The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-BOOK ประเพณีวันสงกรานต์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by patty123128, 2022-04-12 05:34:01

E-BOOK ประเพณีวันสงกรานต์

E-BOOK ประเพณีวันสงกรานต์

วันสสขุ สนั งติว์ กัน รานต์

ประวัตวิ ันสงกรานต์ วันข้ึนปีใหมไ่ ทย

คำว่ำ "สงกรำนต์" มำจำกภำษำสันสกฤต ที่หมำยถึง กำรเคลื่อนย้ำยของดวงอำทิตย์จำก
รำศีหนึ่งเข้ำไปอีกรำศีหนึ่ง ซ่ึงเหตุกำรณ์เช่นนี้เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นในทุก ๆ เดือน แต่ในช่วง
เวลำทีด่ วงอำทิตยเ์ คลื่อนยำ้ ยจำกรำศีมีน เพื่อเข้ำสู่รำศีเมษนั้น จะมีช่ือเรียกช่วงเวลำดังกล่ำวว่ำ
"มหำสงกรำนต์" เนื่องจำกเป็นวันขึ้นปีใหม่ตำมคติพรำหมณ์ แต่เรำจะเรียกกันเพียงสั้น ๆ
ว่ำ "สงกรำนต์" เท่ำน้ัน และเมื่อนับทำงสุริยคติ "วันสงกรำนต์" จะอยู่ระหว่ำงวันที่ 13-15
เมษำยนของทกุ ๆ ปี

ท้ังนี้ วนั หยดุ สงกรำนต์ เป็นวันหยุดรำชกำร แบ่งออกเปน็ 3 วนั ได้แก่
- วนั ที่ 13 เมษำยน เรียกว่ำ วันมหำสงกรำนต์
- วนั ที่ 14 เมษำยน เรียกว่ำ วนั เนำ
- วนั ที่ 15 เมษำยน เรียกว่ำ วันเถลิงศก

วันมหาสงกรานต์

ในสมัยโบรำณ คนไทยถือว่ำ วันขนึ้ 1 ต่ำ เดือนอ้ำย ซึง่ จะตรงในชว่ งเดือน พฤศจิกำยนหรือ
ธันวำคม ให้เป็นวันขึ้นปีใหม่ แต่ในสมัยรัชกำลที่ 5 ได้มีกำรเปลี่ยนให้วันท่ี 1 เมษำยน เป็นวัน
ขึ้นปีใหม่ จนต่อมำในสมัยยุค จอมพล ป. พิบูลสงครำม ในปี พ.ศ. 2483 ได้เปลี่ยนวันปีใหม่
ให้เป็นวนั สำกล คือ วันที่ 1 มกรำคม แต่ถึงอย่ำงไร คนโบรำณก็ยังคงคุ้นเคยกับวันปีใหม่ไทยใน
เดือนเมษำยน จึงได้กำหนดให้วันที่ 13 เมษำยน เปน็ วนั ขึ้นปีใหม่ไทยร่วมด้วย

วนั สสขุ สันงติ์วกัน รานต์

วันสงกรานต์ ความหมายของคาที่เก่ยี วข้องกบั วนั สงกรานต์

- วนั มหำสงกรำนต์ หมำยถึง กำรก้ำวขึ้นหรือย่ำงขึ้นครั้งใหม่ หรือที่เรียกว่ำ "ปีใหม่" และ
ได้มีกำรกำหนดให้วนั ที่ 13 เมษำยนของทกุ ปี เปน็ "วันมหำสงกรำนต์"

- วันเนำ หมำยถึง วันที่ดวงอำทิตย์เข้ำมำอยู่ในรำศีเมษ ซ่ึงถือว่ำเป็นกำรต้ังต้นปีใหม่
หรือ เป็นวันที่ดวงอำทิตย์ได้เข้ำประจำที่แล้ว โดยมีกำรกำหนดให้วันที่ 14 เมษำยนของทุกปี
เป็น "วันเนำ"

- วันเถลิงศก หมำยถึง วันขึ้นศก ซ่ึงเป็นวันที่มีกำรเปลี่ยนจุลศักรำชใหม่ โดยวันขึ้นศก
ใหมน่ ้ัน ได้กำหนดให้เป็นวนั ที่ 3 ถัดจำกวันมหำสงกรำนต์ กเ็ พ่ือให้หมดปัญหำว่ำกำรกำ้ วขึ้นต้นปี
นั้นเรียบร้อยดีไม่มีปัญหำ

นางสงกรานต์

นำงสงกรำนต์ นั้นเป็นธิดำของท้ำวกบิลพรหม หรือท้ำวมหำสงกรำนต์ และเป็นนำงฟ้ำอยู่
บนสรวงสวรรคช์ น้ั จำตมุ หำรำช (สวรรค์ช้ันที่ 1 ในทั้งหมด 6 ชั้น) ซ่ึงมีหน้ำที่ในกำรรับศีรษะของ
ท้ำวกบิลพรหมแห่รอบเขำพระสุเมรุในแต่ละรอบปี หรือในวันสงกรำนต์นั้นเอง โดยมีเกณฑ์
กำหนดทีว่ ่ำวนั สงกรำนต์ คอื วนั ที่ 13 เมษำยน ตรงกับวันใดกใ็ ห้นำงสงกรำนต์ประจำวันนั้นเป็นผู้
แห่ นำงสงกรำนต์มีท้ังหมด 7 องค์ ได้แก่

1. นำงทงุ ษะเทวี เปน็ นำงสงกรำนต์ประจำวันอำทิตย์
2. นำงโครำคเทวี เป็นนำงสงกรำนต์ประจำวันจันทร์
3. นำงรำกษสเทวี เปน็ นำงสงกรำนต์ประจำวนั องั คำร
4. นำงมณฑำเทวีมณั ฑำเทวี เป็นนำงสงกรำนต์ประจำวันพุธ

วนั สสขุ สันงติ์วกัน รานต์

นางสงกรานต์

5. นำงกิริณีเทวี เปน็ นำงสงกรำนต์ประจำวนั พฤหัสบดี
6. นำงกิมิทำเทวี เป็นนำงสงกรำนต์ประจำวันศกุ ร์
7. นำงมโหทรเทวี เปน็ นำงสงกรำนต์ประจำวนั เสำร์

วันสสขุ สันงติ์วกัน รานต์

กจิ กรรมวันสงกรานต์

การทาบุญตกั บาตร
ถือว่ำเป็นกำรสร้ำงบุญสร้ำงกุศลให้ตัวเองและอุทิศส่วนกุศลนั้นแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว นำ

อำหำรไปตกั บำตรถวำยพระภิกษุที่ศำลำวัด ซ่ึงจัดเป็นที่รวมสำหรับทำบุญ ในวันนี้หลังจำกที่ได้
ทำบญุ เสรจ็ แล้ว ก็จะมีกำรกอ่ พระทรำยอนั เป็นประเพณดี ้วย
การรดน้า

เป็นกำรอวยพรปีใหมใ่ ห้กันและกนั น้ำทีร่ ดมักใช้น้ำหอมเจือด้วยน้ำธรรมดำ
การสรงนา้ พระ

จะรดน้ำพระพุทธรปู ที่บ้ำนและทีว่ ดั และบำงทีจ่ ัด สรงน้ำพระสงฆ์ ด้วย
การรดน้าผ้ใู หญ่

คอื กำรไปอวยพรให้ผู้ใหญ่ที่เคำรพนับถือ ครบู ำอำจำรย์ ท่ำนผใู้ หญ่มักจะนั่งลงแล้วผู้ที่รดก็
จะเอำน้ำหอมเจือกับน้ำรดที่มือท่ำน ท่ำนจะให้ศีลให้พรผู้ที่ไปรด ถ้ำเป็นพระก็จะนำผ้ำสบงไป
ถวำยให้ท่ำนผลัดเปลีย่ นด้วย หำกเปน็ ฆรำวำสกจ็ ะหำผำ้ ถงุ ผำ้ ขำวม้ำไปให้
การปล่อยนกปล่อยปลา

ถือเป็นกำรล้ำงบำปที่ทำไว้ เป็นกำรสะเดำะเครำะห์ร้ำยให้มีแต่ควำมสุขควำมสบำยใน
วันขึ้นปีใหม่
การนาทรายเขา้ วัด

ทำงภำคเหนือนิยมขนทรำยเข้ำวัดเพ่ือเป็นนิมิตโชคลำภ ให้มีควำมสุขควำมเจริญ เงินทอง
ไหลมำเทมำดุจทรำยทีข่ นเข้ำวดั

สขุ สนั ติ์วนั

วนั ผสู้ งู อายแุ ห่งชาติ

13 เมษายน 2565

ความเปน็ มาของวนั ผสู้ งู อายุ
ในประเทศไทยเร่ิมจุดประกายเรื่องน้ีในสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็น

นายกรัฐมนตรี โดยมีการกาหนดนโยบายท่ีจะส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนมีสภาพความ
เป็นอยู่ที่ดี มีคุณภาพ และดารงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข และได้มอบให้กรม
ประชาสงเคราะห์จัดต้ังสถานสงเคราะห์คนชรา บ้านบางแค เป็นแห่งแรกในปี พ.ศ. 2496
โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ ดงั น้ี

1. เพอื่ ใหก้ ารสงเคราะห์คนชราท่ีไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ หรือประสบปัญหา
ความทกุ ข์ยาก เดอื ดร้อน ยากจน ไม่มที อ่ี ยอู่ าศยั หรือไม่สามารถอยกู่ บั ครอบครวั ได้

2. เพ่ือให้บริการแก่คนชราท่ีอยู่กับครอบครัวของตน แต่มีความต้องการบริการ
สงเคราะหค์ นชราบางอย่าง เชน่ การรกั ษาพยาบาล กายภาพบาบัด นนั ทนาการ

3. เพ่ือแบ่งเบาภาระของครอบครัวผู้มีรายได้น้อย หรือยากจน ท่ีไม่สามารถจะ
อปุ การะเล้ียงดูคนชราไว้ในครอบครัวได้

4. เพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมอันเก่ียวกับคนชรา ไม่ให้เร่ร่อน ทาความ
เดือดรอ้ นราคาญแกส่ ังคมและให้สามารถอยูใ่ นสังคมไดอ้ ย่างผาสกุ ตามสมควรแก่อัตภาพ

5. เพอ่ื เปน็ การตอบแทนคณุ ความดที ค่ี นชราไดท้ าประโยชนใ์ หแ้ กป่ ระเทศชาติ
6. เพือ่ ผ้สู งู อายุจะไดค้ ลายวติ กกงั วล เมอ่ื ชราภาพ ไมส่ ามารถประกอบอาชีพต่อไปได้
แลว้ ทางรัฐบาลมีหน้าที่จะเป็นผอู้ ุปการะเล้ียงดูต่อไป

สขุ สันตว์ิ ัน

วนั ผู้สงู อายุแห่งชาติ

13 เมษายน 2565

ต่อมา ในปี พ.ศ. 2525 ได้มีการจัดประชุมสมัชชาโลกว่าด้วยผู้สูงอายุ ณ
กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรยี ซ่งึ ได้พิจารณาประเด็นสาคัญเก่ียวกับผู้สูงอายุไว้ 3 ประการ
คอื ดา้ นมนษุ ยธรรม ดา้ นการพัฒนา และด้านการศึกษา นอกจากนี้ องค์การอนามัยโลก ยัง
ได้กาหนดให้ปี 2525 เป็นปีรณรงค์เพ่ือส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยกาหนดคาขวัญว่า
"Add life to Years“ เพื่อให้ประเทศต่างๆ ช่วยกันส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุซ่ึงคณะ
กรรมการอานวยการวันอนามัยโลกของกระทรวงสาธารณสุข ได้มีมติให้ใช้คาขวัญเป็น
ภาษาไทยว่า "ให้ความรัก พทิ ักษอ์ นามยั ผูส้ งู วยั อายยุ นื "

ในสว่ นของรฐั บาลไทยสมัยนั้น ซ่ึงตรงกับรัฐบาลของ พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ ก็ได้
เห็นความสาคัญต่อนโยบายดังกล่าว โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันท่ี 14 ธันวาคม 2525
อนุมัติให้วันท่ี 13 เมษายน ของทุกปี เป็นวันผู้สูงอายุแห่งชาติ และได้มีการแต่งต้ัง
คณะกรรมการจดั งานวนั ผสู้ ูงอายแุ ห่งชาติ มีปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นประธาน และจัดให้
มกี ิจกรรมตา่ ง ๆ สาหรบั ผสู้ งู อายุทกุ ปี
ดอกไมส้ ัญลกั ษณผ์ สู้ งู อายุ

รัฐบาลในสมัย พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ นอกจากจะอนุมัติให้วันท่ี 13 เมษายน
ของทกุ ปี เปน็ วนั ผูส้ งู อายุ แล้วกาหนดให้ "ดอกลาดวน" เป็นสญั ลกั ษณ์ของผู้สงู อายุดว้ ย
กิจกรรมวนั ผสู้ งู อายุ

โดยทั่วไปจะมีการจัดกิจกรรมรดน้าดาหัว มอบของขวัญ และขอพรจากผู้สูงอายุตาม
หมบู่ า้ น และชุมชนตา่ ง ๆ ทวั่ ประเทศ รวมถงึ หนว่ ยงานต่าง ๆ จะมีการให้สิทธิพิเศษในการ
ใชบ้ ริการ

สุขสันติ์วนั

วันครอบครวั

14 เมษายน 2565

ความสาคัญของวันครอบครวั

วันครอบครัว 2565 (Family Day) หรือ "วันครอบครัวแห่งชาติ" ถือเป็นวันท่ี
กาหนดขึ้นเพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงความสาคัญของสถาบันครอบครัว แม้จะเป็นหน่วยที่
เล็กที่สุด แต่ก็มีความสาคัญอย่างมาก ไม่ใช่เฉพาะในประเทศไทยเท่าน้ัน เพราะประเทศ
ตา่ งๆ ทั่วโลกตา่ งก็มี "วนั แห่งครอบครัว" ซ่ึงอาจมีการกาหนดช่วงวนั และเดอื นทีแ่ ตกต่างกนั
ออกไป

ประวตั ิวนั ครอบครวั

"ครอบครวั " ถอื เปน็ สถาบนั พื้นฐานทางสงั คมที่มีความสาคัญ เนื่องจากเป็นสถาบัน
แรกของทุกคน มีบทบาทในการอบรมเลี้ยงดู ส่งต่อค่านิยม ถ่ายทอดวัฒนธรรม ซึ่งใน
ประเทศไทยครอบครัวมักจะอาศัยอยูร่ ่วมกนั เป็นครอบครัวใหญ่ มีทั้งพ่อ แม่ ลูก และญาติ
คนอ่ืนๆ อาศัยรวมอยู่ด้วย ทาให้คนไทยค่อนข้างสนิทสนมกับสมาชิกภายในบ้าน แม้
ปัจจุบันคนรุ่นใหม่จะหันมาสร้างครอบครัวเด่ียวมากข้ึน แต่ก็ยังคงมีค่านิยมในการให้
ความสาคัญกบั สถาบันครอบครวั อย่เู สมอ

วันครอบครวั ไทย ไดร้ บั การกาหนดข้ึนคร้ังแรกเม่ือวันท่ี 31 ตุลาคม 2532 ในสมัย
นายกรัฐมนตรี พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ โดยคุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ รัฐมนตรีประจา
สานักนายกรัฐมนตรี ได้เป็นผู้เสนอมติให้คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในการกาหนดให้ ทุกวันที่
14 เมษายน ของทุกปี เป็นวนั ครอบครวั หลังจากนัน้ จงึ ได้รับการอนุมัติ และประกาศใช้วัน
ครอบครัวไทยเป็นครัง้ แรกใน พ.ศ. 2533 และใช้สืบต่อเน่ืองมาจนถึงปัจจุบนั

สุขสนั ตวิ์ ัน

วันครอบครวั

14 เมษายน 2565

บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวท่ีพึงปฏบิ ตั ิต่อกัน

1. ใหค้ วามรกั ความอบอุน่ และความเออื้ อาทรตอ่ กนั
2. หันหน้าเขา้ หากันและยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นซ่ึงกันและกนั
3. ชว่ ยเหลือ ดแู ล เก้ือกูล ซ่งึ กนั และกัน
4. ดูแลเอาใจใสแ่ ละให้เวลากบั ครอบครวั มากขึน้
5. รจู้ กั วางแผนการใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยดั /ไมฟ่ ุ่มเฟอื ย
6. ร้จู ักใหอ้ ภยั ซง่ึ กันและกัน
7. ปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวร่วมกัน เช่น การเข้าวัด
อบรมปฏบิ ัติธรรม นาครอบครวั อบอุ่น ครอบครวั สนุกกับห้องสมดุ ศิลปะสุดสปั ดาห์

กจิ กรรมวนั ครอบครัว

สาหรับกิจกรรมในวันครอบครัวของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน มักจัดกิจกรรม
มอบรางวัลให้แก่ครอบครัวดีเด่น ครอบครัวต้นแบบ รวมถึงสมาชิกในครอบครัวท่ีมี
แบบอย่างที่ดี เพ่ือส่งเสริมและให้กาลังใจในการปฏิบัติตนเป็นสถาบันตัวอย่างท่ีดีให้แก่
สงั คม สว่ นคนไทยมักนยิ มรดนา้ ดาหัวผใู้ หญ่ ผทู้ ม่ี ีอายนุ ้อยกว่ามกั จะเข้าไปไหว้ขอพรผู้หลัก
ผใู้ หญ่ นอกจากนี้ ยังนยิ มใช้เวลาส่วนใหญใ่ นการรบั ประทานอาหารร่วมกัน ถามไถ่ทุกข์สุข
ถอื เป็นวันสาคญั ทสี่ มาชิกในครอบครัวทากิจกรรมรว่ มกนั อย่างพรอ้ มหน้าพร้อมตา

อย่าลืมกดติดตาม เพ่ือไม่ให้พลาดสาระดี
ที่คณุ ต้องอยากรู้ เพ่ือสขุ ภาพของเราจะดีไป
ด้วยกนั ได้ที่ Facebook Page #ห้องสมุด

ประชาชนอาเภอพระประแดง

ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอพระประแดง เลขที่ 67 ถ.เขอื่ นขนั ธ์ ต.ตลาด อ.พระประแดง
จ.สมุทรปราการ 10130 โทรศพั ทแ์ ละโทรสาร : 02 – 462- 5733


Click to View FlipBook Version