โทรศพั ท์ 02-241-9000 ต่อ 4112-4116

คูม อื หลกั เกณฑและมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมบู านขององคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ

องคกรปกครองสวนทองถ่ิน มีหนาที่ในการจัดบริการสาธารณะแกประชาชนใน
ดานสาธารณูปโภคสาธารณูปการ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การจัดบริการนํ้าสะอาดหรือระบบประปา
หมูบานเพ่ือใชในการอุปโภคบริโภคภายในครัวเรือนและใชในการประกอบอาชีพ ดังนั้น
ระบบประปาหมูบานควรมีมาตรฐานตามหลักวิชาการ โดยหากประชาชนมีน้ําสะอาดสําหรับด่ืม
และใชสอยอยางเพยี งพอ กจ็ ะสงผลใหป ระชาชนมสี ขุ ภาพอนามัยท่ดี ดี วย

กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ในฐานะหนวยงานสงเสริมสนับสนุนองคกรปกครอง
สวนทองถ่ิน ไดจัดทําคูมือหลักเกณฑและมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบานขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ิน เพ่ือใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถนําไปใชเปนแนวทาง
ในการบริหารและใหบริการอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สงผลใหประชาชนมีคุณภาพชีวิต
ทดี่ ขี ึน้

หวังเปนอยางยิ่งวา หลักเกณฑและมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบานขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินฉบับน้ี จะเปนประโยชนตอองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการเพิ่มศักยภาพ
การบริหารและการบริการสาธารณะ สนองตอบความตองการ และสรางความผาสุกแกประชาชน
ตามวิสัยทัศนท่ีวา “สงเสริมองคกรปกครองสวนทองถ่ินใหจัดบริการสาธารณะใหไดมาตรฐาน
เพ่อื ใหป ระชาชนมีคณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ี”

กรมสง เสรมิ การปกครองทอ งถน่ิ
พฤษภาคม 2565

1

คูมอื หลกั เกณฑและมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมบู านขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ

สว นท่ี 1 ความเปน มา หนา
วัตถปุ ระสงค 3
สวนที่ 2 ขอบเขต 3
สวนท่ี 3 คํานยิ ามศัพท 4
กฎหมาย/ระเบยี บทีเ่ กยี่ วของ 4
สวนที่ 4 แผนแมบ ทการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนํ้า 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) 5
สวนท่ี 5 7

ภาคผนวก รูปแบบการบริหารกิจการระบบประปาหมูบ า นขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน 8
รปู แบบที่ 1 การบรหิ ารโดยคณะกรรมการบริหารกจิ การประปา 10
รูปแบบที่ 2 การบริหารโดยองคกรปกครองสว นทอ งถิน่ 11

หลกั เกณฑและมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมบู าน 12
ขององคกรปกครองสวนทองถ่นิ 12
- หลักเกณฑการประเมินคุณภาพระบบประปาหมบู าน 13
- มาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบา น 16
- ข้ันตอนการประเมนิ ผลคุณภาพระบบประปาหมูบา น

หลักเกณฑและมาตรฐานคุณภาพนํ้าประปาด่ืมได 17

แนวทางการขบั เคล่ือนการดาํ เนินงานประปาหมูบ านขององคกรปกครองสว น 20
ทอ งถ่ิน 22
แนวทางการดําเนนิ งานพัฒนาระบบประปาหมูบานขององคกรปกครองสว น 23
ทองถนิ่
แนวทางการพฒั นาเพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพนํ้าประปาหมบู า นสะอาด
ตามแนวทาง 3 C (clear clean chlorine)

คําส่ังคณะอนุกรรมการขับเคลอื่ นแผนแมบ ทการบรหิ ารจดั การทรัพยากรนํ้า 27
ท่ี 4/2563 เร่อื ง แตง ต้งั คณะทาํ งานขับเคลื่อนการดําเนนิ งานประปาหมูบ าน 29
ขององคป กครองสวนทองถิ่น
QR Code สําหรับดาวนโหลด คูมอื เอกสาร สือ่ ตา ง ๆ ที่ใชในการดําเนินงาน

2

คูมือหลักเกณฑและมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมบู า นขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ

ความเปน มา

การจัดหานํ้าสะอาดในชุมชนเปนหนึ่งในภารกิจตามอํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
ท่ีจะตองจัดใหมีน้ําสะอาดเพื่อการอุปโภคบริโภคอยางเพียงพอ ประกอบกับพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา
พ.ศ. 2561 กําหนดใหรัฐมีอํานาจใช พัฒนา บริหารจัดการ บํารุงรักษา ฟนฟู และอนุรักษทรัพยากรน้ํา
ใหเกิดประโยชนตอสวนรวมอยางสมดุลและยั่งยืน ใหหนวยงานของรัฐหรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นใดเปน
ผูรับผิดชอบควบคุมดูแล และบํารุงรักษาทรัพยากรน้ําสาธารณะแหงใดก็ได รวมถึงมีอํานาจออกระเบียบ
หรอื ขอบญั ญัตทิ องถ่นิ แลวแตกรณี ซ่งึ การดําเนินงานประปาหมูบานขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน เปนหนึ่ง
ในการขับเคลื่อนแผนแมบทการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) ดานที่ 1
การจัดการน้ําอุปโภคบริโภค มีเปาประสงคในการจัดหานํ้าสะอาดเพื่อการอุปโภคบริโภคใหครบทุกหมูบาน
เมือง แหลงทองเที่ยว และพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ รวมทั้งการจัดหาแหลงน้ําสํารอง พัฒนาน้ําดื่มใหไดมาตรฐาน
ในราคาที่เหมาะสม และการประหยัดนํ้าภาคครัวเรือน ภาคบริการ และภาคราชการ และมีเปาหมายภายใต
อํานาจหนาที่ของคณะทํางานขับเคล่ือนการดําเนินงานประปาหมูบานขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน
และ คณะทํางานขับเคลื่อนการดําเนินงานประปาหมูบานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับจังหวัด ดังน้ัน
แนวทางทช่ี ุมชนและองคกรปกครองสว นทองถ่ินตลอดจนหนวยงานตา งๆ จะใชใ นการพิจารณาดําเนินการก็คือ
หลักเกณฑและมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบาน ขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ซึ่งจะเปน
การดําเนนิ การเพื่อใหประชาชนในทองถิ่นไดมีนํ้าสะอาดสําหรับเปนนํ้าดื่มน้ําใชอยางเพียงพอตามความจําเปน
ข้ันพ้ืนฐานสําหรับประชาชนในทองถ่ิน โดยรัฐบาลจะไดสงเสริมและสนับสนุนใหประชาชนไดมีน้ําสะอาด
สําหรับเปนน้ําด่ืมน้ําใชในรูปแบบตางๆ ใหเหมาะสมตามสภาพของแตละทองถิ่น รวมท้ังเปนการสงเสริม
ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินและประชาชนในชุมชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการเพื่อแกไขปญหา
การขาดแคลนน้าํ สะอาดไดดวยตนเอง อันจะเปนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนไดอยางยั่งยืน
ตลอดไป

วัตถุประสงค

การจัดทําหลักเกณฑและมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบานขององคกรปกครองสวนทองถ่ินน้ี
จัดทําขึ้นโดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินไดนําไปเปนคูมือในการปฏิบัติงานดานการจัดหา
นํ้าสะอาด เน่ืองจากเปนภารกิจท่ีองคกรปกครองสวนทองถิ่นจําเปนจะตองดําเนินการเพ่ือตอบสนอง
ความตอ งการของแตล ะทองถ่นิ ซงึ่ มีวตั ถุประสงคใ นการจัดทาํ คอื

• เพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นใชเปนคูมือหลักเกณฑ และแนวทางในการดําเนินงานดานการ
จดั ทําระบบนา้ํ สะอาดใหกับชมุ ชนไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ

3

คมู อื หลักเกณฑและมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบานขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ

• เพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีความรูความสามารถในการจัดทําระบบน้ําสะอาดในชุมชนได
อยา งมปี ระสิทธภิ าพ และสามารถนาํ ความรไู ปใชพัฒนาชมุ ชนไดด วยตนเอง

• เพื่อใหผูบริหารขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใชเปนคูมือหลักเกณฑ และแนวทางประกอบการ
ตัดสินใจท่ีถูกตองและเหมาะสม สําหรับการดําเนินงานทางดานการจัดทําระบบน้ําสะอาดใหกับประชาชนใน
ชุมชน

ขอบเขต

เปนกรอบแนวทางสําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการจัดทําระบบน้ําสะอาดสําหรับการ
ใหบ ริการประชาชน โดยกําหนดเกณฑก ารประเมนิ คุณภาพระบบประปาหมูบาน และเกณฑคุณภาพนํ้าประปา
ดื่มได

คํานิยามศัพท

ระบบน้ําสะอาด หรือ ระบบประปาหมูบาน หมายถึง การนํานํ้าจากแหลงน้ําธรรมชาติอันไดแก
แหลงนํ้าใตดิน หรือแหลงนํ้าผิวดินมาผานข้ันตอนการปรับปรุงคุณภาพนํ้า เพ่ือผลิตใหเปนนํ้าท่ีสะอาดตาม
หลักวิชาการและวิธีอันเหมาะสม แลวจายนํ้าท่ีผลิตไดใหแกประชาชนในหมูบาน เพ่ือใชในการอุปโภคบริโภค
โดยการจายนา้ํ ตามทอผานมาตรวัดนาํ้ ตลอด 24 ชั่วโมง

แหลงน้ําใตดิน หมายถึง บอน้ําบาดาล น้ําที่ไดจากบอบาดาล เกิดจากน้ําฝนที่ตกลงมา หรือนํ้าจาก
ผวิ ดินมีการซมึ ผานช้ันดินช้ันหิน แลวสะสมกันเปนแองอยูใตเปลือกโลก โดยน้ําใตดินท่ีจะนํามาผลิตนํ้าประปา
จะตองมปี ริมาณนํา้ เพยี งพอ และคณุ ภาพเหมาะสมทจี่ ะสามารถปรับปรงุ คุณภาพนาํ้ ได

แหลงน้ําผิวดิน หมายถึง หว ย หนอง คลอง บงึ สระ อา งเก็บนํ้า เข่ือน แมนํ้า น้ําตก นํ้าซับและบอนํ้า
ตื้น โดยแหลงนํ้าผิวดินที่จะนํามาผลิตนํ้าประปาจะตองมีปริมาณน้ําเพียงพอ และคุณภาพเหมาะสมที่จะ
สามารถปรบั ปรุงคณุ ภาพนํ้าได

การบริหารกิจการระบบประปา หมายถึง การดําเนินการที่อาศัยความรูดานการจัดการองคกร
งบประมาณ รายรบั -รายจา ย ระเบียบขอ บงั คับ เพอ่ื ใหกิจการระบบประปาสามารถดํารงอยูไดอ ยางย่งั ยนื

นา้ํ ด่ืม หมายถึง นํ้าซ่ึงไดจาก 2 แหลงใหญ ๆ คือ (1) นํ้าจากแหลงนํ้าตางๆ ไดจากภาชนะเก็บกักนํ้า
จากน้ําซับ น้ํากรอง นํ้าจากบอน้ําต้ืน ที่ถูกสุขอนามัย (2) นํ้าจากระบบประปาในชนบท โดยการนํานํ้าจากใตดิน
หรือแหลงนํ้าผิวดินมาผลิตใหเปนนํ้าสะอาดตามหลักวิชาการและวิธีการอันเหมาะสม เพื่อใชในการบริโภค
และอุปโภค โดยการจายไปตามทอผานมาตรวัดนํ้าบริการใหประชาชนในหมูบานโดยองคการอนามัยโลก
และยูนิเซฟ ไดใหคําจํากัดความวาหมายถึง "นํ้าซึ่งไมมีสารเคมีหรือสารเปนพิษในปริมาณที่เปนอันตรายตอ
สุขภาพเจือปน และปราศจากกลน่ิ สี และรสทไ่ี มเ ปน ทีย่ อมรบั "

นํ้าใช หมายถึง นํ้าซ่ึงไดจากแหลงนํ้าตาง ๆ คือ บอเจาะขนาดเล็ก บอบาดาล สระขุดหนองนํ้า
ธรรมชาติ ฝาย อางเก็บนาํ้ ธรรมชาติ ฝาย อางเกบ็ นาํ้ ขนาดเล็กและระบบประปา คณุ ภาพของน้ําจะตองเปนน้ํา
ซ่งึ ใสพอประมาณไมก ระคางเกินไป และไมเคม็ เกินไป

4

คมู ือหลักเกณฑแ ละมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมูบ า นขององคก รปกครองสวนทองถน่ิ

ผูดูแลระบบประปาหมูบ า น หมายถึง ผูที่ไดรับการคัดเลือกใหรับผิดชอบในการควบคุมการผลิต ดูแล
บาํ รงุ รกั ษา ตรวจสอบ ซอ มแซม แกไ ขระบบประปา

สมาชิกผูใชน้ํา หมายถึง เจาบานท่ีมีความตองการใชนํ้าจากระบบประปา และสามารถปฏิบัติตาม
ระเบยี บขอ บงั คบั ตางๆ ทีก่ าํ หนดขึน้

กฎหมาย/ระเบียบทีเ่ ก่ียวขอ ง

การถายโอนภารกิจในการจัดทําระบบน้ําสะอาด ถือเปนภารกิจดานโครงสรางพ้ืนฐานท่ีสําคัญภารกิจ
หนึ่ง ซึ่งกรมทรัพยากรน้ํา และกรมทรัพยากรน้ําบาดาล ไดดําเนินการถายโอนใหแกองคกรปกครองสวน
ทอ งถนิ่ และภารกจิ ดงั กลาวยังเกี่ยวขอ งกบั ภารกจิ หนาทีข่ ององคก รปกครองสวนทองถ่ินตามท่ีกฎหมายกําหนด
ดงั นี้

1. พระราชบญั ญตั ิสภาตําบลและองคการบริหารสว นตําบล พ.ศ. 2537
มาตรา 68 ภายใตบังคับแหงกฎหมาย องคการบริหารสวนตําบลอาจจัดทํากิจการในเขต

องคก ารบรหิ ารสว นตําบล ดงั นี้
(1) ใหมนี ้าํ เพือ่ การอุปโภค บริโภค และการเกษตร

2. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496
มาตรา 51 ภายใตบังคับแหงกฎหมาย เทศบาลตําบลอาจจัดทํากิจการใดๆ ในเขตเทศบาล

ดังตอไปนี้
(1) ใหม นี ํ้าสะอาด หรอื การประปา
มาตรา 53 ภายใตบังคับแหงกฎหมาย เทศบาลเมืองมีหนาที่ตองทําในเขตเทศบาล

ดังตอไปนี้
(2) ใหมนี ํ้าสะอาดหรือการประปา
มาตรา 56 ภายใตบ ังคบั แหง กฎหมาย เทศบาลนครมีหนา ที่ตอ งทําในเขตเทศบาล ดังตอไปนี้
(2) กจิ การตามทร่ี ะบุไวใ นมาตรา 53

3. พระราชบญั ญัตกิ าํ หนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
พ.ศ. 2542

มาตรา 16 ใหเทศบาล เมืองพัทยา และองคการบริหารสวนตําบล มีอํานาจและหนาท่ีใน
การจัดระบบบรกิ ารสาธารณะเพอ่ื ประโยชนข องประชาชนในทองถิ่นของตนเองดังนี้

(4) การสาธารณปู โภคและการกอสรา งอนื่ ๆ
มาตรา 17 ภายใตขอบังคับมาตรา 16 ใหองคการบริหารสวนจังหวัดมีอํานาจและหนาที่
ในการจดั ระบบบริการสาธารณะ เพือ่ ประโยชนข องประชาชนในทองถนิ่ ของตนเองดงั น้ี

5

คมู อื หลักเกณฑและมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมบู า นขององคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ

(24) จัดทํากิจการใดอันเปนอํานาจและหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถ่ินอ่ืนท่ี
อยูในเขต และกิจการน้ันเปนการสมควรใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นอ่ืนรวมกันดําเนินการหรือใหองคการ
บริหารสว นจังหวดั จัดทํา ทั้งน้ี ตามท่คี ณะกรรมการประกาศกาํ หนด

4. พระราชบญั ญัตทิ รพั ยากรนํ้า พ.ศ. 2561
มาตรา 6 รัฐมีอํานาจใช พัฒนา บริหารจัดการ บํารุงรักษา ฟนฟู และอนุรักษทรัพยากรนํ้า

ใหเกิดประโยชนตอสวนรวมอยางสมดุลและยั่งยืน ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติน้ี
โดยอาจเปล่ียนแปลงรูปรางของแหลงน้ําหรือขยายพื้นที่ของแหลงน้ําก็ได แตถาเปนการลดพ้ืนท่ีหรือใหเลิกใช
เพ่ือประโยชนส าธารณะตองดาํ เนินการถอนสภาพตามประมวลกฎหมายทด่ี นิ

เพ่ือประโยชนในการบริหารทรัพยากรนํ้าสาธารณะท่ีมิใชทางน้ําชลประทานตามกฎหมาย
วาดวยการชลประทาน และน้ําบาดาลตามกฎหมายวาดวยน้ําบาดาล นายกรัฐมนตรีอาจประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษากําหนดใหหนวยงานของรัฐหรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นใดเปนผูรับผิดชอบควบคุมดูแล
และบํารงุ รกั ษาทรพั ยากรน้ําสาธารณะแหงใดก็ได

ใหหนวยงานของรฐั หรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นท่ีรับผิดชอบตามวรรคสอง มีอํานาจออก
ระเบียบ หรือขอบัญญัติทองถ่ิน แลวแตกรณี เพ่ือกําหนดหลักเกณฑการเขาใชสอยทรัพยากรนํ้าสาธารณะน้ัน
ตามกรอบแนวทางท่ีคณะกรรมการทรัพยากรนํ้าแหงชาติกําหนดโดยหลักเกณฑดังกลาวตองมิใชหลักเกณฑ
เก่ียวกับการจัดสรรน้ําและการใชน้ําตามท่ีกําหนดไวในหมวด ๔ การจัดสรรน้ําและการใชน้ํา ระเบียบหรือ
ขอบัญญัติทอ งถ่นิ ตามวรรคสาม เมื่อไดประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว ใหใ ชบงั คับได

5. ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยการบริหารกิจการและการบํารุงรักษาระบบประปาหมูบาน
พ.ศ. 2548

เพือ่ ใหก ารบริหารกิจการและการบํารุงรักษาระบบประปาหมูบานที่เปนทรัพยสินขององคกร
ปกครองสว นทอ งถนิ่ สามารถใหบริการขน้ั พื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีพและเพ่ิมคุณภาพชีวิตของประชาชน
ในพ้ืนท่ีองคกรปกครองสวนทองถิ่นไดอยางมีประสิทธิภาพ และเพื่อเปนการสงเสริมใหประชาชน รวม
รบั ผดิ ชอบบริหารกิจการและบํารุงรักษาประปาหมบู า นในเชิงธรุ กิจดวยตนเอง

ขอ 16 กิจการประหมูบานเปนทรัพยสินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยมอบให
คณะกรรมการดําเนนิ การบริหารจัดการ

6

คมู ือหลกั เกณฑแ ละมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมบู านขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ

แผนแมบทการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรน้ํา 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580)

การดําเนินงานประปาหมูบาน เปนหนึ่งในการขับเคลื่อนแผนแมบทการบริหารจัดการ
ทรัพยากรน้ํา 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) ดานท่ี 1 การจัดการน้ําอุปโภคบริโภค มีเปาประสงคใน
การจดั หาน้ําสะอาดเพอ่ื การอุปโภคบริโภคใหค รบทกุ หมูบา น เมือง แหลงทองเท่ียว และพน้ื ที่เศรษฐกิจ รวมทั้ง
การจัดหาแหลงนํ้าสํารอง พัฒนานํ้าดื่มใหไดมาตรฐานในราคาท่ีเหมาะสม และการประหยัดน้ําภาคครัวเรือน
ภาคบริการ และภาคราชการ และมีเปาหมายภายใตอํานาจหนาที่ของคณะทํางานขับเคลื่อนการดําเนินงาน
ประปาหมบู า นขององคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ ดงั นี้
เปา หมาย (ป)
กลยุทธ/แผนงาน ตวั ช้วี ัด 20 ป 61-65 66-70 71-80

การพฒั นา ขยายเขตและ หมูบา นทีก่ อสรางระบบประปา 256 256 - -
เพ่ิมประสิทธภิ าพระบบ จํานวนครวั เรือน 11,441 11,441 - -
ประปาหมูบา น หมูบา นทไ่ี ดร บั การเพมิ่ 14,534 5,472 5,157 3,905
ประสทิ ธิภาพระบบประปา
พฒั นานาํ้ อุปโภคบริโภคไดมาตรฐานและราคาท่เี หมาะสม
การปรบั ปรุงระบบประปา รอ ยละหมบู านท่ีไดรับการปรับปรุง ครบทกุ 20 30 50
หมูบ านใหไดมาตรฐาน ใหไดมาตรฐาน หมูบาน
(SDGs) รอยละของระบบประปาทผี่ า น 90 18 27 45
มาตรฐานประปาด่ืมได

มาตรฐานอางอิง
• สํานักบริหารจัดการน้ํา กรมทรัพยากรน้ํา.2562. คูมือผูควบคุมการผลิตนํ้าประปา ระบบประปา

แบบบาดาลขนาด 7 และ 10 ลบ.ม./ชม.. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม
• สํานักบริหารจัดการนํ้า กรมทรัพยากรน้ํา. 2562.คูมือผูควบคุมการผลิตน้ําประปา ระบบประปา

แบบผวิ ดนิ ขนาด 5 10 และ 20 ลบ.ม./ชม.. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม
• กรมอนามยั . ประกาศกรมอนามยั เรอื่ ง เกณฑคุณภาพนา้ํ ประปาดม่ื ได กรมอนามัย พ.ศ. 2563.

กระทรวงสาธารณสขุ
• กรมอนามัย. คูมือแนวทางการดําเนินงานการขับเคล่ือนระบบประปาหมูบาน ประจําป

งบประมาณ พ.ศ. 2565. กระทรวงสาธารณสุข

7

คมู ือหลักเกณฑแ ละมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมบู านขององคกรปกครองสวนทองถน่ิ

รูปแบบการบรหิ ารกจิ การระบบประปาหมูบา นขององคก รปกครองสวนทอ งถิ่น

องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีหนาท่ีในการจัดบริการสาธารณะแกประชาชนในดานการสาธารณูปโภค
สาธารณูปการ โดยเฉพาะอยางยิ่ง สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน อาทิ น้ําดื่มนํ้าใชเพื่อการอุปโภคบริโภค เปนตน
ซึ่งจะตองดําเนินการใหท่ัวถึงและครอบคลุม ดังนั้น เพ่ือใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีแนวทางที่สามารถ
นําไปปฏิบัติเพ่ือใหเกิดสัมฤทธิ์ผลตามหลักเกณฑการประเมินคุณภาพระบบประปาหมูบาน จึงจะนําเสนอ
แนวทางในการปฏบิ ตั หิ รือการจดั บริการระบบน้าํ สะอาด ซึ่งมีรายละเอยี ดดงั ตอ ไปน้ี

1. ความหมาย
การบริหารกิจการประปา คือ การดําเนินงานใหร ะบบประปา สามารถบริการนํ้าสะอาดใหแกชุมชนได
อยางท่ัวถึงเพียงพอตอเน่ืองตลอด 24 ชั่วโมง และมีผลประกอบการใหสามารถดําเนินกิจการไดอยางย่ังยืน
ท้ังนี้ การบริหารกิจการประปาเร่ิมจากการควบคุมการผลิตนํ้าประปาใหมี "คุณภาพดี" และ มี "ปริมาณ
เพียงพอตอเน่ืองตลอด 24 ช่ัวโมง" และสามารถดําเนินการจําหนายน้ําประปาใหมีรายไดเพียงพอตอ
การดําเนินงานกิจการประปา ตลอดจนมีการควบคุมรายรับรายจายของการประปาอยางรัดกุม สามารถตรวจสอบ
ไดอ ยา งโปรง ใส
2. องคป ระกอบของผทู ่เี กี่ยวของกับการบรหิ ารกจิ การประปา
การที่กิจการประปาชนบทหรือระบบการจัดการนํ้าสะอาดจะสามารถดําเนินการไปไดดวยดี กาวหนา
และยง่ั ยนื
2.1 กลุมผใู ชนํ้า

กลมุ ผูใชน ้ํา คอื ผใู ชน ้ําทุกคนทใี่ ชบ รกิ ารน้ําจากประปา มหี นา ทดี่ ังนี้
 คัดเลอื กตัวแทนเปนคณะกรรมการบริหารกิจการประปาหมบู า น
 ปฏิบัติตามกฎระเบียบและขอบังคับของประปาหมูบาน ทั้งนี้ การออกระเบียบ ขอบังคับ

ของกิจการประปาจะตองผานความเห็นชอบของสมาชิกผูใชนํ้าประปาอยางนอยครึ่งหนึ่ง
ของจาํ นวนสมาชิกผใู ชน า้ํ ประปา โดยจะตอ งไมขัดกับขอกาํ หนดขององคกรปกครองสว นทองถน่ิ
 ตรวจสอบการทํางานของคณะกรรมการบริหารกิจการประปาหมูบานตลอดจนทักทวง
เมื่อเหน็ วาคณะกรรมการบริหารไมดาํ เนินการตามนโยบายทวี่ างไว
 ใหค วามรวมมือในการบํารุงรักษาระบบประปาหมบู านใหดํารงอยูไ ดตลอดไป

8

คูมือหลักเกณฑและมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมูบานขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ

2.2 คณะกรรมการบรหิ ารกจิ การประปา
คณะกรรมการบริหารกิจการประปา คือ ตัวแทนท่ีไดรับการคัดเลือกจากกลุมสมาชิกผูใชนํ้าเขามา

เปนตัวแทนของสมาชิกผูใชนํ้าทุกคนทําการบริหารกิจการประปาหมูบานโดยสถานภาพของกรรมการเกิดข้ึน
เมือ่ วนั ทไ่ี ดรับเลอื กต้ังจากสมาชกิ ผูใ ชน า้ํ และสนิ้ สดุ สถานภาพเมือ่ ตาย หมดวาระ ลาออก สมาชิกมีมติใหออก
หรืออื่นๆ ตามที่องคกรปกครองสวนทองถ่ินกําหนด โดยคณะกรรมการบริหารกิจการประปาหมูบานมีหนาท่ี
หลกั คือ

 วางระเบยี บใชบ งั คับในการบริหารกิจการประปา โดยผา นความเห็นชอบจากสมาชกิ ผูใชนา้ํ
 บริหารกิจการประปาใหเปนไปตามขอบังคับ และใหเกิดความกาวหนาและบริการ

ประชาชนไดอ ยา งทว่ั ถงึ ตลอด 24 ชั่วโมง
 พิจารณาอนญุ าต หรือ งดจายนํ้าใหแ กส มาชกิ โดยคาํ นึงถงึ ประโยชนข องกิจการประปา
 จัดทํารายงานผลการดําเนินงานใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินทราบและรายงานผลการ

ดาํ เนินงานใหส มาชิกผูใชน ํา้ ตามทีอ่ งคกรปกครองสวนทองถน่ิ กําหนด
 ควบคุม ดูแล การทํางานของเจาหนาท่ีของประปาจัดทําโครงการขอรับการสนับสนุน

งบประมาณจากองคก รปกครองสวนทองถน่ิ ในกรณที ง่ี บประมาณของประปาไมเพียงพอ
ตอ การดาํ เนินงานของกจิ การประปา
2.3 ผูด แู ลประปาหมบู า น
ผดู ูแลระบบประปาหมูบา น คอื ผูไดรับการคดั เลอื กจากคณะกรรมการบริหารกจิ การประปา
หมูบาน ใหร ับผิดชอบเปน ชางประจาํ ประปาหมูบาน มหี นา ท่หี ลัก คอื
 เปด-ปด ควบคมุ การทํางานของระบบประปา
 ตรวจสอบการบํารงุ รักษา และซอมแซมระบบประปาใหสามารถทําการผลิตน้ําประปาได
อยางตอ เนื่องอยเู สมอ
 แจงสภาพการทํางาน และปญหาท่ีเกิดข้ึนของระบบประปาใหคณะกรรมการบริหาร
กิจการประปาหมบู านทราบเปนประจํา
 ปฏบิ ตั ิงานตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบรหิ ารกจิ การประปาหมบู า น
 แสวงหาความรูและเทคโนโลยีใหมๆ เพ่ือนํามาใชหรือพัฒนาระบบประปาหมูบานใหดีย่ิงๆ
ขนึ้ ไป

9

คมู ือหลักเกณฑและมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบา นขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ

3. รูปแบบการบรหิ ารกจิ การประปา
จากการท่ีประชาชนมีความตองการนํ้าสะอาดสําหรับใชในการอุปโภคบริโภคเพ่ือดํารง

ชีวิตประจําวัน รัฐบาลจึงไดสนับสนุนการกอสรางระบบประปาใหชุมชนเพื่อยกระดับชีวิตความเปนอยูใหมี
คณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ขี ้นึ เมอื่ ชมุ ชนไดเปนเจาของ ชุมชนจําเปนตองดําเนินการบริหารกิจการประปา เพื่อบริการนํ้า
สะอาดแกช มุ ชนไดอ ยา งย่ังยนื ทง้ั น้ี การบริหารกจิ การประปามกี ารดําเนนิ การได 2 รปู แบบ คือ

รูปแบบท่ี 1 การบรหิ ารโดยคณะกรรมการบรหิ ารกจิ การประปา
การบริหารรูปแบบดังกลาวนี้ เปนการบริหารตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการบริหาร
กิจการและการบํารุงรักษาระบบประปาหมูบาน พ.ศ. 2548 โดยคณะกรรมการบริหารกิจการประปามาจาก
การเลือกต้ังจากผูใชนํ้า มีวาระการดํารงตําเหนงอยางชัดเจน โดยคณะกรรมการฯ น้ี มีหนาท่ีบริหารกิจการ
ประปาใหสามารถบริการนํ้าสะอาดไดอยางเพียงพอตลอด 24 ช่ัวโมง และดูแลควบคุมการผลิตนํ้าประปา
อยา งครบวงจร

โครงสรา งการบริหารกจิ การประปาโดยคณะกรรมการ

ผูใชนํา้

เลอื กต้งั
คณะกรรมการบรหิ ารกิจการประปา

บรหิ าร

คน เงนิ วสั ดุอปุ กรณ การจัดการ

• ผใู ชน ํ้า • เงินกองทนุ • ระบบประปา • การดาํ เนินงาน
• ผคู วบคุมการผลติ • รายรับ - รายจา ย • สารเคมี • กฎระเบียบ
• ชา งตอ ทอ • อุปกรณป ระปา • การบรหิ ารบคุ คล
• ผูจ ดมาตร • อุปกรณสาํ นักงาน
• ผเู กบ็ เงนิ คาน้ํา
• พนกั งานบญั ชี

10

คูมือหลักเกณฑแ ละมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบานขององคก รปกครองสว นทอ งถนิ่

รูปแบบที่ 2 การบรหิ ารโดยองคก รปกครองสว นทอ งถิ่น
เน่ืองจากพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวน
ทองถิน่ พ.ศ. 2542 ไดก าํ หนดใหม ีการถายโอนภารกจิ ในการจดั บริการสาธารณะของรัฐใหแกองคกรปกครอง
สวนทอ งถน่ิ คอื องคก ารบริหารสวนจงั หวัด เทศบาล และองคการบริหารสวนตําบล ดังนั้น การบริหารกิจการ
ประปา จึงอยูภายใตการดูแลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และผูบริหารกิจการประปาจะไดรับการแตงตั้ง
หรือเลือกต้ังใหมีหนาที่บริหารกิจการประปาเพื่อบริการน้ําสะอาดไดอยางเพียงพอตลอด 24 ช่ัวโมง รวมท้ัง
ดแู ลควบคุมการผลติ นาํ้ ประปาอยา งครบวงจร โดยใชงบประมาณจากองคก รปกครองสว นทองถนิ่

โครงสรา งการบรหิ ารกิจการประปาโดยองคก รปกครองสวนทองถ่ิน

อบจ. / เทศบาล / อบต.

แตง ต้งั หรอื เลอื กตง้ั
ผูบริหารกิจการประปา

คน เงิน วสั ดอุ ปุ กรณ์ การจดั การ

• ผูใชน้ํา • เงินกองทนุ • ระบบประปา • การดาํ เนนิ งาน
• ผูควบคุมการผลติ • รายรับ - รายจา ย • สารเคมี • กฎระเบียบ
• ชา งตอ ทอ • อปุ กรณป ระปา • การบริหารบคุ คล
• ผจู ดมาตร • อปุ กรณส าํ นักงาน
• ผเู ก็บเงนิ คา นํา้
• พนักงานบญั ชี

11

คมู ือหลักเกณฑและมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบ านขององคก รปกครองสว นทอ งถนิ่

หลักเกณฑแ ละมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมบู า นขององคก รปกครองทองถ่นิ

ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ร ะ บ บ ป ร ะ ป า ห มู บ า น ต า ม ห ลั ก เ ก ณ ฑ ท่ี ก ร ม ท รั พ ย า ก ร นํ้ า
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมไดจัดทําขึ้น มีกระบวนการดําเนินงาน ประกอบดวย
การจัดต้ังคณะทํางานจัดทํารางหลักเกณฑแนวทางการประเมินมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบาน
ซ่ึงประกอบดวย ผูแทนกรมทรัพยากรนํ้า กรมทรัพยากรน้ําบาดาล กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน
กรมอนามัย และการประปาสวนภูมิภาค เพื่อกําหนดหลักเกณฑและมาตรฐานของระบบประปาหมูบาน
กําหนดเกณฑการใหคะแนน จัดทําแบบประเมินคุณภาพฯ การวิเคราะหผลการประเมิน การประชุม
เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารเพื่อชแ้ี จงรายละเอยี ดใหผ ูทเี่ ก่ียวของไดรับทราบ และใหขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะในการปรับปรุง
เพ่ือใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นใชเปนเครื่องมือ ในการตรวจสอบ ประเมินระบบประปาในความดูแล
รับผิดชอบ เพื่อพัฒนา ปรับปรุง เพ่ิมประสิทธิภาพ ยกระดับระบบ ประปาหมูบานใหไดมาตรฐาน และผลิต
นํา้ ประปาใหมีคุณภาพตอ ไป

หลักเกณฑก ารประเมินคณุ ภาพระบบประปาหมูบา น
1. ดา นแหลง น้าํ ดบิ มหี ลักเกณฑดังนี้
1.1 ปริมาณนาํ้ ดิบจะตองเพียงพอที่จะนาํ มาผลติ นาํ้ ประปาไดต ลอดทัง้ ป
1.2 คุณภาพน้าํ ดบิ จะตองไดมาตรฐาน ดงั นี้
1) แหลงนํ้าผิวดิน จะตองเปนไปตามมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน ประเภทที่ 1 - 4

ตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 8 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
สงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 เร่ืองกําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้า
ผิวดิน ตีพิมพในราชกิจจานุเบกษา เลม 111 ตอนท่ี 16 ง ลงวันท่ี24 กุมภาพันธ 2537 หรืออยางนอย
คณุ ภาพนํา้ ดิบเบอ้ื งตน ทางดา นกายภาพ มีความเหมาะสมทีจ่ ะนาํ ไปผลิตเปน นํา้ ประปาได

2) แหลงนํ้าบาดาล จะตองเปนไปตามมาตรฐานนํ้าบาดาลท่ีจะใชบริโภคได ตามประกาศ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ือง กําหนดหลักเกณฑและมาตรการในทางวิชาการสําหรับ
การปอ งกันดานสาธารณสขุ และการปองกนั ในเร่ืองส่งิ แวดลอมเปนพิษ พ.ศ. 2551

2. ดานระบบประปา มีหลกั เกณฑด ังนี้
2.1 ระบบนาํ้ ดิบ จะตอ งมีสภาพมัน่ คง แขง็ แรง พรอ มใชงาน มีองคประกอบครบถวน
2.2 ระบบผลิตนํ้าประปา จะตองมสี ภาพม่ันคง แข็งแรง พรอมใชงาน มีองคประกอบครบถว น
2.3 ระบบจา ยนํา้ ประปา จะตองมีสภาพม่ันคง แข็งแรง พรอมใชงาน มีองคป ระกอบครบถว น

12

คูม อื หลักเกณฑและมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมูบา นขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ

3. ดา นการควบคุมการผลติ และบํารงุ รกั ษาระบบประปา มหี ลกั เกณฑดังน้ี
3.1 ผคู วบคุมการผลติ น้ําประปา จะตอ งมคี วามรู ความสามารถในการผลติ นา้ํ ประปา
3.2 ผคู วบคุมการผลิตน้ําประปา จะตอ งมกี ารดูแล และบํารงุ รักษาระบบประปาตามหลกั วชิ าการ
3.3 การซอ มแซม/เปลี่ยน ทอ อปุ กรณ และระบบควบคุม จะตองสามารถดําเนนิ การอยางรวมเร็ว
3.4 จะตองมีการควบคมุ ปริมาณน้ําสญู เสยี ใหอยใู นเกณฑท่กี าํ หนด

4. ดา นปรมิ าณนา้ํ แรงดนั นา้ํ และคณุ ภาพนํ้าประปา มีหลกั เกณฑดงั น้ี
4.1 ปรมิ าณนํา้ ประปาท่ผี ลติ ได จะตองเพียงพอตอ ความตอ งการของผูใชนํ้า
4.2 แรงดันน้าํ ประปา จะตองไหลแรงครอบคลมุ พ้ืนทีใ่ หบ รกิ ารจา ยน้ําตลอดเวลา
4.3 คุณภาพน้ําประปาที่ผลิตได จะตองไดเกณฑคุณภาพนา้ํ ประปาดม่ื ได พ.ศ.2563 ของกรมอนามัย

5. ดา นการบริหารกจิ การระบบประปา มีหลักเกณฑดงั น้ี
5.1 การกําหนดอัตราคานํ้าประปา จะตองคํานึงถึงตนทุนการผลิตและความสามารถในการจาย

คา น้าํ ประปาของผูใชนํ้า
5.2 มีการจดั ทําบัญชีรายรบั -รายจา ย ทีส่ ามารถเปด เผย และตรวจสอบได
5.3 ผบู รหิ ารกจิ การระบบประปา จะตองมีความรู ความสามารถในการบรหิ ารกจิ การประปา
5.4 มกี ฎ ระเบยี บ ขอ บังคบั กจิ การระบบประปา กาํ หนดไวอยางชดั เจน
5.5 มีการประชาสมั พนั ธ ผลการดําเนินการและขาวสารตางๆ ใหสมาชิกผใู ชน้ําทราบความกา วหนา

6. ดานเฝา ระวงั คุณภาพนํ้า มีหลักเกณฑดังนี้
6.1 กําหนดใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีการตรวจสอบคุณภาพระบบประปาหมูบานใหเปนไป

ตามเกณฑมาตรฐานฯ เปนประจาํ ทุก 3 เดือน
มาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบา น

1. มาตรฐานดานแหลง นํ้าดิบ
มาตรฐานดา นแหลง นํ้าดิบ ประกอบดว ย ดา นปริมาณน้ํา และคุณภาพนํ้าดบิ โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี
1.1 ปริมาณนํ้าดิบจะตองเพียงพอท่ีจะนํามาผลิตน้ําประปาไดตลอดทั้งป หมายถึงแหลงน้ําที่ใชเปน

แหลงน้ําหลกั ในการผลติ น้ําประปา จะตองมีปริมาณมากเพียงพอในการสูบเขาระบบประปา ตามความตองการนํ้า
ของอัตราการผลิตของระบบประปา ตลอดจน จะตองมีปริมาณนํ้าเพียงพอ หรือสามารถสูบน้ําเขาระบบผลิต
ประปาในปรมิ าณที่ตองการไดอยางตอเนื่องตลอดท้ังป

1.2 คณุ ภาพน้ําดิบ แบงเปน 2 ประเภท
1) แหลงนํ้าผิวดิน จะตองเปนไปตามมาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิวดิน ประเภทท่ี 1 - 4

ตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 เรื่องกําหนด มาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ํา
ผิวดิน ตีพิมพในราชกิจจานุเบกษา เลม 111 ตอนที่ 16 ง ลงวันท่ี 24 กุมภาพันธ 2537 หรืออยางนอย
คณุ ภาพนํ้าดบิ เบือ้ งดนั ทางดานกายภาพ มีความเหมาะสมท่ีจะนําไปผลิตเปน น้ําประปาได

13

คมู อื หลักเกณฑและมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมบู า นขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ

2) แหลงนํ้าบาดาล จะตองเปนไปตามมาตรฐานน้ําบาดาลที่จะใชบริโภคไห ตามประกาศ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เร่ือง กําหนดหลักเกณฑและมาตรการในทางวิชาการสําหรับ
การปองกันดานสาธารณสุขและการปองกันในเร่ืองสิ่งแวดลอมเปนพิษ พ.ศ.2551 (การขุดเจาะบอนํ้าบาดาล
จะตองสงตวั อยางนาํ้ เพอ่ื วิเคราะห กอ นท่ีจะนํามาใชเปน แหลงนํา้ สําหรบั ผลติ ประปา)

2. มาตรฐานดานระบบประปา
มาตรฐานระบบประปา ประกอบดวยองคประกอบตาง ๆ ของระบบประปา ไดแก ระบบน้ําดิบ

ระบบผลติ และระบบจายนา้ํ โดยมีรายละเอยี ด ดงั น้ี
2.1 ระบบน้ําดิบ จะพิจารณาจาก เครื่องสูบนํ้าดิบและอุปกรณ/ ทอสงน้ําดิบ/ โรงสูบน้ําดิบ

และอุปกรณประกอบตาง ๆ ท้ังหมด ซง่ึ จะตองมีสภาพม่นั คง แขง็ แรง พรอ มใชงาน มอี งคป ระกอบครบถว น
2.2 ระบบผลิตนํ้าประปา จะพิจารณาจากระบบประปาจะตองมีขนาดการผลิตเพียงพอกับ

ความตองการใชน้ําของชุมชน และรองรับประมาณการใชนํ้าสูงสุดตอวันได / ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ํา
(ระบบประปาแบบบาดาลประกอบดวยถังกรองน้ํา ทรายกรองน้ํา และอุปกรณประกอบตางๆ สวนระบบ
ประปาแบบผิวดินจะประกอบดวย ถังสรางตะกอน รวมตะกอน ตกตะกอน และทรายกรอง และอุปกรณ
ประกอบตางๆ) / ถังนํ้าใสและอุปกรณตางๆ / ระบบจายสารเคมีเพ่ือปรับปรุงคุณภาพน้ําและเพื่อฆาเช้ือโรค
จะตองมีสภาพม่นั คง แข็งแรง พรอมใชงาน มีองคประกอบครบถว น

2.3 ระบบจายนํ้าประปา จะพิจารณาจากเครื่องสูบน้ําดีและอุปกรณ / หอถังสูงหรือบางแหงใช
ระบบถงั อดั ความดนั และอุปกรณป ระกอบ / มาตรวัดน้ํา / ทอเมนจายนํ้า และอุปกรณประกอบตางๆ จะตอง
มสี ภาพมน่ั คง แขง็ แรงพรอมใชง าน มีองคป ระกอบครบถว น

3. มาตรฐานดา นการควบคุมการผลิตและบาํ รงุ รักษาระบบประปา
มาตรฐานดานการควบคุมการผลิตและบํารุงรักษาระบบประปา ประกอบดวย คุณสมบัติผูท่ีทํา

หนาท่ีในการควบคุมการผลิต และการปฏิบัติงานในหนาท่ีการควบคุมการผลิต และการบํารุงรักษาระบบ
ประปา จะตอ งมีการดําเนินการใหไดม าตรฐาน ดงั น้ี

3.1 ผูควบคุมการผลิตน้ําประปา จะตองมีความรู ความสามารถในการผลิตน้ําประปาเนื่องจากใน
การผลิตน้ําประปาจําเปนตองมีผูควบคุมการผลิตน้ําประปาท่ีมีความรู ความสามารถเร่ืองระบบประปา ตั้งแต
การพิจารณาการเตรียมนํา้ ดิบ เพ่อื จะนําเขา สรู ะบบผลิตและปรบั ปรุงคุณภาพไดอยางเหมาะสม การดูแลเอาใจ
ใสทกุ ข้นั ตอน ของการผลติ น้ําประปาใหไ ดต ามมาตรฐาน

3.2 ผูควบคุมการผลิตน้ําประปา จะตองมีการดูแล และบํารุงรักษาระบบประปา ตามหลักวิชาการ
ทั้งน้ี เพื่อใหมีการดูแลควบคุมการผลิตน้ําประปาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ใหไดนํ้าประปาที่มีคุณภาพได
มาตรฐาน ดวยตนทุนท่ีเหมาะสม และมีการบํารุงรักษาระบบประปาอยางถูกตอง ผูควบคุมการผลิตจะตอง
มีความสนใจเอาใจใส ในการบํารุงรักษาระบบประปาทุกองคประกอบ ตามระยะเวลาท่ีกําหนด และวิธีการ
ทีถ่ ูกตอ ง โดยปฏบิ ตั ิงานอยา งตอเนอื่ ง

3.3 การซอมแซมเปล่ียน ทอ อุปกรณ และระบบควบคุม จะตองสามารถดําเนินการอยางรวดเร็ว
เพอ่ื ใหเกิดผลกระทบกับประชาชนผใู ชนํ้า ใหนอยทสี่ ดุ

14

คูมอื หลักเกณฑแ ละมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมบู า นขององคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ

3.4 มีการควบคุมปริมาณน้ําสูญเสียใหอยูในเกณฑที่กําหนด เน่ืองจากมีความสําคัญที่อาจจะสงผล
กระทบกบั ความมน่ั คงของการบริหารจัดการะบบประปาใหยั่งยืน ผูควบคุมการผลิตจะตองมีการสอดสองดูแล
การร่ัวไหลของน้ํา ท้ังท่ีระบบผลิตนํ้า และตามตลอดแนวเสนทอที่จายน้ําไมมีจุดรั่วซึมของนํ้า ตลอดจนไมใหมี
การใชนํ้าฟรี ซ่ึงการสูญเสียน้ําเหลานี้ เปนการเสียน้ําโดยเปลาประโยชน ไมไดรายรับ ซึ่งอาจจะทําใหระบบ
ประปาประสบปญ หาการขาดทุน และอาจสง ผลกระทบตอรายรับท่ีจะนาํ มาใชใ นการบาํ รงุ รักษาระบบประปาได

4. มาตรฐานดา นปริมาณนํ้า แรงดันนํ้า และคณุ ภาพน้ําประปา
มาตรฐานดานปรมิ าณนา้ํ แรงดันนํ้า และคณุ ภาพนาํ้ ประปา มีดงั นี้
4.1 ปรมิ าณนา้ํ ประปาที่ผลติ ได จะตอ งเพียงพอกับความตองการของผใู ชน้าํ
4.2 แรงดันนํ้าประปาที่ผลิตได จะตองไหลแรงสม่ําเสมอ จายน้ําใหผูใชน้ําไดอยางตอเนื่อง

และครอบคลมุ พน้ื ท่ใี หบ รกิ ารจายนา้ํ ตลอดเวลา
4.3 คุณภาพน้ําประปาท่ีผลิตได จะตองไดเกณฑคุณภาพนํ้าประปาดื่มได พ.ศ.2563

ของกรมอนามัย ตองมีกระบวนการฆาเช้ือโรคในนํ้า โดยการเติมคลอรีน และตรวจสอบคลอรีนหลงเหลือ
ที่ปลายทอระหวาง 0.2 - 0.5 มิลลิกรัม/ลิตร มีการฝาระวังตรวจสอบคุณภาพนํ้าอยางสม่ําเสมอและสง
ตัวอยางนํ้าประปาที่ผลิตไดเขาวิเคราะหในหองปฏิบัติการ ตามเกณฑคุณภาพน้ําประปาดื่มได พ.ศ.2563
ของกรมอนามยั

5. มาตรฐานดา นการบรหิ ารกจิ การระบบประปา
มาตรฐานดา นการบริหารกิจการระบบประปา จะพิจารณาดงั น้ี
5.1 การกําหนดอัตราคานํ้าประปา จะตองคํานึงถึงตนทุนการผลิตและความสามารถในการจาย

คานํ้าประปาของผูใชนํ้า ทั้งนี้ เพ่ือใหประชาชนผูใชนํ้าทุกคนสามารถใชนํ้าไดในราคาท่ีเหมาะสม
และตอบสนองยทุ ธศาสตรก รมทรัพยากรน้าํ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2579) ยุทธศาสตรท่ี 1 น้ําอุปโภคบริโภค
ไดกําหนดเปาหมายวา ประชาชนมีนํ้าอุปโภคบริโภคท่ีมีคุณภาพไดมาตรฐานเพียงพอและราคาที่เปนธรรม
และเปาหมายการพัฒนาที่ยงั่ ยืน (SDGs) ของสหประชาชาติ ขอ 6.1 บรรลุเปาหมายการใหทุกคนเขาถึงนํ้าด่ืม
ทีป่ ลอดภยั และมรี าคาท่สี ามารถซอ้ื หาไดภ ายในป 2573

5.2 มกี ารจัดทําบัญชีรายรับ-รายจาย ท่ีสามารถเปดเผย และตรวจสอบได เพื่อใหประชาชนผูใชนํ้า
มีความม่ันใจในการบริหารกิจการระบบประปา วาสามารถบริหารกิจการระบบประปาใหมีความยั่งยืน
มีรายรับ-รายจาย ท่ีเหมาะสม และมีการจัดการรายไดในการบริหารกิจการระบบประปาใหอยูไดอยางย่ังยืน
และโปรงใส

5.3 ผูบริหารกิจการระบบประปา จะตองมีความรู ความสามารถในการบริหารกิจการประปา
การดูแลบริหารกิจการระบบประปาจําเปนตองมีผูบริหาร และทีมงานท่ีมีความรูความสามารถ เร่ืองระบบ
ประปาพอสมควร ตั้งแตการพิจารณาแนวทางการจัดการเรื่องการบํารุงรักษาระบบผลิตประปาใหสามารถ
ดําเนินการไดอยางตอเน่ือง การเตรียมคาใชจายสําหรับการซอมบํารุงรักษาระบบผลิตประปา การจัดการ
เร่ืองรายรับ-รายจายตางๆ ใหมีความสมดุล รวมทั้งการจัดการในเรื่องของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานตางๆ
ของระบบประปา เพื่อท่ีจะส ามารถทําใหผูปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานใหอยางเอาใจใส
และเตม็ ความสามารถไดตลอดเวลา ซ่งึ จะสง ผลดีตอ การบริหารจดั การระบบประปาไดอยางยั่งยนื

15

คูม ือหลกั เกณฑแ ละมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมูบานขององคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ

5.4 มีกฎ ระเบียบ ขอ บงั คับ กิจการระบบประปา กําหนดไวอยางชัดเจน โดยกฎ ระเบียบขอบังคับ
นี้ จะเปน เครื่องมอื ในการบรหิ ารจัดการระบบประปา ของผูบรหิ ารกจิ การ และประชาชนผูใชน้ํา เพื่อลดปญหา
ความขดั แยง ท่ีอาจจะเกดิ ขึน้

5.5 มกี ารประชาสมั พนั ธ ผลการดาํ เนินการและขา วสารตา งๆ ใหสมาชิกผูใชนํ้าทราบความกาวหนา
เพื่อใหประชาชนผูใชนํ้า มีความมั่นใจและเช่ือมั่นในการบริหารกิจการระบบประปาและทราบขอมูลตางๆ
ของกิจการระบบประปาอยางตอเน่ือง วามีการดําเนินการอะไร มีเจาหนาที่ในการปฏิบัติงานเปนใครบาง
เน่อื งจากประชาชนจะไดร บั รูว าจะตองประสานหากเกิดปญหาตางๆ กับใคร หรือผูใดจะเปน ผูมาเก็บคาใชน าํ้ ฯลฯ
ขั้นตอนการประเมินผลคณุ ภาพระบบประปาหมูบาน

1. เตรียมการกอนการประเมินคุณภาพระบบประปาหมูบาน ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น
ตรวจสอบระบบประปาหมบู าน ในเขตความรบั ผิดชอบ เพือ่ สรุปจาํ นวนระบบประปาและจําแนกรูปแบบระบบ
ประปาหมูบาน วาเปนระบบประปาแบบใชแหลงน้ําบาดาล หรือแหลงน้ําผิวดิน เพื่อวางแผนการดําเนินการ
ประเมินคุณภาพ

2. ระหวางการประเมินคุณภาพระบบประปาหมูบาน ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นกรอกขอมูล
ท่วั ไปของระบบประปาหมูบานท่ีแบบประเมินฯ จากขอมูลท่ีมีอยู เพื่อเขาพ้ืนที่ระบบประปาหมูบานไดถูกตอง
ตามขอ มลู

3. ดําเนินการเก็บขอมูลระบบประปา และมาตรฐานในแตละดาน ตามแบบประเมินฯ โดยใน
ระหวา งการเกบ็ ขอ มูล ควรเก็บจากการทดสอบการทาํ งานและตามสภาพความเปน จรงิ

4. นําขอ มูลมาวิเคราะหและสรุปผลการประเมนิ

16

คูมอื หลกั เกณฑและมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมบู า นขององคกรปกครองสว นทอ งถนิ่

หลักเกณฑแ ละมาตรฐานคณุ ภาพน้าํ ประปาดม่ื ได

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ไดมีประกาศกรมอนามัย เร่ือง เกณฑคุณภาพน้ําประปา
ด่มื ได กรมอนามัย พ.ศ. 2563 เม่ือวันที่ 13 กรกฎาคม 2563 โดยปรับปรุงเกณฑคุณภาพนํ้าประปาด่ืมได
พ.ศ. 2553 ใหทันตอสถานการณการเปลี่ยนแปลงในปจจุบัน สนับสนุนนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ
การจัดสภาวะแวดลอมที่เอ้ือตอการมีสุขภาพดีของประชาชน รวมทั้งเปนการยกระดับคุณภาพมาตรฐาน
นาํ้ ประปาตามบทบาทภารกจิ ของกรมอนามยั เพือ่ ใหป ระชาชนมีนํ้าบริโภคที่สะอาดและปลอดภัย อันจะสงผล
ใหประชาชนมคี ณุ ภาพชวี ิตทด่ี ีขน้ึ สรปุ ได ดงั น้ี

1 คํานยิ าม
"นํ้าประปาดื่มได" หมายความวา นํ้าประปาที่มีการควบคุมคุณภาพตั้งแตระบบผลิตจนถึง

บา นผูใชนา้ํ ใหมคี ณุ ภาพเปนไปตามประกาศนี้
2 คณุ ภาพนา้ํ ประปา
(1) คุณภาพนํ้าทางกายภาพ
(ก) ความขุน (Turbidity) ตอ งมีคา ไมเกนิ 5 เอน็ ทียู
(ข) สีปรากฏ (Apparent color) ตองมคี า ไมเกิน 15 แพลตตินมั โคบอลท
(ค) ความเปน กรดและดา ง (pH) ตองมีคา อยูร ะหวา ง 6.5 – 8.5
(2) คณุ ภาพน้ําทางเคมที วั่ ไป
(ก) ของแข็งละลายนํ้าทงั้ หมด (Total dissolved solids) ตอ งมคี าไมเ กนิ 500 มิลลกิ รมั ตอ ลิตร
(ข) ความกระดา ง (Hardness as CaCO3) ตอ งมีคาไมเกิน 300 มิลลิกรมั ตอลติ ร
(ค) ซลั เฟต (Sulfate) ตอ งมีคาไมเ กนิ 250 มิลลกิ รัมตอลติ ร
(ง) คลอไรด (Chloride) ตอ งมีคําไมเกิน 250 มลิ ลิกรัมตอลิตร
(จ) ไนเตรท (Nitrate as NO3) ตอ งมคี า ไมเกิน 50 มิลลิกรมั ตอ ลิตร
(ฉ) ไนไตรท (Nitrite as NO2) ตองมีคา ไมเกนิ 3 มิลลกิ รัมตอลิตร
(ช) ฟลอู อไรด (Fluoride) ตอ งมคี าไมเกิน 0.7 มิลลิกรัมตอลิตร
(๓) คุณภาพนา้ํ ทางโลหะหนักทัว่ ไป
(ก) เหลก็ (Iron) ตอ งมคี าไมเ กนิ 0.3 มลิ ลกิ รัมตอ ลิตร
(ข) แมงกานสี (Manganese) ตองมคี า ไมเ กิน 0.3 มลิ ลิกรมั ตอ ลิตร
(ค) ทองแดง (Copper) ตองมีคา ไมเ กิน 1 มลิ ลิกรัมตอ ลิตร
(ง) สงั กะสี (Zinc) ตอ งมีคา ไมเกิน 3 มิลลกิ รมั ตอ ลติ ร
(๔) คุณภาพนํา้ ทางโลหะหนกั ทเ่ี ปน พษิ
(ก) ตะก่ัว (Lead) ตองมคี า ไมเ กนิ 0.01 มิลลกิ รมั ตอลิตร
(ข) โครเมียมรวม (Total chromium) ตอ งมคี า ไมเ กนิ 0.05 มลิ ลิกรมั ตอ ลิตร
(ค) แคดเมียม (Cadmium) ตองมีคา ไมเ กิน 0.003 มลิ ลิกรัมตอลิตร

17

คมู อื หลักเกณฑแ ละมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมบู านขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ

(ง) สารหนู (Arsenic) ตอ งมคี า ไมเกิน 0.01 มลิ ลกิ รัมตอลติ ร
(จ) ปรอท (Mercury) ตอ งมคี าไมเ กนิ 0.001 มลิ ลิกรมั ตอลิตร
(๕) คณุ ภาพนํ้าทางแบคทเี รยี
(ก) โคลิฟอรมแบคทีเรีย (Total coliforms bacteria) ตองตรวจไมพบตอ 100 มิลลิลิตร
หรือตองมีคา < 1.1 เอม็ พีเอ็นตอ 100 มิลลิลิตร
(ข) อีโคไล (Escherichia coli) ตองตรวจไมพบตอ 100 มิลลิลิตร หรือตองมีคา < 1.1
เอ็มพเี อน็ ตอ 100 มลิ ลลิ ติ ร
ขอ ๕ การตรวจวิเคราะห วธิ ีการเกบ็ และรกั ษาตัวอยางคณุ ภาพนํ้าประปาตามขอ ๔ จะตอ ง
เปนไปตามวิธีการตามหนังสือ Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater
Edition 23rd ed., 2017 APHA AWWA WEF

18

คมู อื หลกั เกณฑและมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมบู า นขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ

เกณฑค ุณภาพน้ําประปานํา้ ด่ืมได

พารามเิ ตอร หนวยวดั คามาตรฐาน วธิ วี เิ คราะห
ดานกายภาพ
ความขนุ (Turbidity) เอน็ ทียู ไมเ กนิ 5 Nephelometry
สปี รากฏ (Apparent color) แพลตตนิ ัมโคบอลท ไมเ กนิ 15 Spectrophotometric-single-wavelength
ความเปนกรดและดาง (pH) 6.5 – 8.5 visual comparison method
ดา นเคมีทั่วไป - Electrometric method
ของแขง็ ละลายนาํ้ ท้ังหมด (Total dissolved
solids) มลิ ลิกรมั ตอ ลติ ร ไมเ กิน 500 TDS dried at 18 - องศาเซลเซยี ส,
ความกระดา ง (Hardness as CaCO3) มลิ ลกิ รมั ตอลติ ร ไมเ กนิ 300 Gravimetric, Electrometric method
ซัลเฟต (Sulfate) EDTA titrimetric
คลอไรด (Chloride) (as CaCO3)
ไนเตรท (Nitrate) มลิ ลิกรมั ตอ ลติ ร ไมเกนิ 250 Turbidimetry, ion chromatography
ฟลูออไรด (Fluoride) มิลลกิ รมั ตอ ลิตร ไมเกิน 250 Argentometry, ion chromatography
มิลลิกรมั ตอ ลติ ร(as NO3) ไมเ กนิ 50 Cadmium reduction, ion
ไนไตรท (Nitrite) มิลลิกรมั ตอลิตร ไมเ กนิ 0.7 chromatography spectrophotometry
ดานเคมี (โลหะหนกั ) ion chromatography, SPADNS
เหล็ก (Iron) มิลลิกรมั ตอ ลติ ร (as NO2-) ไมเกนิ 3 colorimetric method. ion-selective
แมงกานสี (Manganese) electrode
ทองแดง (Copper)
สังกะสี (Zinc) มิลลิกรมั ตอ ลติ ร ไมเ กิน 0.3 AAS (flame), ICP, spectrophotometry
ดา นเคมี (โลหะหนักทีเ่ ปนพิษ) มิลลกิ รมั ตอลิตร ไมเ กนิ 0.3 AAS (flame), ICP, spectrophotometry
ตะกั่ว (Lead) มิลลิกรมั ตอ ลิตร ไมเ กนิ 1 AAS (flame), ICP, spectrophotometry
โครเมียมรวม (Total chromium) มิลลิกรัมตอลิตร ไมเ กนิ 3 AAS (flame), ICP, spectrophotometry
แคดเมยี ม (Cadmium)
มลิ ลิกรัมตอลิตร ไมเกิน 0.01 AAS (graphite furnace), ICP
มิลลกิ รมั ตอ ลิตร ไมเกนิ 0.05 AAS (graphite furnace), ICP
มิลลิกรัมตอลิตร ไมเกนิ 0.003 AAS (graphite furnace), ICP

สารหนู (Arsenic) มิลลกิ รมั ตอลติ ร ไมเ กนิ 0.01 AAS (vapor generation technique),
ปรอท (Mercury) มิลลิกรัมตอ ลิตร ไมเกนิ 0.001 ICP, graphite furnace
ดานชวี ภาพ AAS (vapor generation technique), ICP,
Automatic direct mercury analyzer
โคลฟิ อรม แบคทเี รยี (Total coliforms
bacteria) ตอ 100 มิลลลิ ิตร ไมพ บ Presence-Absence Test
เอ็มพีเอ็น ตอ 100 มิลลิลติ ร นอ ยกวา 1.1 MPN method
อโี คไล (Escherichia coli) Presence-Absence Test
ตอ 100 มลิ ลลิ ิตร ไมพบ MPN method
เอม็ พเี อ็น 100 มลิ ลลิ ิตร นอยกวา 1.1

19

คมู ือหลกั เกณฑและมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมบู า นขององคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ

แนวทางการขับเคล่อื นการดาํ เนินงานประปาหมบู านขององคก รปกครองสวนทองถ่ิน

บทบาทระดบั จงั หวัด

แนวทาง รายละเอียด
1. กําหนดกรอบ แนวทางปฏิบัติ วิธีการในการ คณะทํางานขับเคล่ือนการดําเนินงานประปาหมูบาน
สํ า ร ว จ วิ เ ค ร า ะ ห ข อ มู ล ป ร ะ ป า ห มู บ า น ขององคกรปกครองสวนทองถ่ินระดับจังหวัด จัดประชุม
ขององคก รปกครองสวนทองถนิ่ เพ่ือกําหนดกรอบ แนวทางปฏิบัติ วิธีการในการสํารวจ
วิเคราะหขอมูลประปาหมูบานขององคกรปกครองสวน
ทองถน่ิ ใหตรงกับขอเท็จจริง เพื่อใชเปนฐานขอมูลในการ
ขับเคลอื่ นการดําเนนิ งาน
2. จัดทําและบูรณาการขับเคล่ือนแผนงาน คณะทํางานขับเคลื่อนการดําเนินงานประปาหมูบาน
พรอมกาํ หนดเปาหมายการพัฒนา ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับจังหวัด จัดทํา
แผนงานในการขับเคล่ือนการดําเนินงานประปาหมูบาน
ขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน โดยมีเปาหมายการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพนํ้าประปาหมูบานได
มาตรฐาน จังหวดั ละ 1 แหง
3. สนบั สนนุ สงเสริม ผลกั ดนั และเสรมิ สราง คณะทํางานขับเคลื่อนการดําเนินงานประปาหมูบาน
มาตรการเพือ่ ใหอ งคกรปกครองสว นทองถนิ่ พฒั นา ข อ ง อ ง ค ก ร ป ก ค ร อ ง ส ว น ท อ ง ถิ่ น ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด
ศกั ยภาพบุคลากรทองถิ่น ผูดแู ลระบบประปา จัดประชุม หรือ อบรมใหความรูบุคลากรทองถิ่น
หมูบ าน และคณะกรรมการบริหารกิจการและ และคณะกรรมการบริหารกิจการและบํารุงรักษาระบบ
บํารงุ รักษาระบบประปาหมูบาน ประปาหมบู าน เพอ่ื เพ่ิมศักยภาพในการทาํ งาน
4. กาํ กับ ตดิ ตามและประเมินผลการดาํ เนนิ งาน 1. กํากับ ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานของ
ตามแผนงานการพัฒนาระบบประปาหมูบ า นของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนประจําทุกไตรมาส
องคกรปกครองสว นทองถ่ิน (3 เดือน)
2. รายงานผลการดําเนินงาน พรอมจัดทําขอเสนอเชิง
นโยบายตอคณะทํางานขับเคล่ือนการดําเนินงานประปา
หมูบานขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน เปนประจําทุก
ไตรมาส (3 เดอื น)

20

คมู ือหลกั เกณฑและมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมบู า นขององคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ

บทบาทองคกรปกครองสว นทองถิ่น

แนวทาง รายละเอยี ด
1. ตรวจสอบขอมูลประปาหมูบานขององคกร 1. องคกรปกครองสวนทองถิ่นสํารวจขอมูลประปา
ปกครองสว นทองถน่ิ หมูบานท่ีอยูในความรับผิดชอบท้ังหมด พรอมกรอก
ขอมูลในระบบขอมูลกลางองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
(INFO) ใหถูกตองสมบรู ณ และรายงานใหจ ังหวดั ทราบ
2. ดําเนินการปรับปรุง/ซอมแซมประปาท่ีชํารุด ให
สามารถใชการได
2. ขับเคลื่อนการดําเนินงานประปาหมูบานของ องคกรปกครองทองถิ่นปฏิบัติตามแนวทางหลักเกณฑ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น เพ่ือใหไดน้ําสะอาด และมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบานขององคกร
ตามหลกั เกณฑม าตรฐานคณุ ภาพ ปกครองสว นทองถิ่น
3. ประเมินผล / ปรับปรุง ระบบประปาหมูบาน 1. ประเมินศักยภาพของระบบประปาหมูบานในความ
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น รับผิดชอบของตนเองทุกระบบ
2. รับการประเมินระบบประปาหมูบานจากคณะทํางานฯ
ระดบั จงั หวัด
3. ปรับปรุงระบบประปาหมูบานตามคําแนะนําของ
คณะทํางานฯ ระดบั จังหวัด
4. ตรวจสอบคุณภาพน้ําประปาหมูบานของ ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินตรวจสอบคุณภาพ
องคกรปกครองสวนทอ งถิ่น นํ้าประปาดว ยเครื่องมือภาคสนามอยางงาย โดยใหตรวจ
ณ แหลงผลติ /แหลงจายนํ้าของระบบประปาหมูบานเปน
ประจําทุกไตรมาส (3 เดือน) และตรวจสอบคุณภาพนํ้า
โดยการสงตัวอยางนํ้าประปาหมูบานใหหนวยงานท่ีมี
หนาทใ่ี นการตรวจสอบคณุ ภาพนํา้ อยางนอ ยปละ 1 คร้ัง
แล ะรายงานผล การตรวจส อบใหคณะทํางานฯ
ระดบั จงั หวดั ทราบ
5. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรผูดูแล ถายทอดและสงเสริมการตรวจสอบคุณภาพนํ้าอยางงาย
ระบบประปาหมูบาน และคณะกรรมการบริหาร แกผ ูด แู ลระบบประปาหมูบาน และแกนนําชมุ ชน
กจิ การและบาํ รงุ รักษาระบบประปาหมูบ าน

21

คมู อื หลักเกณฑแ ละมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมบู า นขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ

แนวทางการดําเนินงานพฒั นาระบบประปาหมบู า นขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน

การพัฒนาระบบประปาหมูบานขององคกรปกครองสว นทองถ่ินระดับจงั หวดั
1. บรู ณาการความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของในพ้ืนท่ี เชน สํานักงานทรัพยากรนํ้าแหงชาติภาค

สํานักงานทรัพยากรนํ้าภาค สํานักงานทรัพยากรนํ้าบาดาลเขต ศูนยอนามัยเขต หนวยงานภายในจังหวัด
และสํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัด ในการยกระดับระบบประปาหมูบานขององคกรปกครอง
สว นทองถิ่น

2. พัฒนาศักยภาพเจาหนาที่ผูรับผิดชอบการพัฒนาระบบการตรวจสอบคุณภาพนํ้าประปา
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือคณะกรรมการบริหารกิจการประปาหมูบาน และเครือขายพิทักษ
สง่ิ แวดลอม ตามคูมอื หลกั เกณฑแ ละมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมบู า นขององคกรปกครองสว นทองถ่ิน

3. ตรวจวัดคุณภาพน้ําแหลงนาํ้ ดบิ และนา้ํ ประปา จากระบบประปาหมูบาน และดําเนินการวิเคราะห
สังเคราะหผลการตรวจวัดคุณภาพน้ําและจัดทําขอเสนอแนะทางวิชาการในการพัฒนาคุณภาพน้ําประปา
และการปรับปรุงระบบประปาหมูบาน นําเสนอตอคณะทํางานขับเคล่ือนการดําเนินงานประปาหมูบาน
ขององคกรปกครองสวนทองถ่ินระดับจังหวัด และองคกรปกครองสวนทองถิ่น เพื่อใหเกิดขับเคล่ือน
ในเชงิ นโยบายในระดับทอ งถน่ิ ตอ ไป
การพัฒนาระบบประปาหมูบานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
หรือคณะกรรมการบรหิ ารกจิ การประปาหมบู าน

1. กิจกรรมการรบั รองระบบประปาหมูบา น จะตอ งดําเนนิ การ ดงั นี้
1.1 ประเมินศักยภาพของระบบประปาหมูบานในความรับผิดชอบของตนเองทุกระบบ

(Self – Assessment) (ตามเกณฑม าตรฐานระบบประปาหมูบาน ของกรมทรัพยากรนํ้า)
1.2 รับการประเมินระบบประปาหมูบาน และรวมมือตรวจสอบคุณภาพแหลงน้ําดิบ

และน้าํ ประปาจากเจาหนา ท่ีสาํ นักงานส่งิ แวดลอมภาค และหนว ยงานทเ่ี กีย่ วของ
1.3 ปรับปรุงระบบประปาหมูบา นตามคาํ แนะนาํ ของเจาหนา ที่
1.4 ตรวจวัดคณุ ภาพแหลงนํา้ ดิบและนา้ํ ประปาตามแนวทางทก่ี าํ หนด

2. กจิ กรรม พัฒนาศกั ยภาพผูดแู ลระบบประปาหมูบา น
2.1 ฝกอบรมเชงิ ปฏิบัติการเทคนิคการดูแลระบบประปาหมบู าน สําหรับผดู ูแลระบบประปาหมบู าน
2.2 ถายทอดความรกู ารดแู ลระบบประปาหมูบ านใหกบั สมาชกิ หรอื คณะทาํ งาน

22

คมู อื หลักเกณฑและมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบ า นขององคกรปกครองสวนทองถ่นิ

แนวทางการพฒั นาเพอื่ ยกระดับคณุ ภาพนํ้าประปาหมูบา นสะอาด
ตามแนวทาง 3 C (Clear Clean Chlorine)

3 C ยอมาจาก Clear Clean และ Chlorine เปนการนําเอาหลักเกณฑพัฒนาระบบประปาหมูบาน
ที่คณะทํางานขับเคลื่อนการดําเนินงานประปาหมูบานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นมีมติเห็นชอบนํามาใช
เปนกรอบในการดําเนินงาน ไดแก เกณฑมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบาน โดยกรมทรัพยากรนํ้า
กระทรวงทรัพยากรธรรมขาติและส่ิงแวดลอม และเกณฑคุณภาพนํ้าประปาด่ืมได กรมอนามัย พ.ศ. 2563
โดยกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ และมรี ายละเอยี ดดังนี้

1. Clear ระบบประปามีการทําความสะอาด เปนระเบียบเรียบรอย โดยใชหลักการ 5 ส. มาพัฒนา
ท้ังสภาพทั่วไปของระบบประปา โรงเรือนที่เปนระบบผลิตน้ําประปา โรงเรือนสําหรับเก็บวัสดุ สารเคมี
แหลงนํ้าดิบ และผานเกณฑมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบานตามแบบประเมินของกรมทรัพยากรนํ้าใน
ระดับ ดี ข้นึ ไป

2. Clean ระบบประปาสามารถผลิตน้ําประปาท่ีมีคุณภาพตามเกณฑคุณภาพนํ้าประปาด่ืมได
กรมอนามัย พ.ศ. 2563 โดยการเก็บตัวอยางน้ําประปาที่ผลิตได (น้ําตนทอ) สงตรวจทางหองปฏิบัติการ
ผานเกณฑค รบทงั้ 21 พารามิเตอร

3. Chlorine มกี ารอบรมพัฒนาศักยภาพผูด ูแล แกนนํา หรอื อาสาสมัคร ในการใชชุดทดสอบปริมาณ
คลอรีนอิสระคงเหลือในนํ้าประปา (อ.31) และมีการดําเนินการตรวจวัดปริมาณคลอรีนอิสระคงเหลือใน
น้ําประปาในระบบจายน้ํา (บานผูใชน้ําไกลสุด) ดวยชุดทดสอบปริมาณคลอรีนอิสระคงเหลือในน้ําประปา
(อ.31) เดือนละ 1 คร้ัง ติดตอ กันอยางนอ ย 6 เดือน

ดังนั้นการพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพนํ้าประปาหมูบานสะอาด ตามแนวทาง 3 C (Clear Clean
Chlorine) จึงมหี ลักเกณฑก ารประเมินเพ่ือรับรอง คุณภาพน้ําประปาหมบู า นสะอาด ดงั นี้

(1) ผลการประเมินตามแบบประเมินมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมบู านของกรมทรัพยากรนา้ํ
ไดระดับ ดี ข้นึ ไป

(2) ผลตรวจคุณภาพนํา้ ประปาหมบู านทผ่ี ลิตได (ตน ทอ) ผานเกณฑค ณุ ภาพนาํ้ ประปาดืม่ ได
กรมอนามัย พ.ศ. 2563 ในปที่ขอรบั การรบั รอง

(3) ผลการตรวจน้ําประปาหมูบานท่ีบานผูใชน้ําไกลสุด มีคลอรีนอิสระในนํ้าอยูในเกณฑมาตรฐาน
(0.2-0.5 ppm.) ทุกเดือน

เปาหมายในการดําเนินงานเปนระบบประปาหมูบานตามคํานิยามในระเบียบกระทรวงมหาดไทย
วาดวยการบริหารกิจการและบํารุงรักษาระบบประปาหมูบาน พ.ศ. 2548 ซึ่งหมายถึง ระบบประปาซ่ึงเปน
ทรัพยสินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น แตไมหมายความรวมถึงระบบประปาที่อยูในความรับผิดชอบของ

23

คูมอื หลักเกณฑและมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมบู า นขององคก รปกครองสวนทองถน่ิ

การประปาสวนภูมิภาค การประปานครหลวง หรือกิจการประปาระบบหลักท่ีองคกรปกครองสวนทองถิ่น

จดั ตงั้ ข้นึ เพ่ือใหบ ริการประชาชนและอยภู ายใตก ารบริหารจัดการขององคก รปกครองสวนทองถ่นิ

ขั้นตอนการดําเนินการพัฒนาระบบประปาหมูบาน โดยองคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือ

คณะกรรมการบรหิ ารกิจการประปาฯ ตอ งดาํ เนนิ การ ดังน้ี

(1) ประเมนิ ระบบประปาตามแบบประเมนิ มาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมบู านของกรมทรัพยากรนํ้า

(2) พัฒนาศักยภาพแกนนํา/ผูดูแลระบบประปา/อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในการใชชุดตรวจ

ภาคสนาม และสนบั สนุนการดําเนนิ การตรวจวดั ปรมิ าณคลอรนี อสิ ระในน้าํ ประปา

(3) เก็บตัวอยางน้ําประปาที่ระบบผลิต (ตนทอ) สงตรวจท่ีศูนยหองปฏิบัติการกรมอนามัยหรือ

ที่หองปฏบิ ัติการอ่นื ในพน้ื ที่ ตามเกณฑค ณุ ภาพนํ้าประปาดื่มได กรมอนามัย พ.ศ. 2563

(4) ดําเนินการหรือสนับสนุนใหแกนนํา/ผูดูแลระบบประปา/อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)

ตรวจสอบปรมิ าณคลอรนี อิสระคงเหลือในนํา้ ประปา ทุกเดือน

(5) รวบรวมเอกสารขอรบั การรบั รอง

ขัน้ ตอนการขอรับรองคณุ ภาพนํา้ ประปาหมบู า น

ขนั้ ตอน ผูดาํ เนนิ การ ผลลัพธทีต่ องการ

1 . ป ร ะ เ มิ น ม า ต ร ฐ า น - อ ง ค ก ร ป ก ค ร อ ง ส ว น ท อ ง ถิ่ น ผลการประเมินท้ัง 5 ดาน ตองไดระดับ

คุณภาพระบบประปาหมูบาน คณะกรรมการบริหารกจิ การประปาฯ ดีขึน้ ไป

ต า ม แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ข อ ง

กรมทรัพยากรน้ํา

2 . ต ร ว จ ส อ บ คุ ณ ภ า พ - องคก รปกครองสว นทองถิน่ น้ําประปาจากระบบผลิต (ตนทอ)

น้ําประปาจากระบบผลิต - คณะกรรมการบรหิ ารกิจการประปาฯ ผานเกณฑคุณภาพนํ้าประปาด่ืมได

(ตน ทอ) โดยความรวมมือและใชผลตรวจทาง กรมอนามัย พ.ศ. 2563
หองปฏิบัติการจากหนว ยงานเพ่ือ
สนับสนุน ไดแก สํานักงานส่ิงแวดลอม
ภาค กรมอนามัย การประปาสวน
ภู มิ ภ า ค ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ห รื อ
ภาคเอกชน (Central Lab)
3. พัฒนาศักยภาพผูดูแล -องคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ มีกลุมแกนนําในการเฝาระวังคุณภาพ

ระบบประปา/อาสาสมัคร/ -คณะกรรมการบริหารกิจการประปาฯ น้าํ ประปาดวยชุดทดสอบอยางงา ย

แกนนําชุมชน/นักเรียน เพ่ือ - เครอื ขายในระดบั ตาํ บล

ต ร ว จ วั ด ค ล อ รี น อิ ส ร ะ

คงเหลอื ในนาํ้ ประปา

24

คมู อื หลกั เกณฑแ ละมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมบู านขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ

ขัน้ ตอน ผูดาํ เนนิ การ ผลลัพธที่ตองการ

4. ตรวจวัดคลอรีนอิสระ ผูดูแลระบบประปา/อาสาสมัคร/แกนนํา น้ําประปาจากระบบผลิต (ปลายทอ)

คงเหลือในนํ้าประปาที่บาน ชมุ ชน/นักเรยี นทีผ่ าน มี ค ล อ รี น อิ ส ร ะ ค ง เ ห ลื อ ต า ม เ ก ณ ฑ

ผูใชน้ําไกลสุด อยางนอย 1 การอบรม มาตรฐาน

ครัง้ ตอเดอื น กรณีปกติ 0.2 – 0.5 มิลลิกรัม/ลิตร

หรอื ppm.

กรณีโรคระบาดในพ้ืนที่ 0.5 – 1.0

มิลลิกรมั /ลติ ร หรือ ppm.

5. รวบรวมหลกั ฐาน องคก รปกครองสวนทอ งถิน่ - แบบสรุปผลการประเมินขั้นตอนท่ี 1

เ พื่ อ ข อ ก า ร รั บ ร อ ง ไดในระดบั ดีข้ึนไป

(ซ่ึงสามารถใชหลักเกณฑนี้ - ใบรายงานผลการตรวจคุณภาพ

รับรองโดยจังหวัดในนาม น้ําประปาจากระบบผลิต (ตนทอ)

คณะทํางานระดับจงั หวดั ) จ า ก ห อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร แ ล ะ ผ า น เ ก ณ ฑ

คุณภาพนํ้าประปาดื่มได กรมอนามัย

พ.ศ.2563

- แบบสรุปผลการตรวจคุณภาพน้ําที่

บานผูใชน้ํา (คลอรีน) เปนปจจุบัน

ประจําเดือนอยางนอย 6 เดือน พรอม

ภ า พ ถ า ย ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ

คณุ ภาพนา้ํ ที่บานผใู ชน ํ้า

25

คูมือหลกั เกณฑและมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบานขององคก รปกครองสวนทองถ่นิ

26

คูมอื หลักเกณฑแ ละมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบานขององคกรปกครองสว นทองถน่ิ

คําสัง่ คณะอนกุ รรมการขบั เคลอื่ นแผนแมบทการบริหารจัดการทรพั ยากรนาํ้ ที่ 4/2563
เร่อื ง แตงตงั้ คณะทาํ งานขบั เคลื่อนการดาํ เนนิ งานประปาหมบู านขององคก รปกครองสวนทองถน่ิ

27

คมู อื หลักเกณฑและมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมูบา นขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ

28

คูม ือหลกั เกณฑและมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมูบานขององคกรปกครองสว นทองถ่นิ

QR Code สาํ หรับดาวนโหลด คูมอื เอกสาร สื่อตาง ๆ ท่ใี ชใ นการดําเนินงาน
๑. ลงิ คข อมูลที่เกยี่ วของ: 1 DOH Dash Board ระบบขอมลู ตวั ชว้ี ัดเฝาระวังฯ กรมอนามัย

http://dashboard.anamai.moph.go.th/
๒. ขอมูลการรับรองคณุ ภาพนาํ้ ประปาดม่ื ไดก รมอนามัย

http://drinkingwater.anamai.moph.go.th/?page=home
๓. ขอ มูลการรับรอง EHA 2000

https://datastudio.google.com/reporting/ff0faf0e-2f8d-4dd7-b3f1-
f4101591dced/page/J4enB
๔. รายช่อื ระบบประปาหมบู านท่ีผา นการตรวจสอบจากสํานักงานสงิ่ แวดลอ ม
https://drive.google.com/file/d/1-nnfZlzvs0-4EBvcU1e7MoliuvLc6Cea/view
๕. คมู อื การรบั รองมาตรฐานคุณภาพนาํ้ ประปาหมูบาน ประจาํ ป 2564

๖. คูม ือการเฝาระวงั คุณภาพนา้ํ บรโิ ภค ประจาํ ป 2564

29

คูมอื หลักเกณฑและมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมบู านขององคกรปกครองสว นทอ งถนิ่

๗. สื่อวดี ิทศั นการตรวจสอบและเฝา ระวงั คุณภาพนํา้ บริโภคสําหรบั เจา หนาทแ่ี ละผดู ูแลระบบประปาหมูบ าน

เรือ่ ง Link / QR code
การใชช ดุ ตรวจคลอรนี อิสระคงเหลือในนํา้ https://youtu.be/DnJtgFxGhsw
(Residual Chlorine Test)

การใชช ุดทดสอบโคลิฟอรมแบคทีเรีย (อ11) https://youtu.be/k-bf5P2Lguk

การเก็บตรวจอยา งน้ําเพือ่ สงตรวจกบั https://youtu.be/YsSSKOf49hw
หอ งปฏิบัติการ

การตรวจสอบและเฝา ระวงั คุณภาพนา้ํ บรโิ ภคใน https://youtu.be/IsOdjHtwRmw
ครัวเรอื น

30

คมู อื หลกั เกณฑแ ละมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมบู า นขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ

๘. คูม ือ เอกสารวชิ าการ และวิดที ัศนที่เกีย่ วของกับระบบประปาหมบู าน

ชอื่ เร่ือง QR Code รปู ภาพ

คมู ือผคู วบคุมการผลิตนาํ้ ประปา
ระบบประปาแบบบาดาล
ขนาด 2.5 และ 20 ลบ.ม./ชม.

คูมอื ผคู วบคมุ การผลิตนาํ้ ประปา
ระบบประปาแบบบาดาล
ขนาด 7 และ 10 ลบ.ม./ชม.
คมู ือผูค วบคมุ การผลิตนา้ํ ประปา
ระบบประปาแบบบาดาล 3 in 1
ขนาด 2.5 , 5 , 10 และ 20 ลบ.ม./
ชม.
คมู ือผคู วบคมุ การผลติ นาํ้ ประปา
ระบบประปาแบบผิวดนิ
ขนาด 5 , 10 และ 20 ลบ.ม./ชม.

31

คมู ือหลกั เกณฑแ ละมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมบู า นขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ

ช่ือเร่ือง QR Code รูปภาพ
คมู ือผูควบคมุ การผลิตนํ้าประปา
ระบบประปาแบบผิวดิน
ขนาด 50 ลบ.ม./ชม.

ขอแนะนาํ ในการปรับปรุงระบบประปา
หลังการประเมินคณุ ภาพระบบประปา
หมูบา น

ข้ันตอนและวิธีการใชแบบประเมนิ
คุณภาพระบบประปาหมบู า น
(Motion Infographic)

ข้ันตอนการใชโปรแกรมประมวลผล
แบบประเมนิ คณุ ภาพระบบประปา
หมูบาน
(Motion Infographic)

32

คมู ือหลักเกณฑแ ละมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมบู า นขององคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ

ชือ่ เร่ือง QR Code รปู ภาพ
คูม อื หลักเกณฑแ ละมาตรฐานคณุ ภาพ
ระบบประปาหมบู าน

แบบประเมนิ คุณภาพระบบประปา
หมบู าน (ใชแ หลงน้ําบาดาล)
แบบประเมนิ คณุ ภาพระบบประปา
หมบู าน (ใชแหลง นํา้ ผิวดิน)

โปรแกรมประมวลผลแบบประเมิน
คณุ ภาพระบบประปาหมูบา น
(ใชแหลงนาํ้ บาดาล)

33

คูม อื หลกั เกณฑแ ละมาตรฐานคุณภาพระบบประปาหมูบา นขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ

ชื่อเร่ือง QR Code รูปภาพ
โปรแกรมประมวลผลแบบประเมนิ
คณุ ภาพระบบประปาหมบู าน
(ใชแ หลงน้ําผิวดนิ )

ขนั้ ตอนการใชโปรแกรมประมวลผล
แบบประเมนิ คณุ ภาพระบบประปา
หมูบ า น

34

คูมือหลักเกณฑและมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมบู านขององคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ

๙. Infographic ขั้นแนวทางและข้นั ตอนการขอรับรอง 3 C

35

คมู อื หลักเกณฑและมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมูบา นขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ

36

คมู อื หลักเกณฑและมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมูบา นขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ

37

คูม ือหลกั เกณฑแ ละมาตรฐานคณุ ภาพระบบประปาหมูบ านขององคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ

ทป่ี รกึ ษา

1. นายประยรู รัตนเสนีย อธิบดกี รมสง เสรมิ การปกครองทองถน่ิ
2. นายภาดล ถาวรกฤจรัตน อธบิ ดกี รมทรัพยากรนํ้า
3. นายสุวรรณชยั แกวสัมฤทธ อธบิ ดกี รมอนามยั
4. นายทวี เสรมิ ภักดกี ุล รองอธิบดีกรมสงเสรมิ การปกครองทองถ่ิน
5. นายธนศิ ร วงศป ยะสถิตย รองอธบิ ดีกรมสง เสรมิ การปกครองทองถิน่
6. นายศริ ิวฒั น บุปผาเจรญิ รองอธบิ ดกี รมสงเสริมการปกครองทอ งถ่นิ
7. นายนพิ นธ จาํ นงสริ ศิ ักดิ์ รองอธิบดกี รมทรัพยากรน้ํา
8. นายอรรถพล แกวสมั ฤทธิ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
9. สํานักงานส่ิงแวดลอ มภาคท่ี 11 นครราชสมี า กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

คณะผจู ดั ทํา

กรมสงเสริมการปกครองทอ งถิ่น

1. นายทวี เสรมิ ภักดกี ุล รองอธบิ ดกี รมสง เสริมการปกครองทอ งถ่ิน
2. นางคณติ า ราษฎรน ุย ผูอาํ นวยการกองพฒั นาและสงเสรมิ การบรหิ ารงานทองถน่ิ
3. นายเจษ เสียงลือชา ผอู ํานวยการกลมุ งานสงเสริมการพฒั นาโครงสรา งพ้ืนฐาน
4. นางสาวพรทพิ ย วิรฬุ หทรัพย นักวิเคราะหน โยบายและแผนชาํ นาญการ

กรมทรัพยากรนา้ํ

1. นายนริ ุติ คณู ผล ผูอํานวยการสํานกั บรหิ ารจดั การนํ้า
2. นางสาวสญุ าณี สทุ ธิพงศ ผอู าํ นวยการสวนสง เสริมการจดั การนํ้า
3. นายพอจิตต ขนั ทอง นักวิชาการส่งิ แวดลอ มชํานาญการ

กรมอนามยั

1. นายสมศกั ดิ์ ศิรวิ นารังสรรค ผูอาํ นวยการสํานกั สุขาภบิ าลอาหารและน้าํ
2. นายรชั ชผดงุ ดํารงพงิ คสกุล นกั วชิ าการสาธารณสุขชํานาญการพเิ ศษ
3. นางสาวปาริชาติ สรอ ยสูงเนิน นักวิชาการสาธารณสขุ ชํานาญการ

38


Click to View FlipBook Version